You are on page 1of 76

การเขียนเพื่อการสื่ อสาร

การเขียนเพื่อการสื่ อสาร
• ความคิด หรื อสารไม่สามารถถ่ายทอดได้ ถ้า
ไม่มีภาษา
• มนุษย์สามารถสื่ อสารความคิดผ่านทักษะการ
พูด และทักษะการเขียน
• การสื่ อสารความคิ ดจะประสบผลสาเร็ จได้
ต้องมี “ภาษา” เป็ นองค์ประกอบ ภาษาจึงเป็ น
ตัวนาสารไปสู่ ผรู ้ ับ
• การเขียนเพื่อการสื่ อสาร คือ การที่ผูส้ ่ งสารมี
เจตนาถ่ายทอดความคิดไปยังผูร้ ับสาร แล้ว
ต้องการให้ผูร้ ับสารเกิ ดปฏิ กิริยาตอบสนอง
หรื อเกิ ดความเข้าใจใกล้เคียง สอดคล้องกับ
เจตนาของตน
• ทัก ษะการเขี ยนเป็ นส่ ว นส าคัญที่ ท าให้การ
สื่ อสารของมนุษย์มีหลักฐาน
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน
ดังได้กล่าวไปแล้วว่า การสื่ อสารให้ประสบผลสาเร็ จ มี “ภาษา” เป็ นองค์ประกอบ
การสื่ อสาร ผูส้ ่ งมีเจตนาให้ผรู ้ ับมีปฏิกิริยาตอบกลับ หรื อเข้าใจสารตรงตามเจตนาของตน ซึ่ ง
ความต้องการนี้จะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยปั จจัยหลายประการ เช่น
• เนื้อหาของสาร
• วิธีการส่ งสาร
• ภาษาที่เลือกใช้
ภาษาทีเ่ หมาะสมกับผู้รับสาร
รู้ข้อมูลพืน้ ฐานของกลุ่มเป้ าหมาย การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผูร้ ับสาร ผูส้ ่ งสารจะต้อง
รู ้ขอ้ มูลพื้นฐานของกลุ่มเป้ าหมาย เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชี พ เชื้ อชาติ ทัศนคติ เป็ นต้น
ข้อมูลพื้นฐานเหล่านี้ จะเป็ นตัวกาหนดภาษาที่จะเลือกใช่ เช่น ถ้าต้องการสื่ อสารกับกลุ่มวัยรุ่ น ก็
ควรใช้ภ าษาที่ ง่าย อธิ บายชัดเจน ไม่ ย าก ไม่ วิชาการ เพราะหากผูส้ ่ งสารจะใช้ภ าษาตามความ
ต้องการของตน สื่ อสารด้วยภาษาของตนแล้วให้ผูอ้ ื่นพยายามเข้าใจ ภาษาก็อาจเป็ นอุปสรรคของ
การสื่ อสารได้
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
การสื่ อ สารไม่ ว่า ด้ว ยการพู ด หรื อ
การเขี ย น ผู ้ ส่ งต้ อ งใช้ ภ าษาสื่ อความตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้งั ไว้ วัตถุประสงค์จึงเป็ นเสมือน
เข็ม ทิ ศ หรื อ กรอบของการสื่ อ สารแต่ ล ะครั้ ง
และยังส่ งผลไปสู่ การเลื อ กใช้ภ าษา การเลื อ ก “ไม่ ว่าผู้เขียนจะมี
รู ปแบบของงานเขียน การรวบรวมข้อมูล วัตถุประสงค์ อย่ างไร จาเป็ นต้ องมีการ
กลัน่ กรองเนื้อหาสาระ โดยอาศัยความรู้
วัตถุประสงค์ หลักของการสื่ อสาร ความเข้ าใจ ประสบการณ์ ”
• เพื่อให้ขอ้ มูล ข่าวสาร คือ การถ่ายทอดเรื่ องราว เหตุการณ์ต่างๆ ไปยังผูร้ ับสาร
มุ่งชี้แจงข้อเท็จจริ ง สร้างความรู ้ ความเข้าใจ
• เพื่อโน้มน้าวจิตใจ คือ การส่ งสารที่มุ่งให้ผรู ้ ับคล้อยตาม เปลี่ยนความคิด พฤติกรรม
ตามที่ผสู ้ ่ งสารเสนอ
• เพื่อความบันเทิง คือ การส่ งสารที่มุ่งให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และสร้าง
จินตนาการแก่ผรู ้ ับสาร
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
เมื่อจะสร้างสรรค์งานเขียนรู ปแบบใดก็ตาม ต้องมีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ
เขียน เพื่อให้งานเขียนเป็ นงานที่มีคุณค่า ก่อประโยชน์แก่ผอู ้ ่าน
หลักการสร้ างสรรค์ งานเขียน
มีความชั ดเจน ผูเ้ ขียนต้องใช้คาที่มีความหมายชัดเจน ประโยคไม่คลุมเครื อ กากวม
ต้องคิดเสมอว่า ความเข้าใจที่ถูกต้องของผูอ้ ่าน เกิดจากการใช้คา ประโยค สานวนของผูเ้ ขียน
มีความถูกต้ อง ผูเ้ ขียนต้องคานึงถึงไวยากรณ์ หรื อระเบียบการใช้ภาษา เขี ยนคา เรี ยบ
เรี ยงประโยคให้ถูกต้อง และเหมาะสมกาลเทศะ
มี ค วามกระชั บ ผูเ้ ขี ย นต้อ งรู ้ จ ัก เลื อ กใช้ถ้อ ยค า มาเรี ย บเรี ย งประโยคให้ ชัด เจน
สมเหตุสมผล
มีความรับผิดชอบในเนื้อหา หลักการเขียนในหัวข้อนี้ มีความเกี่ยวข้องกับมารยาทการ
เขียน ผูเ้ ขียนต้องเขียนความจริ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างสรรค์งานเขียนเชิ งวิชาการ ต้องมี
เหตุผลรองรับ หรื อมีขอ้ มูลที่น่าเชื่ อถืออ้างอิ งได้ ส่ วนการสร้างสรรค์งานบันเทิงคดี แม้จะเป็ น
เรื่ องแต่ง เรื่ องจากจินตนาการ ผูเ้ ขียนก็ตอ้ งรับผิดชอบในเนื้อหาเช่นเดียวกัน
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
หลักการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
มีความไพเราะในการในการใช้ ภาษา “อ่ านแล้ วอิน” “ฟังแล้ วอิน” “ดูแล้ ว
งานเขียนบางรู ปแบบ เช่น เรื่ องสั้น นวนิยาย กวี- อิน” นักเรียนคิดว่ า อะไรคือ สาเหตุทที่ าให้
นิพนธ์ ร้อยกรอง ผูเ้ ขียนต้องเลือกสรรถ้อยคา ผู้รับสาร พูดประโยคข้ างต้ น
มาใช้เพื่อให้เกิดความไพเราะทั้งด้านเสี ยง และ
ความหมาย สร้างภาพในจินตนาการของผูอ้ ่าน
ทาให้เกิดความซาบซึ้งประทับใจ
มีความเรียบง่ ายในการใช้ ภาษา
อย่างไรก็ตามในงานเขียนเชิงวิชาการ ก็มีลกั ษณะ
การใช้ถอ้ ยคาที่แตกต่างออกไป สาหรับการสร้างสรรค์งานเขียนเชิงวิชาการ ผูเ้ ขียนควรใช้ภาษาที่
เรี ยบง่าย ไม่ฟุ่มเฟื อย เน้นการอธิบายอย่างตรงไปมา สมเหตุสมผล
สิ่ งที่ทาให้ ผู้รับสาร ซึ่งอาจจะเป็ นผู้อ่าน ผู้ฟัง หรื อผู้ดู เกิดอารมณ์ ความรู้ สึกคล้ อยตาม
ไปกับเนื้อหาสาระ หรื อเรี ยกว่ า “อิน” นอกจากความคิด หรื อเนื้อหาแล้ ว ยังรวมถึงกลวิธีการใช้
ภาษาของผู้เขียน
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
การสร้ างสรรค์งานเขี ยน ผูเ้ ขี ยนจาเป็ นต้อ งมี ความรู ้ ความเข้า ใจเกี่ ยวกับการเลื อกสรร
ถ้อยคามาใช้เพื่อการเรี ยบเรี ยง หรื อเรี ยกว่า มีความสามารถในการใช้โวหารเพื่อผลิตงานเขียนของตน
ธรรมชาติของโวหาร
• โวหาร คือ ถ้อยคาที่ผเู ้ ขียนคัดสรรมาแล้วเป็ นอย่างดี สละสลวย เหมาะสม

• โวหารจะช่วยให้งานเขียนมีการขยายความที่ชดั เจน ถ่ายทอดอารมณ์ความรู ้สึกนึกคิด


หรื อจินตนาการของผูเ้ ขียนให้กว้างไกลออกไป
• การใช้โวหารเพื่อผลิตงานเขียน จะต้องเลือกใช้ให้ตรงกับความหมายของข้อความที่
จะเขียน

“การใช้ โวหาร จึงเป็ นการใช้ ภาษาอย่ างมีศิลปะ”


๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ประเภทของโวหาร
โวหารในภาษาไทย มี ๕ ประเภท ได้แก่
• บรรยายโวหาร
• พรรณนาโวหาร
• อุปมาโวหาร
• สาธกโวหาร
• เทศนาโวหาร
ในระดับ ชั้นมัธยมศึ ก ษาปี ที่ ๑ จะให้ค วามรู ้ เ กี่ ย วกับ การเขี ย นบรรยายโวหาร และ
พรรณนาโวหารเป็ นเบื้องต้นก่อน
บรรยายโวหาร คือ การเขียนอธิบาย ที่ชดั เจน มุ่งให้ผอู ้ ่านได้รับความรู ้ ความเข้าใจ ด้วย
ภาษาที่ ผูเ้ ขี ย นเลื อ กใช้ให้มี ค วามกะทัด รั ด เขี ย นให้ต รงเป้ า หมาย อ่ านเข้า ใจง่ าย งานเขี ย นเชิ ง
สร้างสรรค์ที่มกั ใช้บรรยายโวหาร เช่ น การเขี ยนเล่าเรื่ อง เล่าเหตุการณ์ ประสบการณ์ การเขียน
รายงาน ตารา บทความ เป็ นต้น วิธีการเขียนบรรยายโวหาร มีหลักการง่ายๆ ดังนี้
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ประเภทของโวหาร (ต่ อ)
• เขียนเฉพาะสาระสาคัญ
• เขี ยนความจริ ง โดยผูเ้ ขี ยนต้องมี ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ ยวกับเรื่ อ งที่ เขี ยนเป็ น
อย่างดี หากไม่มีความรู ้ในเรื่ องนั้นๆ มาก่อน แต่จาเป็ นต้องเขียนจริ งๆ ก็จะต้อง
ค้นคว้าข้อมูลให้รอบคอบ รอบด้าน จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ไม่ตดั สิ นใจ
อ้างอิงข้อมูลจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งเพียงแหล่งเดียว
• ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย อธิบายเรื่ องยากให้เข้าใจง่ายขึ้น เรี ยบเรี ยงความคิดที่ตอ้ งการ
นาเสนอให้ต่อเนื่อง สัมพันธ์กนั
“ตามถนนหนทาง ท่ าเรื อ และสถานที่สาธารณะในเมืองสิงคโปร์ มีเชลยทหารญี่ปุ่น
ถูกเกณฑ์ ไปทางานโยธาเป็ นกลุ่มๆ ทั่วไปหมด ทุกคนอยู่ในสภาพผู้แพ้ คือ หงอยเหงา เศร้ าซึม
และส่ วนใหญ่ มักจะมีร่างกายซูบผอม ทุกคนไม่ สวมเสื้ อ นุ่งแต่ กางเกงขาสั้ นสี กากี สวมหมวก
ทหาร ที่หน้ าหมวกมีเครื่ องหมายแสดงยศ พ่ อเห็นเชลยเหล่ านั้นทางานตากแดดจนเนื้ อตัวไหม้
เกรียม...”
(ชีวิตทีเ่ ลือกไม่ ได้ : กรุณา กุศลาสัย)
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ประเภทของโวหาร (ต่ อ)
พรรณนาโวหาร คือ การเขียนที่สอดแทรกอารมณ์ ความรู ้สึกของผูเ้ ขียน เพื่อ ให้ผอู ้ ่าน
เกิ ดอารมณ์ความรู ้สึกซาบซึ้ ง ประทับใจ คล้อยตามไปกับผูเ้ ขียน เช่ น การเขี ยนพรรณนาอารมณ์
ความรู ้สึก รัก โลภ โกรธ หลงของมนุ ษย์ โดยผูเ้ ขียนจะเลือกใช้ถอ้ ยคาที่ไพเราะทั้งด้านเสี ยง และ
ความหมาย ซึ่ งความหมายของคาในที่ น้ ี คื อ ทาให้ผูอ้ ่ านเห็ นภาพได้ง่าย วิธีการเขี ยนพรรณนา
โวหาร มีหลักง่ายๆ ดังนี้
• ใช้ถอ้ ยคาที่เลือกสรรเป็ นอย่างดี เพื่อสื่ อความหมาย อารมณ์ความรู ้สึกที่ผเู ้ ขียน
ต้องการนาเสนอ หรื อถ่ายทอด
• เนื้อหา หรื อใจความต้องทาให้ผอู ้ ่านเกิดภาพพจน์ และอารมณ์ความรู ้สึกร่ วมไป
กับผูเ้ ขียน
• ใช้อุปมาโวหาร หรื อการเปรี ยบเทียบประกอบการเขียน เพื่อให้ผอู ้ ่านได้อารมณ์
ความรู ้สึก หรื อเกิดจินตนาการคล้อยตามได้ง่าย ขึ้น เช่น เปรี ยบความรักครั้งแรก
ของวัยหนุ่มสาวกับดอกกุหลาบแรกบานที่สมั ผัสน้ าฝนเป็ นครั้งแรก
๑ การสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ประเภทของโวหาร (ต่ อ)
“อากาศยามเช้ าในสวนของคฤหาสน์ บดินทราช...ดูสดใส ผีเสื้ อแสนสวย กรี ดปี กระยับ
ในสายแดดอ่ อนยามเช้ า จากดอกหนึ่งไปที่ดอกไม้ นานาพันธุ์อีกหลายๆ ดอก สี ของกุหลาบปักกิ่ง...
แดดสดสว่ างจ้ าตัดกับสี เขียวสดของสนามหญ้ า ประกายของน้าค้ างต้ องแดดวาวราวกับ อั ญมณี
เรี่ยรายอยู่บนพืน้ สนาม”
(ซอยเดียวกัน : วาณิช จรุงกิจอนันต์ )
“ฟั ก ให้ น้ องชายนั่ ง หั ว เรื อ ตั ว เองคั ด ท้ ายเรื อ พายไปตามสบาย เลี ย บผ่ าน
พระบรมมหาราชวัง ซึ่งแลเห็นกาแพงขาวผ่ องราวกับสีสังข์ ตัดกับยอดเจดีย์สีทองระยับตา ผ่ านท่ า
ช้ าง ซึ่ งมีช้างมาอาบน้ากันอยู่ใกล้ ท่าจริ งๆ เสี ยด้ วย และเรื อนแพที่เรี ยงรายกันแน่ นอยู่สองฟาก
แม่ น้า”
(รัตนโกสินทร์ : ว. วินิจฉัยกุล)
“ความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับโวหาร หรือการเลือกใช้ ถ้อยคา จาเป็ นอย่ างยิ่งต่ อ การสร้ าง หรื อผลิต
งานเขียนรูปแบบต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ นการเขียนอธิบายเรื่ องต่ างๆ เรี ยงความ บทความ สารคดี”
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน
ย่อหน้า มีความสาคัญต่องานเขียนร้อยแก้วทุกรู ปแบบ เพราะงานเขียนจะต้องประกอบด้วย
ย่อหน้าหลายย่อหน้า เพื่อช่วยเรี ยงลาดับเนื้ อหา ภาษามีความเกี่ยวข้องกับย่อหน้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
เพราะผูเ้ ขียนต้องใช้ภาษาเพื่อสร้างย่อหน้า
ธรรมชาติของย่อหน้ า
• ย่อหน้า คือ ข้อความตอนหนึ่งๆ ที่ประกอบด้วยประโยคหลักหรื อหลายๆ ประโยคที่
มีความสัมพันธ์กนั
• ย่อหน้าหนึ่ งๆ จะมีประโยคใจความสาคัญเพียง 1 ประโยค และมีประโยคขยาย
ใจความสาคัญ
• ประโยคใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้าอาจปรากฏในตอนต้น ตอนกลาง หรื อ
ตอนท้ายของย่อหน้าก็ได้ โดยปกติจะนิยมวางไว้ตอนต้นของย่อหน้า เพราะจะช่วย
จากัดขอบเขตเนื้ อหาของย่อหน้านั้นๆ ตั้งแต่เริ่ มต้นเขียน ว่าจะต้องเขียนเกี่ ยวกับ
อะไร และในบางครั้งก็อาจจะวางประโยคใจความสาคัญไว้ตอนท้ายของย่อหน้าอีก
ครั้ง เพื่อย้าหรื อเน้นเนื้อหา
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ธรรมชาติของย่อหน้ า (ต่ อ)
• การขึ้นย่อหน้าใหม่ในงานเขียน คือ การเริ่ มใจความสาคัญใหม่ ซึ่ งย่อหน้าที่ดีควรมี
ความยาวเหมาะสม สามารถอธิบายความคิดในย่อหน้านั้นๆ ให้กระจ่างได้
• ย่อหน้าช่ วยให้ผูเ้ ขี ยนลาดับความได้ตรงตามจุดประสงค์ ผูอ้ ่ านสามารถติ ดตาม
ความคิดของผูเ้ ขียนได้ถูกต้อง ต่อเนื่อง
• ย่อหน้าช่วยให้เขียนง่าย อ่านง่าย เข้าใจง่าย และได้พกั สายตา
ลักษณะของย่อหน้ าที่ดี
จะต้องมีลกั ษณะสาคัญ 3 ประการ ดังนี้
• มีเอกภาพ
• มีสารัตถภาพ
• มีสมั พันธภาพ
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ลักษณะของย่อหน้ าที่ดี (ต่ อ)
มีเอกภาพ หรื อความเป็ นหนึ่ งในด้านความคิด ทุกประโยคในย่อหน้าต้องกล่าวถึงเรื่ อง
เดียวกัน
“มะพร้ าวเป็ นพืชทีส่ ามารถนาส่ วนต่ างๆ มาใช้ ประโยชน์ ได้ เกือบทัง้ หมด นั บตั้งแต่ ลาต้ น
ใบ และผล กล่ าวคือ ยอดมะพร้ าวนามาใช้ เป็ นอาหาร ลาต้ นใช้ ทาเป็ นสะพานข้ ามท้ องร่ อง ใบไว้ ห่อ
ขนมหรื อประดิษฐ์ เป็ นของเด็กเล่ น ส่ วนทางมะพร้ าวนามาใช้ ทาเป็ นไม้ กวาด ผลนามารั บประทาน
เป็ นผลไม้ หรื อนามาประกอบอาหารคาวหวาน กะลามะพร้ าวนามาประดิษฐ์ ของใช้ ต่างๆ และกาบ
มะพร้ าวสามารถนามาใช้ แทนฟื นสาหรั บหุงต้ มได้ ด้ วยเหตุนี้จึงกล่ าวได้ ว่ามะพร้ าวเป็ นพืชที่ใช้
ประโยชน์ อย่ างแท้ จริง”

นักเรียนคิดว่ า ย่ อหน้ าทีย่ กมาเป็ นตัวอย่ างนี้ ประเด็นความคิดหลักเพียงเรื่ องเดียว คือเรื่องใด


“ประโยชน์ ของมะพร้ าว”
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ลักษณะของย่อหน้ าที่ดี (ต่ อ)
มีสารั ตถภาพ ในย่อหนึ่ งๆ ผูเ้ ขียนจะต้องให้สาระของเรื่ องที่ เขี ยนชัดเจนเพียงพอ การ
เขียนย่อหน้าให้ได้สาระ ผูเ้ ขียนต้องให้รายละเอียดให้กระจ่าง ซึ่ งทาได้โดย
• กาหนดประโยคใจความสาคัญขึ้นมาก่อน
• เขียนขยายความประโยคใจความสาคัญ โดยเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆ ที่ช่วย
สนับสนุนใจความสาคัญให้แจ่มชัดขึ้น
จากตัวอย่างย่อหน้าเรื่ องประโยชน์ของมะพร้าว ประโยคใจความสาคัญ คือ

“มะพร้ าวเป็ นพืชทีส่ ามารถนาส่ วนต่ างๆ มาใช้ ประโยชน์ ได้ เกือบจะทัง้ หมด”
ส่ วนข้อความอื่นๆ เป็ นข้อความที่ให้รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับประโยชน์ของมะพร้าว
ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนประโยคใจความสาคัญของย่อหน้า
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
ลักษณะของย่อหน้ าที่ดี (ต่ อ)
มีสัมพันธภาพ หรื อความสัมพันธ์ของแต่ละประโยคในย่อหน้า ต้องต่อเนื่ อง สัมพันธ์
กัน โดยอาจจะใช้คาเชื่อม หรื อกลุ่มคาเชื่อม เพื่อช่วยแสดงความสัมพันธ์
แนวทางการเขียนย่ อหน้ า
การฝึ กเขียนย่อหน้าให้เกิดความชานาญ สามารถนาไปใช้สร้างสรรค์งานเขียนประเภท
อื่นๆ ได้ โดยผูเ้ ขียนอาจยึดแนวทาง ดังนี้
ผู้เขียนต้ องกาหนดแนวคิด หรื อประเด็นความคิดที่ตอ้ งการนาเสนอ โดยพิ จารณาว่าย่อ
หน้าที่จะเขียนนั้นจะเขียนเกี่ยวกับเรื่ องใด ในแง่ใด เช่น ถ้าจะเขียนเกี่ยวกับพืชของไทยชนิดหนึ่ ง ก็
ต้องพิจารณาว่าพืชที่จะเขียนถึงนั้นคืออะไร และจะเขียนในแง่ไหน เมื่อพิจารณาได้แล้ว จึงสร้าง
ประโยคใจความสาคัญ
สร้ างประโยคใจความสาคัญ คือ สร้างประโยคที่มีเนื้ อหาครอบคลุมเรื่ องทั้งหมดในย่อ
หน้านั้น หรื อเป็ นประโยคที่กล่าวถึงความคิดที่สาคัญที่สุดของย่อหน้านั้น เช่น
๒ ย่อหน้ ากับการสร้ างสรรค์ งานเขียน (ต่ อ)
แนวทางการเขียนย่ อหน้ า (ต่ อ)
ถ้าจะเขียนถึง “กล้วย” ซึ่งเป็ นพืชชนิดหนึ่งของไทย ในแง่ของประโยชน์ ก็อาจจะสร้าง
ประโยคใจความสาคัญว่า “กล้วยเป็ นพืช ที่ สามารถนาส่ ว นต่า งๆ มาใช้ประโยชน์ ไ ด้เกื อบจะ
ทั้งหมด” ซึ่งประโยคนี้เป็ นประโยคที่กล่าวถึงความคิดที่สาคัญที่สุดของย่อหน้า
หาข้ อความสนับสนุน หรื อขยายความประโยคใจความสาคัญ เมื่อผูเ้ ขียนได้ประโยค
ใจความสาคัญแล้ว ต้องหาข้อความอื่นๆ มาสนับสนุ นประโยคใจความสาคัญ เพื่อขยายความให้
ชัดเจน โดยประโยคที่นามาขยายความนั้น จะต้องมีเนื้อหาสาระที่ดีดว้ ย เช่น
ถ้าประโยคใจความสาคัญ คือ“กล้วยเป็ นพืชที่สามารถนาส่ วนต่างๆ มาใช้ประโยชน์ได้
เกือบจะทั้งหมด” ผูเ้ ขียนก็จะต้องหาข้อความต่างๆ ที่จะช่วยสนับสนุ นให้เห็นจริ ง โดยอาจจะให้
รายละเอียดว่า ส่ วนต่างๆ ของกล้วยที่นามาใช้ประโยชน์น้ นั มีอะไรบ้าง และนามาใช้ทาอะไร
ขัดเกลาถ้ อยคา ในย่อหน้าให้สละสลวย ไพเราะ สื่ อความหมายได้ชดั เจน
๓ การเขียนเรียงความ
เรี ยงความ เป็ นงานเขียนร้อยแก้วประเภทหนึ่ ง ที่ผูเ้ ขียนต้องลาดับความคิดอย่าง
เป็ นระบบ มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจน
ธรรมชาติของเรียงความ
• เรี ยงความ เมื่อเป็ นคากริ ยา หมายถึง นาข้อความมาเรี ยบเรี ยงให้เป็ นเรื่ องราวที่
ชัดเจน สละสลวย อ่านเข้าใจแจ่มแจ้ง
• เรี ยงความ เมื่อเป็ นคานาม หมายถึง เรื่ องราวที่ผเู ้ ขียนเรี ยบเรี ยงขึ้น เพื่อให้ผอู ้ ่าน
เข้าใจ ด้วยภาษาที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และมีความสละสลวย
• เรี ย งความแตกต่ างจากความเรี ย ง ตรงที่ มุ่งเสนอแง่ คิ ด ความรู ้ ผ่านรู ปแบบที่
ชัดเจน ใช้ภาษาระดับกึ่งทางการ หรื อทางการ ส่ วนความเรี ยงเป็ นงานเขียนร้อย
แก้วประเภทหนึ่ ง ที่มุ่งเสนอแง่คิด อารมณ์ ความรู ้สึกของผูเ้ ขียน ไม่มีรูปแบบที่
ตายตัว ใช้ภาษาหลายระดับ
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
การเขียนเรี ยงความเรื่ องหนึ่งๆ ผูเ้ ขียนจะแบ่งเนื้อหาออกเป็ น ๓ ส่ วน ทั้งนี้ เพื่อให้ง่ายต่อ
การลาดับเรื่ อง และความเข้าใจของผูอ้ ่าน สามารถแบ่งองค์ประกอบของเรี ยงความโดยยึดจากการ
ลาดับเนื้อหา
องค์ ประกอบของเรียงความ
ส่ วนนา เป็ นเนื้อหาส่ วนแรกของเรี ยงความเรื่ องหนึ่งๆ ซึ่ งมีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้
• หากคิ ด จากเนื้ อ หาของเรี ย งความทั้ง เรื่ อ ง ส่ ว นน าควรมี ค วามยาว ๑๐-๑๕
เปอร์เซ็นต์ หรื อประมาณ ๑ ย่อหน้า
• เนื้อหาส่ วนนี้จะทาให้ผอู ้ ่านทราบว่าเรี ยงความจะกล่าวถึงอะไร เป็ นส่ วนแรกที่จะ
เร้าความสนใจ และพฤติกรรมของผูอ้ ่านให้ติดตามเรื่ องต่อไปจนจบ

• ผูเ้ ขียนจะต้องเลือกใช้ถอ้ ยคา เพื่อเร้าความรู ้สึกสนใจของผูอ้ ่าน และต้องมีความ


สอดคล้องกับชื่อเรื่ อง
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
องค์ ประกอบของเรียงความ (ต่ อ)
ส่ วนเนื้อหา เป็ นเนื้อหาส่ วนกลางของเรี ยงความ ซึ่ งมีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้
• เป็ นส่ วนที่สื่อสารประเด็นหลักของเรื่ องกับผูอ้ ่าน หรื อเป็ นส่ วนที่บรรจุเนื้ อหา
สาระ ความรู ้สึกนึกคิด สิ่ งที่ผเู ้ ขียนต้องการถ่ายทอด
• ส่ วนเนื้ อหา เป็ นองค์ประกอบสาคัญของเรี ยงความ จึงควรมีความยาวอยู่ที่ ๗๐-
๘๐ เปอร์เซ็นต์
ส่ วนสรุป เป็ นเนื้อหาส่ วนสุ ดท้ายที่จะช่วยเน้นย้าวัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียนเรี ยงความ ซึ่ งมี
ลักษณะเฉพาะ ดังนี้
• เป็ นส่ วนที่ใช้เพื่อการปิ ดเรื่ อง หรื อจบเรี ยงความ
• ผูเ้ ขียนต้องทาให้ผอู ้ ่านเกิดความกระจ่าง นอกจากความกระจ่าง คือ ได้รับแง่คิด
ข้อคิด
• มีความยาวประมาณ ๑๐-๑๕ เปอร์เซ็นต์ ประมาณ ๑ ย่อหน้า เช่นเดียวกับส่ วนคานา
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
การเรียบเรียงส่ วนต่ างๆ ของเรียงความ
วิธีการเขียนส่ วนคานา ของเรี ยงความ ทาได้หลายวิธี เช่น
• นาด้วยการตั้งคาถาม
• การยกพระบรมราโชวาทที่สอดคล้องกับเรื่ องที่จะนาเสนอ
• การอ้างถึ งวาทกรรม หรื อคาคมต่างๆ รวมถึ ง สานวน สุ ภาษิ ต คาพังเพยที่ มีความ
เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับประเด็นความคิดของเรี ยงความ
วิธีการเขียนส่ วนเนื้อหา ของเรี ยงความ ทาได้หลายวิธี เช่น
• ผูเ้ ขียนต้องพิจารณาว่าเรี ยงความเรื่ องที่จะเขียน ควรลาดับความอย่างไร เช่น ลาดับ
ความตามเวลา เหตุการณ์ก่อน-หลัง โดยจะตัดสิ นใจเลือกใช้แบบใด ขึ้นอยูก่ บั เนื้อหา
• ควรมียอ่ หน้ามากกว่า ๑ เพื่อช่วยลาดับประเด็น ขึ้นย่อหน้าใหม่ เมื่อกล่าวถึงประเด็น
ใหม่
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
การเรียบเรียงส่ วนต่ างๆ ของเรียงความ (ต่ อ)
วิธีการเขียนส่ วนเนื้อหา (ต่อ)
• แต่ละย่อหน้าในส่ วนเนื้อหา จะต้องสื่ อความชัดเจน ไม่กระจัดกระจาย โดยอาจเขียน
ย่อหน้าเล็กๆ ขึ้นมา เพื่อใช้เชื่อมโยงระหว่างประเด็นใหม่แต่ละประเด็น
• ภายในย่อหน้าที่เขียนขึ้น แต่ละประโยคจะต้องมีความสัมพันธ์ เป็ นเหตุเป็ นผล และ
น่าเชื่อถือ
• แม้ว่าในส่ วนเนื้ อหาจะมียอ่ หน้ามากกว่า ๑ แต่ยอ่ หน้าเหล่านั้นจะต้องเชื่อมโยง มุ่งสู่
วัตถุประสงค์เดียวกัน
• การขยายความ หรื อให้รายละเอียดแต่ละประเด็น จะต้องชัดเจน ปรากฏทั้งส่ วนที่
ต้องการเน้น ส่ วนขยาย และส่ วนเสริ ม
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
การเรียบเรียงส่ วนต่ างๆ ของเรียงความ (ต่ อ)
วิธีการเขียนส่ วนสรุป ของเรี ยงความ มีดงั นี้
• ไม่ควรขึ้นต้นย่อหน้าว่า “สรุ ป” “สรุ ปแล้ว” “สรุ ปได้วา่ ” หรื อคาอื่นๆ ที่มีความหมาย
เดียวกัน เพราะจะทาให้เรี ยงความขาดความต่อเนื่อง
• การเขียนสรุ ปในเรี ยงความ ควรสรุ ปด้วยคาสั่งสอน บอกให้ทา หรื อเลิกทาบางสิ่ ง
บางอย่างที่ไม่ดีงาม หรื อไม่ถูกต้อง สรุ ปด้วยการกล่าวอ้างบทร้อยกรอง คาคม วาท
กรรม ที่ช่วยเน้นย้าประเด็นความคิดหลัก
การเขียนเรียงความให้ ประสบผลสาเร็จ ทั้งในแง่ของ
เนื้อหา คือ ผูเ้ ขียนสามารถเลือกกลุ่มเป้ าหมายหรื อผูร้ ับสารได้เหมาะสม และผูร้ ับสาร
คล้อยตาม เห็นด้วย มีปฏิกิริยาตอบกลับในแง่บวกกับสิ่ งที่ผเู ้ ขียนนาเสนอ
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
การเขียนเรียงความให้ ประสบผลสาเร็จ (ต่อ)
ภาษา คือ ผูเ้ ขียนเรี ยบเรี ยงภาษาได้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนทางไวยากรณ์ เหมาะสม
กับบุคคล กาลเทศะ และมีความสละสลวย ไพเราะ งดงาม สื่ อความได้ชดั เจน ลึกซึ้ง และกว้างไกล
รูปแบบ คือ ผูเ้ ขียนลาดับเนื้อหาได้ถูกต้องตามองค์ประกอบของเรี ยงความ ได้แก่ ส่ วนนา
เนื้อเรื่ อง สรุ ป และเลือกใช้วธิ ีการเขียนได้เหมาะสมกับเนื้อหา

จากเป้าหมายดังกล่าว ก่อนเขียนเรี ยงความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ผเู ้ ขียนต้องสารวจว่าตนเองมีความรู ้


ในเรื่ องเหล่านี้ ดีเพียงพอหรื อไม่

• การใช้ โวหารประกอบการเขียน
• การเขียนย่ อหน้ า
• การสร้ างสรรค์ องค์ ประกอบส่ วนต่ างๆ ของเรียงความ
• ความคิด หรื อเรื่ องทีจ่ ะเขียน
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ
เมื่อแน่ใจเช่นนั้น ก็ให้เริ่ มต้นลงมือฝึ กฝนได้ เบื้องต้น ผูเ้ ขียนควรนาเรื่ องใกล้ตวั มาเขียน
เช่น ครอบครัวของฉัน พระคุณแม่ ความสามัคคี ความฝันของฉัน เป็ นต้น โดยยึดแนวทาง ดังนี้
เขี ย นแนวคิ ด ให้ ก ระจ่ า ง ไม่ ว่ า จะเขี ย นเรื่ อ งใดก็ ต าม รวมถึ ง การเขี ย นเรี ย งความ
“ความคิด” เป็ นสิ่ งสาคัญ การคิดที่ประสบผลสาเร็จ ควรมีลกั ษณะ ดังนี้
• คิดตรงจุด ไม่เพ้อฝัน หรื อฟุ้งซ่ าน คิดถึงจุดประสงค์ที่สาคัญเพียงจุดเดียว เพราะจะ
ช่วยจากัดขอบเขตของเนื้อหาเมื่อต้องเขียนเรี ยงความ
• คิดในสิ่ งที่รู้ ซึ่ งความรู ้น้ นั อาจได้มาจากการอ่าน การฟั ง การดู การซักถาม การลงมือ
ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง (ประสบการณ์ตรง)
• คิดในสิ่ งที่เป็ นไปได้ ความคิ ดที่ดี และเป็ นประโยชน์ตอ้ งอยู่บนข้อเท็จจริ ง และจะ
เชื่อมโยงกับสิ่ งอื่นได้
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ (ต่ อ)
เขียนแนวคิดให้ กระจ่ าง (ต่อ)
• คิดในสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ ความคิดอยูใ่ นงานเขียน ซึ่งงานเขียนจะนาพาสารไปสู่ ผอู ้ ่าน
สารที่เป็ นประโยชน์ยอ่ ส่ งผลดีต่อสังคมโดยรวม
วางโครงเรื่ องไว้ เป็ นกรอบ โครงเรื่ อง คือ เค้าโครงของเรี ยงความ งานเขียนทุกรู ปแบบ
จาเป็ นต้องมีโครงเรื่ องขึ้นมา เพื่อจัดลาดับความคิด ขอบเขตของเนื้อหา ตรวจสอบความครบถ้วน
ของประเด็นที่ตอ้ งการนาเสนอ วิธีการวางโครงเรื่ อง มีดงั นี้
• รวบรวมประเด็นความคิด ตั้งประเด็นความคิ ดหลักไว้ตรงกลาง แล้วแตกประเด็น
ความคิดรองให้ได้มากที่สุด
• เลือกและจัดหมวดหมู่ความคิด ต่างๆ ที่ได้รวบรวมไว้ในช่วงแรก บางประเด็นอาจไม่
มีความเกี่ยวข้อง หรื อเกี่ ยวข้องน้อย ผูเ้ ขียนจะต้องตัดประเด็นที่ไม่มีความเกี่ ยวข้อง
ออกไป เลื อกเฉพาะประเด็นที่ เ กี่ ย วข้อ ง นามาจัดหมวดหมู่ มี หลักว่า “ความคิ ดที่
ใกล้เคียงกันอยูใ่ นหมวดเดียวกัน” โดยใช้ลาดับหัวข้อย่อยเพื่อจัดหมวด
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ (ต่ อ)
วางโครงเรื่องไว้ เป็ นกรอบ/ วิธีการวางโครงเรื่ องของงานเขียน (ต่ อ)
• จัดลาดับความคิด เมื่อได้หมวดหมู่ความคิดที่มีประเด็นหลัก ประเด็นรองแล้ว ผูเ้ ขียน
ต้องนาหมวดหมู่ความคิดมาลาดับว่าจะนาเสนออะไรก่อน-หลัง โดยสามารถทาได้
หลายวิธี ดังนี้
- การจัดลาดับตามเหตุผล เป็ นการเขียนโดยใช้หลักเหตุผล เขียนบรรยายเพื่ อให้
ผูอ้ ่านเข้าใจว่า เพราะสิ่ งนี้มีสิ่งนั้นจึงเกิด
- การจัดลาดับตามความสาคัญ เป็ นการเขียนโดยผูเ้ ขียนชัง่ น้ าหนักว่า ประเด็น
ความคิ ด ใด ส าคั ญ ที่ สุ ด ประเด็ น ใดควรมาก่ อ น โดยการจัด ล าดั บ ตาม
ความสาคัญ ควรคานึงถึงการสร้างความเข้าใจให้แก่ผอู ้ ่าน
- การจัดลาดับตามเหตุการณ์ เป็ นการเขียนบรรยายเพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจได้ง่าย ได้
ความชัดเจนว่าเหตุการณ์ได้เกิดขึ้น ตามลาดับก่อน หลัง ไม่ยอ้ นกลับไปกลับมา
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ (ต่ อ)
วางโครงเรื่องไว้ เป็ นกรอบ /วิธีการวางโครงเรื่ องงานเขียน (ต่อ)
• ขยายความคิด เมื่อผูเ้ ขียนจัดลาดับความคิดได้แล้วว่า จะลาดับเนื้ อหาอย่างไร ผูเ้ ขียน
ควรเขียนขยายความคิดในแต่ละประเด็นให้ชดั เจนขึ้นพอสังเขป ทั้งนี้ เพื่อให้ตนเอง
มองเห็นขอบข่ายของเนื้อหา สะดวกต่อการค้นคว้าข้อมูล และการเขียนเรี ยบเรี ยง
รอบคอบในข้ อมูล การเขี ยนเรี ยงความในเรื่ อง หรื อหัวข้อที่ ตนเองไม่มีความรู ้ ความ
เชี่ยวชาญ ผูเ้ ขียนต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอย่างหลากหลาย และจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ
ต้องไม่ตดั สิ นใจเชื่อมูลจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งเพียงแหล่งเดียว
เพิ่มพู นเนื้ อ หา หรื อ การลงมื อ เขี ย นเนื้ อ หา เป็ นขั้น ตอนที่ ต้อ งท าอย่างสมาธิ โดยมี ข ้อ ควร
คานึงถึง ดังนี้
• ผูเ้ ขียนต้องเริ่ มเขียนเนื้อหาตามโครงเรื่ องที่วางไว้ พร้อมด้วยรายละเอียดขยายความ
• ใช้ถอ้ ยคาที่เหมาะสม เว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ (ต่ อ)
วางโครงเรื่องไว้ เป็ นกรอบ /วิธีการวางโครงเรื่ องงานเขียน/เพิ่มพูนเนื้อหา (ต่อ)
• ถ้ามีวตั ถุประสงค์ในการเขียนเพื่อให้ความรู ้ ผูเ้ ขียนควรเขียนในลักษณะอธิบาย
• ถ้าเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับนามธรรม ควรเขียนในลักษณะอธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ
• ถ้าเป็ นเรี ยงความเล่าเรื่ อง เหตุ การณ์ ต่างๆ ควรเขี ยนในลักษณะบรรยาย พรรณนา
ขยายความสิ่ งต่างๆ ให้ละเอียดชัดเจน
• ในการเรี ยบเรี ยงเนื้อหาต้องใช้ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับย่อหน้า มาช่วยลาดับความ
• การเขียนประโยคควรเป็ นประโยคสั้นๆ สื่ อความหมายชัดเจน เข้าใจง่าย
• ผูเ้ ขียนไม่ควรใช้คาศัพท์ยาก การฝึ กเขียนเรี ยงความในระยะเริ่ มต้น ควรใช้คาศัพท์ที่
เรี ยบง่าย แต่เหมาะสมทั้งเสี ยงและความหมาย และไม่ใช้คาซ้ าๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควร
เปลี่ยนใช้คาอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เพื่อไม่ให้ซ้ าซาก
๓ การเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ทาอย่างไร ? เมื่อต้ องเขียนเรียงความ (ต่ อ)
ตรวจตราความเรี ยบร้ อย เพื่อหาข้อบกพร่ องของเรี ยงความ เมื่อเขียนเสร็ จ ผูเ้ ขียนควร
อ่านทบทวนอีกครั้ง ประเด็นที่ตอ้ งพิจารณา ได้แก่
รู ปแบบ ความคิด กลวิธีการนาเสนอ ภาษา
จุดใดบกพร่ องให้ทาเครื่ องหมายไว้ แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง หรื ออาจเขี ยนทิ้งไว้ระยะหนึ่ ง แล้ว
กลับมาเพื่อแก้ไข ถ้ามีโอกาสควรให้ผอู ้ ื่นอ่านแล้ววิจารณ์ เพื่อนาคาแนะนาทีไ่ ด้รับไปปรับปรุ งแก้ไข
การเขียนเรี ยงความ ก็เป็ นเช่นเดียวกับการเขียนรู ปแบบอื่น ที่ผเู ้ ขียนจะต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับ ลักษณะเฉพาะ กลวิธีการเขียนเรี ยบเรี ยง และฝึ กฝนอย่างสม่าเสมอ โดยมีข้ นั ตอนเหล่านี้
เป็ นแนวทาง
เขียนแนวคิดให้ กระจ่ าง วางโครงเรื่ องไว้ เป็ นกรอบ
รอบคอบในข้ อมูล เพิม่ พูนเนื้อหา
ตรวจตราความเรียบร้ อย
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ
การเขียนที่ประสบผลสาเร็ จ ทาให้ผอู ้ ่านเข้าถึงอรรถรส รับรู ้ เข้าใจวัตถุประสงค์ของ
ผูเ้ ขียนได้น้ นั จาเป็ นต้องศึกษาวิธีการเขียน เพราะการเขียนแต่ละรู ปแบบ มีวิธีการแตกต่างกัน
ขึ้ นอยู่กบั เจตนาของผูเ้ ขี ย นว่า จะเสนอเรื่ อ งใด อย่า งไร ค านึ งถึ ง การใช้ภ าษาสื่ อ ความให้
ถูกต้อง เหมาะสม ซึ่ งความรู ้ ความเข้าใจอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอ ต้องฝึ กฝนอย่างสม่าเสมอ
เพื่อให้เกิดความชานาญ
การเขียนแนะนาตนเอง
ธรรมชาติของการเขียนแนะนาตนเอง คือ การเขียนที่ผเู ้ ขียนมีวตั ถุประสงค์เพื่ออธิบาย
ชี้แจง หรื อสร้างความกระจ่างในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งให้แก่ผอู ้ ่าน หรื อผูร้ ับสาร โดยสิ่ งที่ผเู ้ ขียนจะแนะนา
นั้นเป็ นได้ท้งั
• สิ่ งที่เป็ นรู ปธรรม เช่น การแนะนาบุคคล สิ่ งมีชีวิต อาคารสถานที่ สิ่ งของ เป็ นต้นว่า
การเขียนแนะนารายชื่อ หรื อชีวประวัติของแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ การเขียน
แนะนาพัน ธุ์ป ลาสวยงาม การเขี ย นแนะนาพระที่ นั่ง วิม านเมฆ การเขี ย นแนะน า
หนังสื อน่าอ่าน เป็ นต้น
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)

การเขียนแนะนาตนเอง (ต่ อ)
• สิ่ งที่เป็ นนามธรรม เช่น การแนะนาวิธีการ เทคนิ ค หรื อแนวความคิดต่างๆ เป็ นต้นว่า
การเขียนแนะนาวิธีประหยัดค่าใช้จ่ายประจาวัน การเขียนแนะนาวิธีการชาระจิตใจให้
บริ สุทธิ์ดว้ ยพระธรรม เป็ นต้น
โอกาสของการแนะนาตนเอง เกิดขึ้นเมื่อต้องเข้าไปเป็ นสมาชิ กใหม่ในกลุ่มสังคมต่างๆ
เช่น เข้าเรี ยนที่โรงเรี ยนใหม่ เข้าทางานเป็ นวันแรก ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องแนะนาตนเองให้
เป็ นที่รู้จกั แก่กลุ่มสังคมนั้น ซึ่ งอาจเป็ นการแนะนาเฉพาะตัว หรื อเป็ นหมู่คณะ เกิ ดขึ้นได้ท้ งั ใน
โอกาสที่เป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ
“การเขียนแนะนาตนเอง มีความเกีย่ วข้ องกับการพูดแนะนา
ตนเอง ในมิติทวี่ ่ า การเขียนจะถูกใช้ เป็ นร่ างเนื้อหาของการพูดแนะนา
ตนเอง ”
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)

การเขียนแนะนาตนเอง (ต่ อ)
ข้ อมูลเพือ่ การแนะนาตนเอง การเขียนและพูดแนะนาตนเอง หากเนื้อหาสั้นเกินไป การ
สื่ อสารก็จะขาดความน่ าสนใจ แต่ถา้ แนะนาตนเองยาวเกินไป หรื อด้วยรายละเอียดที่ไม่จาเป็ น ก็
อาจทาให้ผูร้ ับสารเกิ ดความเบื่ อหน่ าย ดังนั้น ข้อมู ลที่ ตอ้ งบอกเมื่ อแนะนาตนเอง คื อ ชื่ อและ
นามสกุล ส่ วนข้อมูลอื่นๆ อาจเลือกแนะนาตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กบั ผูฟ้ ั ง สถานการณ์ และ
โอกาส
• ชื่อเล่น/สมญานาม • ความถนัด/ความสนใจ
• ครอบครัว • งานอดิเรก
• ภูมิลาเนาเดิม/ที่อยูป่ ัจจุบนั • อุปนิสยั ส่ วนตัว
• การศึกษา • ความสามารถเฉพาะตัว

• หน้าที่การงาน
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)

การเขียนแนะนาตนเอง (ต่ อ)
แนวทางเพื่อการแนะนาตนเอง การเขี ยนหรื อพูดแนะนาตนเอง เป็ นสิ่ งสาคัญในการ
สร้างความประทับใจให้แก่กลุ่มบุคคลที่รู้จกั ผูส้ ื่ อสารเป็ นครั้งแรก ขั้นตอนการแนะนาตนเอง สรุ ป
ได้ ดังนี้
• กล่าวคาทักทายอย่างสุ ภาพ เหมาะสมกับผูฟ้ ัง
• กล่าวแสดงความยินดีที่มีโอกาสได้แนะนาตน
• นาเรื่ องราวเกี่ยวกับตนเองที่น่าสนใจมาสื่ อสาร โดยคานึ งถึงภาพลักษณ์ของตนเอง
ในสายตาของผูฟ้ ัง
• แนะนาชื่อ-นามสกุล และเลือกข้อมูลอื่นๆ มาแนะนาตามความเหมาะสม
• แสดงความรู ้สึกในเชิ งสร้างสรรค์ที่มีต่อการแนะนาตนเอง รวมถึ งความคาดหวัง
มิตรภาพที่ยงั่ ยืน
• กล่าวคา “ขอบคุณ” หรื อ “สวัสดี”
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)

การเขียนแนะนาตนเอง / แนวทางเพือ่ การแนะนาตนเอง (ต่ อ)


เรียนท่ านอาจารย์ และสวัสดีเพือ่ นๆ ทุกคนนะคะ
ดิฉัน ชื่ อ กรกฏ นามสกุล บุญรั กษา รู้ สึกยินดีเป็ นอย่ างยิ่งค่ ะที่ได้ มีโอกาสเป็ นลูกศิษย์
ของอาจารย์ และเรียนร่ วมห้ องกับเพือ่ นๆ ทุกคน อาจารย์ และเพือ่ น ๆ อาจเรี ยกดิฉันว่ า กฎก็ได้ นะ
คะ แต่ กฎในที่นี้ไม่ ใช่ กฎหมาย หรื อปลากดนะคะ กฎ มาจากชื่ อเต็ม กรกฏ ที่คุณพ่ อ คุณแม่ ตั้ง
ให้ เพราะว่ าดิฉันเกิดเดือนกรกฎาคมน่ ะค่ ะ ดิฉันจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรี ยนอักษร
เจริ ญวิทย์ จังหวัดลพบุรี คุณพ่ อและคุณแม่ เป็ นข้ าราชการสั งกัดกระทรวงมหาดไทย ย้ ายมา
ประจาทีก่ รุงเทพฯ ดิฉันจึงมีโอกาสได้ มาเรี ยนที่นี่ และพบกับทุกๆ คน ไว้ มีโอกาสเราคงได้ พูดคุย
ทาความรู้จักกันมากขึน้ นะคะ ยินดีทไี่ ด้ ร้ ูจักอีกครั้ งค่ ะ สวัสดีค่ะ
การเขียนแนะนาตนเอง จะเป็ นพื้นฐานไปสู่ การเขียนแนะนาตนเองในรู ปแบบที่สูงขึ้น คือ การ
เขียนอัตชีวประวัติ และสามารถพัฒนาไปสู่ การเขียนแนะนาผูอ้ ื่นให้เป็ นที่รู้จกั ของสังคมได้ เรี ยกว่า
การเขียนชีวประวัติ ซึ่งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้ในระดับชั้นต่อไป
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนแนะนาสถานที่
ธรรมชาติของการเขียน
แนะนาสถานที่ คื อ รู ปแบบหนึ่ งของการ
เขี ย นเล่า เรื่ องจากประสบการณ์ ตามความ
เป็ นจริ ง โดยประสบการณ์ น้ ัน เกิ ด ขึ้ น กับ “พระปรางค์ วดั อรุ ณราชวรารามฯ มี
ผูเ้ ขี ยน หรื อได้รับการบอกเล่ามาจากผูอ้ ื่ น ข้ อมูลแวดล้ อมใดบ้ างทีน่ ่ าสนใจ
ซึ่ งผูเ้ ขียนจะสอดแทรกความคิด ข้อสังเกต เกีย่ วกับสถานทีแ่ ห่ งนี”้
ต่างๆ ของตนไว้
ข้ อมูลเพือ่ การแนะนาสถานที่ ผูเ้ ขียนเป็ นเหมือนผูน้ าทาง พาผูอ้ ่านท่องเที่ยวไปยังสถานที่
นั้นๆ ผ่านถ้อยคา ภาษาที่เลือกใช้โดยคานึงถึงความถูกต้อง เหมาะสม และอรรถรสที่ผอู ้ ่านจะได้รับ
ผูเ้ ขียนควรให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานที่ ที่เขียนถึงให้ครบทุกมิติ เช่น
• ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)

การเขียนแนะนาสถานที่ / ข้ อมูลเพือ่ การแนะนาสถาน (ต่ อ)


• ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์
• ข้อมูลด้านประวัติศาสตร์
• ข้อมูลด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวติ
• ข้อมูลด้านภาษา การแต่งกาย อาหารการกิน
• ข้อมูลด้านการเดินทาง แหล่งอาหาร ที่พกั ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และการเตรี ยม
ความพร้อมสาหรับการเดินทาง
การเขียนแนะนาสถานที่เป็ นการเขียนบรรยายประสบการณ์ ประเภทหนึ่ง ข้อมูลที่ควรให้ผอู ้ ่าน
ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริ งต่างๆ ข้างต้น และอาจสอดแทรกข้อคิ ดเห็ น หรื อความรู ้สึก
ส่ วนตัวของผูเ้ ขียนไว้บา้ ง
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนแนะนาสถานที่ (ต่ อ)
แนวทางเพือ่ การแนะนาสถานที่ การเขียนแนะนาสถานที่ เพื่อให้ผอู ้ ่านเกิดอรรถรส ความ
ประทับใจ หรื อเกิดความรู ้สึกกระหายใคร่ รู้ ความต้องการที่จะเดินทางไปยังสถานที่ที่ผเู ้ ขียนบอก
เล่าด้วยตนเอง ขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายประการ เป็ นต้นว่า
• การกาหนดขอบข่าย วัตถุประสงค์ หรื อประเด็นที่จะเขียน
- เนื้อหาของการเขียนแนะนาสถานที่ไม่ควรมีความยาวจนเกินไป
เพราะอาจทาให้ผอู ้ ่านเกิดความเบื่อ
- ต้องให้ขอ้ มูลรอบด้านอย่างเพียงพอ ในขอบข่ายที่วา่ “ข้อมูลต้องทาให้ผอู ้ ่านรู ้จกั
สถานที่น้ นั ๆ ในทุกแง่มุม”
แต่ขอ้ มูลในบางประเด็นก็อาจมีเนื้ อหาสาระมากกว่าประเด็นอื่นๆ ได้ ทั้งนี้ ข้ ึนอยู่
กับเจตนาของผูเ้ ขียน
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนแนะนาสถานที่/ แนวทางเพื่อการแนะนาสถานที่ (ต่ อ)
• การเลือกสถานที่ ควรเลือกสถานที่ที่น่าสนใจ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ต้ งั ต้นของ
ผูเ้ ขียน และกลุ่มเป้ าหมายที่ตอ้ งการสื่ อสาร เช่ น ถ้าต้องการเขี ยนแนะนาสถานที่
ท่ อ งเที่ ย วให้แก่ ชนชั้นกลางในเมื อ ง ที่ มีว นั หยุดสั้นๆ เสาร์ -อาทิ ตย์ ก็ค วรเลื อ ก
สถานที่ที่แปลกใหม่ สวยงาม อาหารอร่ อย ที่พกั ดี ราคาไม่แพง เดินทางสะดวก ไม่
ไกลจากกรุ งเทพฯ ผูเ้ ขียนเดินทางไปหาข้อมูล และผูอ้ ่านเดินทางตามรอยผูเ้ ขียนได้
สะดวก ปลอดภัย เป็ นต้น
• การใช้ภาษา ผูเ้ ขียนควรเลือกใช้ถอ้ ยคา ภาษา
- ในระดับกึ่งทางการ ที่แสดงความเป็ นกันเองกับผูเ้ ขียน
- คงความสุ ภาพ สื่ อสารตรงไปตรงมา
- ถ้อยคาที่เลือกใช้ตอ้ งเข้าใจง่าย โดยไม่ผา่ นกระบวนการตีความ
- ใช้ถอ้ ยคาที่สร้างภาพในจินตนาการเกี่ยวกับสถานที่น้ นั ๆ แก่ผอู ้ ่าน
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนแนะนาสถานที่/ แนวทางเพื่อการแนะนาสถานที่ (ต่ อ)
• การลาดับเนื้ อหา ผูเ้ ขี ยนควรถ่ายทอดเนื้ อหาอย่างกระชับ ไม่สับสน วกไปวนมา
ต้องทาให้ผอู ้ ่านติดตามเรื่ องต่อไปจนจบ และได้รู้จกั สถานที่น้ นั ๆ มากยิง่ ขึ้น
• ลีลาการเขียน หรื อการเล่าเรื่ อง ผูเ้ ขียนแต่ละคนมีลีลา รวมถึงน้ าเสี ยงในการเล่าเรื่ อง
ผ่านงานเขียนแตกต่างกัน การเขียนแนะนาสถานที่ท่องเที่ยว ควรใช้ภาษาในระดับ
กึ่งทางการ ที่สุภาพ และเป็ นกันเองกับผูร้ ับสาร ใช้ภาษาถ่ายทอดบรรยากาศของ
สถานที่

การแนะนาสถานที่ ผูเ้ ขียนจะต้องมีความรู ้ ความเข้าใจในทุกแง่มุมเกี่ยวกับสถานที่น้ นั ๆ ไม่ควร


ฟั งผ่านคาบอกเล่ าของผูอ้ ื่ น แต่ควรเขี ยนขึ้ นจากประสบการณ์ ตรง รวมทั้งมี ความรู ้ ความเข้าใจ
ความสามารถในการในการใช้ถอ้ ยคาอย่างมีศิลปะ เพื่อให้ผูอ้ ่านได้รับทั้งความรู ้และความบันเทิง
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
ธรรมชาติของการเขียนบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ สื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ มีท้ งั ข้อดี และข้อเสี ย
ขึ้นอยู่กบั ว่าผูใ้ ช้งานจะมีวิจารณญาณในการเลือกใช้เพื่อการสื่ อสารอย่างไร การสื่ อสารผ่านสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์มีขอ้ ดี เช่น
• สามารถสื บค้น หรื อเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์
• สนับสนุนให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างไม่มีขีดจากัด
• ทุกคนมีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล ไม่จากัดวัย เพศ สถานที่ อายุ และเวลา
แต่ถา้ ผูใ้ ช้ขาดวิจารณญาณในการใช้ เผยแพร่ ขอ้ มูล ข่าวสารที่เป็ นเท็จ ก็สามารถเกิดผลเสี ยขึ้น
ได้ เช่น
• หากมีผูน้ าข้อมูลไปใช้อา้ งอิง อาจก่อให้เกิ ดความเข้าใจผิดได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ข้อมูลเชิงวิชาการ
๔ การเขียนรู ปแบบต่ างๆ (ต่ อ)
การเขียนบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ /ธรรมชาติของการเขียนบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ)
• ข้อมูลที่ยงั ไม่ผา่ นการตรวจสอบ หรื อเป็ นเพียงข้อคิดเห็น อาจสร้างความเดือดร้อน
สร้างความเข้าใจผิดแก่ผเู ้ กี่ยวข้อง และส่ งกระทบต่อสังคมได้
แนวทางการเขียนสื่อสารบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ การที่ขอ้ มูลต่างๆ สามารถส่ งต่อถึงกันได้
ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ ว ผูส้ ่ งสารที่จะใช้สื่ออิเล็กทรอนิ กส์เป็ นสื่ อกลางในการส่ งข้อมูล ควรมี
ประเด็นที่ตอ้ งคานึงถึง ดังนี้
• ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อนเผยแพร่ หรื อส่ งต่อ
• ใช้ภาษาสุ ภาพ เหมาะสม ไม่พาดพิงถึงบุคคลที่สาม
• ภาษาที่ใช้เพื่อการแสดงความคิดเห็นต้องชัดเจน แจ่มแจ้ง ตรงประเด็นอย่างสุ ภาพ
ไม่ก่อให้เกิดการแปลความ ตีความอย่างหลากหลาย
๕ การเขียนย่อความ
ทุกครั้ งที่ เกิ ด การแสวงหาความรู ้ ไม่ ว่า จากการอ่ า น ฟั ง หรื อดู หากไม่ ละเลยที่ จะจด
บันทึกใจความสาคัญ ก็จะทาให้ผรู ้ ับสารมีคลังความรู ้ สามารถกลับมาทบทวน หรื อนาไปใช้ต่อ
ยอดความรู ้ได้ในอนาคต พื้นฐานของการเขียนย่อความ คือ การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ
ธรรมชาติของการย่ อความ
• ภาษาที่ใช้เพื่อการแสดงความคิดเห็นต้องชัดเจน แจ่มแจ้ง ตรงประเด็นอย่างสุ ภาพ
ไม่ก่อให้เกิดการแปลความ ตีความอย่างหลากหลาย
• ย่อความ เป็ นการย่อ หรื อสรุ ปเรื่ องที่อ่าน ฟั ง หรื อดู โดยผูอ้ ่านจับประเด็นสาคัญ
ของเรื่ องมาเรี ยบเรี ยงเป็ นเนื้ อความที่ถูกต้อง กะทัดรัดชัดเจน สื่ อความหมายเดิ ม
ครบถ้วน ด้วยสานวนภาษาของตนเอง ในรู ปแบบที่กาหนด
• การย่อความ ต้องอาศัยพื้นฐานความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับย่อหน้า เพื่อให้สามารถ
จับใจความสาคัญ หรื อความคิดสาคัญของแต่ละย่อหน้าได้ถูกต้อง
• เรื่ องที่นามาย่อความไม่ว่าจะมีความยาวกี่ยอ่ หน้าก็ตาม เมื่อย่อแล้ว ความยาวจะอยู่
ในอัตราร้อยละ ๒๐-๓๐ ของเรื่ องที่นามาย่อ
๕ การเขียนย่อความ (ต่ อ)
การย่อความมีรูปแบบเฉพาะ โดยย่อความหนึ่งๆ ประกอบด้วยส่ วนสาคัญ ๒ ส่ วน ดังนี้
องค์ ประกอบของการเขียนย่ อความ
ส่ วนที่ ๑ ขึ้ นต้นหรื อส่ วนนา เป็ นส่ วนที่ บอกที่ มาของเรื่ องที่ นามาย่อ สามารถใช้เป็ น
หลักฐานอ้างอิงได้เมื่อกลับมาศึกษา หรื อทบทวนภายหลัง

ย่ อพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้ า อ ยู่ หั ว พ ร ะรา ช ทา น แก่ ................
เรื่ อ ง……………ในโอกาส.......................ณ ย่ อนิทานเรื่ อง......................ของ..........................
...............วันที.่ ...........ความว่ า จาก.......................................ความว่ า

ส่ วนที่ ๒ เนื้อความ เป็ นส่ วนที่ยอ่ เรื่ องที่อ่านหรื อฟัง


๕ การเขียนย่อความ (ต่ อ)
แนวทางเพื่อการเขียนย่ อความ
• อ่านเนื้อเรื่ องที่จะย่อความจนเข้าใจ โดยอ่านมากกว่า ๑ ครั้ง
• ทาความเข้าใจ เมื่อผูอ้ ่านเข้าใจเนื้ อเรื่ องทั้งหมดแล้ว จึงจับใจความสาคัญของเรื่ องที
ละย่อหน้า แต่ละย่อหน้าจะมีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว
• เรี ยบเรี ยง นาใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้ามาเรี ยบเรี ยงใหม่ ด้วยสานวนภาษาของ
ตน สื่ อ ความครบถ้ว น ความหมายของเรื่ อ งไม่ เ ปลี่ ย นแปลง และค านึ ง ถึ ง ปั จ จัย
ต่อไปนี้
- ความที่ยอ่ แล้วจะต้องมี ๒ ย่อหน้า โดยย่อหน้าแรกเป็ นส่ วนนา เพื่อบอกที่มาของ
เรื่ องที่อ่าน หรื อนามาย่อ ส่ วนย่อหน้าที่สองเป็ นเนื้อความของเรื่ องที่อ่าน
- ควรเลือกใช้คาที่มีความหมายตรงกับข้อความเดิมที่นามาย่อ
- ถ้าเรื่ องเดิมเป็ นร้อยกรองจะต้องนามาเรี ยบเรี ยงเป็ นร้อยแก้ว
- เปลี่ยนคาสรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒ และเป็ นสรรพนามบุรุษที่ ๓
- ถ้าในเรื่ องปรากฏคาราชาศัพท์ให้คงไว้เช่นเดิม รวมถึงไม่ใช้อกั ษรย่อ และ
เครื่ องหมายในเนื้อความ
๖ การเขียนจดหมาย
แม้ใ นยุค ปั จ จุ บ ัน มนุ ษ ย์จ ะติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ส่ ง ข้อ ความถึ ง กัน ได้ส ะดวก รวดเร็ ว ผ่า น
แอพพลิเคชัน่ ต่างๆ แต่จดหมายก็ยงั คงมี ความสาคัญ เพราะเป็ นหลักฐานที่ ใช้ยืนยันคาพูด หรื อ
เรื่ องที่คู่สื่อสารระหว่างกัน
ธรรมชาติของจดหมาย
• จดหมายท าให้ ม นุ ษ ย์ส่ ง “สาร” จากผู ้ส่ ง ไปยัง ผู ้รั บ ได้โ ดยบุ ค คลทั้ง สองไม่
จาเป็ นต้องพบหน้ากัน
• จดหมาย เป็ นการสื่ อสารโดยตรงระหว่างบุคคล โดยใช้ตวั หนังสื อ หรื อข้อความ
แทนคาพูด
• จดหมายทาให้การติดต่อสื่ อสารเป็ นไปโดยสะดวก รวดเร็ว และประหยัด
• ผูเ้ ขียนจดหมายจะต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการเขียน และผูท้ ี่จะติดต่อด้วย
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
จดหมายที่ใช้ในการติดต่อระหว่างกัน แบ่งเป็ น ๓ ประเภท โดยใช้เนื้ อหาของจดหมาย
เป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
ประเภทของจดหมาย
จดหมายส่ วนตัว มีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้
• เป็ นจดหมายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างบุคคลที่รู้จกั คุน้ เคย เช่น เพื่อน พ่อแม่ พี่นอ้ ง
ญาติ คนสนิท
• เป็ นจดหมายที่เขียนเพื่อส่ งข่าวคราว ไต่ถามสารทุกข์สุกดิบส่ วนตัวระหว่างกัน
• ไม่เคร่ งครัดในกฎเกณฑ์การเขียน รู ปแบบ คาขึ้นต้น ลงท้าย
• ควรเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับสถานภาพของผูร้ ับและเรื่ องที่จะเขียน

จดหมายราชการ มีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้


• เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า “หนังสื อราชการ” หมายถึง เอกสารที่เป็ นหลักฐานทางราชการ
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
ประเภทของจดหมาย/จดหมายราชการ มีลกั ษณะเฉพาะ (ต่อ)
• เป็ นเอกสารทางราชการ ดังนั้น ผูเ้ ขียนต้องเคร่ งครัดในกฎเกณฑ์การเขียน รู ปแบบ
คาขึ้นต้น คาลงท้ายในจดหมาย
• ถ้อยคา สานวนภาษาเป็ นระดับทางการ ถูกหลักภาษา สุ ภาพ กระชับ ชัดเจน แต่
ต้องสื่ อความครบถ้วนตรงตามวัตถุประสงค์

จดหมายธุรกิจ มีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้


• เป็ นจดหมายที่เขียนติ ดต่อกันเพื่อประโยชน์ด้านการงานและธุ รกิ จการค้า โดยมี
จุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เสนอขายสิ นค้า ซื้อสิ นค้า เป็ นต้น
• รู ป แบบของจดหมายธุ ร กิ จ อาจใช้ รู ป แบบเดี ย วกับ หนั ง สื อ ราชการ โดยใช้
สัญลักษณ์ของบริ ษทั แทนตราครุ ฑของราชการ
• ถ้อยคา ภาษาที่ใช้ ควรเป็ นระดับกึ่งทางการ หรื อทางการ สั้น กระชับ ได้ใจความ
ชัดเจน สะท้อนความน่าเชื่อถือ
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
จดหมายโดยทัว่ ไปมี ล ักษณะคล้า ยคลึ งกัน หากผูเ้ ขี ย นมี ค วามรู ้ ความเข้า ใจเกี่ ย วกับ
โครงสร้ างของจดหมาย ก็จะท าให้ส ามารถเขี ย นจดหมายประเภทต่ า งๆ ได้ง่ ายขึ้ น สื่ อ ความ
ครบถ้วนตรงตามวัตถุประสงค์
โครงสร้ างของจดหมาย
ส่ วนหัว ประกอบด้วย ที่อยูข่ องผูส้ ่ ง วันที่ เรื่ อง เรี ยน สิ่ งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี)

ส่ ว นเนื้ อ เรื่ อ ง มี ๓ ย่อ หน้า โดยย่อ หน้า แรก เป็ นที่ ม าของเรื่ อ ง ย่อ หน้า ที่ ส อง เป็ น
วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียนจดหมายและรายละเอียด ส่ วนย่อหน้าที่สาม เป็ นย่อหน้าสรุ ป ซึ่ งผูเ้ ขียน
อาจรวมย่อหน้าที่ ๑ และ ๒ เป็ นย่อหน้าเดียวกันได้
ส่ วนท้ าย ประกอบด้วย คาลงท้าย ลายมือชื่อผูเ้ ขียนจดหมาย ชื่อผูเ้ ขียนและตาแหน่ง (ถ้ามี)
หน่วยงานและหมายเลขโทรศัพท์ เพื่อให้ผรู ้ ับติดต่อกลับได้สะดวก
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
การเขี ย นจดหมาย เป็ นการใช้
ภาษาเพื่อการสื่ อสาร โดยผูเ้ ขียนมี เจตนา
ให้ ผูร้ ั บ สนองตอบความต้อ งการ หรื อ
วัต ถุ ป ระสงค์ ข องตน ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้
ประสบผลดัง กล่ า ว ผู ้เ ขี ย นควรมี ห ลัก
หรื อขั้นตอนปฏิบตั ิ
ทาอย่างไรเมื่อต้ องเขียน
จดหมาย
มีวัตถุประสงค์ ชัดเจน ผูเ้ ขียนต้องทราบแน่ชดั ว่าตนเขียนจดหมายฉบับนี้ เพื่ออะไร จะ
ได้เขียนให้ตรงความต้องการ หรื อหาข้อมูลแล้วนาไปเขียนให้ตรงวัตถุประสงค์
มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับ ผูเ้ ขียนต้องทราบแน่ ชดั ว่าผูร้ ับจดหมายเป็ นใคร มีสถานภาพและ
บทบาทอย่างไรในสังคม เพื่อจะได้เลือกใช้ถอ้ ยคา ภาษาให้เหมาะสม
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
ทาอย่างไรเมื่อต้ องเขียนจดหมาย (ต่ อ)
จัดระเบียบความคิดให้ เป็ นระบบ หรื อวางโครงเรื่ อง สาหรับการเขียนจดหมาย ผู ้เขียน
อาจใช้โครงสร้างส่ วนเนื้ อหาที่แบ่งออกเป็ นย่อหน้า ช่วยจัดระเบียบความคิด เช่น ถ้านักเรี ยนต้อง
เขียนจดหมายในฐานะประธานนักเรี ยน ถึ งนักเขี ยนท่านหนึ่ ง เพื่อเชิ ญเป็ นวิทยากรบรรยายใน
หัวข้อ “พลังของการอ่าน” เป็ นเวลา ๑ ชัว่ โมง (ตั้งแต่เวลา ๙.๐๐-๑๐.๐๐ น) เนื่ องในวันภาษาไทย
แห่ งชาติ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ทางโรงเรี ยนจะจัดขึ้น ณ หอประชุมของโรงเรี ยน ตั้งแต่เวลา
8.30-๑๕.๐๐ น. อาจจัดระบบความคิดได้ ดังนี้
ย่ อหน้ าที่ ๑ บอกทีม่ า หรื อสาเหตุของการเขียนจดหมายอะไรคือสาเหตุของการเขียน
พร้ อมระบุรายละเอียด
ย่ อหน้ าที่ ๒ บอกวัตถุประสงค์ หรื อเจตนาของผู้เขียนทีต่ ้ องการให้ ผ้ รู ับสนองตอบ
จะให้ ผ้ รู ับทาอะไรให้ ตอนไหน อย่ างไร เมื่อไร ทีไ่ หน ทาไม
ย่ อหน้ าที่ ๓ สรุปเจตนา และแสดงมารยาทที่เหมาะสมด้ วยกล่ าวขอบคุณล่ วงหน้ าแก่
ผู้รับจดหมาย
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
ทาอย่างไรเมื่อต้ องเขียนจดหมาย (ต่ อ)
เขียนข้ อความให้ แจ่ มแจ้ ง ตามโครงเรื่ องที่ วางไว้ โดยเลื อกใช้ถอ้ ยคาที่ สุ ภาพ ระดับ
ภาษาเหมาะสมกับสถานภาพของผูร้ ับ ข้อความชัดเจน สละสลวย เข้าใจง่าย ใช้คาที่มีความหมาย
ชัดเจน ตรงไปตรงมา สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ต้องคานึ งเสมอว่า ผูร้ ับอาจไม่มีโอกาสซักถาม
ผูเ้ ขียน แต่จะเข้าใจและตีความไปตามข้อความที่ปรากฏ
ย่ อหน้ าที่ ๑ บอกที่มา หรื อสาเหตุของการเขียนจดหมาย “ด้ วยโรงเรี ยนบูรณะศึกษา
ได้ จัด นิ ท รรศการเนื่ อ งในวั นภาษาไทยแห่ ง ชาติ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ตั้ ง แต่ เ วลา ๘.๓๐-
๑๕.๐๐น. ณ หอประชุมใหญ่ ของโรงเรี ยน เพื่อส่ งเสริ มให้ นักเรี ยนเห็นความสาคัญ ตระหนักใน
คุณค่ าของภาษาไทย และมีโอกาสได้ ทากิจกรรมร่ วมกัน”
ย่ อหน้ าที่ ๒ บอกวัตถุประสงค์ หรื อเจตนาของผู้เขียนทีต่ ้ องการให้ ผ้ รู ับสนองตอบ
“ในนิทรรศการดังกล่ าวนอกจากจะมีกจิ กรรมต่ างๆ ดังกาหนดการทีแ่ นบ ยังได้ มีการจัดบรรยายใน
หัวข้ อ พลังของการอ่ าน ให้ แก่ นักเรี ยนผู้สนใจ จานวน ๑๕๐ คน ฟัง ระหว่ างเวลา ๙.๐๐-๑๐.๐๐ น.
๖ การเขียนจดหมาย (ต่ อ)
ทาอย่างไรเมื่อต้ องเขียนจดหมาย/เขียนข้อความให้แจ่มแจ้ง (ต่อ)
ทางโรงเรียนพิจารณาแล้ วเห็นว่ าท่ านเป็ นผู้มีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับการอ่ าน เป็ น
ทั้งนักเขียนและนักพูดผู้สร้ างแรงบันดาลใจด้ วยการอ่ านให้ แก่ คนหลากหลายสาขาอาชี พ ทาง
โรงเรี ยนจึงใคร่ ขอเรี ยนเชิญท่ านเป็ นวิทยากรบรรยายในหัวข้ อข้ างต้ น ตามวัน เวลา และสถานที่
ดังกล่ าว เพือ่ ให้ กจิ กรรมของทางโรงเรียนสาเร็ จลุล่วงไปได้ ด้วยดี และเกิดประโยชน์ ต่อนักเรี ยนผู้
เป็ นอนาคตของชาติ”
ย่ อหน้ าที่ ๓ สรุปเจตนา และแสดงมารยาทที่เหมาะสมด้ วยกล่ าวขอบคุณล่ วงหน้ าแก่
ผู้รับจดหมาย “จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาอนุเคราะห์ และขอบคุณล่ วงหน้ ามา ณ โอกาสนี้”
แสดงมารยาทที่เหมาะสม ผ่านการใช้รูปแบบจดหมายที่ถูกต้อง เขียนด้วยความประณี ต
สะอาด เรี ยบร้อย ใช้กระดาษสี ขาว
ตรวจทานความเรี ยบร้ อย อ่าน และพิจารณาข้อความในจดหมายให้ละเอียดอีกครั้ง เพื่อ
จะได้แก้ไขหากพบว่ามีขอ้ ผิดพลาด
๗ การเขียนรายงาน

การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น มุ่งเน้นให้ผูเ้ รี ยนรู ้จกั แสวงหาความรู ้ด้วยตนเอง มีทกั ษะใน


การคิดอย่างเป็ นระบบ มีเหตุผล วิจารณญาณ ซึ่ งหนทางที่ช่วยให้คุณลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นก็คือ
การมอบหมายให้ผเู ้ รี ยนทารายงานประกอบรายวิชาที่เรี ยน
ธรรมชาติของการเขียนรายงาน
• พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายไว้ว่า “น. เรื่ องราวที่ไปศึ กษา
ค้นคว้าและนามาเสนอที่ประชุม ครู อาจารย์ หรื อผูบ้ งั คับบัญชา”
• อาจระบุได้วา่ รายงานมี ๒ ประเภท คือ
- รายงานทัว่ ไป คือ รายงานที่เสนอข้อเท็จจริ ง หรื อข้อคิดเห็นของบุคคล เพื่อให้
ผูอ้ ื่นทราบผลการปฏิบตั ิงาน เหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่างๆ ทั้งที่เกิดขึ้นแล้ว
หรื อกาลังดาเนินอยู่
- รายงานเชิงวิชาการ คือ เอกสารที่เป็ นผลจากการศึกษาค้นคว้า สารวจ รวบรวม
หรื อวิเคราะห์เรื่ องทางวิชาการเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง แล้วนามาเรี ยบเรี ยงอย่างมี
ระเบียบแบบแผน
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
โครงสร้ างของรายงานเชิงวิชาการ
ส่ วนนา คือ ส่ วนที่อยู่ก่อนถึงส่ วนเนื้ อเรื่ อง ได้แก่ ปกนอก ใบรองปกใน ปกใน คานา
สารบัญ สารบัญ
คานา
หน้า
ภาวะโลกร้อน
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
คานา............................................................
ภาวะโลกร้อน กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
1.บทนา........................................................
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
2.ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน..... สารบัญ เขียนเรี ยงจากหัวข้อใหญ่ไปหัวข้อรอง หัวข้อย่อย
เด็กหญิงนารี รัตน์กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
บุญประดับ
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
3.การป้ องกันภาวะโลกร้อน......................... ไว้ทางซ้ายมื อ ส่ วนด้านขวาให้ระบุ หมายเลขหน้าของแต่
เด็กหญิงนารี รัตน์ บุญประดัเลขที
บ ่ 12กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ก.
กกกกกกกกกก4.บทสรุ ป..................................................... ละหัวข้อ
เลขที่ 12 ก.
บรรณานุกรม.
รายงานประกอบการศึกษารายวิชา คานา เป็ นส่ วนที่กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขตของรายงาน
วิทยาศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา
รายงานประกอบการศึกษารายวิชา
2557 ปกใน บอกรายละเอียดของรายงาน ข้อมูลเช่นเดียวกับปกนอก
วิทยาศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา
2557 ใบรองปกใน เป็ นกระดาษขาว 1 แผ่น มีท้ งั ปกหน้าและปกหลัง
ปกนอก มี ท้ งั ปกหน้าและปกหลัง ควรใช้กระดาษค่อนข้างแข็งและสี
สุ ภาพ ระบุขอ้ มูลตามรู ปแบบ
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
โครงสร้ างของรายงานเชิงวิชาการ (ต่ อ)
ส่ วนเนื้อเรื่อง เป็ นส่ วนที่นาเสนอสาระสาคัญของรายงาน ประกอบด้วย

• บทนา ต้อ งเขี ย นชี้ แจงเหตุ ผล วัตถุ ประสงค์การศึ กษา ขอบเขตของรายงาน วิธี
การศึ กษาค้น คว้า เนื้ อ หาของรายงานโดยสัง เขป เพื่ อ ให้ผูอ้ ่ านเข้า ใจเนื้ อ หาใน
เบื้องต้น
• เนื้ อ หา เป็ นส่ ว นส าคัญ ที่ น าเสนอผลการศึ ก ษาค้น คว้า วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ ต าม
วัตถุประสงค์ ขอบเขตของรายงาน โดยผูเ้ ขียนจะต้องเรี ยบเรี ยงเนื้ อหาด้วยสานวน
ภาษาของตนเอง อาจใช้ตาราง แผนภูมิ หรื อภาพประกอบคาอธิบาย

• สรุ ป เป็ นส่ วนที่เขียนย้า หรื อให้ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าเรื่ องนั้นต่อไป


๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
โครงสร้ างของรายงานเชิงวิชาการ (ต่ อ)
ส่ ว นอ้ า งอิ ง เป็ นส่ ว นที่ แ สดงหลัก ฐาน หรื อ แหล่ ง ที่ ม าของข้อ มู ล ที่ ผูเ้ ขี ย นน ามาใช้
ประกอบการศึกษาค้นคว้า
การเขียนรายงานเชิ งวิชาการจาเป็ นต้องมีการวางแผน ออกแบบโดยคานึ งถึงปั จจัยด้า นต่างๆ
และดาเนินตามแผนการ หรื อขั้นตอนนั้นอย่างรัดกุม เคร่ งครัด
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการ
เลื อ กหั วข้ อเรื่ อง เป็ นขั้นตอนแรกที่ ส่ง ผลต่อ ความส าเร็ จของรายงาน ซึ่ ง หัว ข้อ ของ
รายงานอาจเป็ นเรื่ องที่อาจารย์ประจารายวิชานั้นๆ เป็ นผูก้ าหนดขึ้น หรื อนักเรี ยนเป็ นผูเ้ ลือกเอง
ซึ่ งมีเกณฑ์สาหรับการพิจารณาเลือกหัวข้อรายงาน ดังนี้
• สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา • ตรงกับความถนัดและความสนใจของผูศ้ ึกษา
• เหมาะสมกับเวลาที่กาหนด • มีแหล่งข้อมูลเพียงพอ
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการ (ต่ อ)
จ ากัด ขอบเขตของหั ว ข้ อ รายงาน เมื่ อ ได้หัว ข้อ แล้ว ผูเ้ รี ย นควรสร้ า ง หรื อ ก าหนด
ขอบเขตของรายงานให้กว้างหรื อแคบลง ตามเงื่ อนไข เช่ น เวลา งบประมาณ บุคลากร เป็ นต้น
โดยมีแนวทางสาหรับการกาหนดขอบเขต ดังนี้
• จากัดด้วยระยะเวลา เช่น ถ้าผูเ้ รี ยนเลือกศึกษาหัวข้อเกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้าน แล้ว
ใช้วิธีการนี้ จากัดขอบเขตของหัวข้อ ก็จะได้วา่ ผูเ้ รี ยนเลือกศึกษาเกี่ยวกับการแสดง
พื้นบ้านในยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม
• จากัดด้วยสถานที่ เช่น ถ้าผูเ้ รี ยนเลือกศึกษาหัวข้อเกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้าน แล้วใช้
วิธีการนี้ จากัดขอบเขตของหัวข้อ ก็จะได้ว่า ผูเ้ รี ยนเลื อกศึ กษาเกี่ ยวกับการแสดง
พื้นบ้านในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง
• จากัดด้วยบุคคล เช่น ถ้าผูเ้ รี ยนเลือกศึกษาหัวข้อเกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้าน แล้วใช้
วิธีการนี้ จากัดขอบเขตของหัวข้อ ก็จะได้วา่ ผูเ้ รี ยนเลือกศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของ
เยาวชนต่อการอนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการ (ต่ อ)
กาหนดวัตถุประสงค์ ของรายงาน ผูเ้ ขียนจะต้องตั้งคาถาม และตอบตนเองให้ได้วา่
• จะศึกษาค้นคว้าประเด็นที่เลือกในด้านใดบ้าง
• จะศึกษาค้นคว้าประเด็นที่เลือกนั้นอย่างไร หรื อด้วยวิธีการใด
• คาดหวังว่าจะได้รับอะไรหลังจากทารายงานแล้วเสร็ จ
หัวข้อของรายงานหัวข้อหนึ่งๆ ผูเ้ ขียนอาจกาหนดวัตถุประสงค์ได้หลายข้อ เพื่อให้สามารถตอบ
คาถามที่ผูเ้ ขียนรายงานต้องการทราบได้ครบถ้วน ซึ่ งวัตถุประสงค์ของรายงาน จะช่ วยให้การวาง
โครงเรื่ องรายงานทาได้ง่ายขึ้น
เขียนโครงเรื่ องของรายงาน งานเขียนทุกประเภทจาเป็ นต้องมีการวางโครงเรื่ อง เพื่อใช้
เป็ นแนวทางในการเรี ยบเรี ยงเนื้อหา รายงานเชิงวิชาการก็เช่นเดียวกัน
• โครงเรื่ องที่ดีตอ้ งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ต้งั ต้น
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน/เขียนโครงเรื่ องของรายงาน (ต่อ)
• โครงเรื่ องเป็ นกรอบที่ ผูเ้ ขี ยนวางไว้เ พื่อ กาหนดเนื้ อ หาของรายงานว่า จะมี ส่ ว น
ใดบ้าง แต่ละส่ วนควรมีรายละเอียดมากน้อยเพียงใด
• โครงเรื่ องเป็ นกรอบที่ ผูเ้ ขี ยนวางไว้เ พื่อ กาหนดเนื้ อ หาของรายงานว่า จะมี ส่ ว น
ใดบ้าง แต่ละส่ วนควรมีรายละเอียดมากน้อยเพียงใด
• ใช้ระบบหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อยเข้ามาช่วยในการวางโครงเรื่ อง แล้ว
ใช้คาหรื อข้อความสั้นที่ครอบคลุมเนื้อหาเป็ นเติมหลังหัวข้อ เพราะลาดับของหัวข้อ
จะช่วยลาดับความสาคัญ และสร้างความสัมพันธ์ให้แก่เนื้อหาแต่ส่วน
สารวจ รวบรวม และบันทึกข้ อมูล การเขียนรายงานเชิงวิชาการ จาเป็ นต้องใช้ข ้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และน่าเชื่อถือ ซึ่งข้อมูลแต่ละประเภท มีวธิ ีการได้มาแตกต่างกัน ดังนี้
• ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและรวบรวม ส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูลทุติยภูมิ หรื อข้อมูลที่มี
ผูค้ น้ คว้า รวบรวมไว้ แล้วผูเ้ ขี ยนรายงานไปอ่านค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์อีก
ทอดหนึ่ง
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน/
สารวจ รวบรวม และบันทึกข้อมูล (ต่อ)
• ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและรวบรวม
ส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูลทุติยภูมิ หรื อข้อมูล
ที่มีผคู ้ น้ คว้า รวบรวมไว้ แล้วผูเ้ ขียน
รายงานไปอ่านค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์
อีกทอดหนึ่ง

• ข้อมูลที่ได้จากการสารวจ ส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูล


ปฐมภูมิ หรื อข้อมูลภาคสนาม ที่ผเู ้ ขียนจะต้อง
ลงมือสารวจ เก็บข้อมูล ด้วยตนเองจากพื้นที่
หรื อแหล่งข้อมูลนั้น เช่น ข้อมูลจากการสังเกต
การสัมภาษณ์ การซักถาม เป็ นต้น
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน/สารวจ รวบรวม และบันทึกข้อมูล (ต่อ)
สิ่ งที่ส่งผลต่อข้อมูลที่จะเลือกใช้ และวิธีการเก็บ คือ หัวข้อ และขอบเขตของรายงาน เมื่อสารวจ
ข้อมูลแล้ว ควรบันทึกข้อมูลอย่างเป็ นระบบ และระเบี ยบ โดยอาจบันทึ กลงในบัตรบันทึก หรื อ
บันทึกเป็ นไฟล์ลงในคอมพิวเตอร์
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน/สารวจ รวบรวม และบันทึกข้อมูล (ต่อ)
การบันทึกข้อมูลลงในบัตรบันทึก จะใช้ทกั ษะการอ่านที่เรี ยกว่า “การสรุ ปความ”
• การสรุ ปความ คือ การจับใจความ หรื อความคิดสาคัญของเรื่ องที่ได้อ่าน ฟั ง และดู นามา
เรี ยบเรี ยงเป็ นข้อความสั้นๆ ที่ครอบคลุมเรื่ องทั้งหมด
• ผูเ้ ขียนจะต้องหาคาสาคัญ (Key word) ให้ได้วา่ คาสาคัญใดเป็ นส่ วนแสดงหรื อชี้ให้เห็น
ประเด็นของเรื่ อง นอกเหนือจากคาสาคัญ คือ main idea
• ผูเ้ ขี ย นต้อ งอ่าน ฟั ง หรื อ ดู ขอ้ มู ลด้วยสมาธิ และค้นหาคาส าคัญ ใจความส าคัญ หรื อ
ความคิดสาคัญ โดยนาหลัก 5W1H มาใช้เป็ นเครื่ องมือ
• เรี ยบเรี ยงข้อความ แล้วเขียนสรุ ปความให้ส้ ัน กระชับ ได้ใจความ ด้วยสานวนภาษาของ
ตนเอง
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน (ต่อ)
วิเคราะห์ ข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้ ผูเ้ ขียนต้องนาข้อมูลมาจัดระเบียบ โดยจาแนก
ออกเป็ นกลุ่ มๆ ตามหัว ข้อที่ ปรากฏในโครงเรื่ อง จากนั้น จึ งอ่ าน วิเ คราะห์ ตี ค วามข้อ มูล เพื่ อ
สังเคราะห์เป็ นข้อสรุ ปคาตอบ หรื อผลการศึกษาค้นคว้า
เรี ยบเรี ยงเนื้อหาสาระ เป็ นขั้นตอนที่ ผูเ้ ขี ยนต้องให้ความสาคัญ เพราะผูอ้ ื่นจะทราบ
เนื้อหาของรายงาน จากการถ่ายทอดของผูเ้ ขียน
• เรี ยบเรี ยงเนื้ อหาจากความรู ้ ความเข้าใจ ตามลาดับขั้นตอน ด้วยสานวนภาษาของ
ตนเอง
• มุ่งเสนอข้อเท็จจริ ง อย่าสอดแทรกความคิดเห็นในเนื้อหาโดยไม่จาเป็ น
• เรี ยบเรี ยงตามโครงเรื่ องที่วางไว้ โดยชี้แจงเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตของรายงาน
และวิธีการศึกษาค้นคว้า เพื่อนาผูอ้ ่านเข้าสู่ เนื้อหาสาระของรายงาน
• ใช้ถอ้ ยคาสานวนโวหารในระดับทางการ หรื อกึ่ งทางการ สื่ อความตรงไปตรงมา
เข้าใจง่าย ถูกต้องตามหลักภาษาและการใช้ภาษา
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการเขียน/เรียบเรียงเนื้อหาสาระ (ต่อ)
หากผูศ้ ึกษาค้นคว้าใช้คอมพิวเตอร์ ในการเรี ยบเรี ยงรายงานแทนการเขี ยน มีสิ่งที่ตอ้ ง
คานึงถึง ดังนี้
• ใช้ต ัว พิ ม พ์ข นาดมาตรฐาน ขนาด ๑๔-๑๖ อ่ า นง่ า ยสี ด า และใช้ต ัว พิ ม พ์ข นาด
เดียวกันตลอดทั้งเล่ม
• ใช้กระดาษมีขาว ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาด A4 และใช้เพียงด้านเดียว
• ขอบกระดาษทุกด้านให้เว้นเข้ามา ๑ นิ้ว ยกเว้นด้านซ้ายมือ ๑.๕ เพื่อเย็บเล่ม
• ตรวจความถูกต้องของคา วรรคตอนให้ถูกต้องตามหลักและการใช้ภาษา
• การลาดับหน้า ปกนอก ปกใน คานา สารบัญ ไม่ตอ้ งนับหน้า หน้าแรกของรายงาน
ไม่ตอ้ งใส่ หมายเลขหน้า แต่ให้นบั รวมเป็ นหน้าที่ ๑ หน้าอื่นๆ ให้ใส่ เลขหน้าเรี ยง
ตามลาดับไว้ดา้ นบนขวามือ หรื อกึ่งกลางหน้ากระดาษ
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการ (ต่ อ)
อ้ างอิงข้ อมูล การเขี ยนรายงานเชิ งวิชาการ เมื่ อผูเ้ ขี ยนอาศัย ข้อ มูลจากแหล่ งใดเพื่ อ
การศึกษาวิเคราะห์ โดยมารยาทและกฎหมายแล้วจะต้องระบุแหล่งข้อมูลทุกครั้ง เนื้ อหาที่ตอ้ งมี
การอ้างอิงทุกครั้งเมื่อนามาใช้ในการเขียนรายงาน ได้แก่ ตัวเลข ข้อความ สถิ ติ แนวคิด ทฤษฎี
คาพูด ตาราง แผนภูมิ รู ปภาพ
• การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหาของรายงาน ใช้เมื่อมีการคัดลอกข้อความ คาพูด
ความคิด รู ปภาพ ของบุคคลอื่นมาประกอบรายงาน เช่น
ดวงใจ ไทยอุบุญ (๒๕๔๓, น.๒๔๑-๒๔๓) ได้ สรุปหลักการใช้ สานวน สุ ภาษิต คา
พังเพยไว้ ว่า “.....................................”

• การอ้างอิงแบบบรรณานุกรม หรื ออ้างอิงท้ายเล่ม คือ การนารายชื่อของแหล่งข้อมูล


ทุกประเภทที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้ามารวบรวมไว้ทา้ ยเล่มรายงาน ซึ่ งข้อมูลที่
ต้องปรากฏมีดงั นี้
๗ การเขียนรายงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทารายงานเชิงวิชาการ/อ้ างอิงข้ อมูล (ต่อ)
ชื่อผู้แต่ ง.(ปี ทีพ่ มิ พ์ ).ชื่อเรื่อง (ครั้งทีพ่ มิ พ์ *).สถานทีพ่ มิ พ์ : สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ **.
*หนังสือทีพ่ มิ พ์ครั้งที่ ๒ ขึน้ ไป ให้ ระบุครั้ งทีพ่ มิ พ์ ด้วย
**หากเป็ นสานักพิมพ์ให้ ระบุเฉพาะชื่อ แต่ ถ้าเป็ นโรงพิมพ์ให้ ระบุคาว่ าโรงพิมพ์ด้วย
การเขียนบรรณานุกรมมีหลักการ ดังนี้
• การเรี ยงล าดับ เอกสารให้ ใ ช้ชื่ อ ผู ้แ ต่ ง เป็ นเกณฑ์ โดยเอกสารภาษาไทยเรี ย ง
ตามลาดับ ก-ฮ เอกสารภาษาอังกฤษ A-Z
• เรี ยงลาดับเอกสารที่เป็ นภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
• จะแยกประเภทของเอกสารที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้าหรื อไม่กไ็ ด้
• เขียนหรื อพิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย หากมีความยาวเกิน ๑ บรรทัด ให้ยอ่ หน้า
ใหม่ โดยเว้นระยะ ๘ ช่วงตัวอักษร เริ่ มต้นที่อกั ษรตัวที่ ๙
๘ การเขียนโครงงาน
การเขียนโครงงาน คือ การศึกษาสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนสนใจ สงสัย ต้องการรู ้ หรื อหาคาตอบ โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การตั้งสมมติฐาน การวางแผนปฏิบตั ิงาน การลงมือปฏิบตั ิ
ประเภทของโครงงาน
• โครงงานประเภทสารวจ เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อหาสาเหตุของปั ญหา โดย
ใช้วธิ ีสารวจ รวบรวม แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อหาทางออกของปัญหา
• โครงงานประเภททดลอง เป็ นการศึกษา หาคาตอบของปั ญหาใดปั ญหาหนึ่ง โดยใช้
วิธีการทดลองว่าเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้หรื อไม่
• โครงงานประเภทสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เป็ นการพัฒ นา หรื อ ประดิ ษ ฐ์ สร้ า งเครื่ อ งมื อ
เครื่ อ งใช้ อุ ป กรณ์ โดยประยุก ต์ใ ช้ห ลัก การทางวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ งอาจเป็ น การ
ประดิษฐ์สิ่งใหม่ หรื อปรับปรุ งของเดิม
• โครงงานประเภททฤษฎี เป็ นโครงงานที่ เ สนอทฤษฎี หลัก การ ปรากฏการณ์
แนวคิดใหม่ๆ โดยมีหลักการทางวิทยาศาสตร์ ทฤษฎี ข้อมูลต่างๆ สนับสนุน
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)

เมื่อต้ องทาโครงงาน
คิดและเลือกหัวข้ อ ประเด็น ที่ตอ้ งการศึกษา ค้นคว้า หาคาตอบ โดยคานึงถึงปั จจัยต่างๆ
• หัวข้อของโครงงานเริ่ มต้นที่ความสนใจ หรื อกระหายใคร่ รู้ของผูศ้ ึกษา หรื อกลุ่มผู ้
ศึกษา การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน
• หัวข้อโครงงานต้องชัดเจน เมื่อผูอ้ ่าน อ่านแล้วสามารถเข้าใจ และรู ้เรื่ องว่าทาอะไร
• หัวข้อโครงงานต้องไม่เป็ นหัวข้อที่มีคาตอบอยูแ่ ล้ว หรื อสามารถหาคาตอบได้อย่าง
ง่ายดาย
• การเลือกหัวข้อโครงงานควรคานึงถึงปั จจัยด้านอื่นๆ ประกอบ เช่น เหมาะสมกับกับ
ระดับ ความรู ้ ความสามารถของตนเอง งบประมาณ เวลา ความปลอดภัย
แหล่งข้อมูล
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)

เมื่อต้ องทาโครงงาน
ตั้งสมมติฐาน (ถ้ ามี) คือ การคาด
คะเนคาตอบของเรื่ องที่เป็ นปัญหา หรื อเลือก
ศึกษาล่วงหน้าเพื่อเป็ นแนวทางในการศึกษา
ช่ วยให้ขอบเขตของโครงงานรัดกุม ซึ่ งการ
ตั้งสมมติฐานควรมีเหตุผล เป็ นไปได้ และมี
ทฤษฎี หรื อหลักการมารองรับ

ศึ กษาเรื่ องที่เกี่ยวข้ อง ผูท้ าโครงงานควรศึ กษาค้นคว้าเรื่ อ งที่ เกี่ ยวข้องกับหัวข้อจาก


แหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์ เน็ต การสัมภาษณ์ผรู ้ ู ้ เพื่อให้มีความกระจ่างในเรื่ องที่จะ
ศึกษา แล้วจะได้กาหนดวัตถุประสงค์ได้ง่ายขึ้น
ก าหนดสิ่ ง ที่ อ ยากรู้ น าข้อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ เรื่ อ งที่ จ ะศึ ก ษามาก าหนดจุ ด ประสงค์
การศึกษา เพื่อให้รู้วา่ ตนเองต้องการรู ้อะไรบ้าง
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)

เมื่อต้ องทาโครงงาน
วางแผนสื บค้ น รวบรวมข้ อมูล หลังจากกาหนดประเด็นที่ อ ยากรู ้ ได้แล้ว ผูศ้ ึ กษาจะ
ทราบทันทีว่าตนเองต้องใช้ขอ้ มูลอะไรบ้าง แล้วข้อมูลนั้นจะหาได้จากแหล่งใด ด้วยวิธีการใด ซึ่ ง
ผูท้ าโครงงาน อาจใช้กรอบนี้ช่วยในการวางแผน
• วิธีการในการสื บค้น เช่น สัมภาษณ์ สารวจ ค้นคว้าจากตารา
• เครื่ อ งมื อ ในการสื บ ค้น ข้อ มู ล เช่ น แบบ
สัมภาษณ์ แบบสารวจ เป็ นต้น
• แหล่ ง ข้ อ มู ล เช่ น บุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ใ น
ประเด็นนั้นๆ ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
• เวลาในการสื บค้น คือ การกาหนดช่วงเวลา
ที่จะไปสื บค้นข้อมูล
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)

เมื่อต้ องทาโครงงาน
เสนอโครงร่ า งของโครงงาน เป็ นการวางแผนการท าโครงงานต่ อ อาจารย์ที่ ป รึ กษา
โครงงานเพื่อให้ช่วยตรวจสอบว่า ประเด็นที่กลุ่มเลือกศึกษานั้นเป็ นไปได้หรื อไม่ แผนการที่วาง
มารัดกุม รอบคอบเพียงพอหรื อไม่ ซึ่งองค์ประกอบของโครงร่ างรายงาน มีดงั นี้
• ชื่อโครงงาน
• รายชื่อผูจ้ ดั ทาโครงงาน
• ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
• หลักการและเหตุของโครงงาน ต้องอธิบายให้เข้าใจว่า ทาไมต้องทา ทาแล้วได้อะไร
หากไม่ทาจะเกิดผลเสี ยอย่างไร
• จุดมุ่งหมายหรื อวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)

เมื่อต้ องทาโครงงาน/เสนอโครงร่ างของโครงงาน (ต่อ)


• สมมติฐานการศึกษา (ถ้ามี)
• วิธีและขั้นตอนการดาเนิ นงาน ต้องระบุว่าทากิ จกรรมใดบ้างตามลาดับก่อนหลัง
แล้วกิจกรรมนั้นจะทาอย่างไร
• แผนปฏิบตั ิงาน ชี้แจงเกี่ยวกับกาหนดเวลา ตั้งแต่เริ่ มต้นจนเสร็ จสิ้ นการดาเนินงาน
• ผลที่ ค าดว่าจะได้รับ คื อ การคาดหวังถึ งผลดาเนิ นการ ซึ่ งจะต้อ งสอดคล้อ งกับ
วัตถุประสงค์
• เอกสารอ้างอิง
สืบค้ นรวบรวมข้ อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล เมื่อโครงร่ างได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์
ที่ปรึ กษา ผูท้ าโครงงานลงมื อปฏิบตั ิ ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ สื บค้น รวบรวม บันทึกผล แล้ว
นามาวิเคราะห์ สังเคราะห์
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทาโครงงาน (ต่อ)
น าเสนอผลการศึ ก ษาค้ น คว้ า เป็ นขั้น ตอนสุ ด ท้า ยของการท าโครงงาน ซึ่ ง จะต้อ ง
คานึ งถึงความถูกต้องของเนื้ อหา การดึงดูดความสนใจของผูช้ ม เข้าใจง่าย ควรนาเสนอทั้งวิธีการ
พูด และเขียนรายงานโครงงาน
เขียนรายงานโครงงาน
ส่ วนนา ประกอบด้วย
• ปกหน้า ประกอบด้วย ชื่อโครงงาน ผูท้ าโครงงาน อาจารย์ที่ปรึ กษา
• บทคัดย่อ มีจุดมุ่งหมายให้ผอู ้ ่านได้อ่านเนื้อเรื่ องย่อๆ ก่อนอ่านผลการศึกษาทั้งฉบับ
• สารบัญ
• สารบัญตารางและสารบัญภาพ (ถ้ามี)
• กิ ต ติ ก รรมประกาศ เพื่ อ แสดงความขอบคุ ณ บุ ค คล หรื อ หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ ค วาม
ช่วยเหลือ มีส่วนเกี่ยวข้อง
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทาโครงงาน/เขียนรายงานโครงงาน (ต่อ)
ส่ วนเนื้อหา โดยทัว่ ไป แบ่งออกเป็ น ๕ บท ดังนี้
• บทที่ ๑ บทนา ประกอบด้วยความเป็ นมา ความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์
• บทที่ ๒ ความรู ้ ที่เ กี่ ย วข้อ งกับเรื่ อ งที่ ศึ ก ษา ควรเลื อ กเฉพาะเรื่ อ งที่ สาคัญและมี
ความสัมพันธ์กบั ปั ญหา
• บทที่ ๓ การดาเนินงาน อาจเขียนเป็ นตาราง แผนผังโครงงาน เพื่อให้การดาเนิ นงาน
เป็ นไปตามวัตถุประสงค์
• บทที่ ๔ วิเคราะห์ขอ้ มูล โดยนาข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ จาแนก แยกแยะ จัดเป็ น
ความถี่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ แผนภูมิ กราฟ ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมของข้อมูล
• บทที่ ๕ สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ เป็ นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
โดยต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ซึ่ งผูท้ าโครงงานอาจอภิปรายผล
บอกประโยชน์หรื อคุณค่าของผลการศึกษาค้นคว้า ข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ของ
การศึกษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต
๘ การเขียนโครงงาน (ต่ อ)
เมื่อต้ องทาโครงงาน/เขียนรายงานโครงงาน (ต่อ)
ส่ วนอ้ างอิง เป็ นการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารต่างๆ ที่ผทู ้ าโครงงานใช้ประกอบ
การศึกษาค้นคว้า หรื อเรี ยกว่า “บรรณานุกรม” ซึ่ งมีวธิ ีการเขียนเช่นเดียวกับรายงานเชิงวิชาการ

บทสรุ ป
การเขี ย นเพื่ อ สื่ อ สารในชี วิ ต ประจ าวัน ไม่ ว่ า รู ป แบบใดก็ ต าม ต้อ งอาศัย ภาษาเป็ น
เครื่ องมือในการนาพาสารไปสู่ ผรู ้ ับสาร ตามวัตถุประสงค์ที่ผสู ้ ่ งสารกาหนดไว้ แต่อย่างไรก็ตาม
การมีความรู ้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการใช้ถอ้ ยคา สานวน โวหาร อย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอ ผูส้ ่ ง
สารจ าเป็ นต้องมี ค วามรู ้ ความเข้า ใจเกี่ ย วกับหลักเกณฑ์ หรื อ แนวทางการเขี ยนสื่ อ สารแต่ ล ะ
รู ปแบบ เช่น เรี ยงความ จดหมาย การเขี ยนรายงานเชิ งวิชาการ เพราะรู ปแบบของการงานเขียน
ส่ งผลต่อการใช้ถอ้ ยคา

You might also like