You are on page 1of 64

สารบัญ

หน่วยที่
๑ ภาษากับการสื่อสาร ๒
หน่วยที่
๒ การใช้ถ้อยคำ� ๗
หน่วยที่
๓ การใช้ประโยค สำ�นวนโวหาร และระดับภาษา ๑๑
หน่วยที่
๔ การฟังและการดูสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๑๖
หน่วยที่
๕ การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๒๐
หน่วยที่
๖ การเขียน ๒๖
หน่วยที่
๗ การเขียนประเภทต่าง ๆ ๓๓
การเขียนประวัติย่อ การกรอกแบบฟอร์ม
หน่วยที่
๘ และการเขียนข้อความติดต่อกิจธุระ ๓๘
หน่วยที่
๙ การเขียนรายงานเชิงวิชาการและการเขียนโครงการ ๔๔
หน่วยที่
๑๐ การพูด ๔๘
หน่วยที่
๑๑ การพูดในโอกาสต่าง ๆ (๑) ๕๒
หน่วยที่
๑๒ การพูดในโอกาสต่าง ๆ (๒) ๕๖
หน่วยที่
๑๓ เทคนิคการพัฒนาทักษะการรับสารและส่งสาร ๕๙
หน่วยที่
๑ ภาษากับการสื่อสาร

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕–๖ คน คิดสถานการณที่เกี่ยวกับการสื่อสารที่สัมฤทธิผลและไมสัมฤทธิผลตาม
หลักการสื่อสารที่ดี และแสดงบทบาทสมมุติในสถานการณที่กลุมตนเองคิดขึ้นมา
๒. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน ทําผังมโนทัศนเกี่ยวกับความสําคัญของภาษาและการสื่อสาร
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. วัจนภาษาและอวัจนภาษาคืออะไร และแตกตางกันอยางไร
วัจนภาษา หมายถึง การสื่อสารที่มนุษยใชถอยคําและตัวอักษรในการสื่อความหมาย เชน ภาษาพูดและภาษา
เขียน สวนอวัจนภาษา คือ ทุกสิ่งที่มนุษยใชในการสื่อสารกันยกเวนภาษาพูดและภาษาเขียน เชน สัญลักษณตาง ๆ
เปนตน ดังนั้นวัจนภาษาและอวัจนภาษามีความแตกตางกันที่วิธีการที่ใชสื่อความหมายนั่นเอง
๒. ความสําคัญของภาษามีกี่ขอ อะไรบาง
ความสําคัญของภาษามี ๖ ขอ คือ
๑. ภาษามีลักษณะเปนวัฒนธรรม ๒. ภาษาเปนสมบัติของสังคม
๓. ภาษาเปนศาสตรและศิลป ๔. ภาษาเปนเครื่องมือที่ใชติดตอสื่อสารและสื่อความคิด
๕. ภาษาเปนเครื่องมือในการคิด ๖. ภาษาชวยใหบรรลุพันธกิจตาง ๆ และชวยธํารงสังคม
๓. มนุษยใชภาษาในการแกปญหาและสรางสรรคสังคมอยางไรบาง
การพูดคุยหรือเจรจาเพื่อยุติปญหาความขัดแยง การใชคําขวัญรณรงคใหเกิดการอนุรักษสิ่งแวดลอม เปนตน
๔. องคประกอบของการสื่อสารมีกี่ขอ อะไรบาง
องคประกอบของการสื่อสารมีทั้งหมด ๔ ขอ คือ ๑. ผูสงสาร ๒. สาร ๓. สื่อ ๔. ผูรับสาร
๕. สถานการณ : ผูเรียนเขาฟงบรรยายโดยวิทยากรทานหนึ่งที่ใชโปรแกรมนําเสนอและแผนพับ ประกอบการบรรยาย
จากสถานการณนี้มีการใชสื่อกี่ชนิด อะไรบาง
ขอความขางตน ปรากฏสื่อ ๔ ชนิด คือ
๑. สื่อบุคคล – วิทยากร ๒. สื่ออิเล็กทรอนิกส – โปรแกรมนําเสนอ
๓. สื่อสิ่งพิมพ – แผนพับ ๔. สื่อเฉพาะกิจ – การบรรยาย

2
๖. สถานการณ : ผูเรียนเรียกใหเพื่อนชวยทํางานกลุม แตเพื่อนปฏิเสธ จากสถานการณนี้ ผูเรียนคิดวามีปฏิกิริยา
ตอบสนองโตตอบหรือไม ถามีคืออะไรจงอธิบาย
มี ในสถานการณนี้ปฏิกิริยาตอบสนอง คือ การปฏิเสธจากเพื่อน เนื่องจากเปนการตอบกลับจากผูรับสาร
๗. องคประกอบของการสื่อสารแตละองคประกอบมีความสัมพันธกันอยางไร
ผูส ง สาร คือ แหลงกําเนิดสารสงตอขอมูลหรือสารผานสือ่ ซึง่ เปนตัวกลางไปยังผูร บั สารทีเ่ ปนผูร บั ขอมูลทัง้ หมด
ไปทําความเขาใจ
๘. ภาษาและการสื่อสารมีความสัมพันธกันอยางไร จงอธิบาย
มนุษยใชภาษาเปนเครือ่ งมือในการสือ่ ความหมายตาง ๆ เพือ่ แสดงออกถึงความรู ความคิด ทัศนคติ หรือความเชือ่
ตาง ๆ จึงใชภาษาสื่อสารอยางเปนกระบวนการเพื่อถายทอดขอมูลที่ตองการนําเสนอ โดยมีผูสงสารทําหนาที่สงสาร
ลักษณะตาง ๆ ผานสื่อไปยังผูรับสาร เพื่อใหผูรับสารรูและเขาใจความหมายของสารนั้น
๙. สารที่ดีควรมีลักษณะอยางไรตามหลักการสงสารและรับสาร
สารที่ดีตามหลักการรับสารและสงสารมีดังนี้
๑. เนื้อหาของสารควรจะมีระดับความรูที่เหมาะสมกับทั้งผูสงสารและผูรับสาร
๒. เนื้อหาสาระของสารจะตองมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคของการสื่อสาร
๓. ภาษาที่ใชในสารควรสอดคลองกับลักษณะของสารและชองทางการสื่อสาร
๔. สารควรมีลักษณะที่เหมาะสมกับบริบทสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อและคานิยมของทั้งผูสงสาร
และผูรับสาร
๕. สารควรมีปริมาณที่เหมาะสมกับการสื่อสารแตละครั้ง คือ ไมมากหรือนอยจนเกินไป
๑๐. “วิธีสื่อสารที่ประสบความสําเร็จของสังคมหนึ่ง อาจจะเปนวิธีสื่อสารที่ลมเหลวของอีกสังคมหนึ่ง” จากคํากลาวนี้
สะทอนใหเห็นวาการเลือกวิธีการสื่อสารควรคํานึงถึงสิ่งใด
การเลือกวิธกี ารสือ่ สารควรคํานึงถึงบริบททางวัฒนธรรมดวย เชน ถาสือ่ สารในประเทศไทยก็จาํ เปนตองคํานึงถึง
มารยาท กาลเทศะ ความอาวุโส เปนตน

3
ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว
๑. ขอใดมีการใชภาษาทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา
ง. ไกรบีบแตรและตะโกนบอกใหรถที่เสียอยูหลบไป
๒. “สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ชอฟาตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร”
(สามัคคีเภทคําฉันท : ชิต บุรทัต)
จากบทประพันธนี้แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของภาษาในดานใด
ค. ภาษาเปนศาสตรและศิลป
๓. องคประกอบของการสื่อสารขอใดที่สามารถเปลี่ยนสถานะไดในกรณีที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง
จ. ถูกทั้ง ก. และ ง.
๔. ขอใดไมใชเนื้อหาของสารที่มีลักษณะเปนขอเท็จจริง
ข. เปนความรูสึกของคนสวนใหญในสังคม
๕. สื่อขอใดมีลักษณะแตกตางจากขออื่น
จ. จดหมายเชิญประชุม
๖. “ตาอินชอบฟงพระเทศนผา นวิทยุ แกบอกวาฟงแลวชืน่ ใจเหมือนจะไดไปสวรรค” จากขอความนี้
ตาอินไดใชประโยชนจากภาษาในแงใด
ง. ใชภาษาสรางความสุขทั้งทางโลกและทางธรรม
๗. ปฏิกิริยาตอบสนองมีความสําคัญอยางไรในการสื่อสาร
ก. ทําใหทราบวาการสื่อสารสัมฤทธิผลหรือไม
๘. “ครูคนนี้สามารถสอนเรื่องยาก ๆ ใหเปนเรื่องงาย ๆ ได นักเรียนจึงชอบเรียนกับเขาแมแตนักเรียนหองที่แยที่สุด”
จากขอความนี้การสื่อสารสําเร็จไดเนื่องจากองคประกอบใด
ก. ผูสงสาร
๙. ขอใดไมจัดเปนการสื่อสาร
ข. การตะโกนที่ริมหนาผาคนเดียว
๑๐. ขอใดเปนอุปสรรคในการสื่อสารที่เกิดจากสาร
ก. การอานงานวิจัยที่ไมมีการอางอิงเนื้อหา

4
ใบงานที่ ๑.๑ เรื่อง ความหมายและความสำาคัญของภาษา

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. อธิบายความหมายของคําวา “ภาษา”
ภาษา คือ เสียงพูด ตัวอักษร หรือสัญลักษณตาง ๆ ที่มนุษยใชในการสื่อสารในชีวิตประจําวัน
๒. อธิบายวาสถานการณตอไปนี้แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของภาษาขอใดบาง อยางไร
สมคิดเปนนักเรียนแลกเปลีย่ นจากประเทศไทยทีม่ าอยูใ นประเทศอังกฤษเปนเวลา ๓ เดือนแลว สมคิดดีใจมาก
ที่บางครั้งก็ยังไดยินภาษาไทยที่มาจากนักทองเที่ยวบาง ซึ่งทําใหหายคิดถึงบานไปได
จากสถานการณทกี่ าํ หนด การทีส่ มคิดดีใจทุกครัง้ ทีไ่ ดยนิ ภาษาไทยจากนักทองเทีย่ ว แสดงใหเห็นถึงความสําคัญ
ของภาษา เนื่องจากภาษาเปนสมบัติของสังคม สามารถกําหนดความเปนกลุมหรือพวกเดียวกันได
โดยปกติธรรมดาแลวเมือ่ มนุษยเกิดมาในสังคมใด ๆ ก็ตาม การจะดํารงชีวติ อยูใ นสังคมนัน้ ๆ ได มนุษยจาํ เปนตอง
มีภาษา คนที่ถายทอดภาษาใหแกทารกที่เพิ่งเกิดขึ้นมายอมเปนพอแม และเมื่อทารกนั้นเติบโตไป ก็จะคอย ๆ
เรียนรูภาษาเพิ่มมากขึ้นจากสังคมที่ตนเองอยู
จะเห็นไดวามนุษยนั้นยอมมีการถายทอดภาษาใหแกกัน แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของภาษาเนื่องจากภาษา
เปนวัฒนธรรมที่มีการถายทอด เรียนรู และเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

ใบงานที่ ๑.๒ เรื่อง องค์ประกอบของการสื่อสารและความสัมพันธ์ของ


ภาษากับการสื่อสาร
คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. จงอธิบายความหมายของคําวา “การสื่อสาร”
การสือ่ สาร เปนรูปแบบหนึง่ ของการปฏิสมั พันธทางสังคม โดยจะมีผสู ง สารทําหนาทีส่ ง สารลักษณะตาง ๆ ผานสือ่
ไปยังผูรับสาร เพื่อใหผูรับสารรูและเขาใจความหมายของสารนั้น ๆ
๒. จงวิเคราะหองคประกอบของการสื่อสารจากสถานการณตอไปนี้
นักการเมืองกําลังปราศรัยเกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจใหชาวบานฟง
ผูสงสาร : นักการเมือง สาร : เรื่องเศรษฐกิจ สื่อ : การพูดปราศรับ ผูรับสาร : ชาวบาน
นักเรียนกําลังชมการแสดงละครเวทีเรื่อง ทาวแสนปม
ผูสงสาร : นักแสดง สาร : เรื่อง ทาวแสนปม สื่อ : การแสดงละครเวที ผูรบั สาร : นักเรียน

5
๓. จงอธิบายความสัมพันธของ “ภาษา” ตามหัวขอตอไปนี้
ภาษากับการสื่อความหมาย
มนุษยใชภาษาเปนเครือ่ งมือสือ่ ความหมายซึง่ กันและกัน โดยภาษานัน้ เกิดจากขอตกลงรวมกันของแตละสังคม
วาตองการใชเสียงพูดหรือกิริยาแทนการสื่อความหมายวาอยางไร
ภาษากับวัตถุประสงคในการสื่อสาร
การใชภาษากับการสือ่ สารแตละครัง้ เกิดขึน้ จากความตองการทีจ่ ะบงบอกถึงความในใจ ความตองการ หรือ
ความตองการถายทอดความรู ความรูส กึ นึกคิด และทัศนคติ เพือ่ ใหบรรลุเปาหมายตาง ๆ ทัง้ การสรางสัมพันธภาพ
ความบันเทิง ความคิดสรางสรรค
ภาษากับบทบาทและหนาที่ในการสื่อสาร
ผูสงสาร คือ ผูที่มีความรูเกี่ยวกับสารหรือเนื้อหาที่ตองการจะสื่อไปยังผูรับสาร ผูสงสารจะทําหนาที่เลือกใช
ภาษา รวมทั้งกําหนดจุดมุงหมายของเนื้อหาและเจตนา เพื่อสื่อสารไปยังผูรับสาร บทบาทของผูรับสาร คือ ผูที่มี
ความสามารถในการรับรูความหมายของสารหรือเรื่องราวที่ผูสงสารตองการ ผูรับสารจึงตองมีความรูพื้นฐานทาง
ภาษา และกระตือรือรนที่จะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสาร

ใบงานที่ ๑.๓ เรื่อง การรับสารและการส่งสาร

คําชี้แจง : จงวิเคราะหสถานการณตอไปนี้ตามหลักการและอุปสรรคในการรับสารและสงสาร
ปองเปนนักจัดรายการวิทยุเกี่ยวกับเรื่องผีที่มีประสบการณมาก เนื่องจากเคยทํางานเปนอาสากูภัยมากอน ทําให
ปองมีเรื่องผีมาเลาในรายการใหฟงเปนจํานวนมาก แตรายการของปองกลับไมไดรับความนิยมมากนัก เนื่องจาก
ผูชมบอกวาเรื่องราวของปองนั้นดูแตงเติมมากเกินไปจนไมนาเชื่อถือ
ในสถานการณนตี้ ามหลักการสงสารแลว ผูส ง สารทําไดดเี นือ่ งจากเปนผูม คี วามเขาใจในเนือ้ หาทีต่ นเองตองการ
สื่อสาร สารก็มีความเหมาะสมกับความเชื่อหรือคานิยมของคนในสังคม ชองทางการสื่อสารก็มีความเหมาะสมกับ
ลักษณะของสารแตสิ่งหนึ่งที่เปนอุปสรรคในการสงสารครั้งนี้ คือ ผูรับสาร เนื่องจากผูรับสารเกิดอคติและมีความ
คาดหวังสูงเกินไป
วรรณพรรณเปนอาจารยประจําคณะเศรษฐศาสตรของมหาวิทยาลัยชั้นนําแหงหนึ่งของประเทศไดรับเชิญ
ไปบรรยายเรื่องการเก็บออมเงินหลังจากเรียนจบมหาวิทยาลัยใหกับนักศึกษาชั้นปที่ ๔ ของคณะมนุษยศาสตร
ซึ่งวรรณพรรณก็ไดเตรียมเนื้อหาและความรูที่ตนเองมีทั้งหมดไปบรรยายเพราะตองการใหนักศึกษาไดรับความรู
อยางเต็มที่ แตปรากฏวามีนักศึกษาเขาฟงการบรรยายนอยมาก และผูเขาฟงบรรยายตางพูดเปนเสียงเดียวกันวา
เนื้อหานั้นยากเกินไปจนฟงไมรูเรื่อง
จากสถานการณทกี่ ลาวมาตามหลักการสงสารแลว ผูส ง สารก็มคี วามรูค วามเขาใจในเนือ้ หาทีต่ นเองตองบรรยาย
เปนอยางดี ชองทางการสือ่ สารก็เหมาะสม แตสงิ่ ทีเ่ ปนอุปสรรค คือ สารทีเ่ ตรียมไปนัน้ มีความยากเกินไป และผูร บั สาร
ไมไดมีความรูมากพอที่จะเขาใจสารนั้นได ทําใหการสื่อสารไมประสบความสําเร็จ
6
หน่วยที่
๒ การใช้ถ้อยคำา

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน หาบทความ ขาว หรือบทสัมภาษณบุคคล จากอินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ หรือ
นิตยสาร ความยาวไมตํ่ากวา ๑ หนากระดาษ และชวยกันวิเคราะหตัวอยางที่หามาวามีการสะกดคําผิดหรือไม และ
ใชคําผิดความหมายหรือไม อยางไร แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
๒. ใหผูเรียนหาบทอานจากหนังสือ นิยาย นิทาน หรือสื่อใด ๆ ก็ได ที่มีความยาวไมต่ํากวา ๑๐ บรรทัด ออกมา
อานออกเสียงใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน และใหเพื่อนชวยกันวิจารณวามีการอานออกเสียงผิดหรือไม
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. ภาษาไทยกําหนดลักษณะของเสียงเปนกี่ประเภท อะไรบาง
ภาษาไทยมีการกําหนดลักษณะของเสียงเปน ๓ ประเภท ดังนี้ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต
๒. เหตุใดเราจึงตองออกเสียงใหถูกตอง
การออกเสียงใหถกู ตองจะทําใหการสือ่ สารสําเร็จมีความเขาใจทีถ่ กู ตองตรงกัน การออกเสียงผิดจะทําใหความหมาย
ของคําเปลี่ยนไป ทําใหเกิดความผิดพลาดในการสื่อสารได
๓. เสียงสระในภาษาไทยมีกี่เสียงและแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
เสียงสระในภาษาไทยมีทั้งหมด ๒๑ เสียง แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ เสียงสระเดี่ยว ๑๘ เสียง และเสียงสระ
ประสม ๓ เสียง
๔. เสียงใดที่เปนเสียงกําหนดระดับสูงตํ่าของพยางคหรือคําในภาษาไทย และแบงออกเปนกี่ระดับ อะไรบาง
เสียงที่กําหนดระดับสูงตํ่าของเสียงในภาษาไทย คือ เสียงวรรณยุกต แบงออกเปน ๕ ระดับ ดังนี้
เสียงวรรณยุกตสามัญ เปนวรรณยุกตระดับกลาง
เสียงวรรณยุกตเอก เปนวรรณยุกตระดับตํ่า
เสียงวรรณยุกตโท เปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับแบบเปลี่ยนตก
เสียงวรรณยุกตตรี เปนวรรณยุกตระดับสูง
เสียงวรรณยุกตจัตวา เปนวรรณยุกตเปลี่ยนระดับแบบเปลี่ยนขึ้น

7
๕. เสียงพยัญชนะในภาษาไทยแบงออกเปนกี่ประเภท และแตละประเภทมีความแตกตางกันอยางไร
เสียงพยัญชนะในภาษาไทยแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ เสียงพยัญชนะตนและเสียงพยัญชนะทายซึ่งมีความ
แตกตางกัน คือ เสียงที่ปรากฏจะอยูในตําแหนงที่ตางกัน กลาวคือ เสียงพยัญชนะตนจะปรากฏอยูตนพยางคจะเปน
เสียงพยัญชนะใดก็ได สวนเสียงพยัญชนะทายจะปรากฏที่ทายพยางคหลังสระ ในภาษาไทยมีเพียง ๙ เสียง
๖. ปญหาการเขียนสะกดคําผิดมักมีสาเหตุมาจากอะไร
การเขียนสะกดคําผิดมักมีปญ หามาจากความไมรอบคอบของผูเ ขียน ความสับสนทีจ่ ะเลือกใชพยัญชนะ สระ และ
วรรณยุกต เพราะคําอานบางคําสามารถใชพยัญชนะตน หรือพยัญชนะทายหลายตัวมาเขียนใหเกิดคําอานแบบเดียวกัน
ได รวมทั้งอาจเกิดจากใชแนวเทียบการสะกดผิดและการออกเสียงผิด
๗. ปญหาการสะกดคําผิดและการใชคําผิดความหมายมีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร
แตกตางกัน คือ การเขียนสะกดคําผิดนั้นเปนความผิดในระดับคํา อาจมีพยัญชนะ สระ หรือวรรณยุกตที่ผิดไป
จากการเขียนที่ถูกตอง แตการใชคําผิดความหมายเปนการผิดที่ความหมายของคําที่ใชในบริบทนั้น คําที่นํามาใชอาจ
เขียนถูกตองตามหลักเกณฑทุกคําแตความหมายไมถูกตองตามที่ควรจะเปน
๘. “ขาวเรื่องความโชครายของเขาถูกเผยแผใหรูโดยทั่วกัน” ประโยคนี้ใชคําไดถูกความหมายหรือไม อยางไร
ไมถกู ตอง เนือ่ งจากคําวา เผยแผ มีความหมายวา ทําใหความดีเดนของสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ใหรกู วาง และมักใชกบั ศาสนา
ซึง่ ในประโยคขางตนขาวเรือ่ งความโชครายยอมไมใชเรือ่ งดีเดน และไมใชเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับศาสนา ดังนัน้ การใชคาํ วา เผยแผ
จึงเปนการใชคําที่ผิดความหมาย
๙. “กระทรวงพาณิชยประณามแบงคที่ปลอยกูดอกเบี้ยสูงเกินเปอรเซนตที่กําหนด” ขอความนี้เขียนสะกดคําผิดหรือไม
ถามีมีกี่คํา แบงเปนการเขียนสะกดคําผิดแบบใดบาง
มี ๒ คํา คือ แบงค ตองเปน แบงก เปอรเซนต ตองเปน เปอรเซ็นต เปนการทับศัพทผิด
๑๐. เหตุใดการเขียนคําทับศัพทจึงสะกดผิดไดงายกวาคําไทยทั่วไป
คําทับศัพทจาํ เปนตองคํานึงถึงรูปเขียนและเสียงจากภาษาเดิม ซึง่ คนไทยอาจจะไมคนุ เคยทําใหการเขียนคําทับศัพท
สะกดผิดงายกวาคําไทยทั่วไป

8
ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว

๑. ขอใดมีเสียงพยัญชนะทายที่มาจากคํายืมภาษาอังกฤษ
ข. คุณพอชอบตีกอลฟ
๒. ขอใดคือความหมายของเสียงพยัญชนะควบกลํ้า
ก. พยางคที่ออกเสียง ๒ เสียงติดกันโดยไมมีสระคั่นกลาง
๓. ขอใดกลาวผิด
ง. คําที่มีเสียงวรรณยุกตตางกันก็จะมีความหมายตางกัน
๔. ขอใดไมมีเสียงสระประสม
ค. มานีไมมีหนังสืออาน
๕. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนมากที่สุด (ไมนับเสียงซํ้า)
ข. ใครใครคาวัวคาควายคา
๖. ขอใดมีคําที่ใชรูปพยัญชนะตนไมถูกตอง
ข. เธอจะกินลาดหนาหรือกวยเตี๋ยว
๗. ขอใดทับศัพทถูกตองทุกคํา
จ. ดิลิเวอรี อีเมล อินเทอรเน็ต
๘. ขอใดใชคําถูกความหมาย
ค. ครูทุกคนยอมมีอุดมการณของความเปนครู
๙. ขอใดสะกดถูกตองทุกคํา
ก. บัลลังก มัคคุเทศก ปาติโมกข
๑๐. ขอใดไมใชเหตุผลของการเขียนสะกดคําผิด
ง. การดูบริบทผิด

9
ใบงานที่ ๒.๑ เรื่อง ลักษณะและความสําคัญของการสื่อสาร

คําชี้แจง : อธิบายคําที่กําหนดใหตอไปนี้ใหถูกตอง
๑. การสื่อสารผานเสียง
การสื่อสารโดยใชเสียงพูดเปนสื่อ ซึ่งมนุษยไดนํามาใชอยางแตกตางกันในแตละภาษา
๒. การสื่อสารโดยใชคําและความหมาย
“คํา” เปนหนวยยอยที่สุดในภาษาที่เจาของภาษารูจักและใชการพูดและการเขียน การเรียนรูคําจึงเปนการ
เรียนรูรากฐานของภาษาทั้งระบบ เนื่องจากในการสื่อสารจะใชคําเพียงคําสื่อความหมาย หรือจะนําคําหลายคํานํามา
เรียงรอยกันเปนขอความเพื่อการสื่อสาร

ใบงานที่ ๒.๒ เรื่อง การเขียนสะกดคํา

คําชี้แจง : เติมคําที่กําหนดใหตอไปนี้ลงในชองวางใหถูกตอง
ทัศนะ ทัศนคติ อุดมการณ อุดมคติ

๑. หมอมี อุดมการณ ของหมอ ทหารก็มี อุดมการณ ของทหาร


๒. วันนี้นักการเมืองหลายคนไดออกมาแสดง ทัศนคติ เกี่ยวกับการนําพาประเทศไทยกาวไปขางหนา
๓. เขาทํางานอยางหนักเพื่อตอบสนองตอ อุดมคติ ของตนเอง
๔. ทัศนะ เกี่ยวกับการศึกษาในสมัยนี้กาวหนาไปมาก

ถาม ซักฟอก ไตสวน สอบสวน

๑. เขาถูก ไตสวน กรณีลอบวางเพลิงสถานีตํารวจ


๒. นายกรัฐมนตรีถูกฝายคาน ซักฟอก วาทําผิดจริงหรือไม
๓. ผูรายฆาคนตายถูกตํารวจ สอบสวน ตามพยานหลักฐาน
๔. ครู ถาม นักเรียนวามีใครเห็นกลองขาวที่หายไปบาง

10
หน่วยที่
๓ การใช้ประโยค สำานวนโวหาร
และระดับภาษา

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน หาบทความ ขาว หรือ บทสัมภาษณ จากสื่ออินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ หรือ
นิตยสาร ความยาวไมตํ่ากวา ๑ หนากระดาษ และชวยกันวิเคราะหวาตัวอยางที่หามานั้น มีการสะกดคําผิดหรือ
ใชคําผิดความหมายหรือไม อยางไร และออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
๒. ใหผูเรียนหาบทอานจากหนังสือ นิยาย นิทาน หรือสื่ออื่น ๆ ความยาวไมตํ่ากวา ๑๐ บรรทัด ออกมาอานออกเสียง
ใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน และใหเพื่อนชวยกันบอกวาใชโวหารชนิดใด และใชภาษาระดับใด
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. ภาษาไทยสามารถแบงประโยคออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
สามารถแบงได ๒ ประเภท คือ ประโยคตามโครงสราง และประโยคตามเจตนา
๒. ประโยคที่แบงตามโครงสรางทั้ง ๓ ประเภทนั้นมีความแตกตางกันอยางไร
ประโยคทั้ง ๓ ประเภทนั้นมีความแตกตางกันที่สวนประกอบของประโยค โดยประโยคสามัญ จะประกอบดวย
นามวลีที่ทําหนาที่เปนภาคประธานและกริยาวลีที่ทําหนาที่เปนภาคแสดง สวนประโยคซอนจะตองประกอบดวย
ประโยคยอยที่ทําหนาที่เปนหนวยเติมเต็มจากประโยคหลัก และประโยครวมที่เกิดจากการนําประโยค ๒ ประโยค
มารวมกันดวยคําเชื่อม
๓. “คุณควรทํางานใหเสร็จไมเชนนั้นจะโดนลงโทษ” ประโยคนี้เปนประโยคที่แสดงเจตนาแบบใด เพราะเหตุใด
ประโยคนี้เปนประโยคที่แสดงเจตนาแบบประโยคขู เนื่องจากมีการอางถึงผลหากไมปฏิบัติตามวาจะถูกลงโทษ
๔. โวหารหลักคืออะไร มีกี่ประเภท
โวหารหลัก คือ โวหารที่ใชเปนหลักในการเขียน แบงเปน ๒ ประเภท คือ บรรยายโวหาร และพรรณนาโวหาร
๕. “ภิกษุทั้งหลายเหมือนบุคคลตองการหางูพิษ เที่ยวเสาะหางูพิษอยู เขาพบงูพิษใหญ แลวจับเขาที่หางของมันงูพิษได
แวงกัดบุคคลนั้นถึงตาย หรือทุกขปางตาย ขอนั้นเพราะเหตุใด” ขอความนี้เปนโวหารประเภทใด เพราะเหตุใด
เปนสาธกโวหาร เนื่องจากมีการยกเหตุการณขึ้นมาเปนตัวอยางเพื่อประกอบใหมีความชัดเจนหนักแนนขึ้น

11
๖. ระดับภาษามีกี่ระดับ อะไรบาง
ในภาษาไทยมีการแบงภาษาออกเปน ๕ ระดับ ไดแก ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับ
กึ่งทางการ ภาษาระดับไมเปนทางการ และภาษาระดับกันเอง
๗. ภาษาระดับพิธีการมีลักษณะอยางไร และมักใชในสถานการณแบบใด จงยกตัวอยาง
ภาษาระดับพิธีการเปนภาษาที่มีลําดับขั้นตอนในการนําเสนอชัดเจน มีการเริ่มตน ดําเนินเรื่องและสรุป โดยการ
ใชภาษาที่มีความประณีต บรรจง และสละสลวย มักใชในงานที่เปนพิธีการสําคัญ เชน การกลาวสุนทรพจน การกลาว
สดุดี หรืองานที่เปนพระราชพิธีตาง ๆ เปนตน
๘. ปจจัยที่กําหนดการใชระดับภาษามีอะไรบาง
ปจจัยทีใ่ ชในการกําหนดระดับภาษามีทงั้ หมด ๔ ปจจัย คือ ๑. โอกาสและสถานที่ ๒. ความสัมพันธระหวางบุคคล
๓. ลักษณะของเนื้อหา ๔. สื่อ
๙. ลักษณะทางภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับภาษาที่เห็นไดชัดเจนที่สุดคือลักษณะใด
การใชคําตาง ๆ เชน คํานาม คําสรรพนาม คําวิเศษณ เปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปไดอยางชัดเจนที่สุด เนื่องจาก
ในระดับภาษาตาง ๆ จะมีการกําหนดอยางชัดเจนวาคําใดใชในภาษาระดับใด เชน คําสรรพนาม กระผม ดิฉัน ขาพเจา
ซึง่ ใชในภาษาระดับพิธกี ารถึงระดับกึง่ ทางการ และสรรพนาม ผม ฉัน หนู ใชในภาษาระดับไมเปนทางการถึงระดับกันเอง
๑๐. ภาษาระดับใดที่ไมใชในการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษร
ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาทีม่ กั ไมมกี ารบันทึกเปนลายลักษณอกั ษร เนือ่ งจากเปนภาษาทีใ่ ชในกลุม ผูท มี่ คี วาม
สนิทสนมกันหรือมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ซึ่งสวนมากมักเปนการพูดคุยกันปากเปลาเทานั้นไมมีการติดตอกัน
แบบการเขียนโตตอบกัน

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดไมใชชนิดของประโยคตามเจตนา
จ. ประโยครวม
๒. ประโยคในขอใดไมใชประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว
ค. พี่นั่งรถไปทํางานที่ออฟฟศ
๓. “เขากินผักเยอะมากซึ่งทําใหมีสุขภาพดี” ประโยคนี้เปนประโยคซอนแบบใด
ก. ประโยคซอนที่มีวิเศษณานุประโยค
๔. ขอใดไมใชลักษณะของประโยครวม
ง. ตองมีประโยคขยายและประโยคหลัก
๕. ขอใดไมใชลักษณะของพรรณนาโวหาร
ข. ใชในการอธิบายเรื่องราวตาง ๆ

12
๖. โวหารแบบใดที่ใชในการสั่งสอน โนมนาวใจใหมีการปฏิบัติตาม
ง. เทศนาโวหาร
๗. ภาษากึ่งทางการมักจะพบไดในสื่อสิ่งพิมพลักษณะใด
ก. บทความในหนังสือพิมพ
๘. “การพูดกับเพื่อนตองใชภาษาแบบหนึ่ง เวลาพูดกับญาติผูใหญตองใชภาษาอีกแบบหนึ่ง” คํากลาวนี้ทําใหเห็นวา
ระดับของภาษาถูกกําหนดดวยปจจัยใด
ง. ความสัมพันธระหวางบุคคล
๙. ขอใดประกอบดวยคําที่ใชในภาษาระดับทางการทั้งหมด
ข. ดวงตราไปรษณียากร ฌาปนกิจ คลอดบุตร
๑๐. “พนักงานขาดความมั่นใจและศรัทธาในความกลาหาญของผูนํา” ขอความนี้ใชภาษาระดับใด
ค. ภาษาระดับกึ่งทางการ

ใบงานที่ ๓.๑ เรื่อง ประโยค

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. อธิบายความหมายของคําวา “ประโยค”
เปนการเรียงรอยถอยคํา เพือ่ ใชสอื่ ความหมายมีลกั ษณะหรือการกระทําอยางไร และใชเพือ่ สือ่ เจตนาทีต่ อ งการ
สื่อสาร การสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนจึงควรคํานึงถึงชนิดของประโยคและเจตนามาปรับใชในการสื่อสาร จะ
ชวยใหการสื่อสารบรรลุวัตถุประสงคมากยิ่งขึ้น
๒. อธิบายลักษณะของประโยคตามโครงสราง
ประโยคตามโครงสราง คือ ประโยคที่ประกอบขึ้นดวยโครงสรางตางกัน เชน ประโยคสามัญคือประโยคที่มี
โครงสรางหลักเปนนามวลีและกริยาวลี สวนประโยคซอนจะมีโครงสรางหลัก คือ ประโยคหลักและประโยคยอย
เปนตน
๓. อธิบายลักษณะของประโยคตามเจตนา
ประโยคตามเจตนา คือ ประโยคทีแ่ สดงใหเห็นเจตนาของผูพ ดู วาเปนอยางไร เชน ประโยคบอกใหทราบ เจตนา
คือ บอกหรืออธิบายเรื่องราวตาง ๆ ประโยคสั่ง เจตนาคือ บอกใหผูฟงปฏิบัติตาม เปนตน
๔. นักเรียนคิดวาประโยคตามโครงสรางและประโยคตามเจตนามีความสัมพันธกันหรือไม อยางไร
ประโยคตามโครงสรางและประโยคตามเจตนาไมมีความสัมพันธกัน เนื่องจากประโยคทั้ง ๒ ประเภท ใชเกณฑ
การแบงที่แตกตางกัน การที่ประโยคหนึ่งจะเปนประโยคสามัญ ประโยครวม หรือประโยคซอน ก็สามารถมีเจตนา
เดียวกันหรือตางกันไดทงั้ หมด ในทางกลับกัน หากประโยคนัน้ เปนประโยคสัง่ ประโยคขอรอง ก็ไมสามารถบอกไดวา
ประโยคแตละประโยคนั้นใชโครงสรางอยางไร ทั้งนี้ทั้งนั้นตองดูตามบริบทและความเหมาะสม

13
ใบงานที่ ๓.๒ เรื่อง สำานวนโวหาร

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. สํานวนโวหารมีลักษณะอยางไร
ชั้นเชิงหรือสํานวนแตงหนังสือ เชน มีโวหารดีถอยคําที่เลนเปนสําบัดสํานวน โวหารที่ใชในงานเขียน
๒. คั ด ลอกข อ ความที่ ใช โวหารที่ กํ า หนดให จ ากสื่ อ ต า ง ๆ เช น หนั ง สื อ เรี ย น หนั ง สื อ พิ ม พ นิ ต ยสาร วารสาร
หรือสื่ออื่น ๆ พรอมบอกที่มา
บรรยายโวหาร
ดูตามดุลยพินจิ ของผูส อน โดยอิงจากลักษณะดังนี้ การใชภาษาทีก่ ะทัดรัด ตรงไปตรงมา เนนสาระสําคัญและ
ความชัดเจน บรรยายโวหารมักใชในการเลาเรื่อง อธิบายเรื่องราวตาง ๆ เหตุการณ หรือนําเสนอขอเท็จจริง
พรรณนาโวหาร
ดูตามดุลยพินจิ ของผูส อน โดยอิงจากลักษณะดังนี้ การใชถอ ยคําเพือ่ นําเสนอภาพเหตุการณหรือเรือ่ งราวตาง ๆ
อยางละเอียด ทําใหผูรับสารคลอยตามและซาบซึ้งตามได ตลอดจนเห็นภาพเหตุการณตาง ๆ อยางชัดเจน
เทศนาโวหาร
ดูตามดุลยพินิจของผูสอน โดยจากลักษณะดังนี้ การใชถอยคําภาษาที่ใชโนมนาวใจ ทําใหผูรับสารคลอยตาม
และปฏิบัติตาม โดยจะชี้ใหเห็นคุณคาและโทษของสิ่งตาง ๆ รวมทั้งเปนการแนะนําสั่งสอน
สาธกโวหาร
ดูตามดุลยพินจิ ของผูส อน โดยอิงจากลักษณะดังนี้ การใชถอ ยคําภาษาเพือ่ ใหเกิดความชัดเจนมากขึน้ โดยการ
ยกตัวอยางนิทาน สุภาษิต ตํานาน หรือเหตุการณตาง ๆ มาประกอบเพื่อใหเกิดความชัดเจนและหนักแนนมากขึ้น
อุปมาโวหาร
ดูตามดุลยพินจิ ของผูส อน โดยอิงจากลักษณะดังนี้ การใชถอ ยคําภาษาทีแ่ สดงการเปรียบเทียบ เพือ่ ทําใหเรือ่ งราว
มีความชัดเจนขึ้น แสดงถึงอารมณความรูสึกไดลึกซึ้ง

14
ใบงานที่ ๓.๓ เรื่อง ระดับภาษา

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. อธิบายความหมายของคําวา “ระดับภาษา”
ระดับภาษา คือ ระดับชั้นทางภาษาที่พิจารณาตามลักษณะการใชคํา ประโยค สํานวนภาษาตาง ๆ การใชระดับ
ภาษาตองคํานึงถึงบุคคลและสถานการณ แบงออกเปน ๕ ประเภท คือ ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับทางการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดับไมเปนทางการ และภาษาระดับกันเอง
๒. การใชระดับภาษาไดถูกตองแสดงลักษณะของผูใชภาษาอยางไรบาง
การใชระดับภาษาไดถกู ตองแสดงลักษณะของผูใ ชภาษาวาเปนผูม คี วามรูม ากและเขาใจบริบทสังคม วัฒนธรรม
ของประเทศไทยเปนอยางดี เนื่องจากการกําหนดระดับภาษาตองทราบถึงปจจัยตาง ๆ เชน โอกาสและสถานที่
ความสัมพันธระหวางบุคคล ลักษณะของเนือ้ หา นอกจากนีร้ ะดับของภาษาแตละระดับยังมีการใชคาํ ศัพทในภาษาไทย
ที่แตกตางกัน หากไมมีความรูทางภาษาและวัฒนธรรมมากพอก็ยากที่จะใชระดับภาษาไดถูกตองทั้งหมด
๓. พิจารณาขอความที่กําหนดใหวาใชภาษาระดับใด
“เนื่องในวโรกาสอันเปนมหามงคลที่ใตฝาละอองธุลีพระบาทเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ ปวงประชาชน
ชาวไทยขอนอมเกลาฯ ถวายพระพรชัย ขอใหสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันทรงมหาพลานุภาพทั้งหลาย จงโปรดอภิบาลบันดาล
ดลใหใตฝาละอองธุลีพระบาทจงเจริญดวยมิ่งมหาศุภสวัสดิ์ เจริญพระชนมพรรษานับหมื่น ๆ ศตพรรษ สถิตเสถียร
เปนรมโพธิ์ทองของปวงประชาชนชาวไทยตราบชั่วกัลปาวสาน”
ภาษาระดับ พิธีการ
“โลกของเด็กไมใชโลกของผูใหญ และในทํานองเดียวกันโลกของผูใหญก็ยอมไมใชโลกของเด็ก ในขณะที่ผูใหญ
ชอบรับประทานนํ้าพริก เด็กก็ชอบรับประทานแกงจืด เด็กชอบไอศกรีม ผูใหญชอบเหลา ฉะนั้นดูไปบางทีโลก
ของผูใ หญกบั โลกของเด็กก็ลอยหางกันมาก หรืออีกนัยหนึง่ ทางเดินแหงความคิดของผูใ หญกบั ของเด็กมักจะสวนทางกัน
อยูเ สมอ ถาผูใ หญไมหมุนโลกของตนใหมาใกลเคียงกับโลกของเด็กบาง บางทีเมือ่ ผูใ หญหนั กลับ โลกของเด็กก็ลอย
ไปไกลจนสุดไขวควาเสียแลว”
ภาษาระดับ กึ่งทางการ
“บทละครไทยเปนอีกรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมไทย เปนวรรณกรรมที่ประพันธขึ้นทั้งเพื่ออานและเพื่อแสดง
รูปแบบที่นิยมกันมาแตเดิมคือบทละครรํา ตอมามีการปรับปรุงละครรําใหทันสมัยขึ้นตามความนิยมแบบตะวันตก
จึงมีรูปแบบใหมเกิดขึ้น ไดแก ละครดึกดําบรรพ ละครพันทาง เปนตน นอกจากนี้ยังมีการรับรูปแบบละครจาก
ตะวันตกมาดัดแปลงใหเขากับสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย ทําใหการละครไทยพัฒนาขึ้นโดยมีกระบวนการแสดงที่
แตกตางไปจากละครไทยที่มีอยูมาเปนละครรอง ละครพูด และละครสังคม”
ภาษาระดับ ทางการ

15
“มึงจะไปไหนไอมั่น กูสั่งใหปลอยมันไวอยางนั้นไมตองสนใจ กูอยากนั่งดูมัน มองมันตายชา ๆ เลือดไหลออก
จนหมดตัว และหยุดหายใจในที่สุด ถึงจะสมกับความแคนของกู”
ภาษาระดับ กันเอง
“ความตั้ ง ใจในการเดิ น ทางของผมครั้ ง นี้ อ ยู ที่ ก ารหาเส น ทางซอกแซกไปที่ นํ้ า ตกเหวอี อํ่ า ของ
อุ ท ยานแห ง ชาติ เขาใหญ แต ค วามตั้ ง ใจมิ เ ป น ผลเมื่ อ เจ า หน า ที่ อุ ท ยานฯ ที่ ห น ว ยพิ ทั ก ษ ป า คลองเพกา
ปฏิ เ สธอย า งนิ่ ม นวลว า ‘ไม ส ามารถอนุ ญ าตให ขึ้ น ไปป น จั ก รยานได เนื่ อ งจากยั ง ไม มี น โยบายให ป น
จั ก รยานขึ้ น ไปเที่ ย วนํ้ า ตกเหวอี อํ่ า ซึ่ ง คงจะต อ งรอไปอี ก พั ก ใหญ ๆ เพราะอยู ใ นช ว งสํ า รวจจั ด ทํ า เส น ทาง
โดยทางอุทยานฯ มีแนวคิดทีจ่ ะเปดใหจกั รยานเสือภูเขาขึน้ ไปอยูแ ลว แตเมือ่ ไหรยงั ไมทราบ’ เปนคําปฏิเสธทีน่ มุ นวล
เราจึงไดแตนอมรับโดยดี”
ภาษาระดับ ไมเปนทางการ

หน่วยที่
๔ การฟังและการดูสื่ออิเล็กทรอนิกส์

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕–๘ คน ใหแตละกลุมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของมารยาท
ในการฟงและการดู ในหัวขอ “มารยาทในการฟงและการดูที่ดีเปนอยางไร” แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอผล
การอภิปราย
๒. ใหผูเรียนแตละกลุมแบงหัวขอความหมายและความสําคัญของการฟงและการดู กลุมละ ๑ หัวขอ และแสดง
บทบาทสมมุติเกี่ยวกับหัวขอที่ตนเองไดรับ
๓. กําหนดใหผูเรียนดูสื่อวิดีโอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แลวแสดงความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ดู วิเคราะหและประเมินคาสื่อ
ที่ดูนั้นวา ตรงกับหลักการและความสัมพันธขององคประกอบของการฟงและการดูอยางไร
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

16
คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. การฟงและการดูมีความสัมพันธกันอยางไร
การฟงและการดูมีความสัมพันธกันโดยชวยใหผูรับสารไตรตรองสารอยางถี่ถวน สามารถวิเคราะหและสามารถ
ประเมินสื่อลักษณะตาง ๆ ไดดียิ่งขึ้น
๒. การไดยิน การฟง และการตีความหมาย เหมือนหรือตางกัน อยางไร
มีทั้งความเหมือนและความตาง ความเหมือนกัน คือ เปนการรับสารผานโสตประสาท และความตางกัน คือ
การไดยิน เปนการกระทําที่ไมตั้งใจ บางครั้งสิ่งที่ไดยินอาจจะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได แตการฟง เปน
การกระทําอยางตั้งใจ และการตีความหมาย เปนการฟงเพื่อเขาใจความหมาย ผูฟงตองมีความรูหรือประสบการณเดิม
ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ฟงดวย

๓. การฟงและการดูมีประโยชนในชีวิตประจําวันอยางไร
การฟงและการดูชว ยในการติดตอสือ่ สารในชีวติ ประจําวันใหมคี วามสะดวกราบรืน่ เนือ่ งจากจะทําใหการสือ่ สาร
มีประสิทธิภาพมากขึ้น
๔. การฟงและการดูสามารถชวยใหประสบความสําเร็จในอาชีพไดอยางไร
เนื่องจากบางอาชีพจําเปนตองใชทักษะที่เกี่ยวกับการฟงและการดูที่ดีเปนพิเศษ เช น นั ก วิ จ ารณ ภ าพยนตร
นักพากย นักวิจารณเพลง เปนตน ดังนัน้ หากเรามีความสามารถทางการฟงและการดูทดี่ กี จ็ ะชวยใหประสบความสําเร็จ
ไดงายขึ้น
๕. เพราะเหตุใดทัศนคติในการดูจึงเปลี่ยนแปลงไดอยูตลอด
เพราะสภาพแวดลอมที่ผูดูอาศัยอยูมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอด จึงสงผลตอทัศนคติของผูดูดวย
๖. ปจจัยสําคัญที่ทําใหการฟงและการดูบรรลุเปาหมายคืออะไร
ความตั้งใจและความมีสมาธิจดจอกับสิ่งที่ฟง
๗. ขั้นตอนสุดทายของการฟงและการดู ผูฟงและผูดูตองทําสิ่งใด
ทําใหทราบถึงความถูกตองของขอเท็จจริงและความนาเชื่อถือของขอคิดเห็นที่อยูในสารเพื่อจะไดนําไปปรับใช
ในการดําเนินชีวิตได
๘. การวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู ผูฟงและผูดูตองมีพื้นฐานดานใดมากอน
การวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดูใหดีนั้นผูวิเคราะหจําเปนตองมีทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการฟงและดูใหเขาใจและ
จับประเด็นของเรื่องใหไดเสียกอน

17
๙. บุคคลแตละบุคคลมีความสามารถในการประเมินคาสารที่ไดรับตางกันหรือไม อยางไร
ตางกัน การประเมินคาสารขึ้นอยูกับความคิด เหตุผล และประสบการณที่แตกตางกันของแตละบุคคล
๑๐. หากผูเรียนฟงและดูสื่อประเภทละคร ควรศึกษารายละเอียดประเภทใดบาง
ศึกษาการนําเสนอแนวคิด บทบาทของผูแสดง ฉากและบรรยากาศของเรื่อง บทสนทนาเพื่อประเมินคา

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดคือความหมายของการฟงและการดู
จ. การรับรูสารผานเสียง และนํามาเรียบเรียง ตีความ และทําความเขาใจ
๒. ขอใดไมใชความสําคัญของการฟงและการดู
ง. เพิ่มความขัดแยงระหวางการสื่อสารจากการโตเถียงในเรื่องที่ฟงและดู
๓. องคประกอบใดของการฟงและการดูที่ทําหนาที่สื่อความหมาย
ค. ภาพและเสียง
๔. องคประกอบของการฟงและการดูในขอใดที่สามารถเปลี่ยนไปไดตามสิ่งแวดลอม
ข. ทัศนคติ
๕. หลักการฟงในขอใดที่ตองมีการประเมินคาวานาเชื่อถือและนํามาปฏิบัติตามได
จ. การพิจารณาไตรตรองเรื่องที่ฟง
๖. การประเมินคาจากการฟงและการดู สื่อใดที่ควรฟงและดูจากหลาย ๆ แหลงเพื่อเปรียบเทียบกัน
ก. ขาวสาร
๗. ขั้นตอนแรกในการจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดูคืออะไร
จ. ทําความเขาใจกับจุดมุงหมายของการรับสาร
๘. ขอใดคือการประเมินคาการฟงและการดูจากสื่ออิเล็กทรอนิกสตาง ๆ
ข. บอกไดวาเรื่องราวนั้นดีหรือไม
๙. สื่อประเภทละครแตกตางจากสื่อประเภทอื่นอยางไร
ข. สะทอนภาพชีวิตและสังคม
๑๐. ขอใดไมใชมารยาทในการฟง
ง. ผูฟงควรวิจารณผูพูดขณะที่กําลังพูด

18
ใบงานที่ ๔.๑ เรื่อง ความหมายและความสำาคัญของการฟังและการดู

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. การฟงและการดูคืออะไร
การฟง คือ กระบวนการรับรูอยางหนึ่งซึ่งเปนการรับสารหรือขอมูลตาง ๆ จากเสียงผานทางโสตประสาท โดย
เสียงอาจจะเปนเสียงพูดหรือไมใชเสียงพูดก็ได จากนัน้ ผูฟ ง นําไปตีความหมายและทําความเขาใจกับทีไ่ ดฟง สวนการดู
คือ การรับสารดวยตา ทําใหเห็นภาพและรับรูเหตุการณหรือเรื่องราวตาง ๆ จากสื่อประเภทตาง ๆ
๒. การฟงและการดูมีความสําคัญอยางไร
การฟงและการดูเปนทักษะการรับสารขั้นพื้นฐานของมนุษย เราใชการฟงและการดูในการตอบสนองความ
ตองการขั้นพื้นฐานตาง ๆ ในชีวิตประจําวันผานชองทางการสื่อสารหลายประเภท อาจแบงไดดังนี้
๑. การฟงและการดูชวยในการติดตอสื่อสารในชีวิตประจําวัน ทําใหการสื่อสารสะดวกราบรื่น
๒. การฟงและการดูชวยใหประสบความสําเร็จในอาชีพ เนื่องจากบางอาชีพตองใชการฟงและการดูมากเปน
พิเศษ
๓. การฟงและการดูชวยในเรื่องความสัมพันธระหวางบุคคล เพราะเมื่อฟงและดูอยางถูกตองตามกาลเทศะ
จะชวยสรางความสัมพันธที่ดีกับคนรอบขางได

ใบงานที่ ๔.๒ เรื่อง ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของการฟังและการดู

คําชี้แจง : จงเขียนแผนผังแสดงความสัมพันธขององคประกอบของการฟงและการดู และอธิบายวาแตละองคประกอบ


มีความสัมพันธกันอยางไร
ในการฟงและการดูประกอบดวย ๗ องคประกอบ คือ ผูรับสาร ความพรอม ทัศนคติ และการตีความหมาย
สวนปจจัยภายนอกประกอบดวย ตําแหนงทีอ่ ยู ภาพ และเสียง ซึง่ มีความสัมพันธกนั คือ เมือ่ ผูร บั สารไดรบั ภาพและเสียง
ซึ่งเปนสารที่สงออกมาแลว ผูรับสารจะใชความพรอม ทัศนคติ ตําแหนงที่อยูเพื่อนําไปสูการตีความหมาย
สามารถนํามาเขียนเปนแผนผังไดดังนี้
ทัศนคติ
ภาพ
ผูรับสาร ความพรอม ตีความหมาย
เสียง
ตําแหน�งที่อยู

19
ใบงานที่ ๔.๓ เรื่อง การฟงและการดูจากสื่ออิเล็กทรอนิกส

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
หากผูเรียนตองเลือกสื่อมาประกอบการนําเสนอการบรรยายเรื่อง “สภาพสังคมสะทอนบทบาทผูฟงและผูดู”
ผูเรียนจะเลือกสื่อประเภทใด เพราะเหตุใด
สื่อประเภทละคร เพราะชวยสะทอนใหเห็นภาพชีวิตและสังคมที่แฝงอยูในละคร ซึ่งชวยใหผูฟงและ
ผูดูไดศึกษาและติดตามเนื้อหาไดอยางเพลิดเพลิน

ใบงานที่ ๔.๔ เรื่อง มารยาทในการฟงและการดู

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. ผูเรียนคิดวามารยาทในการฟงและการดูขอใดมีความสําคัญมากที่สุด เพราะเหตุใด
การดูและการฟงดวยใจที่เปนกลางและเปดกวาง เพราะจะชวยใหผูรับสารตั้งใจฟงและดูเพื่อรับขอมูลใหม ๆ
และนําขอมูลที่ไดฟงและดูมาวิเคราะห และประเมินคากับความรูเดิมที่ตนมี ชวยใหเกิดความรูใหม ๆ อันเปนประโยชน
สูงสุดแกผูรับสารเอง
๒. ผูเรียนมีแนวทางในการฝกมารยาทในการฟงและการดูอยางไร
ระวังการกระทําของตัวเองกอนเขาไปชมหรือฟงสิ่งตาง ๆ รวมกับผูอื่นเพื่อไมสรางความเดือดรอน รําคาญ
หรือทําใหผูอื่นลําบาก เปนตน

หน่วยที่
๕ การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนสังเกตวิธีการอานของตนเอง แลววิเคราะหขอดีขอเสียในการอานของตนเอง อยางนอย ๑๐ ขอ แลว
ออกมาอภิปรายกับเพื่อนในชั้นเรียน
๒. ใหผเู รียนแบงกลุม กลุม ละ ๕–๖ คน หาขาว โฆษณา บทความ และวรรณกรรมพืน้ บานจากหองสมุดหรืออินเทอรเน็ต
แลววิเคราะหและประเมินคาตามแนวทางที่เรียนไป จัดทําเปนรายงาน แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

20
คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. องคประกอบของการอานมีอะไรบาง จงอธิบาย
การอานมี ๔ องคประกอบ คือ
๑. สาร คือ ขอความที่มีการเขียนหรือพิมพ
๒. ผูอาน คือ ผูที่ทําความเขาใจสาร
๓. การรับรูความหมาย คือ การทําความเขาใจนัยของสาร
๔. การนําไปใช คือ การนําความรูจากการอานไปใช
๒. การอานมีความสําคัญอยางไรบาง
เปนแนวทางในการประสบความสําเร็จในชีวิต เนื่องจากการอานเปนการสงเสริมความรูความเขาใจ และ
เสริมสรางประสบการณใหแกผูอาน
๓. การอานแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
การอานสามารถแบงออกไดเปน ๒ ประเภท คือ
๑. การอานออกเสียง เปนการถายทอดเรื่องที่อานออกมาเปนเสียงใหผูอื่นฟง
๒. การอานในใจ เปนการอานเพื่อเก็บความสําคัญโดยมีเปาหมายในการอานเพื่อใหผูอานเขาใจเอง ไมออกเสียง
ใหผูอื่นไดยิน
๔. การอานตีความมีจุดประสงคหลักเพื่ออะไร
การอานตีความมีจุดประสงคหลักเพื่อหาความหมายที่แทจริงของสารที่อาน โดยการอานตีความนั้นอาจจะ
ไมสามารถอานแลวเขาใจไดทันทีแตตองหาเหตุผลอยางรอบคอบแลวนํามาประมวลกับความคิดเพื่อใหทราบถึง
ความหมายที่แทจริง
๕. ใจความสําคัญของเรื่องสามารถอยูในสวนใดของยอหนาไดบาง
ใจความสําคัญของเรื่องสามารถปรากฏอยูได ๓ สวนของยอหนา คือ สวนตนของยอหนา สวนกลางของยอหนา
และสวนทายของยอหนา
๖. การอานเพื่อการวิเคราะหเปนการอานเพื่อแยกแยะเนื้อหาแบบใดออกจากกันและเนื้อหานั้นมีลักษณะเปนอยางไร
การอานเพื่อการวิเคราะหเปนการอานเพื่อแยกแยะขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความรูสึกสวนตัว โดยขอเท็จจริง
คือ เนื้อหาที่มีลักษณะเปนความจริงเสมอ มีขอพิสูจน เปนปรากฏการณธรรมชาติ ขอคิดเห็น คือ ความคิดเห็นของ
ผูเขียน เชน คุณคา นโยบาย และความรูสึก คือ เนื้อหาที่เปนอารมณความรูสึก เชน ซาบซึ้ง เศรา ดีใจ

21
๗. การประเมินคาสารประเภท “ขาว” ตองประเมินคาในปจจัยใดบาง
สารประเภทขาวเปนสารที่มีลักษณะเปนการบอกเลาขอเท็จจริงหรือเหตุการณใหผูอานทราบโดยไมใสความ
คิดเห็นสวนตัวของผูเขียนลงไป ดังนั้นการอานประเมินคาขาวตองดูที่เนื้อหาเปนหลักวา มีความถูกตอง เที่ยงธรรม
และมีความเปนจริงมากแคไหน
๘. การอานวิเคราะหและประเมินคาโฆษณาที่ดีควรพิจารณาถึงองคประกอบใดของโฆษณาบาง อยางไร
การอานวิเคราะหและประเมินคาโฆษณาควรอานพิจารณาตั้งแตลักษณะหัวเรื่องของโฆษณาวา ตองการสื่อสาร
สิ่งใดมายังผูอาน สามารถดึงความสนใจผูอานไดหรือไม ตอไปก็พิจารณาจากรายละเอียดของโฆษณาวามีเหตุผล
มากนอยแคไหน มีความเปนจริงหรือไม สุดทายคือ พิจารณาสวนทายของโฆษณาวาเปาหมายของโฆษณานี้ตองการ
ใหผูอานทําอยางไรตอไป
๙. เหตุใดเราจึงตองมีมารยาทในการอาน
เนื่องจากในการอานบางครั้งอาจมีพฤติกรรมบางอยางที่สรางความเดือดรอน รําคาญใหแกผูอื่น การมีมารยาท
ในการอานจะทําใหเรามีพฤติกรรมที่ดี และไมทําใหการอานของเราสรางความเดือดรอน รําคาญใหแกผูอื่น
๑๐. “วินทรนําบันทึกประจําวันของรงคมาอานโดยไมไดขออนุญาต” ผูเรียนคิดวาการกระทําของวินทรถูกตองหรือไม
อยางไร
ไมถูกตอง เพราะบันทึกประจําวันเปนงานเขียนที่เปนเรื่องสวนตัวของผูอื่น การนํามาอานโดยไมไดรับอนุญาต
จึงเปนการเสียมารยาทอยางรุนแรง

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดไมใชสารที่ตองใชการอานในการรับรู
ค. หนังสือเสียง
๒. ขอใดเปนปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการอานของผูอาน
จ. ถูกทุกขอ
๓. “ผูเรียนสามารถตอบคําถามในการสัมภาษณงานไดทุกขอ เนื่องจากผูเรียนอานหนังสือมามาก” ขอความนี้แสดงถึง
ความสําคัญของการอานขอใด
ก. การอานทําใหเกิดการรอบรูและรูรอบ
๔. การอานนิทานใหลูกฟง เปนการอานแบบใด
ข. การอานออกเสียง
๕. ขอใดไมใชสาระสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณาในการอานประเมินคาสารคดี
ง. ชื่อผูแตง

22
๖. “ไมมีอาหารที่ดีที่สุดสําหรับทุกคน คนที่แพถั่วบางชนิดหรือแพโปรตีนในนมวัว ก็ไมควรกินอาหารพวกนี้ เพราะถึง
แมมันจะอุดมไปดวยโปรตีน แตถากินแลวมันทํารายรางกาย เราก็ไมควรกิน ลองหันไปมองทางเลือกอื่น ๆ เชน ถั่ว
ที่เรากินไดโดยที่ไมแพหรือแพไมมาก ลองหันไปดื่มนมควายหรือนมแพะ” ขอความนี้มีใจความสําคัญอยูที่สวนใด
ของขอความ
ก. สวนตนของขอความ
๗. “ขาพเจามีความเศราเสียใจที่ตองกลาวประโยคนี้ออกมา แตทวาหากไมกลาวออกมาแลว ความเปนจริงคงจะหายไป
จากโลกนี้ตลอดกาล” ขอความนี้เปนขอความในลักษณะใด
ค. ความรูสึก
๘. ขั้นตอนแรกในการอานวิเคราะหและประเมินคาบทความคืออะไร
ข. พิจารณาสาระสังเขปของบทความ
๙. ขอใดคือความหมายของแกนเรื่อง
ง. แนวคิดสําคัญของเรื่อง
๑๐. ใครถือวามีมารยาทในการอาน
จ. แบมไมกินขนมระหวางอานหนังสือ

ใบงานที่ ๕.๑ เรื่อง การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

คําชี้แจง : จงอธิบายความหมายของคําที่กําหนดให
การอาน
การกระบวนการรับสารอยางหนึ่งของมนุษย โดยรับรูความหมายของสารผานตัวอักษรซึ่งเริ่มจากการรับรูคํา
การออกเสียงคํา การเขาใจความหมายจากตัวอักษร ตีความ หรือมีปฏิกริ ยิ าตอสิง่ ทีอ่ า น จากนัน้ แปลความหมายออกมาเปน
ความรู ความคิด และเกิดความเขาใจเรื่องราวที่อาน การทําความเขาใจกับเรื่องที่อานขึ้นอยูกับความรูและประสบการณ
เดิมของผูอาน
การอานออกเสียง
ผูอานจะถายทอดการรับรูหรือความเขาใจความหมายจากเรื่องที่อานออกมาเปนเสียงใหผูอื่นฟงในการอาน
ออกเสียงผูอ า นจึงตองระมัดระวังการอานออกเสียงใหถกู ตองตามอักขรวิธี ทัง้ การออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต
การเวนวรรคการอานที่ถูกตองเหมาะสม
การอานในใจ
. ผูอานจะทําความเขาใจและเก็บใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน เปาหมายของการอานในใจ คือ ตัวผูอาน

23
การอานตีความ
การอานเพื่อหาวาเนื้อหาที่อานสื่อความหมายที่แทจริงอยางไร โดยสามารถสังเกตจากบริบท นํ้าเสียง เจตนา
อารมณ
การอานจับใจความสําคัญ
การทําความเขาใจกับเรือ่ งทีอ่ า น และสามารถบอกไดวา ขอความสวนใดเปนขอความทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ในเรือ่ งทีอ่ า น
การอานเพื่อการวิเคราะห
การอานเพื่อแยกแยะเนื้อหาจากเรื่องที่อานวาขอความสวนใดเปนขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความรูสึกสวนตัว
การอานเพื่อประเมินคา
การอานเพื่อตัดสินเรื่องที่อานวามีความถูกตองและนาเชื่อถือหรือไม เพียงใด เพื่อใหผูอานสามารถนําขอมูล
จากเรื่องที่อานไปประยุกตใชอยางเหมาะสม

ใบงานที่ ๕.๒ เรื่อง องค์ประกอบของการอ่าน

คําชี้แจง : จงวิเคราะหองคประกอบของการอานที่กําหนดให
สถานการณที่ ๑ สมศักดิ์กําลังอานปายโฆษณารองเทาอยูและเมื่ออานจบแลวสมศักดิ์ไดตัดสินใจไปซื้อของ
ตามที่โฆษณาไว
สาร คือ ปายโฆษณา ผูอาน คือ สมศักดิ์
การรับรูความหมาย คือ ความตองการขายรองเทา การนําไปใช คือ สมศักดิ์ไปซื้อรองเทา
สถานการณที่ ๒ สุเทพอานหนังสือพิมพรายวันเกี่ยวกับขาวการเลือกตั้งโดยที่สุเทพรูสึกวาขาวของสํานักขาวนี้
ไมเปนกลาง ทําใหสุเทพเลิกอานหนังสือพิมพของสํานักขาวนี้ไปเลย
สาร คือ หนังสือพิมพ ผูอาน คือ สุเทพ
การรับรูความหมาย คือ สํานักขาวนี้เขียนขาวอยางไมเปนกลาง
การนําไปใช คือ สุเทพเลิกอานหนังสือพิมพของสํานักขาวนี้

24
ใบงานที่ ๕.๓ เรื่อง แนวทางการวิเคราะห์และประเมินค่าจากการอ่าน
สารต่าง ๆ
คําชี้แจง : วิเคราะหงานเขียนที่กําหนดใหวาสวนใดเปนขอเท็จจริง สวนใดเปนขอคิดเห็น และสวนใดเปนความรูสึกของ
ผูเขียน
“ธุรกิจสุขภาพความงาม ในดานการสงเสริมตลาดก็ทําไดงายกวาแตกอน เพราะปจจุบันมีโซเชียลมีเดีย เชน
เฟซบุก อินสตาแกรม ทวิตเตอร เว็บไซต และไลนแอด ที่สามารถสงขอมูลขาวสารถึงลูกคาและผูบริโภคไดโดยตรงและ
เปนจํานวนมาก และไมเสียคาใชจายเหมือนแตกอน หากรูเทคนิคและวิธีการทําตลาดออนไลน จะชวยประหยัดคาการ
ตลาดไปไดมาก ซึ่งทําใหมีกําไรเพิ่มขึ้นจากการลดตนทุนทางการตลาด”
สวนที่เปนขอเท็จจริง
ปจจุบันมีโซเชียลมีเดีย เชน เฟซบุก อินสตาแกรม ทวิตเตอร เว็บไซต และไลนแอด ที่สามารถสง
ขอมูลขาวสารถึงลูกคาและผูบริโภคไดโดยตรงและเปนจํานวนมาก และไมเสียคาใชจายเหมือนแตกอน
สวนที่เปนขอคิดเห็น
ธุรกิจสุขภาพความงาม ในดานการสงเสริมตลาดก็ทําไดงายกวาแตกอน, หากรูเทคนิคและวิธีการ
ทําตลาดออนไลน จะชวยประหยัดคาการตลาดไปไดมาก ซึ่งทําใหมีกําไรเพิ่มขึ้นจากการลดตนทุนทางการตลาด
“ฟอรมของหมาปาแหงเมืองเบียรยังไมกระเตื้อง แถมมีแตสาละวันเตี้ยลง ถึงแมจะเปลี่ยนกุนซือมาเปน
วาเลเรียน อิสมาแอล แลวก็ตาม ลาสุดแพคาบานตอแฮรธา เบอรลิน ๒ : ๓ ทําใหสะกดคําวา ชนะ ไมเปน ๓ เกมติดตอกัน
ผูเลนคอนขางสมบูรณ จะขาดเพียงตัวติดโทษแบน ๒ คน ไดแก มักซิมิเลียน อารโนลด กับ พอล เซกวิน นอกนั้นพรอมรบ
ในแผนการเลน ๓-๑-๔-๑-๑”
สวนที่เปนขอเท็จจริง
ถึงแมจะเปลี่ยนกุนซือมาเปนวาเลเรียน อิสมาแอล แลวก็ตาม ลาสุดแพคาบานตอแฮรธา เบอรลิน
๒ : ๓ ทําใหสะกดคําวา ชนะ ไมเปน ๓ เกมติดตอกัน ผูเลนคอนขางสมบูรณ จะขาดเพียงตัวติดโทษแบน ๒ คน
ไดแก มักซิมิเลียน อารโนลด กับ พอล เซกวิน นอกนั้นพรอมรบในแผนการเลน ๓-๑-๔-๑-๑
สวนที่เปนขอคิดเห็น
ฟอรมของหมาปาแหงเมืองเบียรยังไมกระเตื้อง แถมมีแตสาละวันเตี้ยลง

25
ใบงานที่ ๕.๔ เรื่อง มารยาทในการอ่าน

คําชี้แจง : จงวิเคราะหสถานการณที่กําหนดใหวาใครทําผิดมารยาทในการอาน ผิดกี่ขอ และขอใดบาง


วั น นี้ ก นกวรรณและกรองกานต ไ ปอ า นหนั ง สื อ ด ว ยกั น ที่ ห อ งสมุ ด โดยที่ ก นกวรรณได นํ า ขนม

และนํ า เข า ไปในห อ งสมุ ด ด ว ย ซึ่ ง กนกวรรณบอกว า จะเอาไว ไ ปกิ น ตอนอ า นหนั ง สื อ จะได ไ ม ง ว ง ถึ ง แม
กรองกานตจะทักทวงแลวแตกนกวรรณก็ไมฟง เมื่อทั้งสองไดเขาไปนั่งอานหนังสือดวยกันแลว กรองกานต
ใช ป ากกาขี ด เน น บรรทั ด ข อ ความในหนั ง สื อ ของห อ งสมุ ด เพื่ อ นํ า ไปใช ทํ า รายงาน กนกวรรณบอกว า ถ า หาก
กรองกานต ต อ งการนํ า เนื้ อ หาไปใช ก รองกานต ต อ งอ า งอิ ง ให ค รบถ ว นด ว ย แต ก รองกานต บ อกว า เธอจะ
ไม ทํ า เพราะยุ ง ยากและเสี ย เวลา เมื่ อ อ า นหนั ง สื อ ด ว ยกั น ไปเรื่ อ ย ๆ กนกวรรณเกิ ด เบื่ อ ขึ้ น มา จึ ง ได แ อบ
ชะโงกหน า ไปดู ห นั ง สื อ ที่ ก รองกานต กํ า ลั ง อ า นอยู ทํ า ให ก รองกานต รู สึ ก รํ า คาญมาก กรองกานต จึ ง บอกลา
กนกรรณและกลับบานทันที
กนกวรรณ ทําผิด ๒ ขอ คือ นําอาหารและเครื่องดื่มไปรับประทานในหองสมุด และทําใหเพื่อน
เสียสมาธิโดยการชะโงกหนาไปกูหนังสือเพื่อน
กรองกานตทาํ ผิด ๒ ขอ คือ ใชหนังสือสวนรวมอยางไมระมัดระวัง โดยขีดฆาลงไปในหนังสือ และ
นําเนื้อหาหรือขอความจากหนังสือไปใชโดยไมอางอิง

หน่วยที่
๖ การเขียน

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนจับคูกับเพื่อน เลือกงานเขียนที่ตนเองชื่นชอบไมเกิน ๕ หนากระดาษ A๔ จากนั้นนํามาวิเคราะหลักษณะ
การเขียน การวางโครงเรื่อง วัตถุประสงค การใชภาษา ลักษณะการวางประโยคใจความสําคัญ คุณคาที่มีตอผูอาน
แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
๒. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๔–๕ คน เลือกหัวขอที่ตนเองสนใจ จากนั้นกําหนดวัตถุประสงคการเขียน วาง
โครงเรือ่ ง ลงมือเขียนใหมตี าํ แหนงของประโยคใจความหลักครบทัง้ ๕ ประเภท ตรวจสอบการใชภาษา และออกมา
นําเสนอผลงานการเขียนหนาชั้นเรียน
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

26
คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. “ภาษาเปนดั่งอาภรณที่หอหุมนําพาสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร” หมายถึงอะไร
ภาษาเปนเครื่องมือหรือการถายทอดขอมูลความรู ความคิด ความตองการ หรือความรูสึกของผูเขียนไปยังผูอาน
๒. จงบอกความสําคัญของการเขียน
การเขียนเปนทักษะรวบยอด คือ การเขียนเปนทักษะขั้นสูงที่ตองใชทุกทักษะประกอบกัน การเขียนกอใหเกิด
ประโยชนจํานวนมาก เชน ฝกสมาธิ ฝกการใชภาษา ฝกการคิด รวมถึงเปนหลักฐานที่คงทน
๓. การเขียนยอหนามีประโยชนอยางไร
๑. ชวยใหงานเขียนเปนระเบียบอานงาย ๒. ชวยใหเขียนเปนประเด็นเนื้อหาไมวกวน
๓. ชวยจํากัดขอบเขตของเนื้อหา
๔. รูปแบบการเขียนยอหนามีกี่ประเภท อะไรบาง
๕ ประเภท ไดแก ใจความสําคัญอยูตอนตนของยอหนา ใจความสําคัญอยูตอนทายของยอหนา ใจความสําคัญ
อยูกลางของยอหนา ใจความสําคัญอยูตอนตนและตอนทายของยอหนา และไมปรากฏใจความสําคัญในยอหนา
๕. ใน ๑ ยอหนา จําเปนตองประกอบดวยทั้งใจความสําคัญหลัก (Main Idea) และใจความรอง (Supporting Idea)
หรือไม อยางไร
จําเปน หากไมมีใจความหลัก ยอหนานั้นก็จะขาดเนื้อหาที่ผูเขียนตองการสื่อสาร แตหากไมมีใจความรองก็จะทําให
เนื้อหาไมนาเชื่อถือ ไมนาสนใจ ทําใหผูอานไมไดขอมูลที่ครบถวน
๖. ผูเรียนมีวิธีสังเกตใจความสําคัญหลักอยางไรบาง
๑. มีการกลาวซํ้าบอย ๆ ในยอหนา ๒. สามารถแทนความของทั้งยอหนาได
๗. หากผูเรียนเพิ่งเริ่มฝกเขียนยอหนา ผูเรียนจะเลือกเขียนยอหนารูปแบบใด เพราะเหตุใดจึงเลือกเชนนั้น
ประโยคใจความสําคัญอยูต อนตนของยอหนา เพราะเปนการเขียนยอหนาทีง่ า ยทีส่ ดุ สามารถวางประโยคใจความ
สําคัญไวประโยคแรกแลวจึงขยายความจนเนื้อหาครบถวนเหมาะสม
๘. หากใน ๑ ยอหนามีมากกวา ๑ ประเด็น จะสงผลอยางไร
เนื้อหาในยอหนาไมชัดเจนทําใหการเขียนยอหนานั้นไมมีเอกภาพ
๙. ผูเรียนจะนําคําวา “เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ” ไปใชในการเขียนยอหนาอยางไร
เขียนยอหนาใหมเี นือ้ หาสาระ ๑ ยอหนา ๑ ประเด็น ขยายความเพิม่ เติมแตละประเด็นอยางถูกตองและเหมาะสม
หากมีหลายยอหนา ทุกยอหนาตองกลาวถึงเรื่องเดียวกัน

27
๑๐. ผูเรียนเปนคนชอบเขียน สามารถหยิบยกเรื่องราวตาง ๆ รอบตัวมาเขียนไดเสมอ แตเพื่อนของผูเรียนไมชอบเขียนเลย
ผูเรียนจะแนะนําเพื่อนอยางไร เพื่อกระตุนใหเพื่อนชอบเขียนเหมือนผูเรียน
แนะนําใหเพือ่ นเขียนจากเรือ่ งงาย ๆ สัน้ ๆ ใกลตวั เพราะเมือ่ เขียนเรือ่ งหนึง่ สําเร็จเพือ่ นจะมีกาํ ลังใจในการเขียน
ตอไป และใหกําลังใจในการเขียนดวยการชื่นชมผลงานเพื่อใหเพื่อนมีกําลังใจในการเขียน

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดไมใชความหมายของการเขียน
ค. ระบบการบันทึกเพื่อถายทอดความรู ความคิด
๒. ขอใดไมใชความสําคัญของการเขียน
ก. แกมคัดลอกขอความในหนังสือสงงานครู
๓. “การสอบเปนเสมือนเกมที่นักเรียนไมพึงประสงค เนื่องจากการสอบไมไดมีความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน หรือ
ความทาทายเลย ในทางตรงกันขามมักมาพรอมกับความกดดัน ความหวัง และความเครียด แตจะไมสอบเลยก็คง
ไมได เพราะอยางนอยการสอบก็เปนเครื่องมือวัดระดับความเขาใจบทเรียน ใหนักเรียนไดกลับไปทบทวนและ
ทําความเขาใจในสวนที่ยังไมกระจางได” จากขอความนี้เปนความสําคัญของการเขียนดานใด
ง. การเขียนเปนเครื่องมือฝกฝนทางภาษา
๔. ขอใดกลาวไมถูกตอง
ค. ในแตละยอหนาตองมีประโยคใจความหลักปรากฏเสมอ
๕. “ชีวิตของเรา มีผูคนมากมายที่ผานเขามา มีผูคนมากมายที่ออกจากชีวิตเราไป สุดทายแลวคนที่จะอยูกับตัวเราไป
ตลอดชีวติ ก็คอื ตัวของเราเอง ดังนัน้ ไมวา ใครจะเขามา ไมวา ใครจะออกไป อยาเอาใจไปผูกกับเขาไวมากนัก แตจงเผือ่ ใจ
ไวรักตัวเองเสมอ”
(คิดมาก. ๒๕๖๑: ๖)
จากขอความนี้ประโยคใจความหลักปรากฏอยูตอนใด
ข. ตอนทาย
๖. “คลื่นใตเสียงหรืออินฟราซาวดสงผลกระทบตออวัยวะภายในของมนุษย โดยเฉพาะการไหลเวียนโลหิต และระบบ
ประสาท อินฟราซาวดระดับไมรุนแรงเพียงชั่วครูสามารถสรางความรูสึกปลาบปลื้ม กระปรี้กระเปราไดเปนชั่วโมง
อัตราการเตนของหัวใจ ความดันเลือด และการปลอยเอนโดฟนฮอรโมนแหงความสุขสูงขึ้น”
(ปราปต. ๒๕๕๘: ๑๙๘)
จากขอความนี้ประโยคใจความหลักปรากฏอยูตอนใด
ก. ตอนตน

28
๗. “การเปนคนที่มีคุณภาพตองรูจักหักหามจิตใจไมใหใฝไปในทางชั่วราย รูจักตรวจสอบตนเองอยางเขมงวดอยูเสมอ
คาดหวังใหตนเองเปนตนแบบคุณความดีแกคนอืน่ ตางจากคนทรามทีม่ กั จะหวังใหเปนไปตามทีใ่ จตนเองตองการ โดย
ไมคํานึงถึงผลไดผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเขา ขอใหเปนไปอยางใจตนเองคิดก็พอ”
(ภัทระ ฉลาดแพทย และธีระวุฒิ ปญญา. ๒๕๕๕: ๖๙)
จากขอความนี้ขอใดเปนประโยคใจความหลัก
ก. การเปนคนที่มีคุณภาพตองรูจักหักหามจิตใจไมใหใฝไปในทางชั่วราย
๘. “พนอนิจมีรปู รางสูงโปรง ผมดําขลับตัดสัน้ แลวดัดดวยไฟฟาพอเปนคลืน่ เปดใหเห็นลําคอยาว ปลายคางมนยกแตนอ ย
อยางไวศักดิ์ยิ่งเพิ่มความระหงในทวงทาแชมชอย แตหาไดเชื่องชา ความลงตัวของลักษณะนาปกปองของผูหญิงกับ
ความเขมแข็งเฉลียวฉลาดเปนคุณสมบัติที่หาไดไมงาย”
(ปราปต. ๒๕๕๗: ๓๕)
จากขอความนี้ขอใดเปนประโยคใจความหลัก
จ. ไมปรากฏประโยคใจความหลัก
๙. หากกลุมเปาหมายการเขียนของผูเรียนเปนกลุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเรียนจะเลือกเขียนเรื่องลักษณะ
อยางไรจึงจะเหมาะสมมากที่สุด
ง. เรื่องที่กําลังเปนกระแสในสังคม เชน เทคโนโลยี
๑๐. ขอใดไมใชลักษณะของการเขียนที่ดี
ข. ยกตัวอยางประกอบการเขียนทุกครั้ง

ใบงานที่ ๖.๑ เรื่อง ความหมายและความสำาคัญของการเขียน

คําชี้แจง : จงอธิบายความหมายและความสําคัญของการเขียน
การเขียนเปนการถายทอดขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ หรือความรูสึกของผูเขียนไปยังผูอาน โดยใช
ตัวอักษรหรือสัญลักษณตาง ๆ เรียบเรียงใหเปนคํา ขอความ ประโยค หรือเรื่องราวตาง ๆ ตามรูปแบบและถูกตองตาม
หลักการใชภาษา
ความสําคัญของการเขียนแบงได ๓ ขอดังนี้
๑. ใชถายทอดความรู ความคิด จินตนาการของตนเองใหผูอื่นรับรู
๒. สื่อความหมายไดคงทน และชวยบันทึกความจํา
๓. ชวยลําดับและเรียบเรียงความคิดไดดีกวาการสื่อสารประเภทอื่น

29
ใบงานที่ ๖.๒ เรื่อง การเขียนยอหนาตามหลักการเขียน

คําชี้แจง : จงทํากิจกรรมตอไปนี้
๑. ใหผูเรียนอานขอความที่กําหนดให แลวบอกวาขอความนั้นมีใจความสําคัญ (Main Idea) อยูสวนใดของยอหนา และ
ประโยคใดเปนประโยคใจความหลัก
“เราเชื่อเสมอวา การขอโทษเปนการแสดงความแครกันอยางดีที่สุด เปนวิตามิน C ที่มาจากคําวา Care ที่จะชวย
บํารุงความสัมพันธโดยไมตองไปหาซื้อ แตเราก็มักลังเลที่จะขอโทษใครสักคนเสมอดวยเหตุผลสารพัดเรื่อง เชน
ถาไมผิดจะไมขอโทษ ซึ่งถาคิดกันจริง ๆ ทุกคนมีสวนผิดในการกระทําหนึ่ง ๆ ทั้งสิ้น ไมมีใครผิดหมดหรือถูกหมด
แตจะมีใครยอมรับหรือเปลาวามีสวนผิด เหมือนคนสองคนเลนบอลกันแลวเตะบอลไปโดนกระจกบานขาง ๆ
นั่นแหละ คนเตะไปโดนกระจกยอมคือคนผิดที่เห็นไดชัดเจนที่สุด แตอยู ๆ มันจะเตะไปโดนกระจกไดอยางไร
ถาอีกคนไมไดเลนดวยและโยนบอลมาในองศาที่เขาทางการเตะไปโดนกระจกพอดี”
(วิไลรัตน เอมเอี่ยม. ๒๕๕๓: ๑๗๔)
ตอนกลางของยอหนา ในประโยค “จริง ๆ ทุกคนมีสวนผิดในการกระทําหนึ่ง ๆ ทั้งสิ้น”
“เด็กแวนกับผูใ หญทยี่ อมเปนหนีเ้ พือ่ ซือ้ ของแบรนดเนมไปอวดคนอืน่ ดูเผิน ๆ คงไมมอี ะไรเหมือนกัน แลวก็ไมรจู ะ
เอามาเปรียบเทียบกันทําโหระพาอะไร แตเดีย๋ วกอน ถาลองพิจารณาคนสองประเภทนีอ้ ยางลึกซึง้ แลว คุณจะพบ
ความเหมือนทีส่ าํ คัญอยางหนึง่ คือ พวกเขาแสวงหาการยอมรับ และการยอมรับก็คอื ชัยชนะอันลํา้ คาของพวกเขา
ตางกันก็ตรงที่เด็กแวนสรางความเดือดรอนใหผูอื่น แตผูใหญที่ซื้อของแบรนดเนมจะสรางความเดือดรอนใหกับ
สถานภาพทางการเงินของตนเอง”
(วิไลรัตน เอมเอี่ยม. ๒๕๕๕: ๒๓๘)
ตอนกลางของยอหนา ในประโยค “ความเหมือนที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ พวกเขาแสวงหาการยอมรับ”
“ฮาราจูกุ ศูนยรวมของวัยรุนแตงกายชุดหลุดโลกแปลกแหวกแนว แมจะแตงชุดมาประชันกัน ก็ไมใชวาเขาจะให
นักทองเที่ยวถายภาพทุกคน สนใจถายภาพคนไหน ลองเขาไปขอถายภาพได ผมเดินผานไปผานมา ขอถายภาพ
ไดไมกคี่ น แตบางคนใชเทคนิคพิเศษสวนตัว หยิบเลนสกลองระยะไกล แอบถายเหมือนเปนปาปารัสซี อยางไรแลว
เขาไปขอถายภาพ บอกเขากอนลวงหนาดีที่สุดครับ ถือเปนการใหเกียรติซึ่งกันและกัน”
(สิรภพ มหรรฆสุวรรณ. ๒๕๕๕: ๓๔)
ตอนทายของยอหนา ในประโยค “เขาไปขอถายภาพ บอกเขากอนลวงหนาดีทสี่ ดุ ครับ ถือเปนการใหเกียรติ
ซึ่งกันและกัน”

30
“ลักษณะอาหารเจมีความเครงครัดในเรื่องการปรุงมากกวาอาหารมังสวิรัติ เครื่องเทศเครื่องปรุงหลายชนิดถูก
หามนํามาใชในการทําอาหารเจ เพราะมีความเชื่อวาจะไปกระตุนอารมณ ในขณะที่อาหารมังสวิรัตินั้นเพียงหาม
รับประทานอาหารจําพวกเนื้อสัตวเทานั้น อาหารมังสวิรัติจึงมีความเขมงวดนอยกวาอาหารเจ”
ตอนตนของยอหนา ในประโยค “ลักษณะอาหารเจมีความเครงครัดในเรือ่ งการปรุงมากกวาอาหารมังสวิรตั ”ิ
“ครูบางคนเขาใจวา วรรณคดีเปนเรื่องที่ชวยสอนศีลธรรมใหแกผูเรียน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวรรณคดีสวนใหญที่
เรียนกันอยูในปจจุบัน นั้นเปนเรื่องที่เนนใหเห็นถึงคุณธรรมในการดําเนินชีวิต ซึ่งคุณธรรมที่ปรากฏนั้นเปนเพียง
แงหนึ่งของวรรณคดี การที่จะนําประโยชนหรือแนวทางเพียงแนวเดียวมาเปนหัวใจของเรื่องทั้งเรื่องจึงไมถูกตอง
การที่จะเรียนวรรณคดีโดยมุงใหเปนสิ่งสอนใจจึงไมใชการเรียน วรรณคดีตามความหมายที่แทจริง เชนเดียวกับ
การเรียนวรรณคดีในแงของประวัติศาสตร โบราณคดี การศึกษาภาษา สิ่งเหลานี้ลวนเปนเพียงสวนประกอบของ
วรรณคดีทงั้ สิน้ ไมใชตวั วรรณคดี การทีเ่ ด็กจะมองเห็นคุณคาของวรรณคดีทแี่ ทจริงไดนนั้ อยูท คี่ รูตอ งมองเห็นกอน”
ตอนทายของยอหนา ในประโยค “การทีเ่ ด็กจะมองเห็นคุณคาของวรรณคดีทแี่ ทจริงไดนนั้ อยูท คี่ รู
ตองมองเห็นกอน”
“ทันทีทเี่ ลีย้ วขึน้ ไป โห มันสวยมาก แสงของดวงอาทิตยทกี่ าํ ลังจะลาลับขอบฟาสาดตรงไปทีอ่ า งเก็บนํา้ เห็น
เงาสีเงินเขมของภูเขาตนหญากับดอกหญาปลิวไปตามลมหนาวออน ๆ สะทอนดวยแดดอุน ๆ สมาชิกทัง้ สี่
ผลัดกันสูดอากาศดี ๆ เขาปอด เก็บบรรยากาศดี ๆ ผานตาเขาเมโมรีสมองและเมโมรีกลอง เรามีเวลาอยูต รงนี้
ไมถึงครึ่งชั่วโมงก็ตองไปตอ เพราะอางเก็บนํ้าเปดถึงหกโมงเย็นเทานั้น”
(กมลเนตร เรืองศรี. ๒๕๕๘: ๑๔๙– ๑๕๒)
ไมปรากฏในยอหนา ผูเ ขียนกลาวถึง ความสวยงามของอางเก็บนํา้ ในเวลาทีพ่ ระอาทิตยกาํ ลังจะตก
การมีเมียเยอะ (ทีเ่ รียกวา เมียนอย) เปนปญหาโลกแตกของสถาบันครอบครัวมาทุกยุคทุกสมัย ไมวา จะเปน
ยุคทีใ่ นสังคมมีเมียนอยเปนเรือ่ งปกติ หรือจะเปนยุคทีผ่ คู นหันมามีคา นิยมผัวเดียวเมียเดียวก็ตาม แมสงั คมไทย
ที่วรรณคดีหรือนิทานไทยเขียนขึ้นจะคุนเคยกับการที่ผูชายมีเมียไดมากกวาหนึ่งคนแตก็ใชวาเมียทุกคนจะ
อยากเปนเมียหลวงที่ถูกผัวลืม เมียหลวงหลายตอหลายคนจึงตองงัดสกิลที่มีขึ้นมาปกครองผัวของตนเพื่อ
ใหเมียนอยเปนเพียงเบี้ยลาง หรือที่หวงกวานั้นก็พยายามเขี่ยเมียนอยใหกระเด็นออกไปจากชีวิตเลย
ทีเดียว”
(ชนัญญา เตชจักรเสมา. ๒๕๖๐: ๑๔๙)
ตอนตนของยอหนา ในประโยค “การมีเมียเยอะ (ทีเ่ รียกวา เมียนอย) เปนปญหาโลกแตกของสถาบัน
ครอบครัวมาทุกยุคทุกสมัย”

31
“คนไทยนัน้ ถือวาบานเปนสิง่ สําคัญตอชีวติ ตัง้ แตเกิดจนตาย เพราะคนไทยโบราณนัน้ ใชบา นเปนทีเ่ กิด การคลอดลูก
จะกระทํากันทีบ่ า น โดยมีหมอพืน้ บานทีเ่ รียกวา หมอตําแย เปนผูท าํ คลอด มิไดใชโรงพยาบาลหรือสถานผดุงครรภ
อยางในปจจุบันนี้ และที่สุดของชีวิตเมื่อมีการตายเกิดขึ้น คนไทยก็จะเก็บศพของผูตายที่เปนสมาชิกของบานไว
ในบานกอนที่จะทําพิธีเผาเพื่อทําบุญสวด และเปนการใกลชิดกับผูตายเปนครั้งสุดทาย ดังนั้น บานจึงเปนสถานที่
ที่คนไทยใชชีวิตอยูเกือบตลอดเวลาตั้งแตเกิดจนตาย”
ตอนตนและตอนทายของยอหนา ในประโยค “คนไทยนัน้ ถือวาบานเปนสิง่ สําคัญตอชีวติ ตัง้ แตเกิดจนตาย”
และ “บานจึงเปนสถานที่ที่คนไทยใชชีวิตอยูเกือบตลอดเวลาตั้งแตเกิดจนตาย”
“แมถนนเยาวราชจะกอรางจากขอเสนอของพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ (ขณะดํารง
พระอิสริยยศพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ) ตามแนวพระราชดําริใน
การสรางถนนเพื่อสงเสริมการคา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว หากแทจริงชุมชนชาวจีนนี้มีความเปนมา
ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทร และยายราชธานีจากธนบุรีมายังฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยาแทน”
(ปราปต. ๒๕๕๗: ๓๙)
ไมปรากฏในยอหนา ผูเขียนกลาวถึงความเปนมาของถนนเยาวราชและชุมชนจีน
“เมื่อ ๖๐ ปกอนมีรานลอดชองมาเปดขายแถวเยาวราช โดยโดดเดนดวยลอดชองแสนหอมหวานที่เสิรฟมา
ในแกวกาแฟแบบโบราณ เกิดกระแสปากตอปากจนโดงดังไปทั่ว ซึ่งที่ตั้งของรานนั้นอยูหนาโรงหนังเฉลิมบุรี หรือ
ที่เรียกติดปากกันวา โรงภาพยนตรสิงคโปร เปนที่มาของลอดชองหนาโรงหนังสิงคโปร และตอมาก็ลดทอนเหลือ
แคลอดชองสิงคโปร”
(โจบองโก. ๒๕๕๖: ๔๙)
ไมปรากฏในยอหนา ผูเขียนกลาวถึงที่มาของลอดชองสิงคโปร

๒. ใหผูเรียนคัดลอกขอความที่มีรูปแบบการเขียนยอหนาตอไปนี้ พรอมระบุแหลงที่มา
๒.๑ ใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนตนของยอหนา
ระบุขอความที่มีใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนตนของยอหนา
๒.๒. ใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนทายของยอหนา
ระบุขอความที่มีใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนทายของยอหนา
๒.๓ ใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนกลางของยอหนา
ระบุขอความที่มีใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนกลางของยอหนา
๒.๔ ใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนตนและตอนทายของยอหนา
ระบุขอความที่มีใจความสําคัญ (Main Idea) อยูตอนตนและตอนทายของยอหนา
๒.๕ ไมปรากฏใจความสําคัญ (Main Idea) ในยอหนา
ระบุขอความที่ไมปรากฏใจความสําคัญ (Main Idea) ในยอหนา

32
หน่วยที่
๗ การเขียนประเภทต่าง ๆ

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๔–๕ คน ดูวีดิทัศนจากเรื่องที่ผูเรียนสนใจ จากนั้นนํามาเขียนสรุปใจความสําคัญ
๒. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน คนหาขอความที่เปนการเขียนอธิบาย และการเขียนบรรยาย แลวนําเสนอ
หนาชั้นเรียน
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. การเขียนสรุปความมีความสําคัญตอการเรียนและการดําเนินชีวิตของผูเรียนอยางไร
ความสําคัญตอการเรียน : ระบุคําตอบ เชน เปนบันทึกชวยจําใหจดจําเนื้อหาในบทเรียนไดนานขึ้น สามารถใช
อานทบทวนกอนสอบได
ความสําคัญตอการดําเนินชีวิต : ระบุคําตอบ เชน เปนหลักฐานบันทึกการอาน
๒. ผูเรียนมีขั้นตอนการเขียนสรุปความอยางไร
๑. อาน ดู หรือฟงเรื่องที่จะสรุปอยางนอย ๒ รอบ ๒. บันทึกขอความสําคัญสั้น ๆ
๓. ลงมือเขียนดวยภาษาของตนเอง
๓. การเขียนอธิบายมีกี่ประเภท อะไรบาง
การเขียนอธิบายมี ๕ ประเภท ไดแก การเขียนอธิบายดวยการใหคํานิยามหรือจํากัดความ การเขียนอธิบายดวย
การเปรียบเทียบ การเขียนอธิบายดวยการใหเหตุผล การเขียนอธิบายดวยการยกตัวอยาง และการเขียนอธิบายตาม
ลําดับขั้นตอน
๔. การเขียนอธิบายกับการเขียนบรรยายแตกตางกันอยางไร
การเขียนอธิบายเปนการเขียนเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สวนการเขียนบรรยายเปนการเขียนเพื่อถายทอด
เรื่องราว
๕. หากผูเรียนจะเขียนอธิบายวิธีการซื้อบัตรคอนเสิรต ผูเรียนจะเลือกใชการเขียนอธิบายประเภทใด
การเขียนอธิบายตามลําดับขัน้ ตอน เพราะการซือ้ บัตรคอนเสิรต มีขนั้ ตอนทีม่ รี ายละเอียดใหปฏิบตั ติ ามทีละขัน้ ตอน
การเขียนอธิบายตามลําดับขั้นตอนจึงเหมาะสมที่สุด

33
๖. หากผูเรียนจะเขียนโตแยงในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ผูเรียนจะเลือกใชการเขียนอธิบายประเภทใด
การเขียนอธิบายดวยการใหเหตุผล เพราะการเขียนโตแยงจะตองประกอบดวยขอมูลและเหตุผล จึงจะเปนการ
โตแยงที่สมเหตุสมผล นาเชื่อถือ
๗. ผูเรียนมีวิธีเลือกเรื่องที่จะเขียนอธิบายอยางไร
๑. เลือกจากกลุมผูอาน ผูอานคนละวัยยอมสนใจเรื่องที่แตกตางกัน เชน วัยรุนชอบเรื่องทาทาย พาฝน
๒. เลือกจากความถนัดของตนเอง เมื่อเปนเรื่องที่ถนัดยอมเขียนออกมาไดดีและนาสนใจ
๓. เลือกจากสถานการณปจจุบัน เรื่องที่เปนกระแสมักไดรับความสนใจจากคนทั่วไป
๘. ผูเรียนตองเขียนอธิบาย เรื่อง “ประโยชนของเพลงไทยสากล” ผูเรียนจะวางโครงเรื่องอยางไร
๑. ความหมายของเพลงไทยสากล
๒. ประเภทของเพลงไทยสากล
๓. ประโยชนของเพลงไทยสากล (ตอตนเอง ตอสังคม ตอประเทศ)
๙. ขอควรคํานึงในการเขียนบรรยายทุกครั้งคืออะไร
การใชภาษาอยางตรงไปตรงมา ชัดเจน ผูอานสามารถเขาใจไดทันที
๑๐. การอาน การฟง และการดูมีความสัมพันธกับการเขียนอยางไร
เปนทักษะการรับสาร ทําใหเกิดความรู ความเขาใจและประสบการณตาง ๆ เพื่อใชเปนขอมูลในการเขียนงาน
ของตนเอง เพราะการเขียนเปนทักษะการสังเคราะหจะตองนําความรูที่ตนมีมาเขียนถายทอดในแบบของตนเอง

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดกลาวถึงการเขียนสรุปความไดถูกตอง
ง. การเขียนสรุปความไมจําเปนตองยกตัวอยางประกอบ
๒. การเขียนสรุปความหมายถึงขอใด
ก. การจับสาระสําคัญของเรื่องตาง ๆ
๓. ขอใดไมใชการเขียนอธิบาย
ก. ศิรชัชเขียนประวัติของนายชิต บุรทัต
๔. หากผูเรียนจะเขียนโตแยงเรื่องหนึ่ง ๆ นักเรียนควรเลือกใชการเขียนอธิบายประเภทใด
ข. การใหเหตุผล
๕. หากผูเรียนจะชี้ใหเห็นความแตกตางระหวางพลูและชะพลู ควรจะใชการเขียนอธิบายแบบใด
ค. การเปรียบเทียบ

34
๖. “ความเครียดในชีวิตประจําวันไมวาจะเปนเครียดเรื่องงาน เรื่องเงิน หรือเรื่องสวนตัว และการรับประทานอาหาร
ไมตรงเวลา อีกทัง้ ยังรับประทานอาหารทีม่ รี สเปรีย้ วจัด และเผ็ดจัด ลวนเปนสาเหตุทที่ าํ ใหเกิดโรคกระเพาะอาหารได
อาการเบือ้ งตน คือ ปวดทองทัง้ กอนและหลังรับประทานอาหาร บางรายก็คลืน่ ไสและอาเจียน หากไมไดรบั การรักษา
ที่ถูกตองอาจทําใหปวดทองขั้นรุนแรงจนถึงกระเพาะอาหารทะลุได” จากขอความนี้เปนการอธิบายประเภทใด
ข. การใหเหตุผล
๗. “ราชพฤกษ ห รื อ คู น เป น ไม ยื น ต น ขนาดกลางที่ มี ค วามสู ง ๑๐–๒๐ เมตร เป น ไม ที่ พ บได ทั่ ว ไปใน
ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ดอกออกเป น ช อ สี เ หลื อ งในช ว งเดื อ นมี น าคมถึ ง เดื อ นพฤษภาคม
มีลักษณะระยาคลายโคมไฟ” จากขอความนี้เปนการเขียนอธิบายประเภทใด
ก. การใหนิยาม
๘. “เมื อ งไทยเป น เมื อ งผลไม แต ล ะฤดู จ ะมี ผ ลไม ใ ห เ ลื อ กสรรอย า งหลากหลาย ฤดู ร อ นมี ทุ เ รี ย น
มะม ว ง ลู ก หว า มะไฟ แตงโม ชมพู ลิ้ น จี่ ขนุ น กล ว ยหอม ฤดู ฝ นมี ก ล ว ย ฝรั่ ง สั บ ปะรด
ลํ า ไย น อ ยหน า ส ม โอ มะเฟ อ ง มะยม ส ว นฤดู ห นาวมี ล ะมุ ด อ อ ย ส ม เขี ย วหวาน องุ น ชมพู
พุทรา มะตูม ลูกตาล” จากขอความนี้เปนการเขียนอธิบายประเภทใด
จ. การยกตัวอยางประกอบ
๙. ขอใดเรียงลําดับการเขียนอธิบายและบรรยายไดถูกตอง
ง. เลือกหัวขอ วางโครงเรื่อง เขียน ตรวจทาน
๑๐. ขอใดเปนการเขียนบรรยาย
จ. นรินทรเขียนเลาการไปเที่ยวจังหวัดเชียงใหมกับครอบครัว

ใบงานที่ ๗.๑ เรื่อง การเขียนประเภทต่าง ๆ

คําชี้แจง : ใหผูเรียนเขียนอธิบายความหมายและหลักการเขียนแตละประเภทตอไปนี้
๑. การเขียนสรุปความ
ความหมาย การจับใจความสําคัญ หรือสาระสําคัญ จากสารผานทักษะการฟง การดู หรือการอานใหครบถวน
จากนั้นนํามาเรียบเรียงใหมโดยใชสํานวนของตนเองดวยขอความที่สั้น กระชับ ชัดเจน
หลักการเขียน
๑. จดขอความสั้น ๆ ไวชวยจํา
๒. นําขอความที่บันทึกไวมาเรียบเรียงใหมโดยที่ตองมีใจความสําคัญอยูดวย

35
๒. การเขียนอธิบาย
ความหมาย การเขียนใหผูอื่นเขาใจในเนื้อความนั้นอยางแจมแจง ชัดเจน และถูกตอง
หลักการเขียน ๑. กําหนดจุดมุงหมายในการเขียนใหชัดเจน
๒. เตรียมเนื้อเรื่องกอนการเขียน
๓. เตรียมขอมูลที่จะเขียน
๔. เลือกกลวิธีในการเขียนใหเหมาะสม
๕. เขียนดวยภาษาที่เขาใจงาย ชัดเจน
๓. การเขียนบรรยาย
ความหมาย ลักษณะการเขียนแบบบอกเลาเรื่องราว ขอเท็จจริง โดยใหผูอานเขาใจความเปนมา
เสมือนกับอยูรวมในเหตุการณนั้นดวย
หลักการเขียน ๑. เลือกเรื่องและกําหนดขอบเขตของเรื่อง
๒. วางโครงเรื่อง
๓. เรียบเรียงดวยภาษาที่กระชับและชัดเจน

ใบงานที่ ๗.๒ เรื่อง เขียนสรุปความ เขียนอธิบาย และเขียนบรรยาย

คําชี้แจง : ใหผูเรียนคัดลอกขอความจากสื่อตาง ๆ ที่เปนการเขียนตอไปนี้


๑. การเขียนสรุปความ
ระบุขอความที่เปนการเขียนสรุปความ
๒. การเขียนอธิบาย
การเขียนอธิบายดวยการใหนิยามหรือคําจํากัดความ
ระบุขอความที่เปนการเขียนอธิบายดวยการใหนิยามหรือคําจํากัดความ
การเขียนอธิบายตามลําดับขั้นตอน
ระบุขอความที่เปนการเขียนอธิบายตามลําดับขั้นตอน
การเขียนอธิบายดวยการเปรียบเทียบ
ระบุขอความที่เปนการเขียนอธิบายดวยการเปรียบเทียบ
การเขียนอธิบายดวยการใหเหตุผล
ระบุขอความที่เปนการเขียนอธิบายดวยการใหเหตุผล
การเขียนอธิบายดวยการยกตัวอยาง
ระบุขอความที่เปนการเขียนอธิบายดวยการยกตัวอยาง

36
๓. การเขียนบรรยายตามลําดับเวลา
ระบุขอความที่เปนการเขียนบรรยายตามลําดับเวลา
๔. ผูเรียนอานขอความ แลวบอกประเภทของการเขียนใหถูกตอง
“หลายคนมีปญหากลิ่นปากทั้ง ๆ ที่ดูแลความสะอาดของชองปากอยางดี อาจมีที่มาจาก “นิ่วทอนซิล” ซึ่งมี
ลักษณะเปนกอนสีขาวขุน สีเหลืองออน ไปจนถึงสีเทาคลํา้ ซอนอยูบ ริเวณตอมทอนซิลขางใดขางหนึง่ หรือทัง้ สองขาง
มีลักษณะสงกลิ่นเหม็นรุนแรง ขนาดของนิ่วทอนซิลขึ้นอยูกับขนาดชองวางระหวางตอมทอนซิลกับอวัยวะอื่น”
อธิบายดวยการใหเหตุผล
“การทําความดีนบั เปนสิง่ ทีค่ นในสังคมตองการและพึงปฏิบตั ติ อ กัน แตการทําความดีนนั้ ควรเลือกใหเหมาะสมกับ
บุคคลและโอกาส หากเราทําความดีกับคนดี ลที่ไดตามมาก็ยอมดี แตหากทําความดีกับคนพาลหรือคนชั่ว
สักวันหนึ่งเขาอาจจะยอนกลับมาทํารายหรือสรางความเดือดรอนแกเราได ดังนิทานเรื่อง ลูกงูพิษกับศิษยหัวดื้อ
ที่อาจารยเตือนศิษยวาถึงแมจะดูแลลูกงูพิษดีเทาไร วันหนึ่งลูกงูพิษจะยอนมาทํารายตน เมื่อเวลาผานไปก็เกิด
เหตุการณดังที่อาจารยกลาวไว”
อธิบายดวยการยกตัวอยาง
“ปลากระดูกแข็งที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก คือ โมลา โมลา (Mola Mola) หรือ Sunfish มีความยาวประมาณ
๑.๘ เมตร หนักประมาณ ๑ ตัน รูปรางหัวมน ตัวแบนขาง ดานหลังไมมหี าง แตตดั ตรงลงมา มีครีบหลังและครีบกน
ยาวใชวายนํ้า”
. อธิบายโดยการใหนิยามหรือคําจํากัดความ
“คนทุกคนสามารถเปนคนเกงไดในแบบของตนเอง เริ่มจากคนหาสิ่งที่ตนเองชอบหรือถนัดสิ่งนั้นมักจะทําไดดี
หรือโดดเดนกวาคนอื่น แนนอนวาแตละคนมีความชอบและถนัดแตกตางกัน ตอมาจึงหาแนวทางพัฒนาอยาง
ถูกตองจากผูรู ผูเชี่ยวชาญ หลังจากนั้นจึงฝกฝนและปฏิบัติจนเกิดเปนทักษะ ศึกษาความผิดพลาด และ
ขอบกพรองเพื่อนําไปพัฒนาจนเกิดเปนความสามารถพิเศษตอไป”
อธิบายตามลําดับขั้นตอน
๕ เขียนสรุปความจากขอความตอไปนี้
อยูใ นกับดุลยพินจิ ของผูส อน แตตอ งมีใจความสําคัญของขอความ คือ ความโกรธ เปนเพลิงโทสะทีเ่ ผาผลาญจิตใจ
มนุษยทุกยุคทุกสมัย

37
หน่วยที่
๘ การเขียนประวัติย่อ การกรอกแบบฟอร์ม
และการเขียนข้อความติดต่อกิจธุระ
กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๔–๕ คน คนหาตัวอยางของการเขียนประวัติยอ การกรอกแบบฟอรม และการเขียน
ขอความติดตอกิจธุระอยางละ ๑ ชิ้น จากนั้นนํามาวิเคราะหวา ตัวอยางที่นํามาใชหลักการเขียนที่เรียนไปหรือไม
และมีขอดีขอเสียอยางไร
๒. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน สรุปความหมาย หลักการ และวิธีการเขียนประวัติยอ การกรอกแบบฟอรม
และการเขียนขอความติดตอกิจธุระตามที่เรียนไป ในรูปแบบอินโฟกราฟก
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. การเขียนประวัติยอมีจุดประสงคหลักเพื่ออะไร
การเขียนประวัติยอมีจุดประสงคหลักเพื่อนําเสนอประวัติ หรือขอมูลของตนเองใหแกบริษัทหรือหนวยงาน
ตาง ๆ นําไปใชในการคัดกรองคุณสมบัติเบื้องตนของผูเขียนกอนที่จะเชิญมาสัมภาษณ หรือคัดเลือกตอไป
๒. การเขียนประวัติยอควรแบงเนื้อหาเปนกี่สวน อะไรบาง
การเขียนประวัติยอมักแบงเนื้อหาเปน ๓ สวน คือ
๑. สวนหัว คือ ชื่อ–ที่อยูของผูเขียน วันเดือนปที่ออกจดหมาย ชื่อเรื่อง และคําขึ้นตนจดหมาย
๒. สวนเนื้อความ คือ เนื้อหาของจดหมายที่ตองการสื่อใหผูรับทราบ
๓. สวนทาย คือ คําลงทาย ลายมือชื่อ ชื่อสกุลของผูเขียน
๓. “ขาพเจามีความสามารถในการใชโปรแกรม Photoshop, Microsoft of fice : Word, Excel, PowerPoint ไดอยางดี
และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาจีนไดในระดับดี” ขอความนี้ควรอยูในสวนใด ยอหนาใดของการเขียน
ประวัติยอ
ขอความขางตนควรอยูใ นสวนที่ ๒ เนือ้ ความ ยอหนาที่ ๒ ในสวนทีเ่ กีย่ วกับประวัตแิ ละความสามารถของผูเ ขียน
จดหมาย
๔. แบบฟอรมคืออะไร จงอธิบาย
แบบฟอรม คือ เอกสารที่หนวยงานตาง ๆ จัดเตรียมไวเพื่อใหผูมาติดตอกรอกเพื่อแจงขอมูลหรือความประสงค
ที่ตองการติดตอ
38
๕. องคประกอบของแบบฟอรมมีกี่สวน อะไรบาง
๑. สวนหัวกระดาษ ประกอบดวยขอมูลทั่วไป เชน ชื่อหนวยงาน คําชี้แจง หรือขอความที่ระบุวาเกี่ยวของกับ
ใครหนวยงานใด อยางไร เมื่อใด
๒. สวนเนื้อหา เปนสวนที่ผูเขียนตองกรอกขอมูล ซึ่งอาจจะอยูในรูปแบบของตาราง หรือตัวเลือกตาง ๆ ให
ผูเขียนกรอก หรือทําเครื่องหมาย
๓. สวนทายกระดาษ ประกอบดวยลายมือชื่อผูกรอก และลายมือชื่อผูที่เกี่ยวของ
๖. เหตุใดเราจึงตองตั้งใจกรอกแบบฟอรมใหถูกตอง เรียบรอย และครบถวนสมบูรณ
เนื่องจากขอมูลสวนใหญที่กรอกมักถูกเก็บไวเปนหลักฐาน หรือนําไปใชบันทึกขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอ
ผูเขียนเอง
๗. แบบฟอรมที่ใชเปนหลักฐานและแบบฟอรมที่ใชในการประเมินผล มีความแตกตางกันอยางไร
ดานจุดประสงคของการสรางแบบฟอรม คือ แบบฟอรมที่ใชเปนหลักฐานถูกสรางขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานใน
การติดตอสื่อสารเพื่อใหรายละเอียดตาง ๆ สวนแบบฟอรมที่ใชในการประเมินผลถูกสรางขึ้นเพื่อสํารวจความคิดเห็น
ความพึงพอใจตาง ๆ ตามที่หนวยงานนั้นๆตองการ
๘. การเขียนขอความติดตอกิจธุระมักใชในการสื่อสารกับใคร และเพื่ออะไร
การเขียนขอความติดตอกิจธุระมักใชกับการสื่อสารกับบุคคล องคกร หรือหนวยงานตาง ๆ เพื่อใชบันทึกขอมูล
หรือเปนหลักฐานในการสื่อสาร
๙. การใชภาษาในการเขียนขอความติดตอกิจธุระควรคํานึงถึงเรื่องใดเปนหลัก
การใชภาษาในการเขียนติดตอกิจธุระควรคํานึงถึงระดับภาษาเปนหลัก เนื่องจากเปนการติดตอที่คอนขางเปน
ทางการ ดังนั้น การใชภาษาควรใชภาษาในระดับทางการหรือกึ่งทางการ และควรเขียนใหสั้น กระชับ และเขาใจงาย
๑๐. “ดิฉันนางสาวสุดใจ ปนแกว จะขออนุญาตเขาพบอาจารยในวันที่ ๑๖ กุมภาพันธนี้ หากอาจารยไมสะดวกในวัน
ดังกลาว กรุณาติดตอกลับดวยคะ” ขอความนี้เหมาะสมหรือไม อยางไร จงอธิบาย
ไมเหมาะสม เนื่องจากใชระดับภาษาไมถูกตองและไมเหมาะสมกับบุคคล และเนื้อความไมครบถวน ทําใหการ
ติดตอสื่อสารไมประสบความสําเร็จ

39
ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว
๑. การเขียนประวัติยอมักใชคําขึ้นตนและคําลงทายจดหมายแบบใด
ก. ขึ้นตนดวย “เรียน” ลงทายดวย “ขอแสดงความนับถือ”
๒. การเขียนประวัติยอสวนที่เปนเนื้อหายอหนาใดที่ควรมีการขออนุญาตผูอื่นกอนการเขียน
ค. ยอหนาที่สาม
๓. สิ่งสําคัญที่สุดที่ควรคํานึงถึงการเขียนประวัติยอคือขอใด
ข. ตองเขียนดวยขอมูลที่เปนจริงเสมอ
๔. การเขียนลายมือชื่อของผูกรอกที่สวนทายของแบบฟอรมมีความสําคัญอยางไร
ข. เพื่อแสดงความจริงใจในการเขียนแบบฟอรม
๕. “ขอพักการเรียน” ขอความขางตนควรอยูในสวนใดของแบบฟอรม
ก. สวนหัวกระดาษ
๖. “แบบสํารวจความพึงพอใจตอการใชบริการของสวนวัดประเมินผล” ถือเปนแบบฟอรมแบบใด
จ. แบบฟอรมที่ใชในการประเมินผล
๗. การเขียนขอความติดตอกิจธุระผูเขียนควรใชภาษาระดับใดในการเขียน
ง. ภาษาระดับทางการ
๘. ขอใดไมอยูในหลักการเขียนขอความติดตอกิจธุระ
จ. การทดลองสง
๙. การเขียนขอความติดตอกิจธุระไดดีจะเกิดผลดีอยางไร
ก. ทําใหการติดตอสื่อสารสําเร็จลุลวงไดดวยดี
๑๐. สิ่งที่ควรคํานึงถึงมากที่สุดในการเขียนประวัติยอ การกรอกแบบฟอรม และการเขียนขอความติดตอกิจธุระ คือขอใด
ข. ตองเขียนดวยขอมูลที่ถูกตอง

40
ใบงานที่ ๘.๑ เรื่อง ความหมายของงานเขียน

คําชี้แจง : จงอธิบายความหมายของงานเขียนที่กําหนดให
๑. การเขียนประวัติยอ
เปนการสื่อสารประเภทหนึ่ง เพื่อใหผูอานประจักษในคุณสมบัติและผลงานของผูเขียน เพื่อนําไปใชเปนขอมูล
ในการพิจารณาความสามารถของผูเขียน อันเปนประโยชนตอการสมัครงาน สอบคัดเลือก หรือขอทุนการศึกษา
หากผูเขียนสามารถแสดงรายละเอียดไดชัดเจน และครบถวน ก็จะชวยใหการสื่อสารนั้นเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น
๒. การกรอกแบบฟอรม
เปนรูปแบบการเขียนประเภทหนึ่งที่ใชในการติดตอสื่อสาร ในหนวยงาน หรือองคกรตาง ๆ พิมพเตรียมไวเพื่อให
ผูมาติดตอแจงขอมูลสารสนเทศของตน รวมทั้งแจงจุดประสงคที่ตองการ ดังนั้น ผูกรอกแบบฟอรมจึงตองทําความ
เขาใจขอมูล หรือสารนั้นใหดีเสียกอน จึงจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคในการสื่อสาร
๓. การเขียนขอความติดตอกิจธุระ
เปนการถายทอดขอมูล ความคิด ความตองการอันเปนกิจธุระของผูสงสารในการติดตอกับบุคคล หรือหนวยงาน
ตาง ๆ ฉะนั้นผูเขียนจําเปนตองศึกษา และทําความเขาใจในเรื่องของการใชภาษาใหถูกตองเสียกอน จึงจะเกิดประโยชน
ในชีวิตประจําวันของผูเขียน

ใบงานที่ ๘.๒ เรื่อง การเขียนประวัติยอ


การกรอกแบบฟอรม และการเขียนขอความติดตอกิจธุระ
คําชี้แจง : จงทํากิจกรรมตอไปนี้
๑. จงเขียนประวัติยอเพื่อสมัครงานในตําแหนงพนักงานบัญชี บริษัท ออฟฟศ จํากัด โดยมีกําหนดคุณสมบัติ ดังนี้
- ปริญญาตรีดานการบัญชี
- มีประสบการณดานบัญชี
- มีความรูในดานของบัญชีและกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวของ
- มีความชํานาญในโปรแกรม Microsoft Excel

41
ปติ สุขสม
๓/๑๘ ถ.เอกชัย อ.เมือง
จ.สมุทรสงคราม ๗๕๐๐๐
piti@gmai.com
โทรศัพท ๐๘-๐๔๔๔-๗๘๙๐
๒๗ มกราคม ๒๕๖๒
เรื่อง ขอสมัครงาน
เรียน ผูจัดการฝายบุคคล บริษัท ออฟฟศ จํากัด
สิ่งที่สงมาดวย ๑. รูปถาย ๒ นิ้ว ๑ รูป
๒. สําเนาใบแสดงผลการเรียน ๑ ฉบับ
๓. สําเนาใบรับรองการฝกงาน ๑ ฉบับ
ตามที่ทานไดลงประกาศหนังสือพิมพศรีไทย ฉบับวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๒ วาทางบริษัทเปดรับสมัครพนักงาน
ตําแหนงพนักงานบัญชี ๑ ตําแหนง กระผมมีความสนใจ และคิดวามีคุณสมบัติตรงกับที่ทางบริษัทระบุไว จึงขอสมัครงาน
และเขารับการพิจารณาบรรจุในตําแหนงนี้
กระผมนายปติ สุขสม อายุ ๒๓ ป สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี คณะพาณิชยการและการ
บัญชี จากมหาวิทยาลัยนวัตราภรณและในระหวางการศึกษากระผมไดเขารวมกิจกรรมอันเปนประโยชนตอการปฏิบัติงาน
คือ เปนเหรัญญิกชมรมวรรณศิลป ซึ่งชวยใหกระผมไดเรียนรูการทํางานดานการคิดบัญชี บริหารจัดการเงินเขาออก ซึ่งจะ
ชวยใหทํางานในตําแหนงนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น
นอกจากนี้กระผมเคยผานการฝกงานในตําแหนงผูชวยพนักงานบัญชี เปนระยะเวลา ๔ เดือน และมีความสามารถ
ใชโปรแกรม Micrisoft Office : Word, Powerpoint, Excel ไดเปนอยางดี ตลอดจนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งดาน
การฟง การพูด การอาน และการเขียนไดในระดับดี
ทั้งนี้ทานสามารถสอบถามประวัติสวนตัว ความประพฤติ และการฝกงานของกระผมไดที่ อาจารยกนก ชัยเจริญ
อาจารยประจําสาขาวิชาการบัญชี คณะพาณิชยการและการบัญชี มหาวิทยาลัยนวัตราภรณ หมายเลขโทรศัพทมือถือ
๐๘-๑๗๘๙-๕๔๕๕
ดวยเหตุนี้กระผมจึงมีความมั่นใจเปนอยางมากวากระผมสามารถปฏิบัติงานในตําแหนงพนักงานบัญชีไดดี
กระผมหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับการพิจารณาและการติดตอจากบริษัทของทานเพื่อสัมภาษณในรายละเอียดตาง ๆ ใน
เร็ววันนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
ปติ สุขสม
(นายปติ สุขสม)

42
๒. กรอกแบบฟอรมลาปวย/ลากิจ ตอไปนี้ใหถูกตอง
ใบลาปวย/ลากิจ

วันท ๑๕ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒


เรียน อาจารยที่ปรึกษา/อาจารยประจําวิชา
ดวยขาพเจา นาย ปติ สุขสม เลขประจําตัวนักเรียน ๑๕๔๓๗๐๒
สาขาวิชา การบัญชี ระดับ ปวช ชั้นปที่ ๑ ขอลา ✓ □ ปวย □ กิจ
เนื่องจาก ทองเสียอยางรุนแรง .
ตั้งแตวันที่ ๑๓ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๑๔ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และขออนุญาตลาหยุด

ขอแสดงความนับถือ
ปติ สุขสม
( นายปติ สุขสม )

ขอรับรองวาใบลาฉบับนี้เปนความจริงทุกประการ
ลงชื่อ ดี ใจ สุขสม
( นายดีใจ สุขสม )
ผูปกครอง
๓. จงเขียนขอความติดตอกิจธุระนัดหมายอาจารยพัชนี ชูใจสวย เพื่อขอคําปรึกษาดานการเรียน
เรียน อาจารยพัชนี ชูใจสวยที่เคารพ
กระผมนาย ปติ สุขสม เปนนักเรียนสาขาวิชาการบัญชี ชั้น ปวช.๑ จะขออนุญาตเขาพบอาจารยเพื่อปรึกษา
เรื่องการเรียนในปตอไป ในวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ หองทํางานของอาจารย หากอาจารยไมสะดวก
ใหเขาพบในวันและเวลาดังกลาว ขอความกรุณาติดตอกลับที่หมายเลข ๐๘-๑๙๕๗-๓๖๐๘ ดวยครับ
ขอบพระคุณครับ
นายปติ สุขสม
๑๑ มกราคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๑.๐๐ น.

43
หน่วยที่
๙ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
และการเขียนโครงการ
กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน คนหาตัวอยางรายงานเชิงวิชาการจากอินเทอรเน็ต จํานวน ๑ เรื่อง จากนั้น
ใหวิเคราะหรายงานชิ้นนั้น ในแงของความถูกตองของการเขียน ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษารายงาน และขอดี
ขอเสียของรายงานเรื่องนั้น
๒. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕–๖ คน เขียนโครงการที่จะชวยพัฒนาโรงเรียนของตนเอง และออกมานําเสนอ
หนาชั้นเรียน
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. การเขียนรายงานเชิงวิชาการมีจุดประสงคหลักเพื่ออะไร
การเขียนรายงานเชิงวิชาการมีจุดประสงคหลักเพื่อเรียบเรียงขอมูลหรือผลที่มาจากการศึกษาคนควาทาง
วิชาการอยางเปนระบบเพื่อเผยแพรตอไป
๒. การเขียนอางอิงคืออะไรและมีความสําคัญอยางไร
การเขียนอางอิง คือ การบอกแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความที่ยกมาสนับสนุนความคิดของผูเขียน มีความ
สําคัญ คือ จะทําใหงานของผูเขียนมีความนาเชื่อถือและเปนการใหเกียรติแกเจาของผลงานผูคนความากอน
๓. การวางแผนจัดทํารายงานมีกี่ขั้นตอน อะไรบาง
การวางแผนจัดทํารายงาน มี ๕ ขั้นตอน คือ
๑. การเลือกเรื่องทํารายงาน ที่สอดคลองกับเนื้อหาวิชาเรียน
๒. การวางแผนจัดทํารายงาน เพื่อใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุด
๓. การวางโครงเรื่อง เพื่อจะไดเห็นความสัมพันธของเนื้อหาในภาพรวม
๔. รวบรวมขอมูลและจัดทํารายงาน คนหาขอมูลจากแหลงตาง ๆ เลือกขอมูลที่นาเชื่อถือ
๕. การเรียบเรียงขอมูลจัดทําเปนรายงานนําขอมูลมาเรียบเรียงโดยใชสํานวนภาษาของตนเอง

44
๔. สวนเนื้อหาของรายงานควรแบงออกเปนกี่สวน และแตละสวนมีลักษณะอยางไร
เนื้อหาของรายงานควรแบงออกเปน ๓ สวน คือ บทนํา เนื้อหา บทสรุป โดย
บทนํา เปนการกลาวถึงเหตุผลที่มา วัตถุประสงคในการทํารายงานนี้เพื่อใหผูอานเขาใจในเบื้องตนกอน
เนือ้ หา เปนสิง่ ทีผ่ เู ขียนตองการนําเสนอหรือเปนสาระสําคัญของเรือ่ งทีท่ าํ รายงาน หากมีปริมาณมากควรแบงเปน
บทและหัวขอเพื่อใหผูอานเขาใจไดงายขึ้น
บทสรุป เปนบทที่ผูเขียนใชในการสรุปเนื้อหาที่ไดศึกษาคนความา อาจมีการอภิปรายหรือใหขอเสนอแนะ
ในการศึกษาเพิ่มเติม ทําใหผูอานเห็นภาพรวมของเนื้อหาไดชัดเจนขึ้น
๕. การอางอิงในเนื้อหาและการอางอิงในสวนทาย มีความแตกตางกันอยางไร
การอางอิงในเนื้อหาเปนการอางอิงที่ปรากฏอยูในเนื้อหาหรือขอเขียนที่ผูเขียนรายงานคัดลอกมาจากงาน
เขียนอื่น ๆ ที่ไดศึกษาไวแลว โดยจะระบุชื่อผูแตง ปที่ตีพิมพหนังสือ และเลขหนาที่ขอความที่คัดลอกมาปรากฏอยู
สวนการอางอิงในสวนทาย จะเปนการรวบรวมรายการอางอิงที่ปรากฏอยูในรายงานทั้งหมด โดยจะมีความละเอียด
มากกวาการอางอิงในเนื้อหา เพราะจะระบุทั้งชื่อผูแตง ปที่ตีพิมพ ชื่อหนังสือ ครั้งที่ตีพิมพ เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ
เพื่อเปนประโยชนในการคนควาเพิ่มเติมของผูที่ศึกษา
๖. การเขียนโครงการมีกี่องคประกอบ อะไรบาง
มี ๑๒ องคประกอบ คือ
๑. ชื่อโครงการ ๒. หนวยงานที่รับผิดชอบ ๓. ผูรับผิดชอบโครงการ
๔. หลักการและเหตุผล ๕. วัตถุประสงค ๖. เปาหมายหรือตัวชี้วัดความสําเร็จ
๗. ระยะเวลาในการดําเนินงาน ๘. สถานที่ดําเนินงาน ๙. ผูเขารวมโครงการ
๑๐. แผนการดําเนินงาน ๑๑. งบประมาณ ๑๒. ผลที่คาดวาจะไดรับ
๗. การกําหนดวัตถุประสงคของโครงการมีความสําคัญอยางไร และควรเขียนดวยภาษาแบบใด
การกําหนดวัตถุประสงคมีความสําคัญในการกําหนดเปาหมายวาจะจัดโครงการขึ้นเพื่ออะไรควรเขียนใหเขาใจ
งาย ชัดเจน และมีไมมากเกินไป
๘. ผลที่คาดวาจะไดรับของโครงการควรเขียนใหสอดคลองกับองคประกอบใดของโครงการ
ผลที่คาดวาจะไดรับควรเขียนใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ เนื่องจากเปนสิ่งที่ผูจัดตองการใหเกิด
กับผูเขารวมเมื่อโครงการนี้จบลง
๙. “ในการเขารวมอบรมครั้งนี้รอยละ ๘๐ ของผูเขารวมโครงการสามารถเขียนจดหมายกิจธุระเปนภาษาอังกฤษได”
ขอความนี้เปนสวนใดของโครงการ เพราะอะไร
เปนสวนเปาหมายของโครงการเนื่องจากมีการกําหนดเปาหมายหรือตัวชี้วัดเปนจํานวนรอยละเพื่อใหทราบได
อยางชัดเจนวาการจัดทําโครงการในครั้งนี้ประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไวหรือไม

45
๑๐. หลักการและเหตุผลของโครงการมีความสําคัญอยางไร และเหตุใดจึงตองระบุลงในโครงการ
หลักการและเหตุผลของโครงการมีความสําคัญในสวนที่ทําใหผูอานโครงการรูที่มาและความจําเปนที่ตองจัด
โครงการนี้ขึ้นมา ซึ่งการระบุหลักการและเหตุผลของการจัดโครงการลงในโครงการก็เปนไปเพื่อใหเห็นถึงความ
จําเปนและความสอดคลองของโครงการที่มีตอหนวยงานหรือองคกร ทําใหเขาใจในโครงการไดดีขึ้น

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดไมใชแหลงขอมูลที่เหมาะสมในการคนควาเพื่อนํามาเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ง. การสรุปเอาเอง
๒. ขอใดไมใชจุดประสงคของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ก. เพื่อแสดงหลักฐานของขอความที่ยกมาแสดง
๓. ใครปฏิบัติไมถูกตองตามหลักการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
จ. มีนาคัดลอกขอมูลของผูอื่นมาใชโดยไมใสบรรณานุกรม
๔. การอางอิงในสวนทายขอใดเขียนถูกตอง
ข. ชื่อผูแตง./(ปที่พิมพ)./ชื่อหนังสือ./ครั้งที่พิมพ./เมืองที่พิมพ:/สํานักพิมพ.
๕. ขอใดไมจําเปนตองมีในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ง. ภาคผนวก
๖. ขอใดคือความหมายของโครงการ
ก. แผนการดําเนินกิจกรรมที่มีรายละเอียดชัดเจน
๗. ขอใดเรียงลําดับองคประกอบของโครงการถูกตอง
จ. ชื่อโครงการ-หลักการและเหตุผล-วัตถุประสงค-เปาหมาย-ผลที่คาดวาจะไดรับ
๘. “เพื่อพัฒนาทักษะดานการใชโปรแกรมคํานวณบัญชีอัตโนมัติ” ขอความนี้เปนสวนใดของโครงการ
ข. วัตถุประสงคของโครงการ
๙. ชื่อโครงการขอใดเหมาะสมที่สุด
ง. โครงการสงเสริมทักษะการใชโปรแกรมคํานวณบัญชีอัตโนมัติ
๑๐. ขอใดไมใชประโยชนของการเขียนโครงการ
ค. ทําใหของบประมาณไดมากขึ้น

46
ใบงานที่ ๙.๑ เรื่อง ความหมายของงานเขียน

คําชี้แจง : จงอธิบายความหมายของงานเขียนที่กําหนดให
๑. การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ หมายถึง การเขียนเรียบเรียงขอมูลผลจากการศึกษาคนควาเรื่องทางวิชาการดวย
วิธีการใดวิธีการหนึ่งอยางเปนระบบ เชน การศึกษาจากตําราเอกสาร การสํารวจ หรือการสัมภาษณ โดยใชภาษาที่
เปนทางการ หรือภาษาวิชาการในการสือ่ ความหมาย ทัง้ นีผ้ เู ขียนควรมีการวิเคราะหขอ มูล และนําเสนอความคิดเห็น
ที่นาสนใจ และเปนประโยชนตอผูอานดวย

๒. การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ คือ การเขียนเพื่อนําเสนอแผนการทํางาน หรือการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อตอบสนอง
วัตถุประสงคการพัฒนาคน พัฒนางานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น การเขียนโครงการจึงเปรียบเสมือนพิมพเขียวที่ให
หัวหนางาน หรือผูมีอํานาจพิจารณาตัดสินขออนุมัติการดําเนินงานโครงการและนําไปสูการปฏิบัติได

ใบงานที่ ๙.๒ เรื่อง เขียนรายงานและโครงการ

คําชี้แจง : เขียนอางอิงในสวนทายของแหลงขอมูลกําหนดใหตอไปนี้ใหถูกตอง
ชื่อเรื่อง ทางโลก ผูแตง วรพจน พันธุพงศ พิมพครั้งแรก กุมภาพันธ ๒๕๕๒ สํานักพิมพ โอเพนบุกส กรุงเทพฯ
วรพจน พันธุพงศ. (๒๕๕๒). ทางโลก. กรุงเทพฯ: โอเพนบุกส.
บทความพระอภัยมณี: มณีแหงวรรณคดีไทย ผูแตง ชลดา เรืองรักษลิขิต ลงในวารสารราชบัณฑิตยสถานปที่ ๓
ฉบับที่ ๓๐ ประจําเดือน กรกฎาคม–กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ หนา ๗๖๔–๗๘๔
ชลดา เรืองรักษลิขิต. (๒๕๔๘). “พระอภัยมณี: มณีแหงวรรณคดีไทย”. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, ๓
(๓๐), ๗๖๔–๗๘๔.
กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เขียนเมื่อ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ สืบคนเมื่อ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒
จาก http://www.rd.go.th/publish/27860.0.html
กรมสรรพากร. (๒๕๖๒).ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา. ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๒. http://www.rd.go.th/
publish/27860.0.html

47
หน่วยที่
๑๐ การพูด

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕-๘ คน ใหแตละกลุมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของการพูด
และประโยชนของการพูด แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอผลการอภิปราย
๒. กําหนดใหผูเรียนไปฟงการพูดหรือการบรรยายในสถานที่ตาง ๆ แลวเขียนวิจารณการพูดของบุคคลนั้น ๆ
๓. กําหนดใหผูเรียนแตละคนเตรียมหัวขอเลาประสบการณหรือเหตุการณที่ประทับใจ เพื่อมาเลาใหเพื่อนฟง
คนละ ๕ นาที
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. ผูพูดคือใคร
ผูพูด คือ ผูที่สงสาร หรือสื่อสารโดยการถายทอดเรื่องราวหรือสารใหผูฟงไดรับรู
๒. เรื่องที่พูดคืออะไร
เรื่องราวที่ผูพูดถายทอดออกมาผานทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา ซึ่งเปนเรื่องราวที่อยูในความสนใจของผูฟง
๓. บุคคลในอาชีพใดบางที่มีโอกาสเปนผูพูดมากกวาผูฟง
วิทยากร ครู อาจารย ทนาย พนักงานขายของ
๔. เครื่องมือที่ใชถายทอดสารของมนุษยมีอะไรบาง
เครื่องมือที่ใชในการถายทอดสาร ไดแก ภาษาที่เปนทั้งวัจนภาษา คือ ถอยคํา และอวัจนภาษา คือ การ
แสดงออกทางดานทาทาง สายตา นํ้าเสียง รวมถึงอุปกรณที่ใชประกอบการพูด เชน ไมโครโฟน คอมพิวเตอร สื่อ
Powerpoint แผนภูมิ
๕. สิ่งที่แสดงใหเห็นวาผูฟงมีความรู ความเขาใจ ความพึงพอใจจากเรื่องที่ฟงคืออะไร
ปฏิกิริยาตอบสนอง (feedback) ที่ผูฟงแสดงออก เชน การแสดงทาทีเห็นดวย ไมเห็นดวย ชื่นชม ดีใจ เสียใจ
๖. การเตรียมตัวในการพูดสิ่งแรกที่ตองทําคือเรื่องใด
การเตรียมตัวผูพูด โดยเนนที่การเตรียมบุคลิกภาพ ทั้งบุคลิกภาพภายนอก และบุคลิกภาพภายใน

48
๗. สิ่งใดบางที่เรียกวา “บุคลิกภาพภายใน”
บุคลิกภาพภายใน ไดแก
๑. ลักษณะทางจิตใจ เชน อุปนิสัย ความคิด ทัศนคติในการมองโลก
๒. ลักษณะทางอารมณ เชน ความสามารถในการควบคุมอารมณและพฤติกรรมตาง ๆ
๓. ลักษณะทางสังคม เชน การมีมนุษยสัมพันธ การปรับตัว
๔. ลักษณะทางปญญา เชน ความเฉลียวฉลาด
๘. ขั้นตอนสุดทายของการฝกพูดคืออะไร
ขัน้ ตอนสุดทายในการฝกพูด คือ การประเมินผล รวบรวมขอบกพรองในการพูด ผูพ ดู ตองวิเคราะห และประเมินผล
หลังจากนั้นควรฝกซอม โดยแกไขขอบกพรองตาง ๆ
๙. หากเปนการประกวดพูดเมื่อเดินขึ้นเวทีไปยังจุดที่จะพูดควรทําสิ่งใดกอน
ผูพ ดู จะตองหยุดเล็กนอย และทําความเคารพกรรมการ กอนจะมองผูฟ ง ยิม้ แยมแจมใส และยืนดวยทาทีสบาย ๆ
วางเทาใหเหมาะสม
๑๐. บอกประโยชนในการพูดอยางนอย ๓ ขอ
๑. เปนเครื่องมือสรางมนุษยสัมพันธกับบุคคลที่ไดผลดีที่สุด แมกับบุคคลแปลกหนา
๒. ชวยสรางความเขาใจใหกับผูฟงไดอยางรวดเร็ว เพราะเปนการสื่อสารที่ผูพูดและผูฟงไดสื่อสารกัน
๓. ผูพูดสามารถเห็นผลของการพูดไดทันที โดยสังเกตจากปฏิกิริยาตอบสนองของผูฟง

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดคือความหมายของการพูด
จ. การใชถอยคํา นํ้าเสียง และอากัปกิริยาเปนสื่อเพื่อถายทอดเรื่องตาง ๆ
๒. การพูดเปนกระบวนการสื่อสารที่ใชสิ่งใดในการสื่อความหมาย
ก. ภาษาและเสียง
๓. ขอใดไมใชองคประกอบของการพูด
ค. ปฏิกิริยาตอบสนอง
๔. องคประกอบของการพูดขอใดสําคัญที่สุด
ก. ผูพูดหรือผูสงสาร
๕. ขอใดไมใชคุณสมบัติที่ดีของผูพูด
ง. แสดงภูมิรูอยางเต็มที่ในทุกสถานการณ
๖. ขอใดไมใชหลักการเตรียมเนื้อหาในการพูด
ค. วิเคราะหผูฟงและสถานที่

49
๗. ขอใดจัดเปนวัจนภาษาในการพูดตอที่ประชุมชน
ง. ใชคําพูดที่สุภาพ ใชนํ้าเสียงที่นุมนวล
๘. การพูดลักษณะใดเปนการพูดจูงใจใหผูฟงยอมรับไดดีที่สุด
ค. พูดดวยความจริงจังและจริงใจ
๙. การประเมินผลการพูดขอใดเที่ยงตรงที่สุด
ง. แบบประเมินของผูฟง
๑๐. ขอใดไมใชประโยชนของการพูด
ข. สรางภูมิรูในตนเองทําใหเกิดความภาคภูมิใจ

ใบงานที่ ๑๐.๑ เรื่อง ความหมายของการพูด

คําชี้แจง : จงพิจารณาขอความตอไปนี้แลวตอบคําถาม
คํากลาวที่วา “การพูดเปนเครื่องมือสื่อสารที่มีอานุภาพมากที่สุดในโลก” แสดงถึงความหมายของการพูด
อยางไร
แสดงใหเห็นวาการพูดเปนการสงสารจากผูพูดไปยังไปผูฟงไดอยางรวดเร็ว และสามารถเห็นปฏิกิริยาตอบสนอง
ของผูฟงไดในทันที ทั้งนี้ยังเปนเครื่องมือที่มีอานุภาพมากที่สุดในโลก เพราะสามารถเปนสื่อที่สรางผลลัพธที่ดีและไมดีได
ในทันที ในการพูดแตละครั้งจึงควรพิจารณาใหดีและสัมฤทธิ์ผลมากที่สุด

ใบงานที่ ๑๐.๒ เรื่อง องค์ประกอบของการพูดและคุณสมบัติของผู้พูด

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. ผูเรียนเชื่อหรือไมวา “การพูดสามารถนําบุคคลไปสูความสําเร็จหรือความลมเหลวได” เพราะเหตุใด
เชื่อ เพราะการพูดเปนการสื่อสารที่ผูพูดสามารถสรางผลลัพธจากสารที่สื่อออกไปได และเห็นผลในทันที ผูพูด
ตองเตรียมตัวในการพูดเปนอยางดีเพื่อใหการพูดประสบความสําเร็จ และหากขาดการเตรียมตัวหรือไมสามารถปรับแก
ใหเหมาะสมกับสถานการณเฉพาะหนาได การพูดในครั้งนั้นก็จะนําไปสูความลมเหลวไดเชนกัน

50
๒. ขอความในขอ ๑ แสดงถึงองคประกอบของการพูดและคุณสมบัติของผูพูดหรือไม อยางไร
แสดงใหเห็นวาองคประกอบของการพูดนั้นตองสัมพันธกันการพูดจึงจะประสบความสําเร็จไปไดดวยดี ทั้งผูพูด
ก็ตองสื่อสารออกไปโดย ใหสารก็ตองมีความเขาใจงาย และภาษาหรือเครื่องมือนี่เองที่จะทําใหสารเขาใจงายขึ้น และ
ผูร บั สารตองมีความพรอมในการรับขอมูลไปประมวลดวย ซึง่ จะเห็นไดวา สิง่ เหลานีก้ ส็ ะทอนไปถึงคุณสมบัตทิ นี่ กั พูดควรจะ
มีคือมีความเปนนักฟงที่ดี มีความรูมาก ยอมรับฟงคําวิจารณ เปนตัวของตัวเอง และมีความสุขในการถายทอด ถาผูพูดมี
คุณสมบัตเิ หลานีค้ รบถวนยอมทําใหการพูดประสบความสําเร็จและสงผลไปถึงการใชชวี ติ ประจําวัน การทํางานตาง ๆ ดวย

ใบงานที่ ๑๐.๓ เรื่อง หลักการและประโยชน์ของการพูด

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. เมือ่ ผูเ รียนไดรบั เลือกใหเปนตัวแทนในการกลาวขอบคุณวิทยากรทีม่ าบรรยายใหความรูเ รือ่ ง “รักในวัยเรียน” ผูเ รียน
มีหลักในการพูดอยางไร และจะพูดอยางไร
เมือ่ ทราบวาตนเองไดเปนตัวแทนในการกลาวขอบคุณวิทยากร ในขัน้ แรก คือ ตองเตรียมตัวในการพูด โดยการ
ฝกบุคลิกภาพทั้งภายในและภายนอก เตรียมบทพูดโดยคนหาขอมูลของวิทยากร และวิเคราะหผูฟง สถานที่ เวลา
โอกาส สภาพแวดลอมตาง ๆ เมือ่ เตรียมเรียบรอยแลวก็ฝก พูดใหชาํ นาญเพือ่ ความมัน่ ใจและลดความตืน่ เตนเมือ่ พูดจริง
บทพูดที่ใชในการพูดขอบคุณขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน แตอาจมีลักษณะดังนี้ ดิฉัน/กระผม (ชื่อตัวแทน
กลาวขอบคุณ) เปนตัวแทนในการกลาวขอบคุณทานวิทยากร (ชื่อวิทยากร) ที่มาใหความรูเรื่อง “รักในวัยเรียน” ใน
วันนี้ ซึ่งเปนขอมูลที่มีประโยชนแกผูฟงเปนอยางมาก พวกเราจะนําขอมูลที่ไดในวันนี้ไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน
สูงสุดแกการดําเนินชีวิต
๒. ผูเรียนคิดวาผูเรียนควรพูดอยางไรใหเกิดประโยชนตอตนเองมากที่สุด
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยอิงกับประโยชนของการพูดดังนี้
๑. สรางความเขาใจกับผูฟงไดอยางรวดเร็ว
๒. เปนเครื่องมือในการสรางมนุษยสัมพันธที่ดี
๓. สามารถพิสูจนไดวาคําพูดที่พูดไปไดผลหรือไม
๔. สามารถดัดแปลงใหเขากับกาลเทศะได

51
หน่วยที่
๑๑ การพูดในโอกาสต่าง ๆ (๑)

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผเู รียนแบงกลุม กลุม ละ ๕-๘ คน ใหแตละกลุม สืบคน สํานวน สุภาษิต คําสอน เกีย่ วกับการพูด และการประพฤติ
ปฏิบัติดีงาม ซึ่งสามารถนําไปใชประกอบการพูดในโอกาสตาง ๆ ได แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอ
๒. ใหผเู รียนจับสลากเลือกประเภทของการพูดทีเ่ รียน คือ การกลาวทักทาย การแนะนําตนเองและผูอ นื่ การพูดตอบรับ
และปฏิเสธ การพูดแสดงความยินดี แลวสมมุติสถานการณในการพูด และพูดตามหัวขอที่จับสลากได
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. การพูดในโอกาสตาง ๆ จะเกิดขึ้นไดเมื่อใด
เมื่อเกิดการดําเนินกิจกรรมที่เอื้อโอกาสหรือเหตุการณที่ตองใชการสื่อสารตามรูปแบบนั้น
๒. ในการพูดทุกครั้งเหตุใดตองคํานึงถึงกาลเทศะ
เพราะชวยสงเสริมบุคลิกภาพของผูพูด และแสดงใหเห็นวาผูพูดคํานึงถึงความเหมาะสมและมีมารยาทในการพูด
๓. จุดมุงหมายในการพูดมีความสําคัญอยางไร
จุดมุงหมายในการพูดจะชวยใหผูพูดสื่อเจตนาในการพูดไดตรงประเด็น สามารถกําหนดเรื่องที่จะพูดและ
เตรียมตัวพูดไดดี
๔. สัมพันธภาพของคนในสังคมเกี่ยวของกับการพูดอยางไร
สัมพันธภาพของคนในสังคมชวยกําหนดระดับของภาษาในการพูด ผูพูดตองเลือกใหเหมาะสมกับสถานภาพ
และความสัมพันธระหวางบุคคล
๕. การปฏิสันถารกับผูฟงมีความสําคัญอยางไร
. ชวยลดชองวางระหวางผูพูดกับผูฟง และทําใหผูฟงมีความผอนคลาย
๖. ผูเรียนมีความเห็นอยางไรกับคํากลาวที่วา “การพูดสรางไดทั้งมิตรและศัตรู” จงอภิปราย
เห็นดวย เพราะเนื้อหาที่ผูพูดสื่อสารออกมาเปนเสมือนดาบสองคม ทั้งทําใหผูฟงเกิดความเห็นดวยและ
ไมเห็นดวยได กลายเปนไดทั้งมิตรและศัตรูหลังจากที่ฟง สามารถเห็นผลไดในทันทีโดยสังเกตจากปฏิกิริยาของผูฟง

52
๗. ในที่ชุมชนหากมีพระสงฆผูใหญนั่งอยูดวยควรกลาวทักทายอยางไร
หากมีพระสงฆผูใหญอยูดวยควรเริ่มตนกลาวทักทายดวยการเอยชื่อทานกอน
๘. การแนะนําตนเองแตกตางจากการพูดแนะนําผูอื่นอยางไร
การแนะนําผูอ นื่ คลายกับการแนะนําตนเอง แตตอ งคํานึงถึงรายละเอียดดังตอไปนีเ้ พิม่ เติม คือ ควรแนะนําสัน้ ๆ
แนะนําเฉพาะลักษณะ และตองแนะนําใหสุภาพบุรุษรูจักสุภาพสตรีกอน
๙. สิ่งที่ควรระมัดระวังในการพูดตอบรับมีอะไรบาง
ไมควรพูดตอบรับเพื่อใหพน ๆ ตัว และไมควรพูดตอบรับดวยนํ้าเสียงประชดประชัน
๑๐. โอกาสใดบางที่จะไดพูดแสดงความยินดี
โอกาสทีเ่ ปนการแสดงความยินดีกบั ผูอ นื่ ทีม่ คี วามสมหวัง หรือเจริญกาวหนาในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ หรือมีงานมงคล

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. ขอใดเปนเหตุผลที่ดีที่สุดที่ทําใหเกิดการพูดในโอกาสตาง ๆ
ข. มนุษยจําเปนตองสรางปฏิสัมพันธกับคนในสังคม
๒. ความหมายของการพูดในโอกาสตาง ๆ หมายถึงขอใด
ข. การพูดเพื่อแสดงความรูสึกในกิจกรรมตาง ๆ ของสังคม
๓. การพูดในโอกาสตาง ๆ ควรเริ่มตนดวยการกลาวขอความใด
ก. กลาวทักทาย
๔. ขอใดไมใชสิ่งที่ควรคํานึงของการพูดในโอกาสตาง ๆ
จ. สัมพันธภาพ
๕. สํานวนคําในขอใดแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการพูด
ง. พูดดีเปนศรีแกตัว พูดชั่วอัปราชัย
๖. การเตรียมตัวพูดในที่ประชุมชนมีประโยชนตามขอใดมากที่สุด
ค. สรางความเชื่อมั่นแกผูพูด
๗. สุดา : “เรามาหาทางออกของปญหานี้ดวยกันดีไหม อยาปลอยใหเปนปญหาไปเรื่อย ๆ แบบนี้เลย”
มาลี : “เราก็คิดแบบสุดา เราอึดอัดมานานแลวและเราอยากใหทุกอยางมันคลี่คลาย”
ศรีสมร : “สุดานี่พูดเปนจริง ๆ งั้นเรามาคุยกัน ใจเย็น ๆ ”
จากสถานการณคําวา “พูดเปน” หมายความวาอยางไร
ง. โนมนาวใจผูฟงใหคลอยตามได
๘. การทักทายในที่ประชุมชนขอใดไมถูกตอง
ค. ตองมีคําวา “เรียน กราบเรียน หรือสวัสดี” นําหนา
๙. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวการแนะนําผูอื่น
ค. แนะนําลักษณะเฉพาะตัวทุกอยาง
๑๐.ขอใดมีการบอกเหตุผลที่ตองปฏิเสธ
จ. “ขอโทษนะฉันไมวาง มีงานที่ตองทําใหเสร็จคืนนี้”
53
ใบงานที่ ๑๑.๑ เรื่อง การพูดในโอกาสต่าง ๆ

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. การพูดในโอกาสตาง ๆ มีความสําคัญในชีวิตประจําวันหรือไม เพราะเหตุใด
มีความสําคัญในชีวติ ประจําวัน เพราะการพูดในโอกาสตาง ๆ เกิดขึน้ ไดอยูเ สมอเมือ่ มนุษยมกี จิ กรรมทางสังคม
รวมกันในชีวิตประจําวัน และมีหลากหลายโอกาส
๒. การพูดในโอกาสตาง ๆ ตอไปนี้ ผูเรียนเคยพูดในโอกาสใดบาง และมีวิธีการพูดอยางไร
๑) การกลาวทักทาย
๒) การแนะนําตนเองและผูอื่น
๓) การพูดตอบรับและปฏิเสธ
๔) การพูดแสดงความยินดี
ผูเรียนอาจตอบทั้งหมดหรือบางขอก็ไดใหเปนไปตามดุลยพินิจของผูสอน
๑) หากเปน การทัก ทายระหวางบุคคลควรกล า วคํ า ว า สวั ส ดี และกล า วต อ ไปว า สบายดี ห รื อ คะ/ครั บ
พรอมทั้งอาจจะมีอวัจนภาษา เชน การไหว การโบกมือรวมดวย หากเปนการทักทายในที่ชุมชน ควรทักทายโดย
เอยชื่อหรือตําแหนงเพียง ๓-๔ ตําแหนงจากนั้นใชคําวา “แขกผูมีเกียรติทุกทาน” ควรมองหนาและสบตาผูที่เรา
เอยชื่อดวย
๒) หากเปนการแนะนําตัวในกลุมเล็ก ๆ ควรแนะนําตนเองเพื่อใหเกิดความเปนกันเอง หากอยูในที่สาธารณะ
ควรมีการพูดคุยเล็กนอยและหากเปนการแนะนําตนเองในการทํากิจธุระควรแนะนําตัวดวยความสุภาพใชเสียงที่
ไมดังหรือคอยเกินไป
๓) การพูดตอบรับควรพิจารณาวาตัวเราจะเดือดรอนจากเรื่องดังกลาวหรือไม ถาจะพูดตอบรับควรแสดงถึง
ความเต็มใจ และใชคําพูดที่แสดงไมตรีจิต สวนการปฏิเสธ อาจทําไดโดยการตอบปฏิเสธโดยตรงหรือตอบปฏิเสธ
โดยออม หรือใหเหตุผลกอนปฏิเสธ แตโดยรวมตองทําใหผูถูกปฏิเสธไมรูสึกแยจนเกินไป
๔) การพูดแสดงความยินดีตองใชคําพูดใหถูกตองเหมาะสมมีความจริงใจ ใชนํ้าเสียงหนาตาที่สุภาพยิ้มแยม
และพูดชา ๆ อยางชัดถอยชัดคํา ใหเกิดความประทับใจ

54
ใบงานที่ ๑๑.๒ เรื่อง การใช้ถ้อยคำาและสำานวนโวหารในการพูด

คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้
๑. เขียนคํากลาวทักทายในการพูดนําเสนองานหนาชั้นเรียน
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการทักทายในที่ชุมชนเปนหลัก
๒. เขียนบทพูดเมื่อผูเรียนออกไปติดตอประสานงานกับผูอื่น แลวผูเรียนตองพูดแนะนําตนเองและทีมงาน
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการแนะนําตัวในการทํากิจธุระเปนหลัก
๓. “คุณตองไปทําธุระกับที่บาน ทําใหคุณตองเลื่อนนัดสําคัญแบบกะทันหัน” จากสถานการณนี้ การตอบรับและปฏิเสธ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันมีความสําคัญหรือไม อยางไร
มีความสําคัญเปนอยางมาก เพราะในชีวิตประจําวันของมนุษยยอมมีการพบปะพูดคุย เพื่อสรางปฏิสัมพันธ
หากขาดการตอบรับและปฏิเสธที่ดีก็จะทําใหความสัมพันธระหวางบุคคลเกิดปญหา หรือความขัดแยงกันได
๔. “ยินดีดวยนะกับความสําเร็จที่ไดมาบนความทุกขของคนอื่น ขอใหบริษัทของคุณเจริญลงเรื่อย ๆ ไป” การพูดแสดง
ความยินดีของขอความนี้เหมาะสมหรือไม อยางไร
ไมเหมาะสม เนื่องจากการพูดแสดงความยินดีตองคํานึงถึงหลัก ๓ ประการคือ
๑. ใชคําพูดใหถูกตองเหมาะสมมีความจริงใจ
๒. ใชนํ้าเสียง ทาทาง สุภาพ นุมนวล ใบหนายิ้มแยมแจมใส
๓. พูดชา ๆ ชัดถอยชัดคํา พูดสั้น ๆ ใหไดใจความและประทับใจ
แตขอความขางตนไมเปนไปตามหลัก ๓ ประการนี้ และยังมีแนวการพูดออกไปทางประชดประชันและเสียดสี
มากกวาจึงไมเหมาะสมที่จะใชในการกลาวแสดงความยินดี
๕. ผูเรียนเปลี่ยนขอความในการพูดแสดงความยินดีจากขอ ๔ ใหเหมาะสม และเปนไปตามหลักการพูดแสดงความยินดี
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการพูดแสดงความยินดี

55
หน่วยที่
๑๒ การพูดในโอกาสต่าง ๆ (๒)

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๔–๖ คน ใหแตละกลุมอภิปรายเกี่ยวกับประโยชนของการพูดและโทษของการพูดที่
ไมเหมาะสม วามีผลกระทบในชีวิตประจําวันอยางไร แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
๒. ใหผูเรียนหาคําประพันธเกี่ยวกับการพูดพรอมทั้งอธิบายเหตุผลและยกตัวอยางประกอบเขียนลงในบัตรขนาด
โปสการด
๓. กําหนดใหผเู รียนจับสลากเลือกหัวขอการพูด แลวนําเสนอหนาชัน้ เรียน ดังนี้ การพูดแสดงความเสียใจ การพูดสรุปความ
การพูดแสดงความคิดเห็น และการพูดติดตอกิจธุระ
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. จุดประสงคของการพูดแสดงความเสียใจคืออะไร
เพื่อแสดงความเสียใจ เพื่อปลอบใจบุคคลหรือญาติมิตร และเปนมารยาททางสังคมที่ดีตอบุคคลอันเปนที่รูจัก
๒. โอกาสใดบางที่จะพูดแสดงความเสียใจ
ในโอกาสจะมีญาติพี่นองหรือคนที่เรารูจักประสบเคราะหกรรม ผิดหวัง เจ็บปวย หรือเสียชีวิต
๓. สิ่งที่ควรพูดกอนจบในการพูดแสดงความเสียใจคืออะไร
การใหกําลังใจและแสดงความเต็มใจที่จะชวยเหลือ
๔. การพูดสรุปความคืออะไร
การพูดเสนอเนื้อหาที่เปนใจความสําคัญของสาร ไมออกนอกเรื่อง โดยพูดใหกระชับ ชัดเจน ตรงประเด็น
เขาใจงาย
๕. เรื่องที่นิยมพูดสรุปความไดแกเรื่องใดบาง
เรื่องที่เปนความรูที่มีขนาดยาว เชน ขาวสาร เปนตน
๖. การพูดแสดงความคิดเห็นคืออะไร
การพูดเชิงอธิบายเหตุผล โดยยึดหลักการหรือขอเท็จจริงแลวพูดเสนอความคิดเห็น เพื่อใหผูฟงคลอยตาม
เชื่อถือ ยอมรับ หรือเห็นดวยกับผูพูด

56
๗. การพูดแสดงความคิดเห็นมีความสําคัญอยางไร
๑. ชวยหาทางออกใหกับปญหาตาง ๆ
๒. เปดโอกาสหรือเปดพื้นที่ทางความคิดของบุคคลที่มีแนวคิดหลากหลายไดมาพบปะพูดคุยกัน
๓. เพื่อทําความเขาใจระหวางกันชวยหาขอยุติของเรื่องหรือกรณีตาง ๆ
๔. ทําใหสังคมไดรับรูเหตุการณหรือสถานการณรวมกันวา มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้น และจะตองปรับตัวเพื่อ
รับสถานการณนั้น ๆ อยางไร
๘. ลักษณะการพูดแสดงความคิดเห็นมีีกี่ลักษณะ อะไรบาง
มี ๒ ลักษณะ ไดแก ความคิดเห็นในทางบวก และความคิดเห็นในทางลบ
๙. การพูดติดตอกิจธุระหมายถึงอะไร
การติดตอสื่อสารกันระหวางบุคคลวาดวยเรื่องของธุระหรือการงานที่ติดตอสื่อสารกัน โดยใชภาษาพูดเปน
เครื่องมือในการติดตอสื่อสาร
๑๐. ลักษณะของการติดตอกิจธุระมีกี่ประเภท อะไรบาง
มี ๔ ประเภท ไดแก ๑. การติดตอสอบถาม ๒. การขอความรวมมือ ๓. การขอความชวยเหลือ ๔. การติดตอ
นัดหมาย

ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว


๑. จุดประสงคที่สําคัญที่สุดของการพูดแสดงความเสียใจคือขอใด
ข. ใหกําลังใจ
๒. จุดประสงคของการพูดแสดงความเสียใจขอใดขาดความจริงใจมากที่สุด
ง. แสดงมารยาท
๓. ขอใดพูดแสดงความเสียใจไดเหมาะสมที่สุด
ค. “เสียใจดวยนะคะที่คุณตองมารับเคราะหกับคนไมรักษากฎจราจรแตคุณปลอดภัยก็ดีแลวถือวาฟาดเคราะหไป”
๔. ขอใดกลาวถึงการพูดสรุปความไมถูกตอง
จ. พูดใจความสําคัญและพลความใหชัดเจน
๕. ขอใดไมใชหลักสําคัญในการพูดสรุปความ
ข. บันทึกขอความที่จะพูดอยางละเอียดเพื่อความชัดเจน
๖. ขอใดคือจุดมุงหมายของการพูดแสดงความคิดเห็น
ข. นําเสนอแนวคิดของคนในสังคมเพื่อนําไปสูการพัฒนา
๗. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการพูดแสดงความคิดเห็น
ง. การพูดแสดงความคิดเห็นไมจําเปนวาจะตองมีความเชื่อถือหรือยอมรับ

57
๘. ขอใดไมใชโอกาสที่จะพูดแสดงความคิดเห็น
ก. โอกาสที่มีการสัมภาษณงาน
๙. ขอใดไมใชหลักทั่วไปของการพูดติดตอกิจธุระ
จ. การขอความชวยเหลือ
๑๐. “แปดโมงวันอังคารหนาพบกันที่สโมสรทหารบกนะครับ” ขอความขางตนเปนการพูดติดตอกิจธุระประเภทใด
ข. การติดตอนัดหมาย

ใบงานที่ ๑๒.๑ เรื่อง ความหมายของการพูด

คําชี้แจง : จงพิจารณาขอความตอไปนี้แลวตอบคําถาม
๑. “การพูดดีนั้นเปนศรีแกปาก ถาพูดมากปากไมดีมีสีได
เชนปลาหมอตายเพราะปากมีมากไป ปากพาใหไดลําบากนั้นมากมี”
ผูเรียนเห็นดวยกับบทประพันธนี้หรือไม เพราะเหตุใด
เห็นดวย เนื่องจากเปนบทประพันธที่แสดงใหเห็นถึงคุณและโทษของการพูด วาหากพูดดีก็เปนเรื่องที่ดี
แกตัวผูพูดเอง และหากพูดไมดีก็จะทําใหผูพูดนั้นไดรับความลําบากไปดวย
๒. ผูเรียนคิดวา จําเปนหรือไมที่เราจะตองศึกษาเรียนรูเรื่องการพูดในโอกาสตาง ๆ ใหเกิดทักษะในชีวิต เพราะเหตุใด
จําเปน เพราะจะชวยใหเกิดทักษะการพูดที่ดี สามารถนําไปใชในโอกาสตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมและทําใหเกิด
ประสบการณการพูดในโอกาสตาง ๆ ไดอีกดวย

ใบงานที่ ๑๒.๒ เรื่อง หลักการพูดในโอกาสต่าง ๆ

คําชี้แจง : จงรางบทพูดหรือบทสนทนาจากสถานการณที่กําหนดให
๑. หากบิดาของเพื่อนเสียชีวิต ผูเรียนจะกลาวแสดงความเสียใจเพื่อใหกําลังใจเพื่อน อยางไร
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการพูดแสดงความเสียใจ
๒. เลือกอานความรูที่ตนสนใจ แลวนํามาเขียนสรุปความ พรอมบอกที่มาของความรูที่อาน
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการพูดสรุปความ
๓. เมื่อผูเรียนมีความคิดเห็นไมตรงกับเพื่อนในการทํากิจกรรมกีฬาสี แลวตองการแสดงความคิดเห็น
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการพูดแสดงความคิดเห็น
๔. ยกตัวอยางกิจธุระเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ตองติดตอในโรงเรียน แลวรางบทสนทนาเพื่อติดตอกิจธุระนั้น
อยูในดุลยพินิจของผูสอน โดยพิจารณาตามหลักการพูดติดตอกิจธุระ

58
หน่วยที่
๑๓ เทคนิคการพัฒนาทักษะการรับสาร
และส่งสาร
กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
๑. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓–๔ คน รวบรวมตัวอยางผังกราฟกรูปแบบตาง ๆ แลววิเคราะหวาผังกราฟกแตละ
ประเภทเหมาะที่จะใชในการสื่อสารกับเนื้อหาแบบใด เพราะอะไร แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
๒. ใหผูเรียนจับคูกันและเขียนผังกราฟกสรุปเนื้อหาที่เรียนไปในหนังสือ ๑ หนวย โดยใชผังกราฟกประเภทใดก็ได
แลวแลกเปลี่ยนกับเพื่อนคูอื่น อยางนอย ๒ คูและวิจารณขอดีขอเสียของกันและกัน
(อยูในดุลยพินิจของผูสอน)

คําถามทายหนวยการเรียนรู

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : จงตอบคําถามตอไปนี้


๑. ผังกราฟกมีความสําคัญในการพัฒนาทักษะการสื่อสารและรับสารอยางไร
เปนการสื่อสารที่ใชภาพเปนหลัก ซึ่งจะชวยจัดระบบ การสงสารและรับสารใหเปนระเบียบชัดเจน ชวยพัฒนา
ทักษะการฟง การพูด การอาน การเขียน ทั้งของผูรับสารและสงสาร
๒. จงบอกประโยชนของผังกราฟกที่มีตอผูรับสารและผูสงสารอยางนอยประเภทละ ๒ ขอ
สําหรับผูรับสาร
๑. ชวยใหสามารถเห็นภาพรวมหรือมโนทัศนของสารทั้งหมดที่ผูสงสารตองการสื่อ
๒. ชวยใหจดจํา สรางความรู ความเขาใจในสารที่รับมาไดดีขึ้น
สําหรับผูสงสาร
๑. ชวยในการจัดระบบความคิดสําหรับเรื่องที่ตองการสื่อสาร
๒. ทําใหเห็นภาพรวมและรายละเอียดทั้งหมดของสารกอนที่จะถายทอดออกไป
๓. ผังกราฟกแบบผังความคิดมีลักษณะเปนอยางไร เหมาะกับขอมูลแบบใด
มีลกั ษณะกระจายออกเปนใยแมงมุมโดยมีความคิดหลักอยูต รงกลาง เหมาะกับขอมูลทีม่ คี วามซับซอน มีหลาย
หมวดหมู หรือขอมูลที่เราตองการเห็นภาพรวมทั้งหมด

59
๔. ผังกราฟกแบบวงกลมหรือเวนไดอะแกรมใชเพื่อแสดงขอมูลแบบใด จงยกตัวอยาง
ใชเพื่อแสดงขอมูลที่มีความสัมพันธกัน มีความเหมือนกันหรือตางกัน เชน การเปรียบเทียบระหวางนวนิยาย
และเรื่องสั้น หรือเซลลพืชและเซลลสัตว เปนตน
๕. หากผูเรียนตองการใหเพื่อนเขาใจวิธีทําอาหาร ผูเรียนตองใชผังกราฟกแบบใด เพราะอะไร
ควรใชผังกราฟกแบบเรียงลําดับเหตุการณ เนื่องจากการทําอาหารนั้นมีขั้นตอนที่คอนขางมากและแตละ
ขั้นตอนกอนหลังมีความสําคัญหากทําผิดขั้นตอนอาจทําใหอาหารเสียได
๖. ผังกราฟกแบบแสดงความคิดเปนเหตุเปนผล สามารถนํามาใชนําเสนอขอมูลอะไรไดบาง จงยกตัวอยาง
ผังกราฟกแสดงความคิดเปนเหตุเปนผลสามารถนํามาแสดงขอมูลที่มีลักษณะเปนประเด็นปญหาและมีสาเหตุ
มาจากสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกัน เชน สาเหตุของปญหาเรื่อง การทองกอนแตง ผลที่เกิดจากการรัฐประหาร
๗. การรับและสงสารจากผังกราฟกสามารถพัฒนาทักษะตาง ๆ ของผูรับสารและผูสงสารไดอยางไร
ทักษะตาง ๆ ของผูรับสารและสงสารโดยใชผังกราฟกสามารถพัฒนาไดเนื่องจากผังกราฟกเปนการสื่อสารที่
แสดงใหเห็นภาพรวมของเรื่องที่ตองการสื่อสารโดยแสดงออกมาในลักษณะของรูปภาพในแบบตาง ๆ ซึ่งจะชวยให
เขาใจและจดจําสารไดงายขึ้น และไมจํากัดความคิดของผูสงสารและรับสารใหอยูในลักษณะตัวหนังสือเพียง
อยางเดียว
๘. การวางโครงเรื่องกอนการสงสารดวยผังกราฟกใหมีประสิทธิภาพมีขั้นตอนใดบาง
เริม่ จากการระดมความคิด รวบรวมเนือ้ หาของสารทีต่ อ งการจะสือ่ และเมือ่ ไดขอ มูลทัง้ หมดแลวจึงนํามาวางแผน
ในการนําเสนอและสรางผังกราฟกออกมาเพื่อนําเสนอความคิดใหเห็นไดชัดเจนที่สุด
๙. ผังกราฟกแบบแผนผังความคิดมีลักษณะตางกับผังกราฟกแบบแสดงความคิดรวบยอดอยางไร
ผังกราฟกแบบแผนผังความคิดและผังกราฟกแบบแสดงความคิดรวบยอดมีความแตกตางกันทีเ่ นือ้ หาทีน่ าํ เสนอ
นัน่ คือ ผังกราฟกแบบแสดงความคิดรวบยอดจะแสดงความสัมพันธของเนือ้ หาจากใหญไปเล็กอยางเปนลําดับขัน้ แต
ผังกราฟกแบบผังความคิดนั้นเนนใหเห็นภาพรวมของเรื่องที่ตองการจะสื่อมากกวาลําดับความสัมพันธของเนื้อหา
๑๐. ผังกราฟกมีความสําคัญอยางไรในการพัฒนาทักษะการสื่อสาร
ผังกราฟกเปนเครือ่ งมือทีช่ ว ยใหการสือ่ สารมีประสิทธิภาพมากขึน้ ทัง้ ในฐานะของการเปนผูร บั สารและผูส ง สาร
ชวยในการถายทอดความคิดที่เปนนามธรรมไปสูรูปธรรมทําใหการสื่อสารมีประสิทธิภาพมากขึ้น

60
ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : เขียน O รอบคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว
๑. ขอใดไมใชลักษณะของผังกราฟกที่ดี
ก. ใสเนื้อหาเปนตัวหนังสือจํานวนมาก
๒. ขอใดเปนประโยชนของผังกราฟก
จ. ถูกทุกขอ
๓. หากตองการเปรียบเทียบความเหมือนและแตกตางกันของสิ่งหนึ่งควรเลือกใชผังกราฟกแบบใด
ง. ผังกราฟกแบบเวนไดอะแกรม
๔. สมศักดิ์เลือกใชผังกราฟกแบบแสดงความคิดรวบยอดในการสรุปเนื้อหาการเรียนทั้งหมด ผูเรียนคิดวาสมศักดิ์เลือกใช
ผังกราฟกไดเหมาะสมหรือไม อยางไร
ค. เหมาะสม เนื่องจากการใชผังกราฟกแบบนี้จะทําใหเห็นการเชื่อมโยงของขอมูลที่ชัดเจน
๕. การใชผังกราฟกในการสื่อสารขอใดไมเหมาะสม
ข. โอใชผังกราฟกแบบทีชารตกับเรื่องวิธีการทางวิทยาศาสตร
๖. “เปนผังแสดงความสัมพันธของความคิดดวยการแตกเสนความคิดโดยใชคําสําคัญอยูตรงกึ่งกลางหนากระดาษ”
ลักษณะดังกลาวเปนผังกราฟกแบบใด
ข. ผังกราฟกแบบผังความคิด
๗. ขอใดไมใชรูปแบบของผังกราฟกที่ปรากฏอยูในแบบเรียนนี้
ก. ผังกราฟกแบบกางปลา
๘. ขอใดไมใชลักษณะของผังกราฟก
ง. เปนประโยชนแกผูรับสารเทานั้น
๙. ขอใดไมใชประโยชนของผังกราฟกสําหรับผูรับสาร
ค. ชวยใหเห็นโครงสรางของเนื้อหาสาระ
๑๐. ขอมูลลักษณะใดที่เหมาะจะใชกับผังกราฟกแบบผังความคิด
จ. ขอมูลที่มีสวนประกอบจํานวนมาก

61
ใบงานที่ ๑๓.๑ เรื่อง เทคนิคการพัฒนาการรับสารและส่งสาร

คําชี้แจง : จงอธิบายความหมายของงานเขียนที่กําหนดให
ผังกราฟก
ผังกราฟก เปนแผนผังหรือแผนภาพที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธเชื่อมโยง ระหวางความคิดกับเนื้อหาหลัก
และเนือ้ หายอยของเรือ่ ง โดยใชภาพและเสนอธิบายความสัมพันธเชือ่ มโยงระหวางขอมูล เนือ้ หา ความคิดในรูปแบบ
ตาง ๆ เพื่อชวยใหการนําเสนอขอมูลเปนระบบ ชัดเจน เขาใจงาย
ผังกราฟกแบบเรียงลําดับเหตุการณ
เปนผังกราฟกทีใ่ ชบรรยายลําดับเหตุการณ หรืออธิบายขัน้ ตอนของกระบวนการ เพือ่ แสดงวาเหตุการณใดเกิด
กอน-หลัง หรือขั้นตอนใดควรทําเปนลําดับที่ ๑ ๒ และ ๓
ผังกราฟกแบบแสดงความสัมพันธ
เปนผังกราฟกที่ใชนําเสนอกระบวนการความคิดที่เหมือนกันหรือแตกตางกัน มักมี ๒ ลักษณะ คือ แบบ
เวนไดอะแกรมและแบบทีชารต
ผังกราฟกแบบแสดงความคิดเปนเหตุเปนผล
เปนผังกราฟกที่แสดงความคิดเปนเหตุเปนผล หรือขอมูลเปนประเด็นหลักแลวมีสาเหตุที่เปนองคประกอบที่
เกี่ยวของกัน มักแสดงเปนกรอบสี่เหลี่ยมเหตุและมีลูกศรชี้ไปที่ผล
ผังกราฟกแบบแสดงความคิดรวบยอด
เปนผังกราฟกทีแ่ สดงความสัมพันธระหวางความคิดตาง ๆ เกีย่ วกับเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ อยางเปนลําดับขัน้ ตอนของ
ขอมูล เพือ่ เชือ่ มโยงขอเท็จจริง แนวคิด เพือ่ แสดงความสัมพันธของขอมูล หรือแยกแยะองคประกอบตาง ๆ ของขอมูล
นั้น
ผังกราฟกแบบผังความคิด
เปนผังกราฟกแสดงความสัมพันธของสาระ หรือความคิดตาง ๆ ใหเห็นภาพรวมโครงสรางทั้งหมดของสารนั้น
โดยนําหัวขอเรื่อง หรือใจความสําคัญไวตรงกลางหนากระดาษ จากนั้นขยายใจความสําคัญ หรือรายละเอียดตาง ๆ
ดวยการแตกเสนความคิดโดยใชคําสําคัญ (Key words) หรือใชรูปวาดประกอบ ออกจากจุดกึ่งกลางกระดาษ และ
การแตกเสนความคิดแตละกิ่งควรใชสีที่แตกตางกัน เพื่อชวยการจัดหมวดหมู และจัดระบบความคิด

62
ใบงานที่ ๑๓.๒ เรื่อง เขียนผังกราฟก

คําชี้แจง : เขียนผังกราฟกจากขอมูลตอไปนี้ใหถูกตอง
ก. ตั้งกระทะใสนํ้ามันดวยไฟปานกลาง พอนํ้ามันรอนใสไข คนเบา ๆ ใหไขเปนแผนใสหมูที่หมักแลว ผัดจนหมูสุกเรง
ไฟแรงแลวใสเสน ใสซีอิ้วดํา เตาเจี้ยว ผัดใหเร็วและตองผัดเบา ๆ ระวังเสนขาดพอซีอิ้วดําคลุกเสนทั่วและเสนหอม ใหใส
นํ้าตาลกับนํ้าปลาผัดจนแหง ใสคะนาหรือผักอื่น ๆ ที่ลวกแลว ผัดแคพอเขากันตักใสจานโรยพริกไทยปนเล็กนอยเสิรฟ
พรอมกับมะนาว และนํ้าสมพริกดอง
ตั้งกระทะใสนํ้ามันดวยไฟปานกลาง

พอนํ้ามันรอนใสไข คนเบา ๆ ใหไขเปนแผน

ใสหมูที่หมักแลวผัดจนหมูสุก

เรงไฟใหแรงใสเสน ใสซีอิ้วดํา เตาเจี้ยว ผัดใหเร็วและตองผัดเบา ๆ ระวังเสนขาด

พอซีอิ้วดําคลุกเสนทั่วและเสนหอม ใหใสนํ้าตาลกับนํ้าปลาผัดจนแหง

ใสคะนาหรือผักอื่น ๆ ที่ลวกแลว ผัดแคพอเขากัน

ตักใสจานโรยพริกไทยปนเล็กนอยเสิรฟพรอมกับมะนาว และนํ้าสมพริกดอง

63
ข. มาตราตัวสะกด มีทั้งหมด ๘ มาตรา ประกอบดวย แมกก แมกบ แมกง แมกด แมกน แมกม แมเกย แมเกอว
ตัวสะกดตรงมาตราประกอบดวย แมกง แมกม แมเกย แมเกอว ตัวสะกดไมตรงมาตราประกอบดวย แมกน แมกบ
แมกด แมกก

แมกม
แมเกย

ตัวสะกดตรงมาตรา
แมเกอว

มาตราตัวสะกด
แมกง
แมกด

ตัวสะกดไมตรงมาตรา
แมกบ

แมกน แมกก

ค. พยางคแรกของคําวา มะยม นาจะมาจากคําวา หมาก เนื่องจากพยางคแรกของคําวา มะมวง


มะขาม มะพราว มาจากคําวา หมาก เชนกัน

พยางคแรกของคําวา มะมวง
มาจากคําวา หมาก

พยางคแรกของคําวา มะพราว พยางคแรกของคําวา มะยม


มาจากคําวา หมาก นาจะมาจากคําวา หมาก

พยางคแรกของคําวา มะขาม
มาจากคําวา หมาก

64

You might also like