You are on page 1of 32

รายงานเชิงวิชาการ เรื่อง ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

จัดทำโดย
นาย นพวิชญ์ อินทรัตน์ ม.๔/๓ เลขที่๑
นายบุรเศรษฐ์ ธนาบูรณศักดิ์ ม.๔/๓ เลขที่๒
นาย กรณ์ อินศูนย์ ม.๔/๓ เลขที่๕
นาย ณัฐปพล ใจห้าว ม.๔/๓ เลขที่๖
นาย ภัสนนท์ ชัยประเสริฐ ม.๔/๓ เลขที่๗
เด็กหญิง วราภรณ์ คุณสิน ม.๔/๓ เลขที่๒๑

เสนอ อาจารย์จินดาภา คล้ายบุญมี

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร(ท 31101)


ภาคเรี่ยนที่๑/๒๕๖๖
โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยพิษณุโลก


รายงานเชิงวิชาการ เรื่อง ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

จัดทำโดย
นาย นพวิชญ์ อินทรัตน์ ม.๔/๓ เลขที่๑
นายบุรเศรษฐ์ ธนาบูรณศักดิ์ ม.๔/๓ เลขที่๒
นาย กรณ์ อินสูนย์ ม.๔/๓ เลขที่๕
นาย ณัฐปพล ใจห้าว ม.๔/๓ เลขที่๖
นาย ภัสนนท์ ชัยประเสริฐ ม.๔/๓ เลขที่๗
เด็กหญิง วราภรณ์ คุณสิน ม.๔/๓ เลขที่๒๑

เสนอ อาจารย์จินดาภา คล้ายบุญมี

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร(ท 31101)


ภาคเรี่ยนที่๑/๒๕๖๖
โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยพิษณุโลก

คำนำ
รายงานเชิงวิชาการนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร(ท๓๑๑๐๑)ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่๔
โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การเขียน,การสื่อสาร,การอ่านในชีวิตประจำ
วัน ซึ่งรายงานเชิงวิชาการนี้ได้กล่าวถึงการสื่อสารในชีวิตประจำวันและเพื่อให้รู้ถึงวิธีการสื่อสาร
คณะผู้จัดทำนี้จึงได้เลือกหัวข้อนี้ในการทำงานเนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และคณะต้องขอขอบ
คุอาจารย์จินดาภา คล้ายบุญมีผู้เป็นที่ให้คำปรึกษาและให้ความรู้ระหว่างการทำรายงานและหวังว่ารายงาน
ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มาอ่านและผู้ที่สนใจในเรื่องนี้
คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญรูปภาพ ค
บรรณานุกรม ง
ภาษากับการสื่อสาร 1-4
การฟังเพื่อการสื่อสาร 5-6
การอ่านเพื่อการสื่อสาร 7-11
การพูดเพื่อการสื่อสาร 12-16
การเขียนเพื่อการสื่อสาร 17-27


สารบัญรูปภาพ
ภาพที่ หน้า
รูปที่ 1 1
รูปที่ 2 4
รูปที่ 3 5
รูปที่ 4 7
รูปที่ 5 9
รูปที่ 6 11
รูปที่ 7 15
รูปที่ 8 18
รูปที่ 9 20


ภาษากับการสื่อสาร
1.ความรู้เกี่ยวกับภาษา
-ความหมายเเละธรรมชาติของภาษา
หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สื่อสารทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ การทำความเข้าใจกันทำได้ หลายวิธีทั้งโดย
ใช้เสียง กิริยาอาการ และอื่นๆเเต่อย่างไรก็จาม วิธีการเหล่านี้ต้องมีระเบียบเเละการเข้าใจความหมายจึงจะ
นับว่าเป็นภาษา
-ประเภทของภาษา
1.วัจนภาษาหรือถ้อยคำ คือ เสียงพูดที่มนุษย์ตกลงกันเพื่อให้ทำหน้าที่เเทนมโนภาพของสิ่งต่างๆ โดยใช้
ประสาทสัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้นเเละกาย
2.อวัจนภาษาหรือภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคำ คือ กิริยาท่าทางต่างๆ ที่ปรากฎออกมาทางร่างกายของมนุษย์เป็นส่วน
ใหญ่ เเละสามารถสื่อความหมายได้ จึงมีผู้เรียกอีกอย่างว่า การพาษา(body language)

รูปภาพที่ ๑
ที่มา :https://englishgang.com

-หน้าที่ของภาษา
1.ภาษาทำหน้าที่ให้ข้อเท็จจริง ภาษาที่ทำหน้าที่ให้ข้อเท็จจริงจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นตามปรากฎการณ์ที่เป็น
จริงหรือไม่จริงอย่างตรงไปตรงมาโดยคำนึงถึงเนื้อหาเป็นหลัก
2.ภาษาที่ทำหน้าที่เเสดงความรู้สึก ภาษานี้จะบรรยายความรู้สึกต่างๆ ของมนุษย์ มีลักษณะ

1
การเร้าอารมณ์ให้ผู้ผังเเละผู้อ่านคล้อยตามหรือเกิดอารมณ์เดียวกัน
3.ภาษาทำหน้าที่ให้ข้อคิดเห็น ภาษาที่ทำหน้าที่นี้จะทำให้เกิดการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่เกิดการก
ระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
-ระดับภาษา
1.ภาษาระดับทางการ เป็นภาษาที่ใช้ประชุมเเบบเเผน เช่น การบรรยาย การอภิปราย อย่างเป็นทางการ
2.ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารโดยมุ่งให้เกิดความเข้าใจกันเร็วขึ้นโดยลดความเป็นทางการ
ลดลง
3.ภาษาระดับปาก เป็นภาษาที่ใช้ในวงจำกัด มังใช้ในสถานที่ที่เป็นส่วนตัวกับบุคคลที่สนิท เช่น ระหว่างสา
มีเเละภรรยา หรือ เพื่อนสนิท
2.ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร
-หมายถึง การนำข้อความต่างๆ โดนอาศัยเครื่องนำไปด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งให้ไปถึงอีกฝ่ าย จนทำให้เกิดการรับ
รู้ ความหมาย ของเรื่องราวที่สื่อสารด้วยกัน
-จุดมุ่งหมายของการสื่อสาร
การสื่อสารต้องมี ผู้รับสารเเละผู้ส่งสาร ดังนั้น เพื่อให้การสื่อสารบรรลุผลจึงควรพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายว่าผู
ส่งสารต้องการอะไร เเละผู้รับสารต้องการอะไร

-องค์ประกอบ
ประกอบด้วย 5 ประการ
1.ผู้ส่งสาร เป็นผู้เริ่มต้นเเละส่งสารไปยังผู้อื่น
2.สาร คือ เรื่องราวอันมีความหมายและเเสดงออกโดยอาศัยภาษาหรือสิ่งอื่นใดก็ได้
3.สื่อ คือ ตัวกลางที่เชื่อมโยงผู้รับสารเเละผู้ส่งสารให้ติดต่อกันได้
4.ผู้รับสาร คือ บุคคลที่เป็นจุดหมายปลายทางของสารที่ผู้ส่งสารส่งมา

2
5.ปฏิกิริยาการตอบสนอง คือ การเปลี่ยนเเปลงท่าทีเเละพฤติกรรมของผู้รับสารที่เเสดงออกมาให้ผู้ส่งสารได้
รับทราบ

-ประเภทของการสื่อสาร
1.การสื่อสารภายในบุคคล เป็นการสื่อสารบุคคลเดียวโดยคนคนนั้นทำหน้าที่เป็นทั้งผู้รับสารเเละผู้ส่งสาร
2.การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นการสื่อสารกันตั้งเเต่ 2 คนขึ้นไป
3.การสื่อสารกลุ่มใหญ่ เป็นการสื่อสารของคนกลุ่มมากที่อยู่ในมี่เดียวกันหรือที่ใกล้เคียงกัน
4.การสื่อสารในองค์กร เป็นการสื่อสารของคนจำนวนมากโดยเเต่ละคนจะอยู่ที่ต่างกัน
5.การสื่อสารมวลชน เป็นคนจำนวนมากโดยอยู่ต่างกันเเต่จะรวดเร็วเช่น หนังสือพิมพ์
-อุปสรรคของการสื่อสาร
1.ในเเต่ละครั้งถ้าผู้ส่งสารขาดความรู้ สารที่ส่งไปนั้นย่อมไม่สมบูรณ์
2.ผู้รับสารขาดความรู้ความเข้าใจในสาร
3.สารขาดความเหมาะสมกับผู้ส่งสาร
4.การเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมาะสม

3.ภาษาไทยกับการสื่อสาร
-ความสำคัญของภาษาไทย
1.ภาษาไทยเป็นภาษาของชาติ ภาษาไทยเเสดงถึงเอกราชเเละเอกลักษณ์ของชาติ
2.ภาษาเป็นเครื่องมือสร้างความสามัคคีในชาติ
3.ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสื่อสารของคนไทย
-ลักษณะสำคัญของภาษาไทย
ภาษาเเต่ละภาษาย่อมมีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งภาษาไทยก็เป็นภาษาที่มีลักษผระเฉพาะของตนเอง
เพราะฉะนั้น การศึกษาลักษณะสำคัญของภาษาไทยจะทำให้รู้จักเข้าใจในลักษณะของภาษาไทยอย่างท่องเเท้
-ข้อควรคำนึงในการใช้ภาษา 3

3
ต้องศึกษาเรื่องการใช้ภาษาที่ถูกต้อง เหมาะส

รูปภาพที่ ๒
ที่มา : https://tuemaster.com

4
การฟังเพื่อการสื่อสาร
ความหมายคือการที่มนุษย์รับรู้เรื่องราวต่างๆจากแหล่งของเสียงซึ่งอาจจะหมายถึงฟังจากผู้พูดโดยตรงหรือ
ฟังผ่านอุปกรณ์ที่ช่วยบันทึกเสียงแบบต่างๆกระบวนการในการฟัง
1.ขั้นได้ยินเสียง
2.ขั้นรับรู้
3.ขั้นเข้าใจ
4.ขั้นพิจารณา
5.ขั้นการนำไปใช้

รูปภาพที่ ๓
ที่มา : http://images.app.goo.gl/Ps8qs6xcMTQUyN578

จุดมุ่งหมาย
ของการฟัง
1.การฟังเพื่อจับใจความสำคัญเป็นการฟังส่วนที่สำคัญที่สุดของเรื่องอาจอยู่ตอนใดตอนหนึ่งของเรื่องหรือ
อาจอยู่กระจายไปทั้งเรื่อง
2.การฟังเพื่อจับใจความโดยละเอียดเพื่อจับใจความอันเป็นส่วนสำคัญของเรื่อง
3.การฟังเพื่อแสดงเหตุผลคือการฟังเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้วสามารถหาเหตุผลมาโต้แย้ง หรือคล้อยตามเรื่องที่
ฟังได้
4.การฟังเพื่อให้เกิดความซาบซึ้งหรือสุนทรียเป็นการฟังเพื่อให้ทราบซึ้งตระหนักในคุณค่าและความงดงาม
ของวรรณกรรมประเภทต่างๆ
5.การฟังเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ผู้ฟังจะต้องฟังแล้วเกิดจินตนาการตาม
ประเภทของการฟังมี 4 ประเภท คือ
1.การฟังเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล
2.การฟังในกลุ่มขนาดเล็ก
5
3.การฟังในที่ประชุมชน
4.การฟังจากสื่อมวลชน
มารยาทในการฟัง
1.เดินทางไปถึงสถานที่ที่จะมีการพูดก่อนเวลาเริ่มพูดประมาณสิบห้านาที
2.แต่งกายให้ถูกกาลเทศะถ้าเป็นการฟังที่เป็นทางการควรสวมเสื้อผ้าแบบสากลนิยม
3.ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบมือเมื่อมีการแนะนำตัวและแสดงความขอบคุณเมื่อการพูดสิ้นสุดลง
4.มีอาการสำรวมในขณะฟังแสดงความสนใจฟังไม่นั่งไขว่ห้างหรือนั่งเอนหลังตามสบายหรือนั่งหลับ
5.หากมีข้อสงสัยในขณะที่มีการพูดควรจดบันทึกย่อไว้แล้วรอโอกาสที่ผู้พูดเปิ ดโอกาสให้
6.ไม่ออกจากสถานที่ที่มีการพูดก่อนเวลาของการพูดสิ้นสุดลงหากมีกิจธุระจำเป็นต้องออกจากที่ประชุมต้อง
แสดงความเคารพผู้พูดก่อนจึงออกได้
7.ไม่นำอาหารและเครื่องดื่มเข้าไปรับประทานในระหว่างการฟัง

6
การอ่านเพื่อการสื่อสาร

ความหมายและความสำคัญของการอ่าน
การอ่านเป็นกระบวนการค้นหาความหมายจากสื่อเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถ จับใจความ และ ตีความ
ได้
ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่สำคัญและใช้มากในชีวิตประจำวันเพราะเป็นทักษะที่ใช้แสวงหาสรรพวิทยา
ต่างๆ เพื่อหาความรู้ ฝึกฝนการพูดจากการอ่าน และ ฝึกฝนจากการอ่านได้เช่นกัน

รูปภาพที่ ๔
ที่มา : https://computertan.wordpress.com
จุดมุ่ง หมาย
ของการอ่าน
มีทั้งหมด 3 ประการ ดังนี้
1.การอ่านเพื่อทราบข่าวสารและข้อเท็จจริง เป็นการอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อหาคำตอบสั้นๆ อ่านใจความ
สำคัญ
2.การอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ สามารถอ่านในรูปแบบต่างๆเช่นการอ่านข่าว ชีวประวัติ เป็นต้น
3. การอ่านเพื่อความบันเทิง ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภท นวนิยาย การ์ตูน นิตยสารเพื่อความบันเทิง
ประเภทของการอ่าน

7
แบ่งเป็นสองประเภทคือการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ
1. การอ่านออกเสียง เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างความคิดของภาษากล่าวคือเมื่ออ่านตัวอักษรก็ต้องวิเคราะห์
ความหมายของอักษรนั้น มีสามขั้นตอน คือ การรับรู้ตัวหนังสือ การแปลเป็นเสียงและการแปลความหมาย
2. การอ่านในใจเป็นการเก็บใจความสำคัญและทำความเข้าใจเป็นการอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ให้กับตนเองมี
ข้อดี คือ อ่านเร็วกว่าการอ่านออกเสียงแบ่งเป็นสองขั้นคือการรับรู้ตัวหนังสือและการแปลความหมาย

ปัจจัยที่ทำให้การอ่านสัมฤทธิ์ผล
มีดังนี้ 1.ประสบกลางคือประสบการณ์ที่ต่างกันทำให้สัมฤทธิ์ผลจากการอ่านต่างกัน
2. วุฒิภาวะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการเรียนรู้ของบุคคล
3. สติปัญญาเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ประสบความสำเร็จในการอ่านเพราะเป็นเครื่องมือที่แสดงถึง
ความสามารถของการเรียนรู้

พฤติกรรมเพื่อพัฒนาการอ่าน
1. พิจารณาปัญหาของตนเองจะทำให้เห็นว่าอะไรเป็นปัญหาอะไรเป็นอุปสรรคและจะมีการแก้ไขได้
อย่างไร
2. หาทางขจัดปัญหาการไม่อ่านและไม่เห็นประโยชน์ของการอ่านจะแก้ไขได้ยากแต่การทำงานบาง
อย่างสามารถคิดเองได้จะทำให้ตระหนักถึงคุณค่าของการอ่าน
3. ฝึกฝนตนเอง การพัฒนาทักษะการอ่านต้องฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เปลี่ยนอัตราเร็วของ
การอ่าน

ระดับความเข้าใจของการอ่าน
ความเข้าใจในการอ่านคือการที่ผู้อ่านสามารถรู้เรื่องราวที่อ่านเข้าใจลายลักษณ์อักษรหรือเข้าใจ
ข้อความที่อ่านอย่างครบถ้วน
แบ่งเป็น 3 ระดับดังนี้
1. ระดับความเข้าใจความหมายตามอักษรคือผู้อ่านสามารถเข้าใจในสิ่งที่ผู้เขียน เขียนได้โดยตรง

8
2. ระดับการอ่านขั้นตีความคือผู้อ่านเข้าใจความหมายอย่างลึกซึ้งเข้าใจความหมายแฝงอยู่ในเนื้อความที่ผู้
เขียนเขียน
3. ระดับความเข้าใจขั้นวิจารณ์คือเป็นการอ่านที่ต้องเข้าใจทั้งสองระดับแรกต้องมีผู้อ่านมาตัดสินด้วย

การอ่านหนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์ คือ สื่อส่งพิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นพับไม่ได้เย็บเล่มมีวัตถุประสงค์คือแจ้งข่าวสารให้
ความบันเทิงประกาศแจ้งความและโฆษณาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือประเภทคุณภาพและปริมาณโดยยึด
ตามประเภทของข่าวที่นำเสนอเป็นหลัก

รูปภาพที่ ๕
ที่มา : https://images.app.goo.gl/JQCNFGrXLyeyreT29

การอ่านข่าว
ข่าว คือ หัวใจสำคัญของหนังสือพิมพ์โดยข่าวคือการรายงานเหตุการณ์หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงซึ่งมีความ
สำคัญน่าสนใจ ควรพิจารณาข่าวให้ถ่องแท้โดยใช้วิจารณญาณในการอ่าน
การอ่านข่าวแบ่งออกเป็นสองประเภท
1.ข่าวหนักเป็นข่าวที่มีความสำคัญมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน
2.ข่าวเบาเป็นข่าวที่มีองค์ประกอบน่าสนใจในระยะเวลาหนึ่งและจางหายไป

การอ่านสารคดี
สารคดีหมายถึงงานเขียนที่เป็นเรื่องจริงมุ่งให้ความรู้ความคิดและความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
9
แบ่งออกเป็น 3 ประการคือ
เนื้อหา รูปแบบ และ การนำเสนอ
สารคดีแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.สารคดีทั่วไปคือสารคดีที่เป็นเรื่องราวทั่วๆไปใช้สำนวนภาษาง่ายง่าย
2. สารคดีวิชาการนำเสนอความรู้และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิชาการในด้านใดด้านหนึ่ง

แนวการอ่านสารคดี
1. อ่านให้ตลอดเรื่องเพื่อจับใจความสำคัญ
2. วิเคราะห์ส่วนประกอบของงานเขียน
3. พิจารณาเนื้อหา
4. พิจารณาความคิดเห็นของผู้เขียนที่นำเสนอ
5. พิจารณาและวิเคราะห์ความหมายประโยชน์ของสารคดี
6. พิจารณาวิธีการเขียน

10
รูปภาพที่ ๖
ที่มา : https://www.slideshare.net/maiichairungruang/ss-14587923

11
การพูดเพื่อการสื่อสาร
การพูดเป็นกระบวนการที่มนุษย์ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็น ความรู้ ความรู้สึก หรือข้อมูลต่าง ๆ
กัน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนต่าง ๆ ในสังคม
การพูดเพื่อการสื่อสารไม่เพียงแค่เรื่องของคำพูดเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับลักษณะของเสียง ภาษากาย และ
สัญญาณทางอื่น ๆ ที่ช่วยเสริมให้การสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเข้าใจง่ายขึ้น
จุดมุ่งหมายการพูด
จุดมุ่งหมายของการพูดคือการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคน โดยใช้ภาษาเพื่อเปิ ด
เผยความคิดเห็น ความรู้สึก ข้อมูล หรือความรู้ให้กับผู้ฟัง โดยมุ่งหวังให้ผู้รับสารเข้าใจและตอบสนองตามที่
ผู้พูดต้องการ การพูดมีจุดมุ่งหมายที่หลากหลาย เช่น การแสดงความคิดเห็น เพื่อการสอน เพื่อสร้างความ
เข้าใจ เพื่อเป็นกำลังใจ หรือเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับบริบทและเป้ าหมายของการสื่อสารใน
แต่ละครั้ง

การพูดสามารถแบ่งเป็ นหลายประเภทตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ดังนี้:


การพูดแสดงความคิดเห็น (Expressive Speech): การพูดเพื่อแสดงออกจากความคิดเห็น ความรู้สึก หรือ
ความรู้ของตนเอง เช่น การแสดงความยินดี ความไม่พอใจ ความเศร้า หรือความตื่นเต้น
การพูดเพื่อสื่อสารข้อมูล (Informative Speech): การพูดเพื่อแจ้งข้อมูลหรือความรู้ต่าง ๆ ให้ผู้ฟังทราบ เช่น
การบรรยาย การสอน การแจ้งข่าวสาร หรือการนำเสนอข้อมูลวิชาการ
การพูดเพื่อเป็นกำลังใจ (Motivational Speech): การพูดเพื่อกระตุ้นและเสริมกำลังใจให้กับผู้ฟัง เช่น การ
ปลุกเร้าให้มีความเชื่อมั่น การให้กำลังใจในการทำงาน หรือการสร้างแรงบันดาลใจ
การพูดเพื่อบันทึกข้อมูล (Recording Speech): การพูดเพื่อบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต เช่น การบันทึก
ข้อความ บันทึกคำสั่ง หรือบันทึกข้อมูลเพื่อการสืบค้น
การพูดเพื่อสร้างความเข้าใจ (Persuasive Speech): การพูดเพื่อนำเสนอเหตุผลและข้อมูลเพื่อชักชวนผู้ฟัง
เห็นด้วยกับความคิดหรือเหตุการณ์ที่ผู้พูดกำลังอธิบาย เช่น การสนับสนุนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือการโน้มน้าวให้
คนเห็นด้วยในแง่ของผู้พูด
การพูดทางวิชาการ (Academic Speech): การพูดเกี่ยวกับหัวข้อทางวิชาการหรือข้อมูลที่มีความซับซ้อน
เช่น การนำเสนองานวิจัย การอธิบายทฤษฎี หรือการนำเสนอข้อมูลทางวิชาการในสังคมวิชาการ
การพูดแสดงศิลปะ (Artistic Speech): การพูดเพื่อแสดงความสวยงามทางวรรณกรรมหรือศิลปะ เช่น การ
เล่าเรื่อง การสร้างความตลก หรือการแสดงความรู้สึกผ่านคำพูด

12
การพูดเพื่อการสื่อสารระยะไกล (Telephonic Speech): การพูดที่ใช้ในการสื่อสารผ่านโทรศัพท์หรือสื่ออื่น
ทางไกล เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ การใช้แชทหรือการสื่อสารทางออนไลน์
มารยาทการพูด
มารยาทการพูดเป็นข้อแนะนำที่เกี่ยวกับวิธีการพูดที่เหมาะสมและเป็นสิ่งที่คนควรปฏิบัติเมื่อพูดใน
สถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นี่คือเพียงตัวอย่างของมารยาทการพูดที่
ควรจะปฏิบัติ:
การฟังก่อนพูด: ให้ใช้เวลาฟังผู้อื่นก่อนที่จะพูด เพื่อเข้าใจความเรียบร้อยและประเด็นที่คุณต้องการสื่อสาร
ความชัดเจนและกระชับ: ให้ใช้ภาษาที่ชัดเจนและโดยไม่เพิ่มเติมข้อมูลที่ไม่จำเป็น เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจง่าย
และไม่สับสน
คำพูดเชิงบวก: พูดด้วยความเคารพและความสุภาพ หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาหยาบคายหรือเสียดสีใคร่ครวญ
การใช้ภาษากาย: การใช้ภาษากายและพฤติกรรมเพื่อสนับสนุนความหมายของคำพูด เช่น การใช้ท่าทาง
ใบหน้าและการพยายามรับรู้ตอนฟัง
การตั้งคำถามและฟังคำตอบ: การตั้งคำถามเพื่อสร้างการสนทนาและเข้าใจดีขึ้น และให้คำตอบที่เหมาะสม
ตามคำถาม
การตรงไปตรงมา: การพูดให้เข้าหัวเรื่องโดยไม่หลีกเลี่ยงหรือเพิ่มเติมข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง
การปรับเสียงเสียดสี: การปรับเสียงพูดให้เหมาะสมกับบริบท เช่น การเพิ่มความสนใจด้วยการเปลี่ยนเสียง
สูงหรือต่ำ
การรับฟังคำแนะนำหรือคำวิจารณ์: ให้เปิ ดรับข้อเสนอแนะและคำวิจารณ์จากผู้อื่นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด
ของคุณ
การหยุดพูดเมื่อจำเป็น: ให้ระมัดระวังและหยุดพูดเมื่อต้องการให้ผู้ฟังมีโอกาสตอบสนองหรือสอบถาม
ความเป็นจริง: พูดคำให้เป็นจริงและไม่สร้างเรื่องเพื่อสร้างความตื่นเต้นหรือความสนใจ
มารยาทการพูดเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้การสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น สำหรับแต่ละ
สถานการณ์ มารยาทอาจแตกต่างกันไป แต่ความเคารพและการเข้าใจผู้อื่นคือหลักสำคัญที่ไม่ควรละเลย
การเตรียมการพูด
การเตรียมการพูดเป็นขั้นตอนที่สำคัญในกระบวนการสื่อสารเพื่อให้การพูดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ชัดเจน นี่คือขั้นตอนหลักในการเตรียมการพูด:
เข้าใจเป้ าหมายและผู้ฟัง: กำหนดเป้ าหมายของการพูดและรับรู้ความต้องการของผู้ฟังว่าต้องการรับข้อมูล
อะไรและมีความคาดหวังอย่างไรจากการสื่อสารของคุณ
13
เก็บข้อมูลและศึกษาเรื่อง: สำรวจและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะพูด เพื่อให้คุณมีความรู้และ
ความเข้าใจที่เพียงพอ
สร้างโครงสร้าง: กำหนดโครงสร้างของการพูด เช่น เริ่มต้นด้วยการแนะนำตัวเอง นำเสนอข้อมูลหลัก และ
สรุปผลในส่วนสุดท้าย
เลือกคำศัพท์และประโยค: เลือกคำศัพท์ที่เหมาะสมและชัดเจน เพื่อให้ข้อมูลถูกสื่อสารได้ดี อย่างเช่น หลีก
เลี่ยงคำที่ซับซ้อนหรือคำถ้อยคำที่สามารถทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้
สร้างตัวอย่างและเหตุผล: สนับสนุนข้อมูลด้วยตัวอย่างและเหตุผลที่เป็นรากฐาน เพื่อช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจและ
เชื่อมโยงกับเนื้อหา
ฝึกพูดและสื่อสาร: ฝึกซ้อมการพูดและการสื่อสารโดยการพูดออกเสียง สามารถฝึกด้วยตัวเองหรือใน
สภาวะที่คล้ายคลึงกับสถานการณ์จริง
บรรยายและฝึกส่งเสริม: บรรยายข้อมูลหรือสร้างวรรณกรรมในการพูดเพื่อเสริมความน่าสนใจและเข้าถึงผู้
ฟัง
ฝึกการใช้ภาษากาย: ฝึกการใช้ภาษากายและท่าทางให้เหมาะสมกับเนื้อหาและบริบทของการพูด
ทดสอบและปรับปรุง: ทดสอบการพูดโดยบันทึกเสียงหรือฝึกซ้อมกับเพื่อนหรือคนอื่น และปรับปรุงตาม
ความต้องการ
• การพูดมีประโยชน์มากมายทั้งในด้านส่วนบุคคลและสังคม นี่คือบางประโยชน์ที่สำคัญของการพูด:
การสื่อสาร: การพูดเป็นวิธีหนึ่งในการสื่อสารกับผู้อื่น เราใช้ภาษาเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็น ความ
รู้สึก และข้อมูลต่าง ๆ ที่สำคัญในชีวิตประจำวัน.
การแสดงออกความคิดเห็น: การพูดช่วยให้เราสามารถแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และจุดยืนตนเองได้
เป็นทางออกในการแสดงออกเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ในชีวิต.
การสอนและแบ่งปันข้อมูล: การพูดเป็นวิธีหนึ่งในการสอนและแบ่งปันความรู้แก่ผู้อื่น เราสามารถอธิบาย
เนื้อหา บรรยายเหตุการณ์ หรือแจกแจงความรู้ได้อย่างชัดเจน.
การสร้างความเข้าใจ: การพูดช่วยเพิ่มความเข้าใจระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความสัมพันธ์
และความร่วมมือ.
การแก้ไขขัดแย้ง: การพูดเป็นช่องทางในการแก้ไขขัดแย้งหรือข้อขัดแย้งระหว่างบุคคล ช่วยให้เกิดการ
เข้าใจกันและการพิจารณาต่อกัน.
การสร้างพลังบันดาลใจ: คำพูดที่เชื่อมโยงกับความสำเร็จ การแก้ไขปัญหา หรือแรงบันดาลใจสามารถ
สร้างพลังให้เราก้าวข้ามอุปสรรคได้.

14
รูปภาพที่ ๗
ที่มา : https://computertan.wordpress.com
การพูด
อภิปราย (Discussion):
เป็นกระบวนการที่ผู้คนมาช่วยกันพูดคุยหรือสนทนาเกี่ยวกับเรื่องหรือปัญหาที่มีความซับซ้อน โดยทุกคน
สามารถแสดงความคิดเห็น มุมมอง หรือความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องนั้น และสามารถสร้างข้อเสนอ
และข้อความที่สอดคล้องกันหรือต่อกันเพื่อการเสวนา นี่เป็นกระบวนการที่สร้างความคิดริเริ่มและ
สร้างสรรค์เนื้อหาที่หลากหลาย
การพูดโต้วาที (Dialogue): เป็นการสนทนาหรือพูดคุยระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ซึ่งเน้นไปที่การตอบ
กลับหรือปฏิกิริยาต่อกัน ในการพูดโต้วาที ผู้คนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และ
ข้อความกันไปมา โดยแต่ละฝ่ ายมีโอกาสแสดงความเห็นและข้อคิดเพื่อเสริมความเข้าใจร่วมกัน
เพื่อยุติเพื่องคุย ทั้งการพูดอภิปรายและการพูดโต้วาทีมักจะเน้นความรู้สึกเป็นส่วนสำคัญ เช่น การแสดง
ความคิดเห็น การเข้าใจด้านตรงกันข้าม การแก้ไขข้อขัดแย้ง หรือการมอบความเห็นในสิ่งที่กล่าวถึง

15
การเขียนเพื่อการสื่อสาร
ความหมายของการเขียน
การเขียน คือการถ่ายทอดความรู้สึก ความรู้ ความคิด ประสบการณ์ จินตนาการ และข่าวสารโดยใช้
ตัวหนังสือและเครื่องหมายต่างๆ
จุดมุ่งหมายของการเขียน
1. การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง เพื่อการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
2. การเขียนอธิบาย เพื่อหาวิธีทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น เพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้เขียนในเรื่องต่างๆ
4. การเขียนเพื่อโฆษณา เพื่อโน้มน้าว จูงใจ หรือเชิญชวนให้ผู้อ่านสนใจสิ่งที่เขียน
5. การเขียนเพื่อสร้างจินตนาการ เพื่อการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการให้ผู้อ่านเกิด
ความรู้สึกและเห็นตามผู้เขียน
องค์ประกอบของการเขียน
ประกอบ เนื้อหา ภาษา และรูปแบบ
เนื้อหา คือ เนื้อเรื่องหรือเรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการจะให้ผู้อ่านได้รับทราบ
ภาษา คือ ถ้อยคำ สำนวน โวหารต่างๆ ซึ่งมีทั้งรูปแบบตามหลักภาษา และตามความนิยมของผู้ใช้
ภาษา
เครื่องหมายวรรคตอนควรให้ความสำคัญ เพื่อให้ผู้อ่านอ่านได้สะดวกมากยิ่งขึ้น
รูปแบบของการเขียน แบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. แบบร้อยแก้ว เช่น เรียงความ บทความ บันทึก จดหมาย รายงาน เป็นต้น
2. แบบร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เป็นต้น

การเขียนย่อความ
ความหมายของย่อหน้า
ย่อหน้า คือ ข้อความตอนหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยใจความสำคัญ และขยายความหรือด้วยประโยค
ขยายความเพียงอย่างเดียว

16
องค์ประกอบของย่อหน้า
ย่อหน้าประกอบประโยค 2 ชนิด คือ
1. ประโยคใจความสำคัญหรือประโยคหลัก
2. ประโยคขยายความ
ประโยคใจความสำคัญอาจอยู่ใมนตำแหน่งต่างๆ คือ
1. ตอนต้นของหน้า
2. ตอนท้ายของหน้า
3. ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า
4. ตอนกลางของย่อหน้า
ส่วนขยาย ความประโยคใจความสำคัญในย่อหน้าเพื่อสนับสนุนและเสริมให้ประโยคใจความ
สำคัญเด่นชัดขึ้น โดนวิธีดังนี้
1. ขยายความโดยการให้รายละเอียด
2. ขยายความโดยการยกตัวอย่าง
3. ขยายความโดยการแสดงเหตุผล
4. การขยายความโดยการเปรียบเทียบ
5. การขยายความโดยให้นิยาม รูปภาพที่ ๘
ที่มา :
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34494

ลักษณะของย่อหน้าที่ดี
ย่อหน้าที่ดีควรมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. เอกภาพ
2. สัมพันธภาพ
3. สารัตถภาพ
4. ความสมบูรณ์
เอกภาพ
ย่อหน้าที่ดีควรมีเอกภาพ คือ มีใจความสำคัญที่ต้องการนำเสนอเพียงประการเดียว ไม่ควรให้เนื้อ

17
หายาวเกินไป เพราะอาจจะทำให้ผู้เขียนสับสน
สัมพันธภาพ
ย่อหน้าที่ดีควรมีสัมพันธภาพ คือ มีความต่อเนื่องสัมพันธ์กันของข้อความในย่อหน้า ผู้เขียนต้อง
รู้จักจัดระเบียบความคิดให้เหมาะสม
สารัตถภาพ
ย่อหน้าที่ดีควรมีสารัตถภาพ คือ มีการเน้นข้อความในย่อหน้าให้เด่นชัด เพื่อผู้อ่านจะได้รู้ว่า
ข้อความตอนใดเป็นส่วนสำคัญในย่อหน้า
การลำดับข้อความในย่อหน้า
1. การลำดับตามเวลา คือ การเรียบเรียงข้อความตามเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เกิดขึ้นตามลำดับ
2. การลำดับตามพื้นที่ คือ การเรียบเรียงข้อความตามลำดับภาพ
3. การลำดับความตามความสำคัญ คือ การเรียบเรียงข้อความตามลำดับความสำคัญก่อน หลัง
4. การลำดับความจากข้อสรุปไปสู่รายละเอียด คือ การเรียบเรียงข้อความโดยสรุปประเด็นที่จะ
กล่าวถึงก่อน และจึงจะดำเนินไปรายละเอียดนั้นๆ
5. การลำดับรายละเอียดไปสู่ข้อสรุป คือ การเรียบเรียงข้อความโดยกล่าวถึงรายละเอียดก่อน แล้ว
จึงดำเนินไปสู่ข้อสรุป
6. การลำดับความจากคำถามไปสู่คำตอบหรือจากผลไปสู่เหตุ คือ การเรียบเรียงข้อความโดยขึ้น
ต้นด้วยประโยคคำถามจะจบด้วยคำตอบ
ชนิดของย่อหน้า
ย่อหน้าแบ่งเป็น 4 ชนิด คือ
1. ย่อหน้านำความคิด หรือ ย่อหน้าคำนำ เป็นย่อหน้าเปิ ดเรื่องที่ใช้งานเขียนประเภทต่างๆ
2. ย่อหน้าโยงความคิด หรือ ย่อหน้าเชื่อมความ เป็นย่อหน้าที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงความคิดระหว่าง
ย่อหน้าเข้าด้วยกัน
3. ย่อหน้าแสดงความคิด หรือ ย่อหน้าเนื้อเรื่อง ย่อหน้าชนิดนี้เป็นย่อหน้าที่สำคัญที่สุดในการ
เขียนบทความ หรือเรียงความ เพราะเป็นที่ใช้แสดงความคิดเป็นต่างๆ
4. ย่อหน้าสรุปความคิด หรือ ย่อหน้าลงท้าย เป็นย่อหน้าที่จะต้องเขียนให้ประทับใจผู้อ่าน จะต้อง
สอดคล้องกับย่อหน้าแสดงความคิดเห็นต่าง

การเขียนเรียงความ
ความหมายของการเขียนเรียงความ

18
เรียงความหมายถึง การเรียบเรียงซึ่งได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ประกอบกับความรู้ ความ
คิด นำมาเขียนในย่อหน้า

รูปภาพที่ ๙
ที่มา http://contestwar.com/th/contest/14954

ขั้นตอนการ เขียนเรียง
ความ
การเขียนเรียงความประกอบด้วยขั้นตอนใหญ่ๆ 3 ขั้นตอน คือ
1. การเลือกเรื่อง ผู้เขียนจะต้องเลือกเรื่องที่ตนเองสนใจและเห็นว่ามีประโยชน์ต่อผู้อ่าน
และควรเป็นเรื่องที่มีประสบการณ์
2. การวางโครงเรื่อง เมื่อเลือกเรื่องที่จะเขียนได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการวางโครงเรื่อง
2.1. การจัดลำดับความรู้ ความคิด คือ การนำหัวข้อที่มีการเลือกสรร มาเรียงลำดับตามความ
เหมาะสม
2.2. การขยายความรู้ ความคิด คือ การขยายความรู้ ความคิดในส่วนหัวข้อใหญ่ให้ละเอียด
ขึ้นด้วยการกำหนดเป็นหัวข้อรองและหัวข้อย่อย
การวางโครงเรื่องอาจทำในรูปหัวข้อคือ เป็นคำวะวลี หรืออาจทำในรูปแบบของประโยค
ก็ได้ แต่ทั้งนี้ควรใช้แบบใดแบบหนึ่งอย่างสม่ำเสมอ
3. การลงมือเขียน เมื่อวางโครงเรื่องเรียบร้อยแล้ว ขั้นต่อไป คือ การลงมือเขียน ซึ่งจะต้อง
เป็นไปตามโครงเรื่องที่วางไว้
3.1 การเขียนคำนำ คำนำ คือ ส่วนที่จะทำให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในงานเขียน เป็นจุดเริ่ม
ต้นที่จะโยงความสัมพันธ์ไปสู่เนื้อหา วิธีการคำนึงมีหลายวิธี ส่วนจะเลือกวิธีใดนั้นควร
พิจารณาให้เข้ากับเรื่องที่จะเขียนเป็นสำคัญ

19
3.2 การเขียนเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง คือ ส่วนที่ผู้เขียนเสนอสาระสำคัญของเรื่อง ซึ่งจะต่อง
แสดงความรู้ ความคิด หลักฐานและข้อเท็จจริงต่างๆ อย่างกว้างขวางและสมบูรณ์ ตรงตาม
หัวข้อเรื่องที่จะเขียน
3.3 การเขียนคำลงท้าย คำลงท้าย คือ ส่วนที่จะทำให้ผู้อ่านเกิดความประทับใจ คำลงท้ายที่ดี
จะต้องสัมพันธ์และสอดคล้องท้ายคำนำละเนื้อเรื่อง
ข้อควรคำนึงในการเขียนเรียงความ
1. ควรเขียนเรียงความด้วยลายมือที่อ่านง่าย สะอาด
2. นอกเหนือจากการเขียนเรียงตาม ควรแสดงความคิดเห็นที่เป็นกลางและสร้างสรรค์
ด้วย
3. การเขียนเรียงความไม่ควรใช้ภาษาระดับสนทนาไม่ควรเขียนในลักษณะบทสนทนา
การเขียนรายงานทางวิชาการ
ความหมายของรายงานทางวิชาการ
รายงานทางวิชาการ คือ ผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวทางวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เป็นการนำข้อเท็จจริงมารวบรวมแล้วเรียบเรียงใหม่ให้เป๋ นระเบียบ
ขั้นตอนการเขียนรายงานทางวิชาการ
การเขียนรายงานทางวิชาการมี 9 ขั้นตอน คือ
1. การเลือกหัวข้อเรื่องและกำหนดชื่อเรื่องของรายงาน
2. การรวบรวมข้อมูล
3. การอ่านเบื้องต้น
4. การวางโครงเรื่อง
5. การอ่านเพื่อจดบันทึก
6. การเรียบเรียงเนื้อหาและเขียนเชิงอรรถ
7. การเขียนบรรณานุกรม
8. การทบทวนและตรวจทายเนื้อหา
9. การทำรูปเล่มรายงาน
การเลือกหัวข้อเรื่องและกำหนดชื่อเรื่องของรายงาน
การเลือกหัวข้อเรื่องและคำถามกำหนดชื่อเรื่องของรายงานควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ ผู้ศึกษาควร
รวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุดและต้องเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือ การรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน

20
1. การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ผู้ศึกษาอาจจะหาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่จะทำรายงานจาก
สารานุกรม
2. การรวบรวมข้อมูลละเอียด ผู้ศึกษาควรหาความรู้จากแหล่งข้อมูลในห้องสมุด โดยค้นข้อมูลจาก
บัตรรายการหนังสือ ฯลฯ
การอ่านเบื้องต้น
เป็นการนำบัตรบันทึกในขั้นตอนที่ 2 ไปค้นหนังสือหรือบทความ ที่ชั้นหนังสือในห้องสมุด แล้ว
นำมาอ่านอย่างคร่าวๆ เพื่อสำรวจเนื้อหาความว่ามีหัวข้อที่ต้องการหรือไม่
การวางโครงเรื่อง
เมื่อผู้ศึกษาเนื้อหาที่ต้องการจากหนังสือ และสิ่งที่พิมพ์ต่างๆ แล้วจะได้แนวคิดที่จัดลำดับเรื่องที่จะ
ศึกษาค้นคว้าโดยเขียนเป็นโครงเรื่องซึ่งมีลักษณะคล้ายสารบัญ
1. โครงเรื่องจะต้องประกอบด้วยชื่อเรื่องของรายงาน หัวข้อใหญ่ทีมีความสำคัญมาก และหัวข้อ
ย่อยลงมาตามลำดับ
2. ชื่อหัวข้อควรสั้น กะทัดรัต ได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาตอนนั้นๆ
3. หัวข้อต่างๆ ต้องเรียงลำดับต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
4. โครงเรื่องต้องเขียนอย่างเป็นระบบ
การอ่านเพื่อจดบันทึก
เมื่ออ่านข้อมูลจากเอกสารต่างๆ แล้วจึงจดบันทึกข้อความที่น่าสนใจ แนวคิด ข้อมูล หรือสถิติต่างๆ
ไว้เพื่อนำไปเรียบเรียงเป็นรายงานต่อไป
สิ่งที่ต้องจดในบันทึก
1. แหล่งข้อมูลหรือแหล่งที่มาของเนื้อหา เขียนไว้บนตอนของบัตร
2. หัวข้อของเนื้อหาที่บันทึกเป็นหัวข้อความโครงเรื่อง เขียนไว้ที่มุมของบัตร
3. หมายเลขบัตร เขียนไว้ที่มุมขวาบนสุดของบัตร
4. เลขหน้าของข้อความที่บันทึก เขียนไว้ที่บัตรบันทึกเพื่อนำไปใช้อ้างอิง
5. รายละเอียดของข้อความ
ส่วนประกอบของรายงาน
รายงานควรมีส่วนประกอบต่างๆ เรียงตามลำดับ ดังนี้
1. หน้าปก ควรใช้กระดาษแข็ง ประกอบด้วยรายละเอียด คือ
- ชื่อรายงาน
- ชื่อและนามสกุล เลขทะเบียนของผู้เขียนรายงาน
21
- ชื่อวิชาที่กำหนดให้ทำรายงาน
- ชื่อคณะที่ผู้เขียนสังกัดอยู่
- ชื่อสถาบันศึกษา
- ปี การศึกษาที่ทำรายงาน
2. ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่า 1 แผ่น
3. หน้าปกใน ประกอบด้วยรายละเอียดเหมือนกับหน้าปก
4. คำนำ คือ ส่วนที่ผู้เขียนรายงานบรรยายถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขตเนื้อหา
5. สารบัญ
6. สารบัญภาพ / ตาราง (ถ้ามี)
7. เนื้อหารายงาน
8. บรรณานุกรม คือ ส่วนรวบรวมรายชื่อหนังสือพิมพ์ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ
9. ภาคผนวก (ถ้ามี)
10. ใบรองปก กระดาษเปล่า 1 แผ่น
11. ปกหลัง เป็นกระดาษแข็ง สีเดียวกับหน้าปก

การเขียนหนังสือราชการ
ความหมายของหนังสือราชการได้แก่
-หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
-หนังสือราชการที่ไปถึงบุคคลภายนอก
-หนังสือที่หน่วยงานอื่นส่งมาถึงราชการ
-เอกสารหลักฐานราชการ
-เอกสารที่ราชการจัดทำตามกฎหมาย

ประเภทของหนังสือราชการ
-หนังสือภายนอก ติดต่อกันแบบเป็นพิธีและใช้กระดาษตราครุฑ
-หนังสือภายใน ใช้ติดต่อกันในกระทรวง,ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
-หนังสือประทับตรา ใช้ประทับตราส่วนราชการ,ใช้กระดาษตราครุฆและใช้ในเรื่องที่ไม่สำคัญมาก

22
-หนังสือสั่งการ ทำขึ้นเพื่อให้ข้าราชการปฏิบัติ,ใช้กระดาษตราครุฆ มี3 แบบ ได้เแก่แบบคำ สั่งแบบ
ระเบียบและแบบข้อบังคับ
-หนังสือประชำสัมพันธ์ แจ้งเรื่องราว,ใช้กรดาษตราครุฆ มี3 แบบ ได้แก่แบบ
ประกาศ,แถลงการณ์,ข่าว
-หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นเองหรือรับไว้เป็นหลักฐาน
-หนังสือรับรอง=รับรองให้บุคคล -รายงานการประชุม=บันทึกความคิดเห็นของผู้ที่มาประชุม
-บันทึก=ข้อความที่ผู้ใต้บังคับบัญชาส่งให้เจ้านาย
หลักทั่วไปในการเขียนหนังสือราชการ
-รอบรู้และเข้าใจเรื่องที่จะเขียน
-ประกอบด้วยเหตุและผล
-การกล่าวอ้างอิงกฎ และกฎหมาย ต้องระบุให้ชัดเจน
-ใช้คำเรียบง่ายกะทัดรัด
-ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
-ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ

การเขียนจดหมายธุรกิจ
ความหมายจดหมายที่ติดต่อระหว่างห้างร้านและบบริษัทหรือห้างร้านและบริษัทกับเอกชนเพื่อติดต่อเกี่ยว
กับธุรกิจต่างๆ
ลักษณะของจดหมายธุรกจิที่ดี
มีความชัดเจน,สมบูรณ์,สุภาพ,สะอาดถูกต้องและกระทัดรัดรวมถึงมีความคำนึงถึงผู้อ่าน

ส่วนประกอบของจดหมายธุรกิจ
-ใช้กระดาษและซองสีเทาอ่อนหรือขาวโดยเขียนแค่หน้ำเดียว
-ที่อยู่ผู้ส่งต้องมีการระบุชื่อบริษัท,กิจกำร เจ้าของจดหมายที่ชัดเจน

23
-เลขที่จดหมาย/ปี พ.ศ. ให้เขียนจดหมายเป็นปี พุทธศักราช โดยเรียงลำดับ เลขของจดหมายที่จัดทำ
ขึ้นในแต่ละปี
-วัน/เดือน/ปี นิยมใช้เลขอารบิคและเขียนเฉพาะวันที่ ชื่อเดือน และเลขพ.ศ.
-มีที่อยู่ผู้รับ
-ชื่อเรื่อง
-คำขึ้นต้นโดยขึ้นต้นด้วยคำว่าเรียน
-เนื้อความ ประกอบด้วยอำรัมภาบท สำระสำคัญและส่วนสุดท้ายเป็นข้อความลงเอย
-คำลงท้าย ใช้คำที่เหมาะสม และลงท้ายด้วย”ขอแสดงความนับถือ”
-ลายเซ็นผู้ส่ง
-ชื่อเต็มผู้ส่ง
-ตำแหน่งที่พิมพ์ไว้ใต้ชื่อ

ประเภทของจดหมาย
1. จดหมายเสนอขาย
2. จดหมายแบบสอบถาม
3. จดหมายสั่งซื้อ
4. จดหมายร้องเรียน
5. จดหมายขอเปิ ดเครดิตและตอบรับเครดิต

24
6. จดหมายตำมหนี้
7. จดหมายแสดงไมตรีจิต
8. จดหมายสมัครงาน

25
บรรณานุกรม

ตวงรัตน์ คูหเจริญและคณะ.(๒๕๔๕). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพ : ดอกหญ้า.

ศศวรรณ รื่นเริง.(๒๕๖๕). สรุปการใช้ภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพ : สำนักงานการศึกษามหาวิทยาลับ


รังสิต.

พระยาอุปกิตศิลปะสาร.(๒๕๔๕). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่11. กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช

You might also like