You are on page 1of 25

ความแตกต่างทางบุคลิกภาพของผู้เรียนที่ส่งผลต่อการใช้

ภาษาของผู้สอน

จัดทำโดย

65203 นางสาวจุไรวรรณ
1004 วรฤทธิ ์
65203 นางสาวชีฟาอ
1005 แวบากา
65203 นางสาวนัทธิญา
1009 สังข์ทอง
65203 นางสาวมูนีรัน
1018 หลงหัน
65203 นางสาวสุนทรีย์
1024 สิทธิรักษ์
65203 นางสาวอรอุมา
1026 สาโท

นิสิตชัน
้ ปี ที่ 2 สาขาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 0000112 พหุภาษาเพื่อ


การเรียนรู้

มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
การสื่อสาร (communication) หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร
ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจาก
ผู้สง่ สารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ ที่อาจเป็ นการพูด การเขียน การแสดงหรือการ
จัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปยังผู้รับสาร ซึง่ อาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตก
ต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความจำเป็ นของตนเอง
การสื่อสารเป็ นสิ่งสำคัญในกระบวนการการเรียนการสอนภายในชัน

เรียน เนื่องจากเป็ นช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูล หรือ
ประสบการณ์จากผูส
้ อนสู่ผู้เรียน แต่แน่นอนว่า ผู้เรียนย่อมมีความแตก
ต่างกัน ในด้านบุคลิกภาพ อันเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว เชื้อชาติ
ศาสนา ความคิด หรืออื่น ๆ ที่อาจจะส่งผลให้ลักษณะการสื่อสารแตกต่าง
กัน ดังนัน
้ ลักษณะสื่อสารของผู้สอนจึงเป็ นสิ่งจำเป็ น ไม่ว่าจะเป็ นการ
สลับภาษา น้ำเสียงที่ใช้พูด ระดับภาษา หรือท่าทางที่ใช้ประกอบการ
สื่อสาร ที่ใช้กับผู้เรียนในกลุ่มที่แตกต่างกัน ก็อาจจะต้องปรับเปลี่ยนให้
เข้ากับผู้เรียน เพื่อให้เข้าถึงผู้เรียน และสามารถใช้การสื่อสารให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด นําไปสู่การเรียนรู้ที่สัมฤทธิผ์ ล

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อสังเกตการใช้ภาษาในการสอนของอาจารย์ผู้สอน
1.2.2 เพื่อสังเกตบุคลิกภาพเเละการใช้ภาษาของผูเ้ รียนขณะอยู่ใน
ชัน
้ เรียน
1.2.3 เพื่อเปรียบเทียบความเเตกต่างในการใช้ภาษาของผู้สอนที่
เกิดขึน
้ ระหว่างนิสิตที่มีบุคลิกภาพแตกต่างกัน
1.3 สมมติฐานของโครงงาน
ความแตกต่างทางบุคลิกภาพของผู้เรียนส่งผลต่อการใช้ภาษา
ในการสอน โดยกลุ่มนิสิต สาขาคณิตศาสตร์จะมีความหลากหลาย
ทางภาษามากกว่าสาขาพลศึกษา ลักษณะทางบุคลิกภาพจะดู
เรียบร้อย อาจารย์จะมีวิธีการสอนการใช้ภาษาที่ดูนุ่มนวลและ
สุภาพ ส่วนอีกกลุ่มที่นิสิตสาขาพลศึกษาอาจจะมีบุคลิกภาพที่ไม่
ค่อยเรียบร้อย เช่น วิธีการพูดจา อาจารย์จึงใช้วิธีการสอนที่ดูดุดัน
กว่า และอาจจะมีการใช้ภาษาถิ่นมาปนในการสอนด้วย

1.4 ประชาการ/กลุ่มตัวอย่างที่เราจะใช้ในการศึกษา
1.4.1 นิสิตคณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ และสาขาพลศึกษา
ชัน
้ ปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
1.4.2 อาจารย์มหาวิทยาลัยทักษิณ ผูส
้ อนรายวิชาครูนักพัฒนา

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

2.1 ความหมายของภาษา
ภาษาเป็ นเครื่องมือที่มนุษย์ใช้ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ภาษา
ต่าง ๆ ที่ใช้ส่ อ
ื สารกันทั่วโลกมีอยู่ เป็ นจำนวนมาก บางภาษามีทงั ้ ภาษา
พูดและภาษาเขียน แต่ในบางภาษาใช้ในการสนทนาเท่านัน
้ มีผู้ให้ ความ
หมายของ ภาษา ไว้อย่างกว้างขวาง
“ภาษา” มาจากคำภาษาสันสกฤต “ภาษฺ” แปลว่า ถ้อยคำ หรือคำ
พูด
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ (๒๕๓๔: ๓๙๗)
อธิบายความหมายของคำ “ภาษา” ไว้ดังนี ้ “น. เสียงหรือกิริยาอาการที่
ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน; มีความรู้ความเข้าใจ”
พระยาอนุมานราชธน (๒๕๑๕: ๓๒-๓๓) กล่าวว่า ภาษา ตามความ
หมายในนิรุกติศาสตร์ คือวิธีที่ มนุษย์แสดงความในใจเพื่อให้ผู้ที่ตน
ต้องการให้ร้ไู ด้รู้ โดยใช้เสียงพูดที่มีความหมายตามที่ได้ตกลงรับรู้กัน ซึ่งมี
ผู้ ได้ยินรับรู้และเข้าใจ
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์ (๒๕๓๗: ๓) กล่าวว่า ภาษา ย่อมเป็ นระบบ
สัญลักษณ์ในเชิงคำพูดหรือเชิงการ เขียนที่มนุษย์เท่านัน
้ กำหนดขึน
้ และ
ใช้เป็ นเครื่องมือในการสื่อความหมายต่อกันและกัน
วิจินตน์ ภาณุพงศ์ (๒๕๓๘: ๖) อธิบายว่า ภาษา หมายถึงเสียงพูดที่
มีระเบียบและมีความหมาย ซึ่ง มนุษย์ใช้เป็ นเครื่องมือสำหรับสื่อสาร
ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ และใช้ในการประกอบกิจกรรม ร่วม
กัน
กาญจนา นาคสกุล (๒๕๕๑: ๖-๑๑) ได้กล่าวถึงความหมายของ
ภาษา ไว้ว่า
ภาษา หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่มนุษย์ใช้ส่ อ
ื สารในสังคม
ภาษา หมายถึง สิ่งที่เป็ นสัญลักษณ์อาจจะเป็ นอะไรก็ได้เท่าที่มนุษย์
กำหนดขึน
้ ภาษาตามความหมาย นี ้ จึงกินความหมายกว้างและมีคำ
ขยายได้มากมาย เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่งเป็ นภาษาที่ใช้ถ้อยคำเป็ น
สื่อกลาง รวมถึงภาษาท่าทาง เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้วย
ภาษา หมายถึง ระบบสัญลักษณ์ซ่งึ มนุษย์ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารกัน
ภาษา หมายถึง สัญลักษณ์ซึ่งได้จัดระบบ มีระบบ หรือเป็ นระบบแล้ว
เป็ นภาษาที่ต้องมีการเรียนรู้ใน สังคม ภาษาตามความหมายนีห
้ มายถึง
ภาษาซึ่งเป็ นคำพูด ที่มนุษย์ใช้เป็ นเครื่องมือสื่อสารในสังคม นัก
ภาษาศาสตร์ศึกษาภาษาก็เพื่อวิเคราะห์ลักษณะที่แท้จริงของภาษาตาม
ความหมายข้อนี ้ เพื่อให้เข้าใจ กฎเกณฑ์ของภาษา และเพื่อสร้างทฤษฎี
เกี่ยวกับภาษาตัวอักษรหรือการขีดเขียนซึ่งสามารถอ่านออกเป็ นคำพูด ใน
ภาษา จึงอาจจัดเป็ นภาษาตามความหมายนีด
้ ้วย เพราะเหตุที่ตัวอักษรมัก
จะมีระบบมีกฎเกณฑ์การแทน เสียงแทนคำที่แน่นอน จึงแทนเสียงพูดได้
เกือบจะสมบูรณ์ ซึ่งเสียงพูดนัน
้ ก็ส่ อ
ื ความหมายได้ ในระยะจำกัด คือ
ในระยะที่คลื่นอากาศถูกลมที่ออกจากปากทำให้สั่นสะเทือนเป็ นวงกว้าง
ออกไป จนถึงหูผู้ฟังที่ฟังได้ความหมาย ถ้าผูฟ
้ ั งอยู่ห่างเกินไป ไม่สามารถ
รับคลื่นเสียงที่ผู้พูดส่งมา ภาษาที่ผพ
ู้ ูดพูดออกมาก็ไม่อาจสื่อความหมาย
ตามที่ ต้องการได้ ในกรณีนจ
ี ้ ำเป็ นต้องหาเครื่องมืออื่นมาช่วยถ่ายทอด
เสียงพูดให้ไปถึงผู้รับที่อยู่ห่างไกล ในโลก สมัยใหม่ อุปกรณ์ทาง
โทรคมนาคม มีวิทยุ วิทยุถ่ายทอดคลื่นไมโครเวฟ โทรทัศน์ โทรศัพท์
เครื่องบันทึกเสียง และภาพ เป็ นต้น
ภาษา หมายถึง ระบบสัญลักษณ์ที่คนกลุ่มหนึ่ง ๆ ใช้ในการติดต่อ
สื่อสารกันในสังคมเท่าที่มนุษย์ กำหนดขึน

ภาษาเป็ นของคนกลุ่มหนึ่งเท่านัน
้ แต่การจะกำหนดว่า ภาษาที่คน
หนึ่งพูด กับภาษาที่คนอีกกลุ่มหนึง่ พูดจะเป็ นภาษาเดียวกันหรือไม่ ขึน

อยู่กับการให้คำนิยาม และเกณฑ์ที่จะใช้ในการกำหนดนัน
้ ๆ การกำหนด
ภาษาในสังคมมนุษย์ จึงอาจแตกต่างกันไปหลายแบบตามเกณฑ์ที่ใช้ใน
การกำหนด ตามขอบเขต และตาม นิยามของภาษานัน
้ ๆ เช่น การ
กำหนดภาษา เป็ นภาษาคำโดด ภาษามีวิภัตติปัจจัย ภาษาคำติดต่อ
ภาษา หมายถึง ภาษาย่อยที่เปลี่ยนแปลงมาจากภาษาใดภาษา
หนึ่ง
ภาษา หมายถึง ภาษาย่อยซึ่งมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากภาษาใด
ภาษาหนึ่งตามข้อกำหนดต่าง ๆ เช่น ถิ่นที่อยู่ หน้าที่และจุดมุ่งหมายของ
การใช้ภาษา ลักษณะและฐานะทางสังคมของผู้ใช้ภาษา มีอาชีพ เพศ
อายุ เป็ นต้น ภาษาอาจกำหนดตามท้องถิ่นของผู้พูดภาษา เรียกว่า ภาษา
ถิ่น (dialect) เช่น ภาษาถิ่นเหนือ ภาษา ถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ ภาษาอาจ
กำหนดตามหน้าที่และจุดมุ่งหมายของการใช้ภาษา เช่น ภาษาราชการ
ภาษา พูด ภาษาเขียน ภาษาแพทย์ ภาษาโหร ภาษาสแลง ภาษาอาจ
กำหนดตามลักษณะและฐานะทางสังคมของผู้ใช้ ภาษา เช่น ราชาศัพท์
ภาษาผู้หญิง ภาษาวัยรุ่น ภาษาที่กำหนดอย่างนีอ
้ าจเรียกว่า ทำเนียบ
ภาษา (register of language)
ภาษาเป็ นผลสะท้อนความเจริญของสังคม
เมื่อชนกลุ่มใดก าหนดภาษาใดเป็ นภาษาประจ ากลุ่มแล้ว ภาษานัน

ก็จะนับว่าเป็ นภาษาหลัก หรือ ภาษาแม่ของสมาชิกกลุ่มนัน
้ เมื่อสังคม
ขยายตัวขึน
้ เป็ นเมืองหรือเป็ นประเทศ ภาษาที่ชนกลุ่มนัน
้ ใช้ก็จะเปลี่ยน
ฐานะเป็ นภาษาประจ าชาติ ซึง่ จะเป็ นภาษาที่ใช้สืบต่อกันถึงลูกหลาน
ถ่ายทอดต่อไปเรื่อย ๆ ภาษานัน
้ ๆ จะ ผูกพันกับสังคมของผู้ใช้อย่างใกล้
ชิด ค าศัพท์ที่มีในภาษาจะแสดงให้เห็นลักษณะของความเป็ นอยู่ อาหาร
การ กิน กิจกรรม ประสบการณ์ ความเชื่อ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์
ทรัพยากรธรรมชาติและทุกสิง่ ของสังคมนัน
้ ในทางใด ทางหนึง่ ของสังคม
ย่อมจะมีผลต่อภาษาด้วย ภาษาจึงเป็ นหลักฐานแสดงอารยธรรมและ
วัฒนธรรม ตลอดจน ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
มนุษย์กลุ่มหนึ่ง ๆ ประสบและได้พัฒนาขึน
้ มา ที่ส าคัญภาษา เป็ นเครื่อง
มือในการคิดของมนุษย์และเป็ นสื่อที่ใช้แสดงความคิดซึ่งเป็ นนามธรรม
ออกมาให้ผู้อ่ น
ื เข้าใจด้วย ชน กลุ่มใดมีภาษาซึ่งท าหน้าที่ดังกล่าวได้อย่าง
สมบูรณ์ มีค าศัพท์ที่จะแสดงสิ่งที่เป็ นนามธรรมต่างๆได้อย่างถูกต้อง แจ่ม
ชัด ชนกลุ่มนัน
้ ก็จะคิดได้ลึกซึง้ กว้างไกลและแน่นอน วิทยาการต่าง ๆ ก็
จะเจริญขึน
้ เป็ นเงาตามตัว จากคำนิยามสามารถสรุปได้ว่า ภาษา คือ
ระบบสัญลักษณ์ที่ท าหน้าที่เป็ นเครื่องมือเพื่อติดต่อใช้ สื่อสารกันในสังคม
หนึ่ง ๆ มนุษย์ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความรู้ มนุษย์จึงมี
การถ่ายทอดภาษา ไปสู่ลก
ู หลาน และมนุษย์เรียนรู้ภาษาทัง้ ภาษาแรก
ของตนเอง และภาษาต่างประเทศอยู่เสมอ

2.2 ความสำคัญของภาษา
ภาษามีความสำคัญต่อมนุษย์มาก เพราะนอกจากจะเป็ นเครื่องมือ
ในการสื่อสารแล้ว ยังเป็ น เครื่องมือ ของการเรียนรู้ การพัฒนาความคิด
ของมนุษย์และเป็ นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมและการ ประกอบอาชีพ
ที่ สำคัญ ภาษาช่วยเสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติอีกด้วย เพราะ
ภาษาเป็ นถ้อยคำที่ใช้ในการสื่อสารสร้าง ความเข้าใจกันในสังคม ภาษาจึง
มีประโยชน์มากมาย ได้แก่
1. ภาษาช่วยธำรงสังคม การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในสังคมหนึ่ง ๆ
นัน
้ จะมีความสุขได้ต้องรู้จักใช้ภาษาแสดงไมตรีจิตความ เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่
ต่อกัน การทักทายกัน พูดคุยกัน แสดงกฎเกณฑ์ทางสังคมที่จะปฏิบัติร่วม
กัน การประพฤติตน ให้เหมาะสมแก่ฐานะของตนในสังคมนัน
้ ๆ ทำให้สา
มารถธ ารงสังคมนัน
้ อยู่ได้ไม่ปั่นป่ วนวุ่นวายจนถึงกับเสื่อม สลายไปใน
ที่สุด
2. ภาษาแสดงความเป็ นปั จเจกบุคคล ภาษาแสดงให้เห็นถึงลักษณะ
เฉพาะตัวของบุคคลให้เห็นว่า บุคคลมีอุปนิสัย รสนิยม สติปัญญา ความ
คิดความอ่าน แตกต่างกันไป เช่น คนหนึ่งอาจพูดว่า “ฉันเหนื่อย เหลือ
เกิน ฉันไม่เดินต่อไปอีกแล้ว” อีกคนหนึ่งอาจพูดว่า “เหนื่อย ได้ยินไหม
เหนื่อยจะตายอยู่แล้ว ยังจะให้เดินอีก” อีกคนหนึง่ อาจพูดว่า “เหนื่อยจัง
หยุดพักกันก่อนเถอะ” ส่วนอีกคนหนึ่งพูดว่า “ฉันว่า พักเหนื่อยสัก
ประเดี๋ยว แล้วค่อยไปต่อดีไหมจ๊ะ” เมื่อวิเคราะห์วิธีพูดหรือการใช้ภาษา
ของบุคคลเหล่านีอ
้ าจอนุมานอุปนิสัยของผู้พูดว่าน่าจะเป็ นดังนีค
้ น แรก
ยึดตนเป็ นที่ตงั ้ คนที่สองมักชอบตำหนิผู้อ่ น
ื คนที่สามมีอุปนิสัยชอบ
ชักชวนหรือ เสนอแนะ ส่วนคนสุดท้ายมี อุปนิสัยอ่อนโยน รับฟั งความคิด
เห็นของคนอื่น เป็ นต้น
3. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ มนุษย์ใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้
ความคิดและประสบการณ์ให้แก่กันและกัน ทำให้มนุษย์มีความรู้ กว้าง
ขวางมากขึน
้ และเป็ นรากฐานในการคิดใหม่ ๆ เพื่อทำให้ชีวิตความเป็ นอยู่
และสังคมมนุษย์พัฒนาขึน

4. ภาษาช่วยกำหนดอนาคต การใช้ภาษาสามารถกำหนดอนาคต
เช่น การวางแผน การทำสัญญา การพิพากษา การพยากรณ์ การทำ
กำหนดการต่าง ๆ สิ่งต่างเหล่านี ้ ทำให้เรารู้ว่าอนาคตจะเกิดอะไรขึน
้ บ้าง
กับสังคมนัน
้ ๆ หรือกระทั่งกับ โลกใบนี ้
5. ภาษาช่วยจรรโลงใจ ภาษาช่วยให้เกิดความชื่นบาน มนุษย์พอใจ
ที่อยากจะได้ยินเสียงไพเราะ จึงได้มีการนำภาษาไปเรียบ เรียงเป็ นคำ
ประพันธ์ที่มีสัมผัสอันไพเราะก่อให้เกิดความชื่นบานในจิตใจ และสามารถ
เล่นความหมายของคำใน ภาษาควบคูไ่ ปกับการเล่นเสียงสัมผัสได้จึงทำให้
เกิดคำคม คำผวน สำนวน ภาษิตและการแปลงคำขวัญ เพื่อให้ เกิด
สำนวนที่น่าฟั ง ไพเราะ และสนุกสนานไปกับภาษาด้วย

2.3 ลักษณะทั่วไปของภาษา
ภาษาที่ใช้ส่ อ
ื สารกันมีอยู่มากมายหลายภาษา การศึกษาลักษณะ
ของภาษาต่าง ๆ ทำให้เข้าใจ ลักษณะร่วมที่แต่ละภาษามีเหมือนกัน ดังนี ้
1. ภาษาเป็ นส่วนหนึ่งวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (ม.ป.ป. :
๒๑) ให้นิยามว่า วัฒนธรรม คือ ปั ญญา ความรู้สึกความคิด และ กิริยา
อาการที่มนุษย์สำแดงออกให้เห็นเป็ นสิ่งต่าง ๆ และเป็ นนิสัยความ
ประพฤติในส่วนรวม ซึ่งไม่มีขน
ึ ้ เองตาม ธรรมชาติ แต่มีขน
ึ ้ เพราะมนุษย์
สร้าง หรือจากการงานของมนุษย์ และจะมีวิวัฒนาการเป็ นความเจริญอยู่
เรื่อย วัฒนธรรมต้องการเรียนรู้และถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
ภาษาเป็ นวัฒนธรรม เพราะคนในสังคม จำเป็ นต้องเรียนรู้ภาษาจาก
บรรพบุรุษและถ่ายทอดไปสู่ชนรุ่นต่อไป
2. ภาษาเกิดจากการเรียนรู้ มนุษย์เรียนรู้ภาษาจากบุคคลที่
แวดล้อม เริ่มต้นจากการฟั งคนใกล้ชิดพูด จากนัน
้ จึงเลียนแบบ เสียงพูด
มนุษย์ฝึกพูดมาตัง้ แต่วัยเด็ก ค่อยๆเพิ่มพูนค าศัพท์มากขึน
้ เพื่อที่จะ
สื่อสารทำความเข้าใจกับคนใน สังคมได้ การเรียนรู้ภาษาแม่ (mother
tongue) เด็กอายุประมาณ ๓-๔ เดือนจะเริ่มออกเสียงคำศัพท์ง่าย ๆ เช่น
แม่ และพยายามเรียนรู้จดจำคำศัพท์อ่ น
ื จนกระทั่งอายุประมาณ ๓ ปี จะ
เริ่มพูดประโยคที่มีโครงสร้างไม่ ซับซ้อนได้ เมื่อเติบโตขึน
้ จะเรียนรู้จดจ า
โครงสร้างประโยค วิธีการเรียงค าในประโยค เพิ่มพูนวงศัพท์มากขึน

ทำให้สามารถสร้างประโยคที่มีความสมบูรณ์มากขึน
้ และสามารถสื่อสาร
ได้ในชีวิตประจำวัน
3. ภาษาแต่ละภาษามีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ภาษาทุกภาษาย่อม
ต้องมีโครงสร้าง ทำนองเดียวกับอาคารบ้านเรือนที่มีโครงสร้าง โครงสร้าง
ของ อาคารประกอบด้วย ฐานราก เสา คาน ฝาผนัง หลังคา และส่วน
ย่อยอื่น ๆ เช่น เหล็ก ปูน อิฐ ทราย เป็ นต้น ภาษาก็ประกอบด้วย
โครงสร้างต่าง ๆ โครงสร้างทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษามีความแตกต่าง
กัน เช่น ภาษาไทยจะวางคำขยายไว้หลังค าที่ถูกขยาย แต่ภาษาอังกฤษ
จะวางคำขยายไว้หน้าค าที่ถูกขยาย ดังตัวอย่าง ต่อไปนี ้ beautiful
(สวย) girl (สาว) = สาวสวย
4. ภาษาเป็ นสมบัติของสังคม มนุษย์คือ ผู้สร้างภาษา เพื่อเป็ น
ระบบสัญลักษณ์ในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ
อาจกล่าวได้ว่าภาษาเป็ นสมบัติของสังคมมนุษย์ เพราะมนุษย์ในแต่ละ
สังคมเป็ นผู้ก าหนดภาษาขึน
้ ตกลง ร่วมกันว่าจะใช้คำใดในการสื่อความ
หมาย เช่น การที่คนไทยกำหนดคำทักทายว่า สวัสดี แต่คนพม่าใช้คำ
ทักทายว่า มิงกาลาบา เป็ นต้น
5. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาที่เราใช้ส่ อ
ื สารกันในชีวิตประจำ
วันนัน
้ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเสียง ของคำ นับ
เป็ นการเพิ่มจำนวนคำในภาษาไทยให้มากขึน
้ ซึ่งวิธีการเปลี่ยนแปลงเสียง
ของคำในภาษาไทย มีดังนี ้
5.1 การกร่อนเสียง คือ เสียงพยางค์ต้นหายไปเหลือเพียงบาง
ส่วนโดยพยางค์ต้นเหลือเป็ นสระ อะ เช่น หมากขาม เป็ น มะขาม
ต้นไคร้ เป็ น ตะไคร้ ตัวขาบ เป็ น ตะขาบ
5.2 การแทรกเสียง คือ การเติมเสียงเข้ากลางค าแล้วเสียง
เกิดคอนกันจึงเติมข้างหน้าอีก เพื่อให้ถ่วงดุลกัน เช่น ลูกดุม เป็ น
ลูกกระดุม ดุกดิก เป็ น กระดุกกระดิก
5.3 การเติมพยางค์ คือ การเติมเสียงเข้าหน้าคำและหลังคำ
ของคำหน้าเพื่อให้เกิดดุลเสียงกันเช่น มิดเมีย
้ น เป็ น กระมิดกระ
เมีย
้ น แอมไอ เป็ น กระแอมกระไอ

2.4 บทบาทผู้สอนระดับอุดมศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 ในศาสตร์ด้านการสื่อสาร
ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่กำหนดลักษณะผู้
เรียนมีคุณลักษณะเพิ่มขึน
้ อย่างน้อย 3 ประการ ได้แก่ ความสามารถใน
การคิดเพื่อสร้างองค์ความรู้ ความสามารถในการสื่อสารและความ
สามารถในการสร้างชิน
้ งานบริการสังคม รวมถึงทัศนคติวิธีคิดในการแก้
ปั ญหาสังคม การเรียนการสอนในปั จจุบันจึงได้มีการปรับกระบวนทัศน์
การเรียนรู้เป็ น 5 ขัน
้ ตอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนไปสู่คณ
ุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์ โดยผู้สอนต้องมีความเข้าใจและความสามารถในการพัฒนาผู้
เรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขัน
้ ตอน คือ
ขัน
้ ตอนที่ 1. การเรียนรู้ระบุคำถาม (Learning to
question) การเรียนการสอนในรายวิชา เทคนิคการสื่อสารองค์การแบบ
ผสมผสาน เป้ าหมายของรายวิชาและกลุ่มคือ การใช้การประชาสัมพันธ์
หรือการสื่อสารเพื่อแก้ปัญหา ซึง่ ผู้สอนได้กำหนดโจทย์ไว้ว่า “เราจะใช้
การสื่อสารเพื่อแก้ปัญหาให้ใคร” โดยให้เวลาแก่ผู้เรียนในการเลือกและ
ให้คำตอบประมาณ 3-5 วัน และกลุ่มผู้เรียนได้เลือกการประชาสัมพันธ์
เพื่อเปลี่ยนทัศนคติของคนในสังคมต่อโอกาสของผูพ
้ ิการ จำกัดกลุ่มที่ผู้
บกพร่องทางการได้ยิน ซึง่ ผู้สอนให้ผเู้ รียนขยายผลของกิจกรรมให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดในการดำเนินโครงการทัง้ ต้อสังคมและมหาวิทยาลัยฯ ผู้
เรียนได้เลือกโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ เป็ นตัวแทนของผู้
บกพร่องทางการได้ยินของสังคม
ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้ระบุคำถามนี ้ คือ การที่ผู้
สอนตัง้ คำถามปลายเปิ ดกับกลุ่มผู้เรียน พร้อมทัง้ เสนอทางเลือกที่หลาก
หลายให้แก่ผู้เรียน เช่น การทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อชีน
้ ำสังคมต่อ
ปั ญหาของผู้ป่วยจิตเวช หรือการปรับทัศนคติของคนในสังคมต่อคน
ขอทาน หรือการทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อการระดมทุนให้แก่หน่วยงาน
ต่างๆ ซึ่งทางเลือกเหล่านี ้ ผูส
้ อนได้อธิบายมุมมองของเรื่องต่างๆ ให้ผู้
เรียนได้เรียนรู้ ข้อมูลเหล่านีจ
้ ะได้มาต่อเมื่อผู้สอนได้เก็บรวบรวมเป็ น
ประสบการณ์และถ่ายทอดให้แก่ผู้เรียน ดังนัน
้ การถ่ายทอด
ประสบการณ์ดังกล่าวใช้การสื่อสารแบบสองทาง (Two-way
communication) เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตงั ้ คำถามแลกเปลี่ยนความคิด
เห็นและมุมมองต่างๆ ร่วมกับกับผู้สอน ส่วนนีจ
้ ึงเป็ นการเรียนรู้ร่วมกัน
ขัน
้ ตอนที่ 2. การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ (Learning to
search) ขัน
้ ตอนนีผ
้ ส
ู้ อนกำหนดไว้ให้ผู้เรียนต้องใช้ทักษะการใช้
คอมพิวเตอร์ (Computing Skill) ทัง้ ในด้านของการเก็บข้อมูลศึกษา
โครงการ และข้อมูลประกอบการดำเนินงานผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ผู้
สอนใช้วิธีการชีแ
้ นะ (Coaching) เป็ นหลัก โดยมีวัตถุประสงค์การดำเนิน
งานของผู้เรียนเป็ นที่ตงั ้ และรับฟั งสิ่งที่ผู้เรียนคิดและแผนงานที่จะ
ดำเนินงาน โดยผูส
้ อนทำหน้าที่ชแ
ี ้ นะปั ญหาที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึน

และขัน
้ ตอนการประสานงานรวมถึงตัง้ คำถามจากแผนงานของผู้เรียน ให้
ผู้เรียนได้ศึกษาหาคำตอบด้วยตนเองและมาอธิบายให้ผส
ู้ อนฟั งในภาย
หลัง โดยอาศัยวิธีการชีแ
้ นะแนวทางที่เหมาะสมมากกว่าการประเมินคำ
ตอบของผู้เรียนว่าสิ่งนัน
้ ถูกหรือผิด ดังนัน
้ ส่วนนีจ
้ ึงเป็ นการจัดการเรียน
รู้ในแบบเน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง (Child – centered approach)
ผลที่ปรากฏกับผู้เรียนในกระบวนการนีค
้ ือ ผู้เรียนได้
ดำเนินงานตามแผนงานและจุดประสงค์การทำงานที่กำหนด โดยที่ผู้
เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือสื่อสารอื่นที่สามารถเข้า
อินเตอร์เน็ตได้ในการค้นคว้าหาข้อมูล สะท้อนถึงทักษะการใช้
คอมพิวเตอร์ของผู้เรียน ทัง้ นีจ
้ ากการสังเกต ผู้เรียนเลือกใช้สมาร์ทโฟน
(Smartphone) ในการค้นคว้าหาข้อมูลมากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์
ขัน
้ ตอนที่ 3. การเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ (Learning to
construct) การหาความรู้ของผู้เรียนนัน
้ ผู้สอนได้เปิ ดให้ผู้เรียนร่วมกัน
อภิปรายงาน ซึ่งการอภิปรายนัน
้ ผูส
้ อนได้เฝ้ าสังเกตพร้อมทัง้ ให้คำ
ปรึกษาในบางเรื่อง พบว่า การเปิ ดให้ผู้เรียนได้มีการอภิปรายโดยอิสระ
พฤติกรรมผู้เรียนที่ปรากฏคือ การค้นคว้าข้อมูล การประเมินแผนการ
ทำงานและผลกระทบต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึน
้ และสามารถสรุปประเด็น
เสนอผูส
้ อนได้ในเวลาที่กำหนด โดยสามารถร่วมอภิปรายกับผู้สอนได้
อย่างมีหลักการและเหตุผล
นอกจากนีก
้ ารประสานงานระหว่างผู้เรียนและโรงเรียน
เศรษฐเสถียร จากการสังเกตพบว่า ผู้เรียนได้นำคำปรึกษาไปปรับใช้ใน
การดำเนินงาน และประสานงานในการเก็บข้อมูลได้ตามแผนงานที่วางไว้
ขัน
้ ตอนที่ 4. การเรียนรู้เพื่อสื่อสาร (Learning to
communicate) ด้วยลักษณะของโครงการที่ดำเนินงานนัน
้ มีลักษณะ
เป็ นกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social
Responsibility: CSR) ผู้เรียนจำเป็ นต้องประสานงานติดต่อกับทาง
โรงเรียนเศรษฐเสถียรเพื่อนำเสนอโครงการกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาศัยการ
ทำงานตามหลัก 3P ได้แก่
1.) การวางแผน (Planning) ผู้เรียนทำความเข้าใจ
โครงการและแผนงานเพื่อการนำเสนอต่อทางโรงเรียนเศรษฐเสถียร โดยมี
การแบ่งหน้าที่การทำงาน
2.) ขัน
้ เตรียม/ซักซ้อม (Preparation) ผู้เรียนได้สรุป
ข้อมูลและสาระสำคัญของโครงการเสนอต่อทางโรงเรียนเศรษฐเสถียร
ได้แก่ วัตุประสงค์ของโครงการ กิจกรรมที่จะดำเนินการและสิ่งที่จะขอ
ความอนุเคราะห์จากโรงเรียนช่วยดำเนินการ คือ นักเรียนร่วมถ่ายทำ
คลิปประชาสัมพันธ์ อาสาสมัครที่จะสอนภาษามือให้แก่ผู้เรียนและขัน

ตอนการขอใช้สถานที่
3.) การนำเสนอ (Presentation) ผู้เรียนได้นำเสนอ
โครงการต่อโรงเรียนเศรษฐเสถียรตามที่ได้วางแผนและเตรียมการไว้
การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึน
้ จากการดำเนินงานดัง
กล่าวผ่านการสังเกตพฤติกรรมการดำเนินงานของผู้เรียนและความคืบ
หน้าต่างๆ นัน
้ พบพัฒนาการที่ดี กล่าวคือ ผูเ้ รียนมีความรับผิดชอบต่อ
งานของตนเองมากขึน
้ คำนึงถึงขัน
้ ตอนการทำงานและการประสานงาน
ที่อยู่นอกขอบเขตตนเองมากขึน
้ ซึ่งสะท้อนได้จากการปรับกระบวนการ
ดำเนินงานในขัน
้ ตอนการวางแผนผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้กระชับและ
เป็ นประโยชน์ต่อการดำเนินงานมากที่สุด โดยเป็ นการประชุมกันในกลุ่ม
และตัดสินใจกันเอง
ขัน
้ ตอนที่ 5. การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (Learning to
service) ขัน
้ ตอนนีเ้ ป็ นขัน
้ ตอนที่ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ พร้อมทัง้
ประยุกต์ใช้ความรู้กับสถานการณ์ใหม่หรือภาระงานอื่นเพื่อเป็ นหลักฐาน
แสดงว่าผู้เรียนเข้าใจและมีการนำผลงานไปเผยแพร่ ซึ่งเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ของรายวิชา เทคนิคการสื่อสารองค์การแบบผสมผสาน ที่
ต้องการให้ผู้เรียนใช้ความรู้ที่ศึกษามาตลอดหลักสูตรในการสร้าง
ประโยชน์ให้สังคม
กลุ่มผู้เรียนได้ดำเนินโครงการเพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ซึ่งเป็ นโรงเรียนสำหรับผู้บกพร่องทางการได้ยิน มี
วัตถุประสงค์การสื่อสารคือ ให้คนในสังคมตระหนักถึงโอกาสทางการ
ศึกษาของผู้บกพร่องทางการได้ยิน และตระหนักถึงปั ญหาในการใช้ชีวิต
ประจำวันของผู้บกพร่องทางการได้ยิน พร้อมทัง้ การเปิ ดช่องทางการรับ
บริจาคเงินสมทบทุนเพื่อสร้างโอกาสให้แก่นักเรียนของโรงเรียน โดย
กิจกรรมนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรม CSR ของหลักสูตรนิเทศศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ฯ
การจัดการสอนจึงเน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง อาศัยการตัง้ คำถาม
เพื่อกำหนดทิศทางการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน และให้อิสระผู้เรียนในการคิด
และวางแผนดำเนินการด้วยตนเอง ผู้สอนทำหน้าที่เป็ นที่ปรึกษาและผู้
อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน โดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ผ่าน
การอภิปรายและการสอบถามรายบุคคล กำหนดกลยุทธ์การสอนให้ผู้
เรียนต้องมาพบตามเวลานัดหมาย โดยกำหนดตารางนัดหมายให้มีความ
ยืดหยุ่นไม่เน้นเวลาที่แน่นอน เพื่อสังเกตความรับผิดชอบของกลุ่มผู้เรียน
นอกจากนีใ้ นการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนนัน
้ จะไม่วางบทบาทตนเองใน
สถานภาพอาจารย์ (ผู้สอน) แต่วางบทบาทเป็ นส่วนหนึ่งของทีมงาน
เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาการทำงานเป็ นแบบอย่างและปลูกฝั งทัศนคติการ
ทำงานให้แก่ผเู้ รียนได้นำไปใช้
ผู้สอนในยุคใหม่ควรมีวิธีสอนในรูปแบบสืบสอบ (Inquiry
teaching method) ร่วมกับวิธีสอนแบบโครงงาน (Project teaching
method) แม้ว่าตามหลักการแล้ววิธีการสอนทัง้ 2 รูปแบบมีวิธีการตาม
หลักวิทยาศาสตร์คอยกำกับ แต่ด้วยลักษณะโครงการที่ผู้เรียนเสนอนัน

เป็ นเรื่องของการสื่อสารหรือนิเทศศาสตร์ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของ
ศิลปศาสตร์ส่งผลให้กระบวนการจัดการสอนมีความยืดหยุ่นและปรับ
เปลี่ยนไปตามสถานการณ์โดยหวังผลที่ประสบการณ์ผู้เรียนเป็ นหลัก
ดังนัน
้ ในการเรียนการสอนครัง้ นีค
้ วามรู้ของผู้เรียนที่ได้ในรูป
แบบวิธีการสอนแบบสืบสอบ จึงเป็ นความรู้ที่ผู้เรียนรู้และไม่ร้ม
ู าก่อน
ซึ่งความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนได้มาจากการทำงานที่ผิดพลาด เป็ นการเรียนรู้
จากความผิดพลาดในการประสานงาน ซึ่งช่วยสร้างความระมัดระวังใน
การทำงานมากขึน
้ บทบาทของผู้สอนในการให้ผู้เรียนเรียนรู้จากความ
ผิดพลาดครัง้ นีค
้ ือ การให้คำปรึกษาและการตัดสินใจที่จะล้มเลิกสิง่ ที่ผู้
เรียนทัง้ กลุ่มได้ดำเนินการเสร็จสิน
้ โดยอธิบายเหตุผลประกอบการตัดสิน
ใจให้ผเู้ รียนรับรู้ รวมถึงอภิปรายในประเด็นความผิดพลาดดังกล่าว ใน
ด้านความรู้ที่ได้จากในวิธีการสอนแบบโครงงาน ผู้เรียนได้เรียนรู้
กระบวนการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนัน
้ ผู้เรียนได้
เรียนรู้และปฏิบัติมาก่อน ผู้สอนสามารถขยายขอบเขตงานให้ใหญ่ขน
ึ ้ ได้
ซึ่งในกรณีนผ
ี้ ส
ู้ อนกำหนดให้การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์จะต้องส่งให้
องค์กรอื่นได้ใช้งานจริง โดยต้องผ่านการทดลองใช้ก่อน ผลการเรียนรู้นี ้
เป็ นสิง่ ที่ผู้สอนไม่เคยรู้มาก่อน ทำให้คาดเดาผลที่เกิดขึน
้ จากการเผยแพร่
งานได้ยาก การวางแผนของผู้สอนในเรื่องนี ้ คือ การวิเคราะห์
สถานการณ์ร่วมกับศึกษากฎหมายที่มีความเกี่ยวข้องก่อนการตัดสินใจ
และให้คำปรึกษาผู้เรียน
2.4.1 กลยุทธ์ผู้สอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ 5 ขัน
้ ตอน ภายใต้กลยุทธ์การเรียนการสอนและ
กระบวนการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการพัฒนาด้าน
ความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้สอนดำเนินการ ดังนี ้
ด้านความรู้ อาศัยกระบวนการเรียนรู้สร้างความรู้และความ
เข้าใจด้วยรูปแบบการสืบสอบและการเรียนรู้แบบโครงงาน โดยรูปแบบ
ของโครงงานนีผ
้ ู้สอนกำหนดเป้ าหมายไว้ที่ การนำผลงานไปใช้จริง นั่น
คือ ชุดสื่อประชาสัมพันธ์ทงั ้ หมดนัน
้ ต้องเผยแพร่สู่สาธารณชนได้จริงตาม
แผนการประชาสัมพันธ์ และต้นสังกัดที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ประโยชน์ได้
จริงในระยะยาว
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจตคติ แบ่งย่อยได้เป็ น
1. จริยธรรมในตัวบุคคล เริ่มต้นจากผู้สอนวางตัวเป็ นแบบ
อย่าง เช่น ต้องการให้ผเู้ รียนรับผิดชอบต่อเวลา ผูส
้ อนต้องรับผิดชอบต่อ
เวลาของตนเองที่นัดหมายกบผู้เรียนก่อน เริ่มต้นจากการนัดผู้เรียนว่าจะ
ตรวจงานพร้อมทัง้ เขียนข้อเสนอแนะภายในเที่ยงคืนวันนี ้ ผู้สอนต้อง
ทำได้ตามเวลา เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ผู้เรียน หรือมุมมองใน
การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ ผู้สอนแสดงให้ผู้เรียนรู้จักการใช้กฎหมาย
ด้านละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือละเมิดสิทธิเด็ก โดยการแนะนำแนวทาง
แก้ไขให้แก่ผู้เรียนดำเนินการ พร้อมการอธิบายเหตุผลประกอบ
2. การใช้เทคโนโลยีของผู้เรียน ด้วยการที่หลักสูตรของผู้
เรียนเป็ นหลักสูตรนิเทศศาสตร์ฯ ผู้เรียนจึงมีทักษะพื้นฐานด้านเทคโนโลยี
อยู่ในระดับหนึ่ง สามารถใช้ในการดำเนินงานตามเป้ าหมายของโครงการ
ได้ ในด้านนีห
้ ลักสูตรและผู้สอนต้องวางแผนระยะยาว อาศัยการพัฒนา
ผู้เรียนตามหลักสูตร ซึง่ จะมีรายวิชาอื่นๆ ที่สามารถฝึ กทักษะผู้เรียนใน
ด้านนีเ้ ป็ นหลัก เมื่อมาถึงรายวิชาหรือโครงการของผู้เรียนนี ้ ผูส
้ อน
มีหน้าที่สนับสนุนและให้คำปรึกษาผู้เรียนเท่านัน

ด้านทักษะและกระบวนการ ประกอบด้วยประเด็นย่อย ได้แก่
1. การรู้หนังสือ ผูส
้ อนกำหนดรายละเอียดการทำงานที่ทำให้
ผู้เรียนต้องอาศัยทักษะการเขียน การพูด ทัง้ ในรูปเล่มโครงการและสรุป
โครงการ บทพูดในคลิปวีดีโอ นอกจากนีผ
้ ู้สอนเพิ่มเติมการฝึ กทักษะการ
ออกแบบภาษา สำเนียงการพูดให้แก่ผเู้ รียนผ่านโครงการของผู้เรียนใน
ลักษณะการอธิบายเสริมและการยกตัวอย่าง
2. การรู้เรื่องจำนวน ผู้สอนแฝงทักษะนีผ
้ ่านแผนการ
ประชาสัมพันธ์ โดยกำหนดให้ผู้เรียนต้องเผยแพร่ส่ อ
ื ประชาสัมพันธ์แต่ละ
สื่อทางสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) โดยกำหนดเป้ าหมายของ
จำนวนผู้ชมไว้ ผู้เรียนต้องวางแผนและดำเนินการให้สำเร็จตามเป้ าหมาย
ที่กำหนด
3. ความสามารถในการใช้เหตุผล ทักษะนีพ
้ ัฒนาคู่กับการ
สร้างการเรียนรู้ ผูส
้ อนจะต้องอธิบายเหตุผลอันได้มาซึ่งคำปรึกษาและคำ
สั่งแก่ผู้เรียน ทำตนเองเป็ นแบบอย่างให้ผู้เรียนทำตาม นอกจากนี ้ การ
แนะนำผู้เรียนผู้สอนไม่ควรตัดสินว่าถูกหรือผิด แต่ใช้การสอบถามถึง
เหตุผลการทำงานอันได้มาซึ่งแผนงานหรือผลงานดังกล่าว อันจะเป็ นการ
ฝึ กผู้เรียนให้คิดและปฏิบัติงานภายใต้หลักเหตุและผล ข้อดีของรูปแบบ
การสอนลักษณะนีค
้ ือ ผู้สอนจะไม่เข้าไปก้าวก่ายโครงงานที่ผู้เรียนเป็ น
คนคิดริเริ่มจนผู้เรียนเกิดความรู้สึกว่า โครงงานนีไ้ ม่ใช่ของตนเองแต่เป็ น
ของผูส
้ อน
4. ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการสอนนีใ้ ช้
การสร้างโครงงานเป็ นสื่อการสอน ซึ่งผู้สอนกำหนดปั ญหาให้ผู้เรียนได้
แก้ไข โครงการ Give chance project เป็ นการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์
เพื่อแก้ปัญหาที่สังคมขาดการตระหนักถึงโอกาสทางการศึกษาของ
นักเรียนผู้บกพร่องทางการได้ยิน ผูเ้ รียนจึงต้องมีการศึกษา ค้นคว้าและ
ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ในการเผยแพร่สู่สงั คม
5. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในการสร้างสื่อ
ประชาสัมพันธ์ ผู้เรียนจะต้องคิดให้รอบด้านถึงผลกระทบทัง้ ต่อตัวบุคคล
องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบการตัดสินใจหรือการออกแบบ
สื่อประชาสัมพันธ์ให้เป็ นประโยชน์สงู สุด
6. ทักษะการทำงานอย่างรวมพลัง ผู้สอนกำหนดโครงงานให้
ผู้เรียนเป็ นกลุ่ม มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ ให้ผู้เรียนกำหนดกติการและ
บทลงโทษกันเอง ผู้สอนกำหนดช่องทางการสื่อสารให้ผู้ผู้เรียน และเครา
พในบทบาทของผู้เรียนในการดำเนินงาน
7. ทักษะการสื่อสาร ด้วยหลักสูตรของผู้เรียนเป็ นหลักสูตร
ด้านการสื่อสาร ผู้เรียนจึงมีทักษะด้านนีอ
้ ยู่แล้ว ทัง้ นีผ
้ ู้สอนควรต้องแฝง
การใช้เหตุผลในการสื่อสารให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่สมบูรณ์
ที่สุด
8. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ทักษะนีอ
้ าศัยรายวิชาอื่นๆ ที่
จัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์รับหน้าที่ฝึกและ
สอนผู้เรียนให้เกิดทักษะ และในการดำเนินโครงงาน ผู้สอนมีหน้าที่เพียง
ออกแบบกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ทบทวนทักษะดังกล่าว

2.4.2 ผู้สอนจำเป็ นต้องมีพ้ืนฐานจิตวิทยาด้านการสื่อสาร


ในทางจิตวิทยาระบุว่า ความรู้ ความรู้สึก พฤติกรรม
อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามบริบทแวดล้อมของผู้เรียน ดังนัน
้ ในกลยุทธ์การ
สอนทัง้ หมดอาจมีผู้เรียนที่มีความรู้สึกไม่ชอบในกลยุทธ์การสอนข้อหนึ่ง
อาจส่งผลถึงการเรียนรู้ของผู้เรียนรายนัน
้ ทัง้ หมดหรือบางส่วนก็ได้ ผู้สอน
จึงต้องมีการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนที่แสดงออกต่อการเรียนหรือ
กลยุทธ์การสอนเป็ นระยะหรือตลอดการสอน เพื่อจะทำให้ผลสัมฤทธิ ์
การเรียนรู้เกิดกับตัวผู้เรียนมากที่สุด ผู้สอนจึงอาจมีการสอนหรือให้คำ
ปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็ นรายบุคคลในบางกรณีอีกทัง้ สิ่งแวดล้อมทางสังคม
ของผู้เรียนมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มีต่อ
กัน การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ กลุ่มและแนวทางปฏิบัติของกลุ่ม
สถานการณ์และประสบการณ์ของผู้เรียนในกลุ่มแต่ละคน ปั จจัยต่าง ๆ
เหล่านีม
้ ผ
ี ลต่อการสร้างทัศนคติในตัวผู้เรียน และจะสะท้อนผลลัพธ์ไปยัง
กระบวนการสร้างทักษะการทำงานอย่างรวมพลัง ซึ่งเป็ นหนึ่งในทักษะ
สำคัญที่จะทำให้โครงงานของผู้เรียนประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวได้
สิ่งที่ผส
ู้ อนจัดการในส่วนนีค
้ ือ การเก็บข้อมูลผู้เรียนในกลุ่มแต่ละคน เช่น
การดูผลการเรียนในแต่ละรายวิชา การพูดคุยกับผู้เรียนและการสังเกต
ความถนัดเฉพาะทางของผู้เรียน เพื่อให้ผู้สอนสามารถวางแผนกำหนด
หน้าที่ให้ผู้เรียนในแต่ละคนได้ รวมถึงการพัฒนาจุดอ่อนในตัวผู้เรียน
กลยุทธ์ทางจิตวิทยาที่ผู้สอนได้ดำเนินการได้แก่
1. ให้กลุ่มผูเ้ รียนเลือกหัวหน้ากลุ่มขึน
้ มา โดยผู้สอนอธิบาย
บทบาทของหัวหน้ากลุ่มไว้ก่อนการคัดเลือก เช่น การติดตามงาน การ
วางแผนดำเนินงาน รวมถึงการร่วมประเมินผลงานรายบุคคลร่วมกับผู้
สอน เพระฉะนัน
้ บุคคลที่กลุ่มผู้เรียนเลือกนัน
้ ทุกคนต้องเห็นตรงกันว่ามี
ความรับผิดชอบสูง และมีความเป็ นกลางรวมถึงการมีภาวะผู้นำ
2. จากการที่ผส
ู้ อนได้ข้อมูลผู้เรียนแต่ละบุคคลแล้วนัน
้ ผูส
้ อน
จะกำหนดหน้าที่กว้างๆ แก่ผู้เรียนซึ่งจะประกอบไปด้วยงานหรือหน้าที่ที่ผู้
เรียนชอบหรือถนัด และงานหรือหน้าที่ที่ผู้เรียนนัน
้ ไม่ถนัด กระบวนการ
นีอ
้ าศัยแนวคิดการเลือกใช้คนให้ตรงกับงาน ร่วมกับการพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ของผู้เรียนให้รอบด้าน
3. ด้านการสร้างจริยธรรมในตัวบุคคลและการพัฒนาทักษะ
ความสามารถในการใช้เหตุผล บทบาทสำคัญของผู้สอนในด้านนี ้ คือ
การวางตนเองเป็ นแบบอย่างแก่ผู้เรียน เริ่มจากการตรงต่อเวลาของผู้
สอน ส่งผลให้ผู้เรียนรู้สึกถึงความสำคัญต่อการตรงต่อเวลา สังเกตได้
จากการส่งความคืบหน้างานตรงตามเวลานัดหมาย หรือการนัดประชุม
แต่ละครัง้ ผู้เรียนจะพยายามมาให้ตรงเวลามากที่สุดหรือถ้ามาไม่ได้จะมี
การแจ้งล่วงหน้า และการยอมรับบทลงโทษของกลุ่มกับการไม่รักษาเวล
เป็ นต้น ผู้สอนสามารถใช้กระบวนการนีใ้ นการสร้างบรรยากาศความ
กดดันในการดำเนินงานให้แก่ผู้เรียน เรียนรู้การทำงานภายใต้แรงกดดัน
จากสิ่งเร้ารอบข้าง ในขณะเดียวกันการพัฒนาทักษะการใช้เหตุผลของผู้
เรียน ต้องมีการปรับบทบาทผู้สอนจากอาจารย์ให้เป็ นส่วนหนึ่งของทีม
งานหรือที่ปรึกษา ซึง่ ในโครงการนีพ
้ บว่าในช่วงเริ่มแรก ผูเ้ รียนได้ดำเนิน
งานทุกอย่างแล้วเสร็จตาแผนงานแต่ผลลัพธ์ที่ได้นน
ั ้ ไม่สมบูรณ์ตามเป้ า
หมายที่วางไว้ ผูส
้ อนตัดสินใจยกเลิกผลงานเหล่านัน
้ และเปลี่ยนแผนงาน
ใหม่ โดยการอธิบายเหตุผลและผลกระทบที่จะตามมาให้แก่ผู้เรียนอย่าง
ละเอียด เปรียบเสมอนการเฉลยข้อสอบให้ผู้เรียนได้เข้าใจเหตุผลความ
ผิดพลาดที่เกิดขึน
้ พัฒนาการที่เกิดขึน
้ จากประเด็นนี ้ คือ ผูเ้ รียนมีการ
คิดถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึน
้ มากกว่าผลสำเร็จของชิน
้ งานที่ทำ

บทที่ 3

วิธีดำเนินโครงการ
ในการทําโครงการเรื่อง ความแตกต่างทางบุคลิกภาพของผู้เรียนส่ง
ผลต่อการใช้ภาษาในการสอนหรือไม่ มีขน
ั ้ ตอน และวิธีการดังนี ้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ นิสิตสาขาคณิตศาสตร์
จำนวน 29 คน และ นิสิตสาขาพลศึกษา จำนวน คน คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ชัน
้ ปี ที่ 1 ในภาคการศึกษาที่ 1 ปี
การศึกษา 2566 ที่ลงทะเบียน 0308110 รายวิชาครูนักพัฒนา และ
อาจารย์มหาวิทยาลัยทักษิณ ผูส
้ อนรายวิชาครูนักพัฒนา

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครัง้ นีป
้ ระกอบด้วย
3.2.1 แบบสอบถาม เกี่ยวกับความแตกต่างทาง
บุคลิกภาพ การตอบสนองของผู้เรียนเเละความเเตกต่างการใช้ภาษาของ
ผู้สอน โดยสอบถามจากผู้สอนรายวิชาครูนักพัฒนา
3.2.2 แบบสังเกต เป็ นการสังเกตภาษาที่ใช้ของอาจารย์
ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมการสอนของอาจารย์ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมเเละ
การใช้ภาษาของผูเ้ รียนขณะอยู่ในชัน
้ เรียน สังเกตความเเตกต่างในการใช้
ภาษาของผู้สอนที่เกิดขึน
้ ระหว่างนิสิตต่างสาขาวิชาเเละสังเกตบรรยากาศ
การสื่อสารในภาพรวมภายในชัน
้ เรียนระหว่างที่มีการจัดการเรียนการ
สอน

3.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกวิดีโอการเรียนการสอนในรายวิชา
ครูนักพัฒนาของสาขาคณิตศาสตร์เเละสาขาพลศึกษาเพื่อสังเกตภาษาที่
ใช้ของอาจารย์ผู้สอน พฤติกรรมการสอนของอาจารย์ผู้สอน พฤติกร
รมเเละการใช้ภาษาของผู้เรียนขณะอยู่ในชัน
้ เรียน ความเเตกต่างในการใช้
ภาษาของผู้สอนที่เกิดขึน
้ ระหว่างนิสิตต่างสาขาวิชาเเละบรรยากาศการ
สื่อสารในภาพรวมภายในชัน
้ เรียนระหว่างที่มีการจัดการเรียนการสอน
รวมทัง้ อาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับความเเตกต่างทางบุคลิกภาพ การตอบสน
องเเละการใช้ภาษาของผูเ้ รียนทัง้ สองสาขาวิชา
3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลครบถ้วนเเล้ว จากนัน
้ นำข้อมูลภาพ เสียงจาก
การบันทึกวิดีโอเเละการสอบถามจากผู้สอนรายวิชาครูนักพัฒนามา
วิเคราะห์การใช้ภาษาของผู้สอนเเละสังเกตความเเตกต่างการใช้ภาษาของ
ผู้สอนในการสอนทัง้ สาขาคณิตศาสตร์เเละสาขาพลศึกษา

You might also like