You are on page 1of 25

ข้อสอบวิชาภาษาไทย

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
โดย คณาจารย์แม็ค

ข้อสอบวิชาภาษาไทย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อความต่อไปนีแ
้ สดงให้เห็นลักษณะของภาษาตามข้อใด (มฐ. ท 4.1
ม.4-6/1)
“คนเหนือใช้คำว่า อู้ คนอีสานใช้คำว่า เว่า คนใต้ใช้คำว่า แหลง ส่วน
คนภาคกลางใช้คำว่า พูด”
1. ภาษามีต่างระดับกัน 2. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
3. ภาษาสะท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ภาษาเป็ นไปตาม
กำหนดของกลุ่มชน
2. คำในข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายเหมือนกันทัง้ หมด (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/1)
1. พุทธ ญาติ ราช 2. เนย เพลีย ใจ

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


2
3. เณร เปล บุญ 4. ช้ำ ขม ธรรม์
3. ข้อใดเป็ นเสียงสระเดี่ยวทุกคำ (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/1)
1. เรือน้อยลอยล่องอยู่ในน้ำ 2. เสียงแตรวงดังอึกทึก
กึกก้อง
3. ยามสนธยาฝูงนกบินกลับรัง 4.ดอกบัวตูมบัวบานช่างน่า
ชม
4. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะกับบุคคล (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/3)
1. ท่านครับ ไม่ร้ใู ครมาหาน่ะ 2. แม่จะใช้อะไรลูกก็ว่ามาเลย
ค่ะ
3. ก้อย เธอจะไปดูหนังกับฉันไหม 4. คุณป้ าครับ ทัง้ หมดนี่
ราคาเท่าไรกันล่ะ
5. ข้อใดไม่ใช่สำนวนภาษาต่างประเทศ (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/4)
1. เขาพบตัวเองในบ้านหลังใหญ่ตามลำพัง
2. ผลการเรียนของน้องเป็ นที่น่าพอใจมาก
3. ผมเสียใจอย่างยิ่งที่ทราบข่าวอุบัติเหตุครัง้ นี ้
4. มันเป็ นการยากที่คนเราจะเห็นข้อบกพร่องของตนเอง
6. แป๋วเสนอให้จำลองวิธีเลือกตัง้ หัวหน้าห้องให้เหมือนกับการเลือกผูแ
้ ทน
แต่เพื่อนๆ ไม่เห็นด้วยแสดงว่าอุปสรรคของการสื่อสารเกิดจากอะไร (มฐ.
ท 3.1 ม.4-6/5)
1. สื่อ 2. ตัวสาร
3. ผู้ส่งสาร 4. ผู้รับสาร

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


3
7. นิด : ยายแก้วนี่แปลกจริงนะ เมื่อวานนีฉ
้ ันพูด
ด้วยดีๆ กลับหันหลังให้ฉันซะอย่างนัน
้ แหละ ฉันว่าจะตามไปถามดู
ว่าเขาอารมณ์เสียอะไรมา
ยุ้ย : มีเพื่อนอย่างเธอนี่ก็ดีนะ พยายามเข้าใจเพื่อน
จากคำพูดของนิดแสดงว่าอุปสรรคของการสื่อสารเกิดจากอะไร (มฐ. ท
3.1 ม.4-6/5)
1. แก้วไม่สนใจเรื่องที่นิดพูด 2. แก้วมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อ
นิด
3. นิดมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อแก้ว 4. นิดอาจพูดเรื่องที่ทำให้
แก้วเข้าใจผิด

8. รับสมัครสมาชิกอาสาโครงการเสริมสร้าง
และปลูกฝั งค่านิยมที่ดีเพื่อสร้างสรรค์ไทย

หลังจากนักเรียนอ่านป้ ายประกาศข้างต้นแล้ว คำพูดในข้อใดแสดงว่า


อุปสรรคในการสื่อสารเกิดจากตัวสาร (มฐ. ท 3.1 ม.4-6/2)
1. ไม่ร้ว
ู ่ามีใครบ้างไปสมัคร
2. เราไปขอรายละเอียดมาศึกษาดูจะดีกว่า
3. ฉันไม่สมัครหรอก ฉันไม่ชอบหัวหน้าโครงการนี ้
4. พวกเราต้องไปสมัคร เพราะจะได้พัฒนาตนเองบ้าง
9. ข้อใดมีอุปสรรคในการสื่อสารที่ทำให้การสื่อสารไม่ประสบความสำเร็จ
มากที่สุด (มฐ. ท 3.1 ม.4-6/1)
1. สุนิสามีอาการเจ็บคอจึงทำให้พูดเสียงเบา
ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1
4
2. ญาดาคุยโทรศัพท์กับภูเบศขณะที่มีเสียงเครื่องตัดหญ้ารบกวน
3. ดร.เจษใช้ไมโครโฟนบรรยายในวิชาภาษาอังกฤษแล้วมีคลื่นรบกวน
เป็ นระยะ
4. นุชจรีกำลังหาเสียงเลือกตัง้ ประธานนักเรียนในขณะที่มีคนร้าย
กำลังจีต
้ ัวประกันหน้าโรงเรียน
10. “ขณะนีต
้ ำรวจกำลัง.........เพื่อหาตัวคนร้ายอยู่” คำในข้อใดเติมลงใน
ช่องว่างได้เหมาะสมที่สุด
(มฐ. ท 4.1 ม.4-6/2)
1. สืบสวน 2. ไต่สวน
3. สอบสวน 4. ตรวจสอบ
11. ข้อใดใช้คำบุพบทได้ถูกต้อง (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/2)
1. ประเทศที่เกี่ยวข้องระหว่างกรณีพพ
ิ าทนีม
้ ีหลายประเทศ

2. โครงการที่เสนอขึน
้ มานีส
้ อดคล้องแก่เจตนาของคณะกรรมการ
3. ผลิตภัณฑ์เหล่านีเ้ ป็ นฝี มือจากผูพ
้ ิการในสถานสงเคราะห์ทั่วประเทศ

4. เด็กคนนีไ้ ม่เพียงแต่พูดจาก้าวร้าว ยังแสดงกิริยาไม่เหมาะสมแม้


กระทั่งต่อครู

12. ข้อใดใช้คำได้ถก
ู ต้องตามความหมาย (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/2)

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


5
1. อย่าจอดรถขัดขวางทางจราจร 2. เธอเป็ นคนกิน
จุกจิกไม่เป็ นเวลา
3. ฉันไปแจ้งเกิดเพื่อขอสูจิบัตรให้ลูก 4. เขาเป็ นคนที่ชอบผัดวัน
ประกันพรุ่ง
13. ประโยคในข้อใดชัดเจนมากที่สุด (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/2)
1. เขาไม่ชอบกินข้าวเย็น 2. คนขนขยะออกจากบ้านแล้ว
3. ทหารได้รับคำสั่งจากรัฐบาลให้หยุดยิง 4. เมื่อกีฉ
้ ันเจอน้าของ
สมชายที่เป็ นตำรวจ
14. ประโยคในข้อใดใช้ภาษากะทัดรัด (มฐ. ท 4.1 ม.4-6/2)
1. เขาใช้จ่ายสุร่ยสุร่ายเกินความจำเป็ น
2. นักข่าวไปทำการสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรี
3. ไม่น่าเชื่อว่าจะมีการทุจริตคดโกงการเลือกตัง้
4. เขาวิ่งชนะเพื่อนร่วมชาติในการแข่งขันครัง้ นี ้
15. ข้อความต่อไปนีผ
้ ู้พูดมีความรู้สึกอย่างไร (มฐ. ท 3.1 ม.4-6/1)
“...แต่ก่อนจะจบก็เห็นจะต้องยืนยันไว้ส่วนหนึ่งว่า ใครก็ตามที่เห็น
ว่าเพื่อนของผมคนนีเ้ ลวสนิทจนไม่มีที่ติ ผมว่าคงไม่ถูกต้องนัก อย่างน้อย
ท่านก็มีความดีอยู่บ้างตรงที่สามารถใช้เป็ นมาตรฐานวัดได้ว่าไอ้ที่เลวที่สุด
นัน
้ มันเป็ นอย่างไร”
1. มองเห็นความดีของเพื่อน 2.ไม่ต้องการให้ใครตำหนิ
เพื่อน
3. เห็นใจเพื่อนอยากปกป้ องเพื่อน 4. กล่าวเสียดสี เห็นว่า
เพื่อนเป็ นคนเลว

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


6
16. “แม้นเจ้าเกิดในสรวงสวรรค์ ข้าขอลง
โลกันต์หม่นไหม้
สูเป็ นไฟเราเป็ นไม้ ให้ทำลายสิน
้ ถึงวิญญาณ”
น้ำเสียงของกวีในคำประพันธ์ข้างต้นคือข้อใด (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. เคียดแค้น 2. ถากถาง
3. เสียดสี 4. เหยียดหยาม
17. “เมื่อแรกเชื่อว่าเนื้อทับทิมแท้ มาแปรเป็ นพลอยหุงไป
ได้
กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ ด้วยไม่ได้ดูหงอนแต่ก่อนมา”
น้ำเสียงของผู้พูดในคำประพันธ์ข้างต้นเป็ นอย่างไร (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. ชื่นชม 2. เยาะเย้ย
3. เหน็บแนม 4. ประชดประชัน

18. “การเผยแพร่ข่าวโดยขาดความระมัดระวัง
หรือแม้แต่คำพูดง่ายๆ เพียงนิดเดียว ก็สามารถจะทำลายงานที่ผู้มีความ
ปรารถนาดีทงั ้ หลายพยายามสร้างไว้ด้วยความยากลำบากเป็ นแรมปี
หากจะแก้ตัวว่าการพูดพล่อยๆ เพียงสองสามคำนีเ้ ป็ นเรื่องเล็ก ไม่น่าจะ
เก็บมาถือเป็ นเป็ นเรื่องใหญ่เลยก็ไม่ถูก เหมือนฟองอากาศนิดเดียว ถ้า
เข้าไปอยู่ในสายเลือดก็จะสามารถปลิดชีวิตคนได้ทงั ้ คน”
ผู้กล่าวข้อความนีม
้ ีเจตนาจะส่งสารแก่ผู้อ่านตามข้อใด (มฐ. ท 1.1 ม.4-
6/2)

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


7
1. ควรเผยแพร่ข่าวให้กระจ่าง 2. ควรเผยแพร่ข่าว
อย่างไตร่ตรอง
3. ควรเผยแพร่ข่าวอย่างเป็ นธรรม 4. ควรเผยแพร่ข่าว
อย่างรวดเร็วฉับไว
19. ข้อใดไม่ใช่จดหมายธุรกิจ (มฐ. ท 2.1 ม.4-6/1)
1. จดหมายเชิญวิทยากร 2.จดหมายทวงหนี ้
3. จดหมายโฆษณาสินค้า 4.จดหมายสมัครงาน
20. ข้อใดเป็ นคำลงท้ายของจดหมายธุรกิจโดยทั่วไป (มฐ. ท 2.1 ม.4-6/1)
1. ด้วยรักและเคารพ 2.ขอแสดงความนับถือ
3. ขอแสดงความเคารพ 4.ด้วยความเคารพอย่างสูง
21. ข้อใดเขียนเนื้อหาของย่อความไม่ถูกต้องตามหลักการย่อความ (มฐ. ท
2.1 ม.4-6/3)
1. ความคิดขึน
้ อยู่กับสติปัญญาของคน และความคิดทำให้เกิด
พฤติกรรมต่างๆ
2. ผู้สูงอายุควรกินอาหารที่ให้พลังงานต่ำ เพราะถ้าใช้กำลังน้อยอาจ
ทำให้ความดันเลือดสูง
3. ลูกแพะตอบลูกเสือไปว่า “โถ...ท่านขา ทำไมท่านจึงมาโกรธ
ข้าพเจ้าโดยปราศจากความผิดเล่า”
4. ผู้เขียนซึ่งเป็ นอาจารย์ได้ยินนักเรียนถามคนขายซาลาเปาว่า มีไส้คีม
ไหม ผู้เขียนจึงบอกนักเรียนว่า ซาลาเปาไส้คีมไม่มี มีแต่ไส้ครีม
22. “พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงก่อกำเนิดกิจการเสือป่ าเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2454 และพระองค์

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


8
เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2468 ดังนัน
้ กิจการเสือป่ าก็สน
ิ้
ไปพร้อมกับพระองค์ด้วย แต่ความทรงจำและประโยชน์ของกองเสือป่ าที่
พระองค์ได้ทรงก่อตัง้ มานัน
้ ยังเป็ นที่ยอมรับกันอยู่ ทางราชการจึงได้จัด
ตัง้ หน่วยงานที่ทำหน้าที่เช่นเดียวกับกองเสือป่ าขึน
้ ใหม่คือกองรักษาดิน
แดน”
ข้อใดย่อความจากเนื้อความข้างต้นได้ถูกต้องที่สุด (มฐ. ท 2.1 ม.4-6/3)

1. กิจการกองเสือป่ ามีกำเนิดมาได้เป็ นเวลาเพียง 14 ปี ก็เสื่อมความ


นิยมไป
2. เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ทาง
ราชการก็ยังคงดำเนินการกองเสือป่ าต่อไป
3. เมื่อกองเสือป่ าซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจัดตัง้
ขึน
้ เสื่อมสูญไป ทางราชการก็จัดกองเสือป่ าขึน
้ ในกองรักษาดินแดน
4. หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต
แล้ว กิจการเสือป่ าก็สูญสิน
้ ไปด้วย ทางราชการได้จัดกองรักษาดิน
แดนขึน
้ แทน
23. คำนำต่อไปนีน
้ ่าจะเป็ นคำนำของเรียงความเรื่องใดมากที่สุด (มฐ. ท
2.1 ม.4-6/2)
“คนไทยเราตัง้ แต่โบราณมีนิสัยเจ้าบทเจ้ากลอน มีความรักความ
ไพเราะของภาษา ถ้าสามารถพูดเป็ นกลอนอะไรได้ก็จะพูดเล่นด้วยกลอน
เสมอ สำนวนภาษาก็เป็ นอีกลักษณะหนึ่งของความไพเราะของภาษาไทย

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


9
ที่บรรพบุรุษไทยได้คิดขึน
้ และถ่ายทอดแก่ร่น
ุ ลูกหลาน กระทั่งพูดติดปาก
เป็ นสำนวนภาษาที่เข้าใจกันโดยทั่วไป”
1. บรรพบุรุษไทย 2. คนเจ้าบทเจ้ากลอน
3. สำนวนไทยให้คณ
ุ ค่า 4. ภาษาไทยอย่าใช้ผิด
24. “ลำธารเป็ นธรรมชาติซึ่งอาจเปรียบเป็ น
ลำธารแห่งชีวิต มนุษย์ก็ละม้ายแม้นกัน คือน้ำในลำธารย่อมไหลไปๆ ไม่
ขาดสายฉันใด เวลาวันแห่งชีวิตมนุษย์ก็ล่วงไปตามอายุขัย มีวัยเด็ก วัย
ผู้ใหญ่ วัยชราฉันนัน
้ วันเวลาที่ล่วงไปแล้วไม่มีใครนำกลับคืนมาได้อีก
เพราะฉะนัน
้ จึงมีค่ามากที่สุด สมกับคำกล่าวที่ว่า เวลาเป็ นเงินเป็ นทอง
และวารีไม่คอยท่า เวลาไม่คอยใคร”
บทสรุปของเรียงความข้างต้นใช้รูปแบบการเขียนอย่างไร (มฐ. ท 2.1
ม.4-6/2)
1. ย้ำใจความสำคัญของเรื่อง 2. ฝากคำถามให้ผู้อ่านคิดต่อ
3. พลิกความคาดหมายของผู้อ่าน 4. ให้แง่คิดบางประการแก่
ผู้อ่าน
25. ชื่อเรื่องของเรียงความในข้อใดมีความน่าสนใจน้อยที่สุด (มฐ. ท 2.1
ม.4-6/2)
1. มลพิษ 2. เพื่อนนัน
้ สำคัญไฉน
3. ความสุขของฉัน 4. เมตตาธรรมค้ำจุนโลก
26. คำประพันธ์ในข้อใดมีสัมผัสพยัญชนะมากที่สุด (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. คณาเนื้อนวลก็ครวญคลอขับ ระริกแคนรับสลับเสียงใส

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


10
2. อิงแอบแนบเนื้อนวลละออง หนุนต่างขอนไม้รองสำราญ
ใจ
3. หยาดน้ำค้างพร่างพรายในสายหมอก ห่มกลีบดอกลั่นทมท้าลม
หนาว
4. วงของน้ำทำประกายกับสายแดด ร้อนจะแผดเผาทรายพริบพราย
พร่าง
27. คำประพันธ์ข้อใดใช้ภาพพจน์ต่างกับข้ออื่น (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. เรไรจักจั่นสนั่นเสียง เพราะเพียงดนตรีปี่ไฉน
2. เหตุไรร้องไห้อยูฮ
่ ักฮัก หรือแคลงรักแหนงใจไม่สนิท
3. เจ้างามเนตรประหนึ่งนัยนาทราย เจ้างามขนงก่งละม้ายคันศรทรง
4. น้ำในธารสะท้อนแพรวดังแววดาว กระพริบพราวเพียงภาพทาบเปลว
ทอง

28. “ลมระเริงลู่หวิวพลิว้ ระลอก สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง” คำ


ประพันธ์นใี ้ ช้ภาพพจน์ชนิดใด
(มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. อุปลักษณ์ 2. อติพจน์
3. บุคคลวัต 4. สัทพจน์
29. ข้อใดให้จินตภาพต่างกับข้ออื่น (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. ออดแอดแอดออดยอดไกว 2. ผะผัวะผะผุบผับปุบปั บ
แปะ

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


11
3. ป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นโท่น 4. กระจ้อยร่อยกระจิหริด
จิดจิ๊ดจิ๋ว
30. คำประพันธ์ในข้อใดใช้ภาษาดีเด่นในด้านการพรรณนาให้เห็นภาพ
ชัดเจน (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. น้ำเซาะหินรินรินหลากไหล ไม่หลับเลยชั่วฟ้ าดินสลาย

2. ดอกไม้ป่าปรุงกลิ่นประทิ่นป่ า อบบุหงามาลัยทั่วไพรกว้าง
3. ขณะดาววาววิบพริบตาถี่ และเดือนที่ยม
ิ ้ ละไมในเวหา
4. เด็ดฝั กหักรากกระชากฉุด เผลาะผลุดรากเลื้อยอะล่อนจ้อน

31. คำประพันธ์ในข้อใดไม่ปรากฏคุณค่าทางสังคมในด้านวัฒนธรรม (มฐ.


ท 5.1 ม.4-6/3)
1. ฝ่ ายสาวสาวเกล้ามวยสวยสะอาด แต่ขยาดอยู่ว่านุ่งผ้าถุง
2. ถึงท่าเรือเรือยัดกันอัดแอ ดูจอแจจอดริมตลิ่งชุม
3. ทัง้ หุ่นโขนโรงใหญ่ช่องระทา มานอนโรงคอยท่าแต่ราตรี

4. ด้วยได้ไปเคารพพระพุทธรูป ทัง้ สถูปบรมธาตุพระศาสนา


32. เหตุผลในข้อใดไม่ได้กล่าวไว้ในบทร้อยกรองเรื่อง “อยู่เพื่ออะไร” (มฐ.
ท 5.1 ม.4-6/1)
1. อยู่เพื่อสร้างฐานะ 2. อยู่เพื่อบุคคลที่รัก
3. อยู่เพื่อช่วยเหลือผู้อ่ น
ื 4. อยู่เพื่อค้นหาสัจธรรมของชีวิต

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


12
33. คำประพันธ์ในข้อใดแสดงถึงการเป็ นผู้มีจิตสาธารณะ (มฐ. ท 5.1 ม.4-
6/1)
1. ฉันอยู่เพื่อดวงใจที่ไร้ญาติ ที่แร้นแค้นแคลนขาดวาสนา
2. ฉันอยู่เพื่อหน้าที่ที่พันผูก เพื่อฝั งปลูกความหวังพลังไข
3. ฉันอยู่เพื่อค้นคว้าหาสัจจะ กลางโมหะอาเกียรณ์เบียฬ
ประหาร
4. ฉันอยู่เพื่อความฝั นอันเพริศแพร้ว เมื่อโลกแผ้วหลุดพ้นคนหลอก
หลอน
34. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องตามบทร้อยกรองเรื่อง “เพื่อความสวัสดีแห่ง
ชีวิต” (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. สิ่งที่เธอควรเพิ่มพูน - บุญกุศล 2. สิ่งที่เธอควรเลิกเมามัว -
การพนัน
3. สิ่งที่เธอควรเทิดทูน - นักปราชญ์ 4. สิ่งที่เธอควรขจัด - ความเห็น
แก่ตัว

35. “สิ่งที่เธอควรมี .............. (ก) ..............


สิ่งที่เธอควรแสวงหา .............. (ข) ..............
สิ่งที่เธอควรคิด .............. (ค) ..............
สิ่งที่เธอควรพยายาม .............. (ง) ..............”
ข้อ (ก) - (ง) ได้แก่อะไรบ้าง (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. (ก) ความซื่อสัตย์ (ข) พุทธธรรม (ค) บุญกุศล (ง) สัมมาชีพ

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


13
2. (ก) พุทธธรรม (ข) สัมมาชีพ (ค) ความดีงาม (ง) การเข้าสังคม
3. (ก) สถาบันกษัตริย์ (ข) นักปราชญ์ (ค) ผู้มีคุณ (ง) การเข้าสังคม
4. (ก) สติปัญญา (ข) กัลยาณมิตร (ค) ความดีงาม (ง) การศึกษา
36. คำประพันธ์ในข้อใดมีคำโทโทษ (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. โฉมแม่หยาดฟ้ าแย้มอยู่ร้อนฤๅเห็น
2. เหียนฤหายหอบแหน้น อกค้างคายคืน
3. หลงว่ากรนุชเกื้อ กวักให้เรียมตาม
4. พักตร์จะผัดผจงเกล้า เยี่ยมแย้มแกลคอย
37. ภาพพจน์ประเภทใดไม่ปรากฏในคำประพันธ์ต่อไปนี ้ (มฐ. ท 5.1 ม.4-
6/3)
“ดูน้ำวิ่งกลิง้ เชี่ยวเป็ นเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัด
ฉวัดเฉวียน
บ้างพลุ่งพลุ่งวุ้งวนเหมือนกงเกวียน ดูเปลี่ยนเปลี่ยน
คว้างคว้างเป็ นหว่างวน”
1. อุปมา 2. อุปลักษณ์
3. สัทพจน์ 4. บุคคลวัต
38. คำประพันธ์ในข้อใดไม่ปรากฏความเชื่อด้านพระพุทธศาสนา (มฐ. ท
5.1 ม.4-6/3)
1. เพรงพรากสัตว์จำผัน พลัดคู่ เขาฤๅ
บุญร่วมบาปจำร้าง นุชร้างเรียมไกล
2. เห็นจากจากแจกก้าน แกมระกำ
ถนัดระกำกรรมจำ จากช้า

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


14
3. มหาชัยชัยฤกษ์น้อง นาฏลง โรงฤๅ
รับร่วมพุทธมนต์สงฆ์ เสกซ้อม
4. สัตวาสุวาวอน วานหน่อยนกเอย
บอกสมรเรียมไห้ให้ ข่าวน้องมาแถลง

39. คำประพันธ์ในข้อใดมีการเล่นคำ (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)


1. คิดไปใจป่ วนปิ ้ ม จักคืน
ใจหนึ่งเกรงราชขืน ข่มคร้าม
2. นกแก้วจับกิ่งแก้ว กอดคอน
กลพี่กอดแก้วนอน แนบเนื้อ
3. จำปาจำเปรียบเนื้อ นางสวรรค์ กูเอย
ศรีสุมาลัยพรรณ พิศแพ้
4. ควิวควิวอกควากคว้าง ลมลอย แลแม่
ถอยแต่ใจจากถอย ทัพช้า
40. คำประพันธ์ในข้อใดแสดงความรักที่มั่นคงของกวี (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. จำใจจากแม่เปลื้อง ปลิดอก อรเอย
 เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้
 สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่
 ภาคพี่ไปหนึง่ ไว้ แนบเนื้อนวลถนอม
2. รอยบุญเราร่วมพ้อง พบกัน
บาปแบ่งสองทำทัน เท่าสร้าง

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


15
เพรงพรากสัตว์จำผัน พลัดคู่ เขาฤๅ
บุญร่วมบาปจำร้าง นุชร้างเรียมไกล
3.ตราบขุนคิริข้น           ขาดสลาย  แลแม่
รักบ่หายตราบหาย        หกฟ้ า
สุริยจันทรขจาย                   จากโลก  ไปฤๅ
ไฟแล่นล้างสี่หล้า               ห่อนล้างอาลัย
4. หลัดหลัดพลัดพรากแก้ว กานดา พี่เอย
ลิ่วแต่ตัวเรียมมา ตกไร้
ขวัญแขวนอยู่ขวัญตา ทุกเมื่อ
เรียมร่ำไข้ฟ้าไข้ แผ่นพร้องรำพัน

คำประพันธ์ต่อไปนีใ้ ช้ตอบคำถามข้อ 41-42


“ฟูมฟั กทะนุถนอม บบำราศนิราไกล
แสนยากเท่าไรไร บคิดยากลำบากกาย
ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลีย
้ งฤรู้วาย
ปกป้ องซึง่ อันตราย จนได้รอดเป็ นกายา”
41. คำประพันธ์ข้างต้นมาจากบทนมัสการอะไร (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. อาจริยคุณ 2. มาตาปิ ตุคุณ
3. พระพุทธคุณ 4. พระธรรมคุณ

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


16
42. แนวคิดสำคัญของคำประพันธ์ข้างต้นตรงกับข้อใด (มฐ. ท 5.1 ม.4-
6/1)
1. บุญคุณของพ่อแม่
2. ความยากลำบากในการเลีย
้ งลูก
3. การดำรงชีวิตด้วยความทุกข์ยาก
4. ความอดทนต่อความทุกข์ยากต่างๆ
คำประพันธ์ต่อไปนีใ้ ช้ตอบคำถามข้อ 43-45
“ยังบทราบก็ได้ทราบ ทัง้ บุญบาปทุกสิ่งอัน
ชีแ
้ จงและแบ่งปั น ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน
จิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน
เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ให้ฉลาดและแหลมคม
ขจัดเขลาบรรเทาโม หะจิตมืดที่งุนงม
กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจ”
43. คำประพันธ์ข้างต้นมาจากบทนมัสการอะไร (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. พระพุทธคุณ 2. พระธรรมคุณ
3. มาตาปิ ตุคณ
ุ 4. อาจริยคุณ
44. คำว่า “แกล้ง” หมายถึงอะไร (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. ตัง้ ใจ 2. เสแสร้ง
3. แหย่ 4. ยั่วยุ

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


17
45. ข้อใดกล่าวถึงบุญคุณของครูอาจารย์ในคำประพันธ์ข้างต้นได้ครบถ้วน
และชัดเจนที่สุด (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. ครูคือผู้สร้างอนาคตของชาติ
2. ครูคือผู้สอนวิชาการและวิชาชีพ
3. ครูคือผู้อบรมคุณธรรมและขัดเกลาปั ญญา
4. ครูคือผู้สอนวิชาศีลธรรม ให้ละความชั่ว ทำความดี
46. “เรื่องนิทานเวตาลแสดงให้เห็นว่า พระวิกรมาทิตย์เป็ นกษัตริย์ที่
มีคุณธรรมสูง แต่ก็มีกิเลสซึ่งทำให้ต้องตกอยู่ในที่ลำบาก เกือบจะ
เอาชนะเวตาลไม่ได้”
คำว่า “กิเลส” ในที่นห
ี ้ มายถึงข้อใด (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. เชื่อมั่นว่าตนมีสติปัญญาดี 2. ไม่เชื่อความคิดเห็นของผู้อ่ น

3. ถือตนว่าเป็ นพระมหากษัตริย์ 4. ไม่อาจระงับความโกรธของ


ตนได้
47. “ศพนัน
้ ลืมตาโพลง ลูกตาสีเขียวเรืองๆ ผมสีน้ำตาล หน้าสีน้ำตาล
ตัวผอมเห็นซี่โครงเป็ นซี่ๆ ห้อยหัวลงมาทำนองค้างคาว แต่เป็ นค้างคาว
ตัวใหญ่ที่สุด เมื่อถูกจับตัวก็เย็นชืดเหนียวๆ เหมือนงู ปรากฏเหมือนหนึ่ง
ว่าไม่มีชีวิต แต่หางซึ่งเหมือนหางแพะนัน
้ กระดิกได้”
ข้อความข้างต้นใช้โวหารชนิดใด (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. พรรณนาโวหาร 2. บรรยายโวหาร
3. สาธกโวหาร 4. เทศนาโวหาร

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


18
48. สัญญาแบ่งนางระหว่างท้าวจันทรเสนและพระราชบุตรใช้สิ่งใดเป็ น
เครื่องตัดสิน (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. อายุ 2. ขนาดของเท้า
3. ความสมัครใจของฝ่ ายหญิง 4. ความสมัครใจของฝ่ ายชาย
49. “(1) ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ไม่ยอมคืนสู่เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงาม
คอยรองรับในขณะที่กลับถึงเรือนนัน
้ (2) แม้เรียกว่าเรือนก็ไม่ใช่อ่ น
ื คือ
คุกซึง่ ไม่มีโซ่เท่านัน
้ เอง (3) พระองค์ย่อมทรงทราบด้วยพระองค์เองว่า
ความสุขแห่งพ่อบ้านซึง่ อยู่โดดเดี่ยวนัน
้ มีไม่ได้ในบ้าน (4) แลมีไม่ได้นอก
บ้านเพราะไม่มีหวังจะได้ความสุขเมื่อกลับมาสู่เรือนแห่งตน”
ข้อความใดใช้โวหารเปรียบเทียบ (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/3)
1. ข้อความ (1) 2. ข้อความ (2)
3. ข้อความ (3) 4. ข้อความ (4)
50. “เมื่อพระองค์ทรงจนปั ญญาถึงเพียงนีแ
้ ล้ว บางทีพระราชบุตรซึ่ง
ทรงปั ญญาเฉลียวฉลาด จะทรงแก้ปัญหาได้บ้างกระมัง” เวลตาลกล่าว
เช่นนีด
้ ้วยมีจุดมุ่งหมายอย่างไร (มฐ. ท 5.1 ม.4-6/1)
1. ประชดประชันท้าววิกรมาทิตย์ 2. เหน็บแนมให้ท้าววิกรมาทิตย์
อับอาย
3. ยั่วยุให้ท้าววิกรมาทิตย์ตอบปั ญหา 4. ตอกย้ำความไร้ปัญญาของ
ท้าววิกรมาทิตย์

เฉลยละเอียดเฉพาะข้อยาก

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


19
3. ตอบข้อ 3
เหตุผล ข้อ 1 มีเสียงสระประสม ได้แก่ เรือ
ข้อ 2 มีเสียงสระประสม ได้แก่ เสียง
ข้อ 4 มีเสียงสระประสม ได้แก่ บัว
5. ตอบข้อ 3
เหตุผล ข้ออื่นๆ ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ สังเกตได้จากคำที่ขีดเส้นใต้
ดังนี ้
ข้อ 1 เขาพบตัวเองในบ้านหลังใหญ่ตามลำพัง
ข้อ 2 ผลการเรียนของน้องเป็ นที่น่าพอใจมาก
ข้อ 4 มันเป็ นการยากที่คนเราจะเห็นข้อบกพร่องของตนเอง
11. ตอบข้อ 4
เหตุผล ข้ออื่นๆ ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี ้
ข้อ 1 ประเทศที่เกี่ยวข้องกับกรณีพิพาทนีม
้ ีหลายประเทศ
ข้อ 2 โครงการที่เสนอขึน
้ มานีส
้ อดคล้องกับเจตนาของคณะ
กรรมการ
ข้อ 3 ผลิตภัณฑ์เหล่านีเ้ ป็ นฝี มือของผูพ
้ ิการในสถานสงเคราะห์ทั่ว
ประเทศ
12. ตอบข้อ 4
เหตุผล ข้ออื่นๆ ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี ้
ข้อ 1 อย่าจอดรถกีดขวางทางจราจร
ข้อ 2 เธอเป็ นคนกินจุบจิบไม่เป็ นเวลา

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


20
ข้อ 3 ฉันไปแจ้งเกิดเพื่อขอสูติบัตรให้ลูก
13. ตอบข้อ 3
เหตุผล ประโยคข้ออื่นๆ มีลักษณะกำกวม
ดังนี ้
ข้อ 1 เขาไม่ชอบกินข้าวเย็นอาจหมายถึง ข้าวที่เย็นแล้ว หรือข้าว
มื้อเย็นก็ได้
ข้อ 2 คนขนขยะออกจากบ้านแล้ว อาจหมายถึง คนที่ทำอาชีพขน
ขยะ หรือคนได้ขนขยะ (กริยา)
ก็ได้
ข้อ 4 เมื่อกีฉ
้ ันเจอน้าของสมชายที่เป็ นตำรวจประโยคนีไ้ ม่ชัดเจน
ว่าใครเป็ นตำรวจ สมชายหรือน้า
ของสมชาย
14. ตอบข้อ 4
เหตุผล ประโยคข้ออื่นๆ ใช้ภาษาฟุ ่มเฟื อย
สามารถแก้ไขให้กะทัดรัดได้โดยตัดคำที่ขีดเส้นใต้ออกไป ดังนี ้
ข้อ 1 เขาใช้จ่ายสุร่ยสุร่ายเกินความจำเป็ น
ข้อ 2 นักข่าวไปทำการสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรี
ข้อ 3 ไม่น่าเชื่อว่าจะมีการทุจริตคดโกงการเลือกตัง้
21. ตอบข้อ 3

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


21
เหตุผล เพราะการย่อความที่ถูกต้อง ผู้ย่อจะต้องเขียนเรียบเรียงโดยใช้
สำนวนภาษาของผู้ย่อเอง ไม่ใช่ยกข้อความเดิมมาโดยไม่ได้แก้ไขสำนวน
ใดๆ ทัง้ สิน
้ ดังเช่นในข้อ 3
26. ตอบข้อ 1
เหตุผล มีสัมผัสพยัญชนะ 4 เสียง ได้แก่ (ค)ณา-เนื้อ-นวล, ครวญ-คลอ-
ขับ, ระ-ริก-รับ, สลับ-เสียง-ใส
ข้อ 2 มีสัมผัสพยัญชนะ 3 เสียง ได้แก่องิ -แอบ, แนบ-เนื้อ-นวล,
รอง-ราญ
ข้อ 3 มีสัมผัสพยัญชนะ 2 เสียง ได้แก่ พร่าง-พราย, ทม-ท้า
ข้อ 4 มีสัมผัสพยัญชนะ 3 เสียง ได้แก่กาย-กับ, แผด-เผา, พริบ-
พราย-พร่าง
27. ตอบข้อ 2
เหตุผล “เหตุไรร้องไห้อยู่ฮักฮักหรือแคลงรักแหนงใจไม่สนิท” ใช้สัทพจน์
คือ การเลียนเสียงธรรมชาติ ซึ่งในที่นค
ี ้ ือเสียงร้องไห้
ข้ออื่นๆ ใช้อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่ง
สังเกตได้จากคำที่ขีดเส้นใต้ ดังนี ้
ข้อ 1 เรไรจักจั่นสนั่นเสียงเพราะเพียงดนตรีปี่ไฉน
ข้อ 2 เจ้างามเนตรประหนึง่ นัยนาทรายเจ้างามขนงก่งละม้ายคันศร
ทรง
ข้อ 4 น้ำในธารสะท้อนแพรวดังแววดาวกระพริบพราวเพียงภาพ
ทาบเปลวทอง
28. ตอบข้อ 3

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


22
เหตุผล “ลมระเริงลู่หวิวพลิว้ ระลอก สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง”
คำที่ขีดเส้นใต้ใช้บุคคลวัต คือ การสมมุติสิ่งต่างๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ ให้มี
กิริยา อาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์
29. ตอบข้อ 4
เหตุผล “กระจ้อยร่อยกระจิหริดจิดจิ๊ดจิ๋ว” ให้
จินตภาพในด้านภาพ ส่วนข้ออื่นๆ ให้จินตภาพในด้านเสียง
31. ตอบข้อ 2
เหตุผล ข้ออื่นๆ ปรากฏคุณค่าทางสังคมในด้าน
วัฒนธรรม สังเกตได้จากคำที่ขีดเส้นใต้ ดังนี ้
ข้อ 1 ฝ่ ายสาวสาวเกล้ามวยสวยสะอาดแต่ขยาดอยู่ว่านุ่งผ้าถุง
ข้อ 3 ทัง้ หุ่นโขนโรงใหญ่ช่องระทา มานอนโรงคอยท่าแต่ราตรี
ข้อ 4 ด้วยได้ไปเคารพพระพุทธรูป ทัง้ สถูปบรมธาตุพระศาสนา
34. ตอบข้อ 3
เหตุผล ที่ถูกต้อง คือ สิ่งที่เธอควรเทิดทูน -
สถาบันกษัตริย์
36. ตอบข้อ 2
เหตุผล คำโทโทษ คือ คำที่ใช้ไม้เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้โทเสียง
เดียวกันในบทนิพนธ์ที่บังคับให้ใช้ไม้โท “เหียนฤหายหอบแหน้นอกค้าง
คายคืน”คำว่า “แหน้น” เป็ นคำโทโทษของคำว่า “แน่น”
37. ตอบข้อ 2
เหตุผล “เป็ น” ในคำประพันธ์นไี ้ ม่ได้มีความหมายเปรียบเทียบ จึงไม่ใช่
อุปลักษณ์

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


23
ข้อ 1 อุปมา เห็นได้จาก เหมือนกงเกวียน
ข้อ 3 สัทพจน์ เห็นได้จาก ฉาดฉัด
ข้อ 4 บุคคลวัต เห็นได้จาก ดูน้ำวิ่ง
38. ตอบข้อ 4
เหตุผล ข้อ 1 ปรากฏความเชื่อเรื่องบุญ-บาป
ข้อ 2 ปรากฏความเชื่อเรื่องกรรม
ข้อ 3 ปรากฏความเชื่อเรื่องฤกษ์ยามและการรับน้ำพระพุทธมนต์
39. ตอบข้อ 2
เหตุผล “นกแก้วจับกิ่งแก้วกอดคอน
กลพี่กอดแก้วนอนแนบเนื้อ”
คำประพันธ์นม
ี ้ ีการเล่นคำว่า “แก้ว” แก้วคำแรก หมายถึง ชื่อนก
ชนิดหนึ่ง ตัวมีสีเขียว แก้วคำที่สอง หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิดหนึง่ ดอกมีสี
ขาว และแก้วคำที่สาม หมายถึง นางผู้เป็ นที่รัก

ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1


24
ข้อสอบวิชาภาษาไทย ม.4 เทอม 1
25

You might also like