You are on page 1of 18

งานเขียนร้ อยแก้ วทีม่ ุ่งถ่ ายทอดความรู้ ความคิด

ประสบการณ์ ของผู้เขียนให้ ผู้อ่านได้ รับความรู้


เรื่ องราว

มีองค์ ประกอบ ๓ ส่ วนคือ


คำนำ

เนื้ อเรื่อง
สรุป
๑.คานา
คานา คือ บทเริ่มของการเขียนเป็ นส่ วนที่ชักนา
ให้ ผู้อ่านสนใจทีจ่ ะคิดติดตามอ่ านต่ อไป คานาที่ดคี วร
บอกให้ ผู้อ่านรู้ ได้ ทนั ทีว่าเป็ นเรื่ องอะไร
การขึน้ ต้ นคานา
➢ การยกคาพูด คาคม สุ ภาษิต หรื อบทร้ อยกรองที่
น่ าสนใจ สอดคล้ องกับเนื้อหา

➢ การให้ คาจากัดความหรื อความหมาย

➢ การตั้งคาถามหรื อปัญหาเร่ งด่ วนทีต่ ้ องกระทา

➢ ข้ อความทีก่ ระตุ้นให้ ผ้ ูอ่านสงสั ยใคร่ รู้ ข่ าวหรื อ


เหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่กาลังจะเกิดขึน้ ในสั งคม
๒.เนื้อเรื่ อง
เนื้อเรื่ อง คือ สาระสาคัญและรายละเอียดของเรื่ อง
ต้ องแสดงออกถึงความรู้ ความคิดเห็นอย่ างชัดแจ้ ง มี
รายละเอียดทีเ่ ป็ นข้ อเท็จจริงและมีการอธิบายอย่ างเป็ น
ลาดับขั้น
ลักษณะเนื้อหา
❖๑. เอกภาพ ในแต่ ละย่ อหน้ าความคิดสาคัญต้ องมี
เนื้อหาไปทิศทางเดียวกันกับหัวข้ อ

❖๒. สั มพันธภาพ เขียนให้ มคี วามสั มพันธ์


ต่ อเนื่องกันตลอดตามโครงเรื่ องทีว่ างไว้

❖๓. สารัตถภาพ เขียนให้ มสี าระสาคัญของเรื่ อง


ครบถ้ วน
ตัวอย่าง

แม่ คา ๆ นีเ้ ป็ นเพียงคาสั้ น ๆ แต่ มคี วามหมายลึกซึ้ง


ท่ านเป็ นเพียงผู้หญิงธรรมดาบนโลก แต่ กลับเป็ นคนพิเศษสาหรับลูกรัก
แม่ คือผู้ประเสริฐสุ ดในชีวติ ทุกๆ ชีวติ เป็ นผู้ทสี่ ามารถให้ ทุกสิ่ งทุกอย่ าง
แก่ ลูกได้ ไม่ ว่าจะเป็ นทรัพย์ สิน เงินทอง ของมีค่าหรื อแม้ กระทัง่ ลม
หายใจทีย่ งั เหลืออยู่ของแม่
และที่สาคัญ

หลักการเขียนเนื้อเรื่ อง
❖เนื้อหาอาจจะมีย่อหน้ าหลายย่ อหน้ าก็ได้ ไม่
จาเป็ นต้ องมีเพียงย่ อหน้ าเดียว
๓.สรุป
สรุป คือ การทิง้ ท้ ายของเรื่ องทีเ่ ขียนและเป็ นส่ วนที่บอก
ผู้อ่านว่ าเรื่ องราวทีเ่ สนอมานั้นได้ สิ้นสุดลง การสรุปทีด่ ี
ต้ องกระชับ ตรงประเด็น ฝากข้ อคิด ความรู้ เพื่อให้ ผู้อ่าน
เกิดความประทับใจ
หลักการเขียนสรุป
❑ เขียนสั้ น ๆ ไม่ เยิน่ เย้ อ (ความยาวเท่ า ๆ กับคานา)
❑ อาจสรุปโดยการอ้ อนวอน เชิญชวน หรื อแสดงความคิดเห็น
❑ ควรเลีย่ งการขออภัย หรื อคาออกตัวว่ าผู้เขียนไม่ มคี วามรู้
❑ ไม่ ควรเสนอประเด็นใหม่ เข้ ามาอีก
การสรุป
❑ เน้ นยา้ ประเด็นหลัก

❑ การนาเสนอความคิดเห็นของผู้เขียน

❑ ลงท้ ายด้ วยคาถาม ข้ อคิด สุ ภาษิต หรื อ


บทร้ อยกรอง
สานวนภาษาในการเขียนเรียงความ

๑. ใช้ ภาษาให้ ถูกต้ องตามหลักภาษา


๒. ไม่ ควรใช้ ภาษาพูด
๓. ไม่ ควรใช้ ภาษาแสลงหรื อภาษาวิบตั ิ
๔. ควรหลีกเลีย่ งการใช้ คาศัพท์ ยาก
๕. ใช้ คาให้ ถูกต้ องตามกาลเทศะและบุคคล
๖. ผูกประโยคให้ กระชับ
ตัวอย่ าง

พระคุณแม่ ที่แม่ มอบให้ แก่ เรา ไม่ ว่าจะมีกระดาษให้ กรี่ ้ อย


กีพ่ นั แผ่ นก็ไม่ สามารถเขียนบรรยายออกมาได้ หมดสิ้ น
หรื อต่ อให้ นักพูดมืออาชีพมาบรรยาย ก็มอิ าจจะพูดได้ ลกึ ซึ้ง
เท่ า ใจสั มผัสความรู้ สึกนีเ้ กินจะบรรยายได้ จริง ๆ ทุกสิ่ งทุก
อย่ างมิอาจทดแทน
ขั้นตอนการเขียนเรียงความ ๑. การเลือกเรื่ อง
๒. การค้ นคว้ าหาข้ อมูล
๓. การวางโครงเรื่ อง
๔. การเรียบเรียงข้ อมูล
๕. การอ่ านทบทวน
ตัวอย่างเรียงความ

You might also like