You are on page 1of 39

เทคนิ คการอ่านจับประเด็น [C]

ปั ญหานึงทีน
่ ักศึกษา (หรือคนทีต
่ ้องทำางานเกีย
่ วกับการอ่าน)
มักจะพบเจอก็คือ อ่านแล้วจับใจความไม่ได้ อ่านแล้วไม่ร้ว่า
อ่านอะไรไป อ่านแล้วพลาดประเด็นสำาคัญๆ บางทีอ่านไป
จนจนจบบทแล้วก็ยังไม่ร้ว่าประเด็นสำาคัญของบทนีค
้ ืออะไร
ซึง่ ปกตินักศึกษาปริญญาโทมักจะต้องอ่านหนังสือ ตำารา
วารสาร บทความ และเอกสารค่อนข้างมาก และนักศึกษา
ส่วนใหญ่ก็มักจะพบปั ญหาเดียวกันนี ้ โดยเฉพาะเวลาอ่านเพือ

จะเขียนหัวข้อทบทวนเอกสาร ซึง่ ต้องรวบรวมประเด็น
สำาคัญๆ เลือก สรุป จัดกลุ่ม จัดลำาดับความสำาคัญ และเชือ
่ ม
โยงประเด็นต่างๆ ของเนือ
้ หาให้ได้

แต่ถ้ามีปัญหาอ่านแล้วไม่เข้าใจ
อ่านแล้วจับประเด็นไม่ได้ซักที มันก็ไปไม่ถึงไหนซักทีเช่นกัน
งัน
้ อาจารย์ทีป
่ รึกษาอย่างเราจะทำายังไงดี?

ปกติ Kon1Kon ก็จะให้คำาแนะนำา


นักศึกษาว่า ให้อ่านอย่างมีจุดหมาย โดยใช้วิธีต่อไปนี :้

• อ่านทีละย่อหน้า
(paragraph)
• ในแต่ละย่อหน้า ถามตัว
เองว่า

o อะไรคือ main idea เมือ


่ อ่านจบ 1 ย่อหน้า
ต้องตอบตัวเองให้ได้ว่าใจความหลักของย่อหน้านีค
้ ืออะไร

o สรุป main idea ให้ได้ใน 1 ประโยค

o ตอบตัวเองให้ได้ว่า อะไรคือข้อความ
สนับสนุน main idea ซึง่ อาจจะอย่้ในร้ปของ คำาขยายความ,
ข้อขัดแย้งหรือความเห็นทีต
่ รงกันข้าม, ตัวอย่าง ฯลฯ

o สรุปเป็ น keywords ทีส


่ ำาคัญๆ

o ด้ว่า keywords ทัง้ หมดนัน


้ มันเชือ
่ มโยงกันอย่้
อย่างไร

• จากนัน
้ ให้นักศึกษา
เอา keywords ทัง้ หมดมาเขียนเป็ นแผนภาพ หรือ แผนผัง
หรือวาดร้ป อะไรก็ได้ทีไ่ ม่ใช่การเขียนต่อกันเป็ นประโยค เพือ

ให้นักศึกษามองให้เห็นภาพรวมของสิง่ ทีผ
่ ้เขียนต้องการจะสือ

• ทำาเช่นนีก
้ ับทุกย่อหน้า
(paragraph)
• เมือ
่ อ่านเสร็จแต่ละ
หัวข้อหรือแต่ละบท ให้เชือ
่ มโยงประเด็นทัง้ หมดอีกครัง้

วิธก
ี ารนี ้ นักศึกษาส่วนใหญ่ทีไ่ ด้
ลองใช้ ต่างก็บอกว่า ช่วยทำาให้เข้าใจเนือ
้ หาทีก
่ ำาลังอ่านได้
มากขึน
้ ช่วยให้เค้าอ่านอย่างมีจุดหมาย และมีสมาธิมากขึน

มีนักศึกษาคนนึงทีเ่ ก่งด้านนีเ้ ป็ นพิเศษ คือ นู้แตูม พออ่าน
แล้วสรุปเป็ นแผนภาพร้ปร่างหน้าตาสวยงาม เวลามาพบ
อาจารย์ทีป
่ รึกษาเพือ
่ รายงานว่าอ่านได้อะไรมาบ้าง ก็สามารถ
มาสรุปและช่วยให้อาจารย์เองได้ความร้้ใหม่ๆ เพิม
่ เติมจาก
เอกสารทีน
่ ักศึกษาไปย่อยมา ได้ประโยชน์ไม่เพียงแต่ตัว
นักศึกษา แต่คนทีฟ
่ ั งนักศึกษาอธิบายด้วยแผนภาพสรุป ก็ได้
ใจความสำาคัญได้ในเวลาอันสัน
้ ด้วย

ก็ใช้วิธีนีม
้ าตลอด แต่สุดแต่ว่า
นักศึกษาคนไหนจะเชือ
่ หรือไม่เชือ
่ จะนำาไปปฏิบัติมากน้อย
เพียงใด

แต่เมือ
่ สัปดาห์ทีแ
่ ล้วไปเจอหนังสือ
่ ว่า “คิดด้วยภาพ (Thinking in Pictures)” ซึง่ บอก
เล่มนึงเข้า ชือ
ว่าเป็ นการถ่ายทอดเทคนิคการคิดของคนญีป
่ ่ ุน เป็ นเครือ
่ งมือ
การคิดทีม
่ ีประสิทธิภาพ ซึง่ ใช้วิธก
ี ารคล้ายๆ กับทีเ่ คยให้
นักศึกษาจับประเด็นนัน
่ เอง (การคิดด้วยภาพไม่ใช่แค่ mind
map นะคะ แต่เป็ นการจับประเด็นสำาคัญทีเ่ อามาผ้กโยงยังไง
ก็ได้ให้อย่้ในร้ปของแผนภาพทีด
่ ้ง่าย เข้าใจง่าย) ซึง่ ในหนังสือ
เค้าจะอธิบายรายละเอียดเพิม
่ เติมอีกหลายอย่าง ซึง่ จะทำาให้
เข้าใจมากขึน
้ ว่าจะคิดด้วยภาพได้ยังไง และจะได้ประโยชน์อะไร
บ้าง เค้าใช้วิธีการคิดด้วยภาพนี ้ แม้กระทัง่ ในการประชุมด้วย
ซำา
้ ไป
ถ้าใครสนใจก็ลองนำาเทคนิควิธีการ
นีไ้ ปใช้ด้นะคะ และถ้าอยากอ่านให้ร้เพิม
่ เติมมากขึน
้ ก็หาซือ
้ ได้
่ คิดด้วยภาพ โดย Nishimura Katsumi แปลและ
ค่ะ หนังสือชือ
เรียบเรียงโดย ประวัติ เพียรเจริญ สำานักพิมพ์ ส.ส.ท. พิมพ์
่ อง เดือนพฤศจิกายน 2550 มีขายทีซ
ครัง้ ทีส ่ ีเอ็ดค่ะ

บประเด็นอย่างไรให้ได้ผล

“เคล็ดลับวิธีจับประเด็น และจดโน๊ ตย่อ”


เคล็ดลับวิธีจับประเด้นและจดโน๊ ตย่อนี้ เป็ นเทคนิ ค
ง่ายๆ นักเรียนนักศึกษาสามารถนำาไปปฏิบัติได้ทุกคน ขอแต่เพียง
เข้าใจเคล็ดลับวิธก ี ารเท่านั้นเอง หัวใจสำาคัญของการจับประเด็น แ
ละจดโน๊ ตย่อ คือ หมั่นฝึ กบ่อยๆ จนติดเป็ นนิ สย ั การอ่านเพื่อจับ
ประเด็น เป็ นสิ่งที่ฝึกกันได้ทุกคน หากมีความเพียรพยายาม หาก
ท่านสามารถจับหลักนี้ ได้ ท่านย่อมพบกับความสำาเร็จในการเล่า
เรียนศึกษาอย่างแน่ นอน
คนเราส่วนใหญ่เมื่ออ่านหนังสือหรือได้ยินได้ฟังอะไร
แล้ว มักจะไม่ค่อยร้้จักตั้งคำาถาม เพื่อกระตุ้นให้ความคิดทำางาน หล
ายๆ คน อ่านหนังสือแล้วก็อ่านไปเลย จำาเรื่องราวได้แคี่คร่าวๆ ไม่
ค่อยแม่นยำา จับประเด็นอะไรไม่ค่อยได้ บางคนถึงกับหลงประเด็น
ไปเลยก็มี
หัวใจของการจับประเด็นคือ การฝึ กหัดตั้งคำาถามกับ
ตัวเองทุกครั้งที่อ่านหนังสือ หรือเมื่อได้ฟังเรื่องต่างๆ คำาถามที่
สำาคัญ ได้แก่ คำาถามว่า “อะไรคือประเด็นสำาคัญของเรื่องนี้ ” หรือ
“หัวใจของเรื่องมันอย่้ท่ีตรงไหน” หรือ “คนเขียนหนังสือเรื่องนี้ เขา
ต้องการจะบอกอะไรกับเรา” หรือ “สาระสำาคัญของเรื่องมันอย่้ตรง
ไหน” เป็ นต้น
(ถ้าจะฝึ กฝนให้จับประเด็นได้แม่นยำายิ่งขึ้น ท่านควร
จะเรียนร้้วธิ ีทำาความเข้าใจและจดจำาเนื้ อหาให้คล่อง
แคล่วเสียก่อน หรือจะฝึ กไปพร้อมๆ กันก็ได้)
ในกรณีนักเรียนนักศึกษาที่จะต้องด้หนังสือทบทวน เ
พื่อเตรียมตัวสอบไล่ ควรฝึ กหัดจับประเด็นให้คล่อง
แคล่ว เริ่มต้นด้วยการฝึ กทำาความเข้าใจในเนื้ อหาตำาราให้ได้เสีย
ก่อน เมื่อเข้าใจแล้ว ขั้นต่อไปก็ให้ฝึกตั้งคำาถามกับตัวเองทุกครั้งที่
อ่านหนังสือจบบทว่า “หัวใจสำาคัญของบทเรียนแต่ละบทที่อ่านมา
นั้นมันอย่้ท่ต
ี รงไหน” หรือประเด็นที่สำาคัญที่สด ุ ของบทเรียนบทนี้
คืออะไร” ทีน้ี พอจับประเด็นแล้ว ก็ให้จดโน๊ ตย่อประเด็นนั้นให้เป็ น
ข้อความสั้นๆ เก็บเอาไว้ ทีน้ี เวลาใกล้สอบก็ไม่ต้องไปท่องหนังสือ
ทั้งเล่มอีกต่อไป เพียงแค่ทบทวนประเด็นที่จดโน๊ ตย่อไว้ในกระดาษ
ไม่ก่ีแผ่นก็เข้าใจได้หมดทั้งเล่ม เวลาทบทวน แค่เราด้โน้ตย่อเพียง
ประโยคเดียว ความจำาของเราก็จะทำาหน้าที่ขยาย แตกตัวออกเป็ น
ความเข้าใจเนื้ อหาได้เป็ นหน้าๆ ทีน้ี ถ้าหากมีท่ีตรงไหนเราเกิด
ความร้้สึกคลุมเครือหรือลังเลสงสัย เราก็เพียงแค่หยิบหนังสือมาท
บทวนด้เฉพาะตรงบทนั้นอีกครั้งหนึ่ ง
ปั จจุบันเราอย่้ในยุคข่าวสารข้อม้ล เป็ นยุคที่ข่าวสาร
ข้อม้ลหลั่งไหลมาจากทั่วทุกสารทิศจนท่วมท้นห้ตาไปหมด คนที่
เข้าใจเนื้ อหาสาระและจับประเด็นแม่น จะเป็ นคนที่ได้เปรียบ เพรา
ะสามารถรับข่าวสารข้อม้ลได้มากมาย ในขณะที่คนอื่นรับไม่ไหว
สาระสำาคัญของบทความนี้ คือ ใครต้องการที่จะเป็ น
คนยุคข่าวสารข้อม้ล คือมีความร้้เท่าทันข่าวสารข้อม้ลที่หลั่งไหล
เข้ามาอย่้ตลอดเวลา ก็ควรจะพัฒนาตนให้เป็ นคนที่สามารถ
ทำาความเข้าใจเนื้ อหาได้รวดเร็วและจับประเด็นเรื่องราวข่าวสาร
ต่างๆ ได้แม่นยำาและ “การหมั่นฝึ กตั้งคำาถาม” คือหัวใจสำาคัญที่สุด
ในการฝึ กจัปประเด็น

เทคนิ คการจำา
--พยายามทำาความเข้าใจเสียก่อน อย่าจำาสิ่งที่ไม่เข้าใจ
--พยายามสัมพันธ์ส่ิงที่เรียนใหม่เข้ากับสิ่งที่เรียนมาแล้วให้ได้
--พยายามหาเนื้ อหาใจความสำาคัญให้ได้แล้วจำาไว้ก่อนส่วนย่อยจะ
มาเอง
--พยายามบันทึกเนื้ อหาอย่างมีระเบียบเป็ นลำาดับตามขั้นตอนที่
เข้าใจง่ายที่สุด เท่าที่จะทำาได้
--บทเรียนใดที่ยาวให้แบ่งเป็ นส่วนๆ เสียก่อนอ่าน ทำาบันทึก
--พยายามใช้ข้ันตอนอันเป็ นเหตุเป็ นผลแก่กันในการช่วยจำา
--พยายามเรียนให้มาก ถ้าเป็ นไปได้ควรให้มากกว่าที่กำาหนดไว้ เป็
นการขยายความร้้ประสบการณ์ท้ังทางตรงและทางอ้อม
--พยายามอย่าหยุดโดยเฉพาะการเรียนวิชาใหม่ หรือวิชายาก โดย
แสวงหาความร้้เบื้องต้นและความร้ก ้ ้าวหน้าตลอดเวลา
--การท่องเป็ นจังหวะจะช่วยให้ท่องจำาได้ง่ายขึ้น
--พยายามทบทวน หรือทำาซำ้าาๆ ด้วยวิธีการต่างๆ เท่าที่โอกาสจะ
อำานวย
เพียงเท่านี้ ความสำาเร็จก็ไม่ไกลเกินเอื้อม ที่สำาคัญต้อง
หมั่นทำาเป็ นประจำาสมำ่าเสมอ จะได้ร้สึกชินและร้ส ้ ึกว่าไม่เหนื่ อยกับ
การต้องจับประเด็น หรือการทำาความเข้าใจในการที่จะทำาอะไรสัก
อย่าง

ส่วนบนของฟอร์ม
หัวข้อสนทนา : เทคนิ คการอ่าน
แนะนำาเทคนิ คการอ่าน เพื่อให้ทุกท่านมีการอ่านอย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น

การอ่านคือการรับร้้ความหมายจากถ้อยคำาที่ตีพิมพ์อย่้ในสิ่งพิมพ์
หรือในหนังสือ เป็ นการรับร้้ว่าผ้้เขียนคิดอะไรและพ้ดอะไร โดย
เริ่มต้นทำาความเข้าใจถ้อยคำาแต่ละคำาเข้าใจวลี เข้าใจประโยค ซึ่ง
รวมอย่้ในย่อหน้า เข้าใจแต่ละย่อหน้า ซึ่งรวมเป็ นเรื่องราว
เดียวกัน
การอ่านเป็ นการบริโภคคำาที่ถก ้ เขียนออกมาเป็ นตัวหนังสือหรือ
สัญลักษณ์ การอ่านโดยหลักวิทยาศาสตร์ เริ่มจากการที่ แสง
ตกกระทบที่ส่ ือ และสะท้อนจากตัวหนังสือผ่านทางเลนส์นัยน์ตา
และประสาทตาเข้าส่้เซลล์สมอง ไปเป็ นความคิด (Idea) ความรับ
ร้้ (Perception) และก่อให้เกิดความจำา (Memory) ทั้งความจำา
ระยะสั้น และความจำาระยะยาว
กระบวนการอ่าน มี 4 ขั้นตอนนับตั้งแต่ข้ันแรก การอ่านออก
อ่านได้ หรืออ่านออกเสียงได้ถ้กต้อง ขั้นที่สองการอ่านแล้วเข้าใจ
ความหมายของคำา วลี ประโยค สรุปความได้ ขั้นที่สามการอ่าน
แล้วร้้จก ั ใช้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์และออกความเห็นในทางที่
ขัดแย้งหรือเห็นด้วยกับผ้้เขียนอย่างมีเหตุผล และขั้นสุดท้ายคือ
การอ่านเพื่อนำาไปใช้ ประยุกต์ใช้ในเชิงสร้างสรรค์ ดังนั้นผ้้ท่ีอ่าน
ได้และอ่านเป็ นจะต้องใช้กระบวนการทั้งหมด ในการอ่านที่ก่อให้
เกิดประโยชน์ส้งสุด โดยการถ่ายทอด ความหมายจากตัวอักษร
ออกมาเป็ นความคิด และจากการคิดที่ได้จากการอ่านผสมผสาน
กับประสบการณ์เดิม และสามารถความคิด นั้นไปใช้ประโยชน์ต่อ
ไป
คุณค่าของการอ่าน วัตถุประสงค์ในการอ่านของแต่ละบุคคลย่อม
แตกต่างกันออกไป เช่น อ่านเพื่อความร้้, อ่านเพื่อให้เกิดความ
คิด, อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน อ่านเพื่อความจรรโลงใจ, เป็ นต้น
ซึ่งผ้้อ่านจำาเป็ นต้องทราบจุดมุ่งหมายของการอ่านนั้นๆ ไว้ก่อน
การอ่านทุกครั้ง อย่างไรก็ตามการอ่านมีความสำาคัญ ต่อชีวิตที่
ช่วยให้เกิดการเรียนร้ต ้ ลอดชีวิต เป็ นการช่วยให้ได้รับข้อม้ล
ข่าวสารเพื่อประกอบการตัดสินใจในชีวิตประจำาวัน การอ่านมี
ความจำาเป็ นต่อการศึกษาเล่าเรียน ทั้งในระบบและนอกระบบ คน
ที่เรียนหนังสือเก่งมักจะเป็ นคนที่อ่านหนังสือเก่ง เพราะการอ่าน
ช่วยให้ได้รับความร้้และความเข้าใจ ที่จะทำาให้ประสบความสำาเร็จ
และสามารถศึกษาต่อในระดับส้งได้ การอ่านมีคุณค่าต่อมนุษย์
เนื่ องจาก เป็ นการสนองความต้องการของมนุษย์,ทำาให้มนุษย์เกิด
ความร้,้ ยกระดับสติปัญญาให้ส้งขึ้น, ทำาให้มนุษย์เกิดความคิด
สร้างสรรค์, พัฒนาความคิดให้ก้าวหน้า, ส่งผลต่อการพัฒนาใน
อาชีพ, ทำาให้มนุษย์ทันต่อเหตุการณ์, ได้รับความร้้เพิ่ม, ช่วย
อำานวยความสะดวกในชีวิตประจำาวัน, ช่วยให้มนุษย์สามารถ
แก้ไขปั ญหาต่างๆ และสามารถดำารงชีวิตในสังคมได้, ช่วยพัฒนา
จิตใจให้งอกงาม ช่วยขจัดความทุกข์ ความเศร้าหมอง, การอ่าน
ทำาให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือ ในการอย่้ร่วมกันในสังคม,
เป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ได้รับความเพลิดเพลินและ
พักผ่อนหย่อนใจ
การเตรียมพร้อมเพื่อการอ่าน
การอ่านจะดำาเนิ นไปได้ดีเพียงใดขึ้นอย่้กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพ และองค์ประกอบที่อย่้ภายในร่างกาย การอ่าน
ท่ามกลาง บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม จะนำามาซึ่งประ
สิทธิและประสิทธิผลในการอ่าน ทั้งนี้ ควรคำานึ งถึง
1. การจัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม สถานที่ท่เี หมาะกับการอ่าน
ควรมีความเงียบสงบ ตัดสิ่งต่างๆที่รบกวนสมาธิออกไป มี
อุณหภ้มิและแสงสว่างที่เหมาะสม มีโต๊ะที่มค ี วามส้งพอเหมาะและ
เก้าอี้ท่ีน่ังสบายไม่นุ่มหรือแข็งจนเกินไป
2. การจัดท่าของการอ่าน ตำาแหน่ งของหนังสือควรอย่้ห่าง
ประมาณ 35-45 เซนติเมตร และหน้าหนังสือจะต้องตรงอย่้กลาง
สายตา ควรนั่งให้หลังตรงไม่ควรนอนอ่านทั้งนี้ เพื่อให้สมองได้รับ
เลือดไปหล่อเลี้ยงอย่างเต็มที่ ก็จะทำาให้เกิดการตื่นตัวต่อการรับร้้
จดจำา และอ่านได้นาน
3. การจัดอุปกรณ์ช่วยในการอ่าน การอ่านอาจมีอุปกรณ์ท่ีจำาเป็ น
เช่น กระดาษสำาหรับบันทึกดินสอ ปากกา ดินสอสี
4. การจัดเวลาที่เหมาะสม สำาหรับนักศึกษาที่ต้องมีการทบทวน
บทเรียนควรอ่านหนังสือในช่วงที่เหมาะสมคือช่วงที่ท่ีไม่ดึก มาก
คือตั้งแต่ 20.00 – 23.00 น. เนื่ องจากร่างกายยังไม่อ่อนล้าเกิน
ไปนัก หรืออ่านในตอนเช้า 5.00-6.30 น. หลังจากที่ร่างกายได้
รับ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ ในการอ่านแต่ละครั้งไม่ควร
เกิน 50 นาทีและให้เปลี่ยนแปลงอิริยาบถสัก 10 นาทีก่อนลงมือ
อ่านต่อไป
5. การเตรียมตนเอง ได้แก่การทำาจิตใจให้แจ่มใส มีความมุ่งมั่น มี
ความตั้งใจ และมีสมาธิในการอ่าน นอนหลับพักผ่อน ให้เพียงพอ
มีสุขภาพสายตาที่ดี ตัดปั ญหารบกวนจิตใจให้หมด การแบ่งเวลา
ให้ถ้กต้อง และมีระเบียบวินัยในชีวิตโดยให้เวลา แต่ละวันฝึ กอ่าน
หนังสือ และพยายามฝึ กทักษะใหม่ๆในการอ่านเช่น ทักษะการ
อ่านเร็วอย่างเข้าใจ เป็ นต้น
การเลือกสรรวัสดุการอ่าน
การเลือกสรรวัสดุการอ่าน ขึ้นอย่้กับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์
ของการอ่าน เช่นการอ่านเพื่อการศึกษา การอ่านเพื่อหาข้อม้ล
ประกอบการทำางาน การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน การอ่านเพื่อ
ฆ่าเวลา การร้้จักเลือกวัสดุการอ่าน ที่มีประโยชน์จะช่วยให้ผ้อ่าน
ได้รับประโยชน์ตามเป้ าหมาย การเลือกสรรวัสดุการอ่านมีความ
สัมพันธ์กับการเลือกใช้ทรัพยากรสารนิ เทศในห้องสมุด เช่น

1. การอ่านเพื่อความร้้ เช่น ตำาราวิชาการ


2. การอ่านเพื่อความบันเทิงใจ
3. การอ่านเพื่อเป็ นกำาลังใจ เสริมสร้างปั ญญา เช่น หนังสือ
จิตวิทยา หนังสือธรรมะ
4. การอ่านเพื่อใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
เมื่อเลือกวัสดุการอ่านหรือหนังสือได้แล้ว ก็จะต้องกำาหนดว่า
ต้องการอะไรข้อม้ลในลักษณะใดจากหนังสือ เล่มนั้น ขอบเขต
ของข้อม้ลในลักษณะกว้างหรือแคบแต่ลึกซึ้ง ทั้งนี้ เพื่อกำาหนดร้ป
แบบการอ่านเพื่อความต้องการต่อไป
การกำาหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน
การร้้ความมุ่งหมายในการอ่านเปรียบเหมือนการร้้จุดหมาย
ปลายทางของการเดินทาง ทำาให้สามารถเตรียมพร้อมสำาหรับ
สถานการณ์ต่าง ๆ และเดินทางไปส่้ท่ีหมายได้ นักอ่านที่ดีควรมี
จุดมุ่งหมายว่าต้องการอ่านเพื่ออะไร เพื่อจะได้กำาหนดวิธีอ่านได้
เหมาะสมการอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้าและทำารายงาน มีจุดมุ่ง
หมายดังนี้
1. อ่านเพื่อความร้้พ้ ืนฐาน เป็ นการอ่านเพื่อร้้เรื่องโดยสังเขป หรือ
เพื่อลักษณะของหนังสือ เช่น การอ่านเพื่อ รวบรวมสิ่งพิมพ์ท่ีจะใช้
ในการค้นคว้าและเขียนรายงาน
2. อ่านเพื่อรวบรวมข้อม้ล เป็ นการอ่านให้เข้าในเนื้ อหาสาระ และ
จัดลำาดับความคิดได้ เพื่อสามารถรวบรวม และบันทึกข้อม้ล
สำาหรับเขียนรายงาน
3. อ่านเพื่อหาแนวคิด หมายถึงการอ่านเพื่อร้้ว่าสิ่งที่อ่านั้นมี
แนวคิดหรือสาระสำาคัญอย่างไร จะนำาไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่
ในลักษณะใด เช่น การอ่านบทความ และสารคดีเพื่อหาหัวข้อ
สำาหรับเขียนโครงร่างรายงาน
4. อ่านเพื่อวิเคราะห์หรือวิจารณ์ คือการอ่านเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้ง
พอที่จะนำาความร้้ไปใช้ หรือแสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน
ได้ เช่น การอ่านบทความที่แสดงความคิดเห็น การอ่านตาราง
และรายงาน
วิธีการอ่านที่เหมาะสม
การอ่านมีหลายระดับ และมีวิธีการต่าง ๆ ตามความมุ่งหมายของ
ผ้้อ่าน และประเภทของสื่อการอ่าน การอ่านเพื่อการศึกษา
ค้นคว้าและเขียนรายงาน อาจใช้วิธีอ่านต่าง ๆ เช่น การอ่าน
สำารวจ การอ่านข้าม การอ่านผ่าน การอ่านจับประเด็น การอ่าน
สรุป ความและการอ่านวิเคราะห์

ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. การอ่านสำารวจ คือ การอ่านข้อเขียนอย่างรวดเร็ว เพื่อร้้


ลักษณะโครงสร้างของข้อเขียน สำานวนภาษา เนื้ อเรื่องโดยสังเขป
เป็ นวิธีอ่านที่เป็ นประโยชน์อย่างยิ่งในการเลือกสรรสิ่งพิมพ์
สำาหรับใช้ประกอบการค้นคว้า หรือการหาแนวเรื่องสำาหรับเขียน
รายงาน และรวบรวมบรรณานุกรมในหัวข้อที่เขียนรายงาน

2. การอ่านข้าม เป็ นวิธีอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อเข้าใจเนื้ อหาของข้อ


เขียน โดยเลือกอ่านข้อความบางตอน เช่น การอ่านคำานำา สาระ
สังเขป บทสรุป และการอ่านเนื้ อหาเฉพาะตอนที่ตรงกับความ
ต้องการเป็ นต้น

3. การอ่านผ่าน เป็ นการอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning


Reading) โดยผ้้อ่านจะทำาการกวาดสายตาอย่างรวดเร็วไปยังสิ่ง
ที่เป็ นเป้ าหมายในข้อเขียนเช่น คำาสำาคัญ ตัวอักษร หรือ
สัญลักษณ์ แล้วอ่านรายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการ
เช่น การอ่านเพื่อค้นหาชื่อในพจนานุกรม และการอ่านแผนที่

4. การอ่านจับประเด็น หมายถึง การอ่านเรื่องหรือข้อเขียนโดย


ทำาความเข้าใจสาระสำาคัญในขณะที่อ่าน มักใช้ในการอ่าน ข้อ
เขียนที่ไม่ยาวนัก เช่น บทความ การอ่านเร็ว ๆ หลายครั้งจะช่วย
ให้จับประเด็นได้ โดยการอ่านมีเทคนิ คคือต้องสังเกตคำาสำาคัญ
ประโยคสำาคัญที่มีคำาสำาคัญ และทำาการย่อสรุปบันทึกประโยค
สำาคัญไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป
5. การอ่านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตีความ
หมายสิ่งที่อ่านได้ถ้กต้องชัดเจนเข้าใจเรื่องอย่างดี สามารถแยก
ส่วนที่สำาคัญหรือไม่สำาคัญออกจากกัน ร้้ว่าส่วนใดเป็ นข้อเท็จจริง
หรือข้อคิดเห็น ส่วนใดเป็ นความคิดหลัก ความคิดรอง การอ่าน
สรุป ความมีสองลักษณะคือ การสรุปแต่ละย่อหน้าหรือแต่ละตอน
และสรุปจากทั้งเรื่อง หรือทั้งบท การอ่านสรุปความควรอย่าง
อย่างคร่าว ๆ ครั้งหนึ่ งพอให้ร้เรื่อง แล้วอ่านละเอียดอีกครั้งเพื่อ
เข้าใจเรื่องอย่างดี หลักจากนั้นตั้งคำาถามตนเองในเรื่องที่อ่านว่า
เกี่ยวกับอะไร มีเรื่องราวอย่างไร แล้วเรียบเรียงเนื้ อหาเป็ น
สำานวนภาษาของผ้้สรุป

6. การอ่านวิเคราะห์ การอ่านเพื่อค้นคว้าและเขียนรายงานโดย
ทั่วไปต้องมีการวิเคราะห์ความหมายของข้อความ ทั้งนี้ เพราะ ผ้้
เขียนอาจใช้คำาและสำานวนภาษาในลักษณะต่าง ๆ อาจเป็ นภาษา
โดยตรงมีความชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาโดยนัยที่ต้องทำาความ
เข้าใจ และภาษาที่มีความหมายตามอารมณ์และความร้้สก ึ ของผ้้
เขียน ผ้้อ่านที่มีความร้้เรื่องคำาศัพท์และสำานวนภาษาดี มี
ประสบการณ์ ในการ อ่านมากและมีสมาธิในการอ่านดี ย่อม
สามารถวิเคราะห์ได้ตรงความหมายที่ผ้เขียนต้องการสื่อ และ
สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดี

จากคุณ : มีแต่กระท้้ไร้สาระ - [07 ก.พ.51 13:24]


ส่วนล่างของฟอร์ม

ความคิดเห็นทัง
้ หมด 4 ความคิดเห็น
แสดงหน้าที่ 1/1

ส่วนบนของฟอร์ม

ส่วนล่างของฟอร์ม
ส่วนบนของฟอร์ม
del /w ebboard.asp?s w w balist

ความคิดเห็นที่ 1 :
เทคนิ คการอ่าน

SQ3R Survey (สำารวจ) Question (ตั้งคำาถาม) Read (อ่าน)


Recall (ฟื้ นความจำา) และ Review (ทบทวน)

PQRST Preview (อ่านคร่าว ๆ ล่วงหน้า) Question (ตั้งคำาถาม)


Read (อ่าน) Summary (ย่อ) Test (ทดสอบ)

PAGE Prepare (เตรียมตัว) Ask (ถาม) Gather (รวบรวม)


Evaluate (ประเมิน) ในบรรดาวิธีการต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นนี้

นักศึกษาจะเลือกวิธีใดก็ได้ท่ีเหมาะสมกับตนเอง แต่วิธท ี ่ีมีผ้นิยมใช้


กันมากได้แก่ SQ3R ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
SQ3R
Survey (สำารวจ) :
- สำารวจด้ว่าหนังสือเล่มนี้ มีหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องอะไร ? ใครเป็ นคน
เขียน ? มีพ้ ืนฐาน
ความร้้อย่างไร ? พิมพ์เมื่อไร ?
- อ่านคำาแนะนำาและศึกษาว่าผ้้เขียนต้องการเขียนตำาราเล่มนี้ เพื่อ
ให้บุคคลกลุ่มใดอ่าน
มีจุดประสงค์จะครอบคลุมเรื่องใดบ้าง ผ้้เขียนแนะนำาวิธีการอ่าน
หรือไม่
- เนื้ อหาในหนังสือกล่าวถึงอะไรบ้าง
- อ่านดรรชนี เพื่อหาบทความที่เฉพาะเจาะจง
- มีภาพประกอบ/แผนภ้มิหรือไม่
- มีการสรุปย่อแต่ละบทหรือไม่
- มีสญ ั ลักษณ์บ่งชี้ เช่น ขนาดตัวอักษร การขีดเส้นใต้ ลำาดับความ
สำาคัญของการจัดวาง
หัวข้อซึ่งบ่งบอกถึงระดับความสำาคัญของแต่ละหัวข้อ
Question (ตั้งคำาถาม) :
- ก่อนอ่านหนังสือ นักศึกษาน่ าจะมีคำาถามในใจไว้ล่วงหน้าว่าเรา
จะอ่านหนังสือเล่มนี้ เพื่ออยากร้้อะไร ? อยากตอบคำาถามอะไร ?
- คำาถามเหล่านั้น อาจมาจากห้องเรียนหรืออาจมาจากตัว
นักศึกษาเองก็ได้
Read (อ่าน) :
อ่านครั้งที่ 1
- อ่านอย่างเร็วพยายามเจาะหาประเด็นสำาคัญของแต่ละบท แต่ละ
หัวข้อ แต่ละย่อหน้า
- อย่ามัวแต่ขีดเส้นใต้ หรือป้ ายปากกาสี ควรทำาเครื่องหมายด้วย
ดินสอและเขียนอย่างเบา ๆ
- อย่ามัวแต่จดบันทึกเพราะจะทำาให้สมาธิในการอ่านลดลง
อ่านครั้งที่ 2
- อ่านซำ้าอีกครั้ง คราวนี้ ทำาเครื่องหมายข้อความที่สำาคัญ
- รวบรวมประเด็นต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- ลองประเมินเนื้ อหา (หากเป็ นข้อโต้แย้งให้พิจารณาว่าอ่านแล้วด้
มีเหตุผลหรือไม่ ข้อม้ลที่
บอกในหนังสือด้ขัดกับความจริง หรือความร้้ท่ีนักศึกษาเคยร้้มา
หรือไม่)
- สรุปเนื้ อหา เพื่อง่ายต่อการรื้อฟื้ นความจำาในภายหลัง
Recall (ฟื้ นความจำา) :
เมื่อสิ้นสุดเนื้ อหาของแต่ละบท บันทึกย่อ อย่าย่อชนิ ดยาวจนเกิน
เหตุ ซึ่งเป็ นการแสดงว่า
นักศึกษายังจับประเด็นไม่ถ้กต้อง
Review (ทบทวน) :
- สำารวจด้หัวข้อ (ชื่อ) ของหนังสือ หัวข้อและเนื้ อหาโดยย่อของ
แต่ละบท
- ตรวจสอบว่าเนื้ อหาที่มีน้ัน ตอบคำาถามที่นักศึกษามีไว้ในใจหรือ
ไม่
- อ่านอีกครั้ง เพื่อแน่ ใจว่าเราเก็บประเด็นสำาคัญของหนังสือได้
หมด
- เติมสิ่งที่ขาดตกบกพร่องวิธี SQ3R ด้เสมือนเป็ นวิธีท่ีมีข้ันตอน
มากแต่ก็เป็ นวิธีท่ีจัดการอ่านอย่างเป็ นระบบ และได้ ผล อย่างไร
ก็ตามวิธี SQ3R อาจไม่เหมาะสำาหรับการอ่านหนังสือบางเล่ม มีผ้
แนะนำาเทคนิ คบางอย่างที่ใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์ได้แก่ "Scan
- Search - Save" มาใช้เป็ นเทคนิ คการอ่านตำารา
Scan (ทบทวน) : ได้แก่การอ่านเนื้ อหาอย่างหยาบ ๆ และรวดเร็ว
เพื่อจับใจความว่าหนังสือนี้ ประกอบด้วยบทใดบ้าง มีบทนำา การ
เรียงลำาดับหัวข้อเป็ นเช่นใด มีแผนภ้มิ ร้ปภาพประกอบมากน้อย
เพียงใด
Search(ทบทวน) :
- หาบทที่มีเนื้ อหาตรงกับความต้องการ
- หาคำาตอบ เพื่อตอบคำาถามที่ต้ังไว้
- ทำาเครื่องหมาย (ใช้ดินสอ เขียนเบา ๆ)
- ศึกษาเนื้ อหาในแต่ละย่อหน้าที่ตรงกับจุดประสงค์

Save(ทบทวน) :
- เก็บข้อม้ล เนื้ อหา ของโครงสร้างของแต่ละบท
- จดเนื้ อหาที่สำาคัญ
อัตราความเร็วในการอ่าน
ประสิทธิภาพในการอ่านหนังสือตำารานั้น มีผ้ประเมิน โดยคิดเป็ น
อัตราของคำาต่อนาที ดังนี้
- ถ้าตำารานั้นอ่านยาก ควรใช้เวลา 100-200 คำาต่อนาที
- ถ้าตำารานั้นอ่านยากปานกลาง ควรใช้เวลา 200-400 คำาต่อนาที
- ถ้าอ่านเพื่อให้ได้เนื้ อหากว้าง ๆ ควรใช้เวลา 500-1000 คำาต่อ
นาที
- ถ้าอ่านอย่างรวดเร็ว พอสังเขปควรใช้เวลา 1000-1500 คำาต่อ
นาที
จะปรับปรุงการอ่านให้เร็วขึ้นได้อย่างไร
มีผ้ให้ข้อสังเกตว่า เนื้ อหาที่ปรากฏอย่้ในตำารานั้น ประมาณสองใน
สามเป็ นการเขียนตามหลักภาษาเพื่อให้ถ้กต้องตามร้ปแบบและ
ไวยากรณ์ มากกว่าที่จะเป็ นเนื้ อหาที่แท้จริง ดังนั้น ถ้านักศึกษา
พะวงต่อการอ่านทุกคำา จะทำาให้ความเร็วในการอ่านลดลง การ
อ่านเร็ว มิได้หมายความว่า ความเข้าใจ และการจดจำาเนื้ อหาจะ
ลดลง แต่การอ่านไปหมดทุกวรรคทุกตอนจะทำาให้ท้ังสายตา และ
จิตใจของนักศึกษา ต้องพะวักพะวงกับเนื้ อหาที่มากเกินควร การ
อ่านอย่างมีวินัยมีระเบียบจะช่วยทำาให้ประสิทธิภาพการอ่านดีขึ้น
นักศึกษาอาจลองใช้วิธีการต่อไปนี้
หัดเตรียมตัว
อ่านอย่างกว้าง ๆ เพื่อจับประเด็นของเนื้ อหาที่มีอย่้ในหนังสือ (การ
มีภ้มิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมาบ้างแล้ว จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจ
เนื้ อหาได้เร็วขึ้น)
- อ่านอย่างมีจุดประสงค์ ตั้งใจและพยายามอ่านให้ทันตามเวลาที่
เรากำาหนด วิธีบังคับตนเองไม่ให้อ่านตามสบายชนิ ดตามใจตน
กระทำาได้โดยการลากปากกาหรือดินสอชี้นำาไปตามบรรทัด
นอกจากนี้ จะต้องไม่ให้มีส่ิงใดมารบกวนสมาธิขณะอ่านด้วย
- ละทิ้งนิ สัยการอ่านที่ไม่ดี ได้แก่
. หยุดที่คำาใดคำาหนึ่ งโดยเฉพาะ พยายามขยายกรอบของเนื้ อหาให้
มากขึ้น จะได้เข้าใจ
ประเด็นได้ง่ายขึ้น
. อ่านย้อนกลับไปกลับมา วิธีน้ี ทำาให้เสียเวลา และมีผลทำาให้การ
เชื่อมต่อข้อความไม่ปะติดปะต่อ ทำาให้จำาเนื้ อหาไม่ได้
พยายามลดความเมื่อยล้าของสายตาโดย
- ตรวจสุขภาพสายตาเสียบ้าง
- ให้หนังสืออย่้ห่างจากสายตาประมาณ 40 ซม. เพื่อขยายกรอบ
ของการมองเห็น และลด
การเคลื่อนไหวของสายตา

ฝึ กฝนตนให้เป็ นผ้้อ่านชั้นเยี่ยม
- มือข้างหนึ่ งใช้พลิกหน้ากระดาษ ส่วนมืออีกข้างหนึ่ งให้ลากลงมา
ตามบรรทัดวิธีน้ี จะเป็ นการควบคุมสายตา ให้เห็นคำาที่จะอ่านใน
แต่ละครั้งมากขึ้น บังคับมิให้สายตาจ้องจดอย่้ท่ีคำาใดคำาหนึ่ ง และ
ยังเป็ นการฝึ กตนเองให้มีวินัยและมีสมาธิในการอ่านอีกด้วย
- กวาดสายตาไปทั่วทั้งหน้ากระดาษภายใน 5 วินาที นักศึกษาอาจ
จะคิดว่าไม่ได้อ่านอะไรเลย แต่นักศึกษาจะสามารถจับคำาสำาคัญได้
อย่างรวดเร็ว และถ้าหน้าไหนอ่านยากก็อาจกลับมาอ่านอย่างช้า
ๆ ได้ในภายหลัง
- ฝึ กทำาเช่นนี้ อย่างน้อยวันละ 5 นาที ภายใน 1-2 เดือน นักศึกษา
จะพบว่าตนเองสามารถอ่านได้เร็วขึ้นกว่าเดิมหลาย

สรุปจากบทความ

การอ่านเป็ นสิ่งสำาคัญในชีวิตของคนเรา เพราะคนเราจะเกิดความ


ร้้ได้เกิดจากการอ่านหนังสือด้วยตนเอง เพราะฉะนั้นการอ่าน
หนังสือให้เร็ว และว่องไวก็จะทำาให้เกิดความร้้ท่ีมากกว่าคนอื่น
เทคนิ คการอ่านหนังสือก็จะช่วยให้เราอ่านหนังสือสอบได้อย่าง
รวดเร็วและเข้าใจมากขึ้น
ส่วนล่างของฟอร์ม
เทคนิ คการอ่านแบบ 3S

วันนี้ เรามีเทคนิ คการอ่านหนังสือแบบ 3S มาแนะนำากันค่ะ อย่า


เพิ่งทำาหน้างงกันนะคะ 3S ก็คือ "Scan - Search - Save"
Scan
ได้แก่การอ่านเนื้ อหาอย่างหยาบ ๆ และรวดเร็ว เพื่อจับใจความว่า
หนังสือนี้ ประกอบด้วยบทใดบ้าง มีบทนำา การเรียงลำาดับหัวข้อเป็ น
เช่นใด มีแผนภ้มิ ร้ปภาพประกอบมากน้อยเพียงใด

Search
- หาบทที่มีเนื้ อหาตรงกับความต้องการ
- หาคำาตอบ เพื่อตอบคำาถามที่ต้ังไว้
- ทำาเครื่องหมาย (ใช้ดำาสอ เขียนเบา ๆ)
- ศึกษาเนื้ อหาในแต่ละย่อหน้าที่ตรงกับจุดประสงค์

Save
- เก็บข้อม้ล เนื้ อหา ของโครงสร้างของแต่ละบท
- จดเนื้ อหาที่สำาคัญ

อัตราความเร็วในการอ่าน
ประสิทธิภาพในการอ่านหนังสือตำารานั้น มีผ้ประเมิน โดยคิดเป็ น
อัตราของคำาต่อนาที ดังนี้
- ถ้าตำารานั้นอ่านยาก ควรใช้เวลา 100-200 คำาต่อนาที
- ถ้าตำารานั้นอ่านยากปานกลาง ควรใช้เวลา 200-400 คำาต่อนาที

- ถ้าอ่านเพื่อให้ได้เนื้ อหากว้าง ๆ ควรใช้เวลา 500-1,000 คำาต่อ


นาที
- ถ้าอ่านอย่างรวดเร็ว พอสังเขปควรใช้เวลา 1,000-1,500 คำาต่อ
นาที

จะปรับปรุงการอ่านให้เร็วขึ้นได้อย่างไร
มีผ้ให้ข้อสังเกตว่า เนื้ อหาที่ปรากฎอย่้ในตำารานั้น ประมาณสองใน
สามเป็ นการเขียนตามหลักภาษาเพื่อให้ถ้กต้องตามร้ปแบบและ
ไวยากรณ์ มากกว่าที่จะเป็ นเนื้ อหาที่แท้จริง ดังนั้นถ้านิ สิตพะวงต่อ
การอ่านทุกคำา จะทำาให้ความเร็วในการอ่านลดลง การอ่านเร็วมิได้
หมายความว่า ความเข้าใจ และการจดจำาเนื้ อหาจะลดลง แต่การ
อ่านไปหมดทุกวรรคทุกตอนจะทำาให้ท้ังสายตา และจิตใจของนิ สิต
ต้องพะวักพะวงกับเนื้ อหาที่มากเกินควร การอ่านอย่างมีวินัย มี
ระเบียบจะช่วยทำาให้ประสิทธิภาพการอ่านดีขึ้น นิ สต
ิ อาจลองใช้ วิธี
การต่อไปนี้

เตรียมตัว
• อ่านอย่างกว้าง ๆ เพื่อจับประเด็นของเนื้ อหาที่มีอย่้ในหนังสือ (ก
ารมีภ้มิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมาบ้างแล้ว จะช่วยให้นิสิตเข้าใจ
เนื้ อหาได้เร็วขึ้น)
• อ่านอย่างมีจุดประสงค์ ตั้งใจและพยายามอ่านให้ทันตามเวลาที่
เรากำาหนด วิธีบังคับตนเองไม่ให้อ่านตามสบายชนิ ดตามใจตน
กระทำาได้โดยการลากปากกา หรือดินสอชี้นำาไปตามบรรทัด
นอกจากนี้ จะต้องไม่ให้มีส่ิงใดมารบกวนสมาธิขณะอ่านด้วย
• ละทิ้งนิ สัย การอ่านที่ไม่ดี ได้แก่

๐ หยุดที่คำาใดคำาหนึ่ งโดยเฉพาะ พยายามขยายกรอบของเนื้ อหาให้


มากขึ้น จะได้เข้าใจประเด็นได้ง่ายขึ้น
๐ อ่านย้อนกลับไปมา วิธีน้ี ทำาให้เสียเวลา และมีผลทำาให้การเชื่อม
ต่อข้อความไม่ปะติดปะต่อ ทำาให้จำาเนื้ อหาไม่ได้
๐ เคลื่อนไหวสายตาไม่เร็วพอ ถ้าสายตาเพ่งเพียงแต่ข้อความแคบ
ๆ (เช่นด้แค่คำาคำาเดียว) การอ่านก็ช้าไปด้วย

พยายามลดความเมื่อยล้าของสายตาโดย
- ตรวจสุขภาพสายตาเสียบ้าง
- ให้หนังสืออย่้ห่างจากสายตาประมาณ 40 ซม. เพื่อขยายกรอบ
ของการมองเห็น และลดการเคลื่อนไหวของสายตา
ฝึ กฝนตนให้เป็ นผ้้อ่านชั้นเยี่ยม
• มือข้างหนึ่ งใช้พลิกหน้ากระดาษ ส่วนมืออีกข้างหนึ่ งให้ลากลงมา
ตามบรรทัดวิธีน้ี จะเป็ นการควบคุมสายตา ให้เห็นคำาที่จะอ่านใน
แต่ละครั้งมากขึ้น บังคับมิให้สายตาจ้องจดอย่้ท่ีคำาใดคำาหนึ่ ง และ
ยังเป็ นการฝึ กตนเองให้มีวินัย และมีสมาธิในการอ่านอีกด้วย
• กวาดสายตาไปทั่วทั้งหน้ากระดาษภายใน 5 วินาที นิ สต ิ อาจจะ
คิดว่าไม่ได้อ่านอะไรเลย แต่นิสิต จะสามารถจัดคำาสำาคัญได้อย่าง
รวดเร็ว และถ้าหน้าไหนอ่านยากก็อาจกลับมาอ่านอย่างช้า ๆ ได้
ในภายหลัง
• ฝึ กทำาเช่นนี้ อย่างน้อยวันละ 5 นาที ภายใน 1 - 2 เดือน นิ สิตจะ
พบว่าตนเองสามารถอ่านได้เร็วขึ้นกว่าเดิมกลายเท่าตัว

…………………………………………………………………………
………………………………..

เทคนิ คการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ

วันนี้ อะตอมมีเทคนิ คในการอ่านหนังสือแต่ละประเภทมาแนะนำาให้


เลือกใช้กันค่ะ เพื่อให้การอ่านหนังสือมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
มากขึ้น

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์: ไม่ควรอ่านตะลุยเรื่อยๆ รวดเดียวจบ


เล่มควรอ่าน แล้วหยุดพักเป็ นตอนๆไปเรื่อยๆ

ประวัติศาสตร์ ภ้มิศาสตร์ : ควรอ่านตะลุยรวดเดียวไปจนจบเพื่อให้


เรื่องราวสัมพันธ์ต่อเนื่ องกัน

วรรณคดี : อ่านอย่างรอบคอบถี่ถ้วน อ่านช้าๆไม่รีบเร่งปล่อย


อารมณ์ให้คล้อยตามคำาบรรยาย ถ้าอ่านเพื่อศึกษาควร มีการ
วิเคราะห์เรื่องราว บทบาทของตัวละครตลอดจนส่วนอื่นๆของ
วรรณคดี

นิ ตยสารและหนังสือพิมพ์ ควรใช้วิจารณญาน พิจารณาอย่าง


รอบคอบ ไม่ใช่ เชื่อทุกอย่างตามที่ข่าวรายงาน
รวมเทคนิ คการอ่านหนังสือสอบมาฝากอ่ะครับ
ข้อความ : เทคนิ คการอ่านหนังสือเตรียมตัวสอบให้ได้ผล ใน 1
เดือน

1.ต้องเลิกเที่ยว เลิกดื่ม เลิกสร้างบรรยากาศที่ไม่ใช่การเตรียม


สอบ เลิก chat ตอนดึกๆ เลิกเม้าท์โทรศัพท์นานๆ ตัดทุกอย่างออก
ไป ปลีกวิเวกได้เลย ต้องทำาให้ได้ ถ้าไม่ได้อย่าคิดเลยว่าจะสอบติด
ฝั นไปเถอะ

2.ตัดสินใจให้เด็ดขาด ว่าต่อไปนี้ จะทำาเพื่ออนาคตตัวเอง บอกเพื่อน


บอกพ่อแม่ บอกทุกคนว่า อย่ารบกวน ขอเวลาส่วนตัว จะเปลี่ยน
ชีวิต จะกำาหนดชีวิตตัวเอง จะกำาหนดอนาคตตัวเอง เพราะเรา
ต้องการมีอนาคตที่กำาหนดได้ด้วยตัวเอง ใช่หรือไม่

3.ถ้าทำา 2 ข้อไม่ได้ อย่าทำาข้อนี้ เพราะข้อนี้ คือ ให้เขียนอนาคตตัว


เองไว้เลยว่า จะเรียนต่อคณะอะไร จบแล้วจะเป็ นอะไร เช่น จะเรียน
พยาบาล ก็เขียนป้ ายตัวใหญ่ๆ ติดไว้ข้างห้อง มองเห็นตลอดเลยว่า
“เราจะเป็ นพยาบาล” จะเรียนแพทย์ก็ต้องเขียนไว้เลยว่า “ปี หน้า
จะไปเหยียบแผ่นดินแพทย์ศิรร ิ าช-จุฬา” อะไรทำานองนี้ เพื่อสร้าง
เป้ าหมายให้ชัดเจน

4.เตรียมตัว สรรหาหนังสือ หาอาจารย์ติว หาเพื่อนคนเก่งๆ บอก


กับเค้าว่าช่วยเป็ นกำาลังใจให้เราหน่ อย ช่วยเหลือเราหน่ อย หา
หนังสือมาให้ครบทุกเนื้ อหาที่จะต้องสอบ เตรียมห้องอ่านหนังสือ
โต๊ะ เก้าอี้ โคมไฟ ให้พร้อม

5.เริ่มลงมืออ่านหนังสือ เริ่มจากวิชาที่ชอบ เรื่องที่ถนัด ก่อน ทำา


ข้อสอบไปด้วย ทำาแบบฝึ กหัดจากง่ายไปยาก ค่อยๆ ทำา ถ้าท้อก็ให้
ลืมตาด้ป้าย ด้ร้ปอนาคตของตัวเอง ต้องลงมืออ่านอย่างจริงจัง
อย่างน้อยวันละ 10 ชั่วโมง แล้วจะทำาได้ไง วิธก ี ารคือ อ่านทุกเมื่อที่
มีโอกาส อ่านทุกครั้งที่มีโอกาส หนังสือต้องติดตัวตลอดเวลา ว่าง
เมื่อไรหยิบมาอ่านได้ทันที อย่าปล่อยให้ว่างจนไม่ร้จะทำาอะไร ที่
สำาคัญอ่านแล้วต้องมีโน้ตเสมอ ห้ามนอนอ่าน ห้ามกินขนม ห้ามฟั ง
เพลง ห้ามด้ทีวี ห้ามด้ละคร ด้หนัง อ่านอย่างเดียว ทำาอย่างจริงจัง

6.ข้อนี้ สำาคัญมาก หากท้อให้มองภาพอนาคตของตัวเองไว้เสมอ ยำ้า


กับตัวเองว่า “เราต้องกำาหนดอนาคตของตัวเอง ไม่มีใครกำาหนดให้
เรา เราต้องทำาได้ เพราะไม่มีอะไรที่เป็ นไปไม่ได้” ให้กำาลังใจกับตัว
เองอย่้เสมอ บอกกับตัวเองอย่างนี้ ทุกวัน หากท้อ ขอให้นึกว่า อย่าง
น้อยก็มีผ้เขียนบทความนี้ เป็ นกำาลังใจให้นอ้ งๆ เสมอ นึ กถึงภาพวัน
ที่เรารับปริญญา วันที่เราและครอบครัวจะมีความสุข วันที่คุณ
พ่อคุณแม่จะดีใจที่สุดในชีวิต ต่อไปนี้ ต้องทำาเพื่อท่านบ้าง อย่าเห็น
แก่ตัว อย่าขี้เกียจ อย่าผลัดวันประกันพรุ่ง เลิกนิ สัยเดิมๆ เสียที

******************************************

การจัดตารางการอ่านหนังสือ

จริงๆ แล้วการอ่านหนังสือตอนที่พ่ีอ่านเตรียมสอบ ไม่ได้จัดตาราง


เลยครับ เพราะเคยทำาแล้ว ทำาไม่ได้ แล้วจะอ่านให้มีประสิทธิภาพ
ทำาอย่างไร ตอบได้คำาเดียวครับ “อ่านเมื่ออยากอ่าน” แต่ต้องไม่ใช่
ว่ามีแต่ไม่อยากอ่านนะ ต้องทำาให้อยากอ่านบ่อยๆ อยากอ่านมากๆ
อยากร้้มากๆ เพื่อให้การอ่านมีประสิทธิภาพ ครับ อ่านทุกเวลาที่
สามารถทำาได้น่ันแหละดีท่ีสุด เพื่อนพี่เคยติดส้ตรไว้ในห้องนำ้า พก
ส้ตรติดตัว พกโน้ตย่อไว้ท่ีกระเป๋ าเสื้อตลอดเวลา บางคนมีหนังสือ
ติดตัวทุกที่ เพื่อให้ อยากอ่านเมื่อไร ก็หยิบขึ้นมาอ่านได้ทันที ไม่
ต้องรอเวลา ไม่ต้องจัดตาราง

เอาละ แล้วถ้าจะจัดตารางเวลาอ่านหนังสือ จะทำายังไงดี พี่ขอว่า


เป็ นข้อๆ เลยดีกว่าครับ
1. เลือกเวลาที่เหมาะสม
เวลาที่เหมาะสมหมายความว่า เวลาที่นอ ้ งต้องการจะอ่าน เวลาที่
ว่างจากงานอื่น เวลาที่อยากจะอ่านหนังสือ หรือเป็ นเวลาที่อ่าน
แล้วได้เนื้ อหามากที่สุด เข้าใจมากที่สุด เวลาของแต่ละคนไม่
เหมือนกัน บางคนชอบอ่านตอนเช้าตร่้ บางคนชอบอ่านตอนกลาง
คืนก่อนนอน บางคนชอบอ่านเวลากลางวัน แล้วแต่การจัดสรร
เวลาของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน น้องต้องเลือกด้เวลาที่เหมาะ
สมของตัวเองนะครับ การจัดเวลาต้องให้ได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
ครับ วันนึ งถ้าอ่านหนังสือแค่วันละ 2 ชั่วโมงน้อยมาก
2. วางลำาดับวิชาและเนื้ อหา
ขั้นตอนต่อมา คือ เลือกวิชาที่จะอ่าน มีหลักง่ายๆ คือ เอาวิชาที่ชอบ
ก่อน เพื่อให้เราอ่านได้เยอะๆ และอ่านได้เร็ว ควรเลือกเรื่องที่ชอบ
อ่านก่อนเป็ นอันดับแรก จะได้มีกำาลังใจอ่านเนื้ อหาอื่นต่อไป ไม่
แนะนำาวิชาที่ยาก และเนื้ อหาที่ไม่ชอบนะครับ เพราะจะทำาให้เสีย
เวลาเปล่า การอ่านหนังสือควรอ่านให้ได้ตามที่เราวางแผนเอาไว้
วิธีการก็คือ List รายการหรือเนื้ อหา บทที่จะอ่านให้หมด จากนั้น
ค่อยเลือกลำาดับเนื้ อหาว่าจะอ่านเรื่องใดก่อนหลัง แล้วค่อยลงมือ
อ่าน
3. ลงมือทำา
ยังไง ถ้าไม่มีข้อนี้ ก็ไม่มีทางสำาเร็จ การลงมือทำาคือการลงมืออ่าน
อย่างจริงจัง อย่าผัดวันประกันพรุ่ง เหมือนกับที่พ่ีเคยเขียนไว้ว่า
อย่าฝากอนาคตของตัวเองไว้กับความขี้เกียจของวันนี้ บางคน
ลงมือทำา แต่ไม่จริงจัง ก็ไม่ได้นะครับ ขอให้นึกถึงชาวนาแล้วกัน ถ้า
ลงมือทำานาเริ่มตั้งแต่หว่าน ไถ แล้วทิ้งค้างไว้แต่ไม่ทำาให้สำาเร็จ ไม่
ด้แลจนกระทั่งเก็บเกี่ยว หรือทิ้งไว้ไม่เก็บเกี่ยว การทำานาก็จะไม่
สำาเร็จ เราก็จะไม่มีข้าวกิน ดังนั้น ขอให้นอ
้ งๆ “ทำาอะไร ทำาจริง”
แล้วกันนะครับ ทำาให้ได้จริงๆ
4. ตรวจสอบผลงาน
ผลของการอ่าน ด้ได้จากว่า ทำาข้อสอบได้หรือไม่ ถ้าอ่านแล้วทำา
ข้อสอบได้ ก็แสดงว่าอ่านร้้เรื่อง อ่านเข้าใจ ได้เนื้ อหาจริงๆ แต่ถ้า
อ่านแล้วทำาข้อสอบไม่ได้ ก็ต้องกลับไปทบทวนใหม่ พี่ขอแนะนำาว่า
อ่านแล้วต้องจดบันทึกไว้ด้วยนะครับ จะได้ร้ว่า เราอ่านไปถึงไหน
แล้ว และอ่านไปได้เนื้ อหาอะไรบ้าง การจดบันทึก ก็คือการทำาโน้ต
ย่อนั่นแหละ ทำาสรุปไว้เลยว่าอ่านอะไรไปแล้วบ้าง เก็บไว้ให้มาก
ที่สุด จะได้เป็ นผลงานของตัวเอง เก็บไว้อ่านเมื่อต้องการ เก็บไว้
อ่านตอนใกล้สอบ

อยากจะบอกว่าช่วงนี้ ยังมีเวลาเพียงพอสำาหรับการเริ่มต้นที่ดี ยังไม่


สายเกินไปหากคิดจะเริ่มอย่างจริงจัง อย่าอ่านเพียงแค่ได้เปิ ด
หนังสือ อย่าโกหกตัวเองว่าได้อ่านแล้ว อย่าหลอกตัวเอง อย่า
หลอกคนอื่น ความร้้ไม่สามารถลอกเลียนแบบกันได้ หลอกคนอื่น
อาจหลอกได้ หลอกตัวเองไม่ได้แน่ นอน คนที่ร้จักเรามากที่สุดก็คือ
ตัวเราเองนี่ แหละ ตั้งใจทำา ทำาเพื่ออนาคตของตัวเองนะครับ ขอให้
โชคดีประสบความสำาเร็จครับ

************************************************

หลักการอ่านหนังสือเตรียมสอบ (ของสายศิลป์ )

**หลายคนสงสัยทำาไมต้องเฉพาะสายศิลป์ ก็เพราะสายศิลป์
ท่องจำาไวยกรณ์ ไม่ได้ท่องจำาส้ตร การอ่านของสายศิลป์ คือการอ่า
นบ่อยๆให้ค่อยๆซึมเข้าไปในหัว ไม่ใช่ท่องจำาถึงที่มาที่ไปของส้ตร
และอีกอย่างวิธีเหล่านี้ ใช้ไม่ได้ในเด็กสายวิทย์**
อย่างแรกที่ต้องแนะนำา
1.กิน...ถ้าในระหว่างนี้ คุณยังกลัวความอ้วนอย่้ ขอแนะนำาให้ปิด
หน้าต่างนี้ ไปเลย ไม่ใช่ขยับปากเคี้ยวแล้วจะคิดออกนะ -*- แต่
สมอง(ซึ่งถ้กคุณใช้งานอย่างหนัก)ก็ต้องการสารอาหาร ควรจะเป็ น
ของหวาน (แนะนำาชอคโกแลต) คุณลองกินสิ จะร้ส ้ ึกมีพลังขึ้นมา
อีก 25% และก็กินเข้าไปเลย กินๆๆ ไม่เปนไร เอนท์ตด ิ แล้วเราลด
ได้ นอกจากนี้ สมองยังต้องการการผ่อนคลาย ซึ่งจะกลายเป็ น
หัวข้อที่ 2

2.สุขภาพจิตดี... ถ้าคุณเครียดทั้งวันทั้งคืน หนำาซำ้าพ่อแม่ยังนั่งเฝ้ า


...ตี 2 คุณเริ่มฟุบ พ่อคุณถามว่า "จะนอนแล้วหรอ?" ...หัวคุณก็จะ
หมกมุ่นอย่้กับความอึดอัด ความแค้น(ทำาไมก้ต้องเอนท์ด้วยวะ) ใน
ขณะที่สายตาของคุณกวาดไปมา และสมองคุณเกร็งอย่างแรง กลับ
จำาอะไรไม่ได้เลย คุณคิดว่าคุณเครียดแล้วจะอ่านหนังสือได้เยอะงั้น
หรือ...เปล่าเลย คุณโกหกตัวเอง เหมือนเอาเชือกมารัดหัวแล้วบอก
ตัวเองว่า ฉันอ่านหนังสือหนักจนปวดหัวเลยนะเนี่ ย...ข้อนี้ แนะนำา
ให้กินนำ้า ล้างหน้าบ่อยๆ ออกไปเดินเล่นซัก 10 นาทีคงไม่ทำาให้คณ ุ
สอบตก แลกกับการชาร์จพลังสมอง...ค้ม ุ นะ

3.สมาธิ..อย่าด้ถ้กวิธโี บราณ มันช่วยได้จริง...ก้อการนั่งสมาธิไงล่ะ


ลองเปิ ดเพลงไปด้วย ถ้าคุณมีสมาธิจริงคุณจะไม่ได้ยินเสียงเพลง
เลย (ไม่ใช่น่ังไปคิดไป เมื่อไหร่เพลงจะหาย..ยังงี้ไม่ได้นะคะ เพราะ
เท่ากับคุณนั่งฟั งเพลง) คิดว่าเรามีล้กแล้วอย่้ในร่างกาย แล้วมันวิ่ง
ขึ้นวิ่งลงช้าๆ ไปเรื่อยๆ
เคยอ่านข้อสอบรอบนึ งแล้วไม่ร้ว่าข้อสอบถามอะไรมั้ย นั้นล่ะ คุณ
กำาลังขาดสมาธิ หายใจเข้า-ออกยาวๆ และพยายามทบทวนอย่้
เสมอว่าเมื่อกี้เราคิดอะไรอย่้ ให้จดจ่อกับเรื่องที่อ่านไปเรื่อยๆ อย่า
ให้เส้นสมองขาดตอนนะ
4.กำาลังใจ...ถ้าใน 3 ข้อแรก คุณทำาอะไรไม่สำาเร็จเลย แปลว่าคุณ
ขาดกำาลังใจ ขาดแรงฮึดส้้ หรือง่ายๆว่า คุณไม่อยากเอนท์ มีหลาย
สาเหตุ
- เข้าที่ไหนก็ได้...อย่าโกหกตัวเอง เพียงเพราะว่าคุณเป็ นคนขี้เกียจ
ใครๆก็อยากเอนติดกันทั้งนั้น คุณบอกว่าคุณไม่หวัง คุณบอกว่าคุณ
ขี้เกียจอ่านและไม่เอาอะไรแล้วในชีวิตดีกว่า จริงอย่้ เอน..ไม่ใช่ทุก
สิ่ง แต่เมื่อคุณีโอกาส ทำาไมไม่ต้ังใจทำาให้มันดี
- ประชดคนบางคน... โถๆๆ อย่าเอาคนอื่นมาตัดสินชะตาชีวิตตัว
เองแบบนี้ เป็ นอันขาด ไม่ว่าแม่คุณจะประกาศแก่แม่ค้าทั้งตลาดว่า
คุณไม่มีทางเอนติด หรือ พรำ่าหวังให้คุณติด มหิดล-จุฬา ทั้งสอง
อย่างทำาให้คุณหดห่้จนไม่อยากทำาให้เขาสมนำ้าหน้า
คุณอย่าไปสนใจดีกว่า...บอกแล้วไง คุณทำาเพื่ออนาคตคุณเอง
เปลี่ยนแรงกดดันนั้นให้เป็ นแรงฮึดส้.้ ..(ก้จะติดแพทย์ศิริราชให้
ด้..ว่างั้น)

ยังไงก็แล้วแต่ คุณต้องอ่านเยอะๆ อ่านหลายๆรอบ อ่านจนสามารถ


พ้ดสรุปออกได้เป็ นฉากๆ ไม่ใช่ท่องจำา แต่มันคือการฝั งลงไปในหัวที่
พร้อมจะเรียกใช้เมื่อไหร่ก็ได้ อย่าไปมัวท่อง(ขอเน้น..อย่า!!!) อ่า
นบ่อยๆเท่านั้นที่ช่วยได้ อ่านครั้งแรกคุณจะร้้สึกสมองโล่งและคิดใน
ใจว่า คุณจะจำาได้ซักกี่คำากัน แต่ครั้งที่ 2 เฮ้ย!! คำานี้ มันคุ้นๆ (หลัง
จากนั้นไปตามหาว่ามันแปลว่าไร ขอยำ้า!! ไม่ต้องท่อง) ครั้งที่ 3
คุณจะจำาได้เองอย่างไม่น่าเชื่อ...สาธุ

สำาหรับคนที่เรียนพิเศษแล้วไม่เข้าใจ...ฉันเองก็เคยสอนพิเศษ
สามารถบอกได้เลย
คนที่ไม่ฟัง เอาแต่จด เอาแต่อ่านในหนังสือน่ ะ พลาดโอกาสอันดีไป
นะ เพราะเนื้ อหาส่วนใหญ่อย่้ท่ีปากคนสอน คุณจะเข้าใจมั้ยก้ออย่้ท่ี
คนสอน
เช่นเวลาไปเรียนแบรนด์ บางคนนั่งอ่านในหนังสือแล้วคิดว่า เค้า
พ้ดถึงไหนแล้ว...กว่าจะคิดได้ว่าที่เขาพ้ดไม่มีในหนังสือ คุณก็จด
ไม่ทันแล้วล่ะ หนังสือนั่นน่ ะมันไม่ไปไนหรอก คุณจะอ่านเมื่อไหร่
ก็ได้ คุณจะเอาเวลาว่างมาท่องทั้งเล่มก็ไม่มีใครว่า
**ถ้าเป็ นไปได้เวลาเรียนพิเศษ ฟั งที่อาจารย์พ้ด ฟั งทุกคำา ไม่ใช่
เหม่อลอยคำาที่ 2 กลับมาฟั งอีกทีคำาที่ 8 ...ชาติหน้าตอนบ่ายๆคง
เข้าใจ แต่ก็ไม่ใช่ฟังแล้วเขี้ยนตามคำาบอก...จงฟั งแล้วคิด แล้วเขียน
อย่างที่ตัวเองเข้าใจ เมื่อจบคอร์สเอามาเรียบเรียงให้เป้ นภาษาคน
แล้วอ่านซำ้า(หลายๆรอบ เอาให้จำาได้) เราจะร้้ได้เลยว่า อ๋อ บรรทัด
นี้ อาจารย์เค้าสอนไว้ว่าไงบ้าง **

...ขอแนะนำาขั้นสุดท้ายว่า ม.5 เทอม 2 ควรจะเรียนพิเศษให้เสร็จ (


ในกรณีท่ีเอนครั้งเดียวเดือนกุมภา) พอขึ้นม.6 ก็ควรจะเริ่มจำาที่
เรียนๆมาได้แล้ว อย่าหวังว่าจะไปอ่านที่โรงเรียน มันไม่สามารถ
อ่านจนจับประเด็นได้เลย เว้นแต่จะเอาเลขไปทำาเล่นๆ แต่ถ้าอีก 3
เดือนแล้วไม่มีไรในหัวเลย ขอแนะนำาให้ทำาข้อสอบย้อนหลักซัก 15
ปี ส่วนคนที่อ่านพร้อมแล้วทำา 7 ปี ก้อพอ...

********************************************************
****

เคล็ดลับสรุปๆการอ่านหนังสือสอบ

ใกล้สอบกันแล้วใช่ไหมเอ่ย หิหิ แต่บ้างคนยังไม่ได้เริ่มอ่านหนังสือ


เลย 10 เคล็ดลับง่ายๆ รวบรัด
1.ปิ ดทีวี คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต mp3 มีสติอย่้กับหนังสือ
2.นั่งสมาธิสัก 5 นาที
3.อ่านหนึ่ งรอบ แล้วสรุปไม่เปิ ดหนังสือ
4.เช็คคำาตอบ
5.อ่านอีกหนึ่ งรอบ
6.สรุปใหม่เปิ ดหนังสือได้เอาไว้อ่าน
7.ถ้าทำาเป็ น Mind Mapping จะอ่านง่ายขึ้น
8.มีเอกสารอะไรที่คร้แจก อย่าคิดว่าไม่สำาคัญ
9.ท่องในส่วนที่คร้พ้ดยำ้าบ่อยๆอย่างน้อย 2 ครั้ง/คาบ
10.ก่อนวันสอบห้ามหักโหมอ่านหนังสือถึงเทียงคืน สมองจะไม่รับร้้
อะไรทั้งสิ้น

แค่น้ี อ่ะครับง่ายๆ คงทำาได้กันนะ

เทคนิ คการอ่านตําราเรียนให้ได้ดี

เทคนิ คการอ่านหนังสืออย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

1. เริ่มอ่านด้วยหนังสืออ่านง่ายและสนุก
อ่านสมำ่าเสมอทุกวันในช่วงเวลาสั้นๆ

2. มีความตั้งใจที่จะอ่านให้เร็วกว่าเดิม

3. กำาหนดเวลาในการอ่านให้แน่ นอน เช่น 30 นาที หรือ 1


ชั่วโมง

4. จับใจความให้ได้ด้วยการทดลองทำานายเนื้ อเรื่องล่วงหน้า
และทบทวนเรื่องที่อ่านผ่านไปแล้ว

5. ศึกษาศัพท์ และความหมายของคำาที่ใช้
คำาใดที่ไม่แน่ ใจควรทำา เครื่องหมายไว้

6. อย่าพยายามเคลื่อนใหวสายตาย้อนกลับ จะทำาให้เกิดความ
สับสน

7. อ่านโดยกวาดสายตาไปรอบๆ

8. อ่านในใจ ไม่พึมพำา หรือทำาปากขมุบขมิบ

9. จดบันทึกผลความก้าวหน้า

10. อย่าหยุดอ่านเพื่อจดบันทึกจนกว่าจะจบตอนหนึ่ งๆ

เทคนิ คการอ่านตำาราเรียนให้ได้ดี

1.สํารวจหนังสือ : เพื่อร้้จักค้้นเคย
2.อ่านแนวคิดหลัก : จับประเด็นสําคัญ

3.ตัง
้ คําถามขณะอ่าน : อะไร ทําไม อย่างไร ใคร เมื่อไร

4.เน้นประเด็นสําคัญ : ทําเครื่องหมาย

5.ประสานคําบรรยายกับตํารา : ช่วยให้เข้าใจลึกซึ้ง

6.ทบทวน : บ่อยๆจะจําได้ดี

การอ่านหนังสือประเภทต่างๆ

วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์:

ไม่ควรอ่านตะลุยเรื่อยๆ รวดเดียวจบเล่ม
ควรอ่านแล้วหยุดพักเป็ นตอนๆไปเรื่อยๆ

ประวัติศาสตร์ ภ้มิศาสตร์:

ควรอ่านตะลุยรวดเดียวไปจนจบ เพื่อให้เรื่องราวสัมพันธ์ต่อ
เนื่ องกัน

วรรณคดี:

อ่านอย่างรอบคอบถี่ถ้วน อ่านช้าๆไม่รีบเร่ง
ปล่อยอารมณ์ให้คล้อยตามคำาบรรยาย
ถ้าอ่านเพื่อศึกษาควรมีการวิเคราะห์เรื่องราว
บทบาทของตัวละครตลอดจนส่วนอื่นๆของวรรณคดี

นิ ตยสารและหนังสือพิมพ์

ควรใช้วิจารณญานพิจารณาอย่างรอบคอบ
ไม่ใช่เชื่อทุกอย่างตามที่ข่าวรายงา
เทคนิ คการอ่านเพื่อรับรูข
้ ูอม้ลข่าวสาร
@.....โดย พระมหาสุรศักดิ ์ สุรเมธี (ชะมารัมย์)
นิ สิตคณะมนุ ษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

™™ ™˜™™™™™
™™™™™™™

กระบวนการรับรู้ของคนเราเกิดขึ้น ...

...ผ่านทางตา โดยการมองเห็น
...ผ่านทางหู โดยการฟั ง
...ผ่านทางจมูก โดยการดมกลิ่น
...ผ่านทางลิ้น โดยการรับรููรสชาติของอาหาร
...ผ่านทางกาย โดยการสัมผัส แตะตูอง
...ผ่านทางใจ โดยธรรมารมณ์ต่างๆ

การอ่านเป็ นกระบวนการรับรู้ผ่านทางตา โดยการมองเห็น เรา


สามารถรับรู้ขูอม้ลข่าวสารต่างๆ ผ่านทางสายตาของเราเสียเป็ นส่วน
ใหญ่ เพราะเราเกี่ยวขูองโดยตรงต่อการรับรู้ขูอม้ลข่าวสารนั้ นๆผ่านทาง
สายตาในเวลาที่เราด้ดซับแนวความคิดของผู้เขียนที่ถ้กถ่ายทอดอย่้ในร้ป
ของตัวหนั งสือ เราจำาเป็ นตูองรับรู้ขูอม้ลข่าวสารต่างๆ โดยการอ่านอย่าง
มิอาจหลีกเลี่ยงไดู เนื่ องมาจากการดำาเนิ นชีวิตประจำาวันของเรามี
ขูอความต่างๆมาคอยกระตูุนใหูเราตูองอ่านเพื่อรับรู้ขูอม้ลข่าวสารต่างๆ
อันเป็ นไปเพื่อความอย่้รอด และช่วยใหูเรากูาวทันความเปลี่ยนแปลงทั้ง
หลายในสังคม ทำาใหูเป็ นคนไม่ลูาหลัง ดังนั้ น การอ่านจึงถือไดูว่าเป็ นก
ระบวนการที่มีความสำาคัญและพบเห็นไดูมากที่สุดในชีวิตประจำาวันของ
คนเรา...
ยกตัวอย่างเช่น...
...ในเวลาที่เราจับจ่ายซื้ อของใชูของบริโภค เราจำาเป็ นตูองอ่านเพื่อ
เลือกซื้ อสินคูาที่เหมาะสมตามที่เราตูองการ อาจอ่านเพื่อพิจารณาคุณสมบัติ
สรรพคุณ วันผลิต วันหมดอายุ และราคา...
...ในเวลาที่เราเดินทางไปตามสถานที่ต่างๆ เราจำาเป็ นตูองอ่านปูาย
บอกทางเพื่อใหูสามารถเดินทางไปยังสถานที่น้ ันๆไดูอย่างถูกตูอง รวดเร็ว
และปลอดภัย...
...ในเวลาที่เราเรียน เราจำาเป็ นตูองอ่านหนังสือเพื่อดูดซับแนวความ
คิดต่างๆของผููเขียน เพื่อช่วยใหูเราเกิดความเขูาใจและสามารถนำาแนว
ความคิดนั้นๆมาประยุกต์ใชูในชีวิตประจำาวันของเราไดู...
...ฯลฯ

จากตัวอย่างขูางตูน เราจะสังเกตเห็นขูอแตกต่างกันอย่้บูาง คือ


ในเวลาที่เราจับจ่ายซื้ อของใชูของบริโภค และ ในเวลาที่เราเดินทางไปยัง
สถานที่ต่างๆ เราอ่านเพื่ออยากทราบขูอม้ลเพียงบางประการเท่านั้ น ซึ่ง
ขูอความที่เราอ่านนั้ น อาจสั้นกะทัดรัด มีความยาวไม่มากนั ก เรา
สามารถอ่านแลูวเขูาใจไดูทันที แต่ ในเวลาที่เราเรียน เราตูองอ่านเพื่อหา
แนวความคิดของผู้เขียนแต่ละคน ซึ่งแนวคิดดังกล่าวมีเนื้ อหาค่อนขูาง
ยาว และสลับซับซูอน ทำาใหูเขูาใจยาก จึงเกิดเป็ นปั ญหาสำาหรับเราทุก
คนในการที่จะรับรู้ขูอม้ลข่าวสารนั้ นๆใหูเกิดความเขูาใจอย่างแจ่มแจูง
และเกิดประสิทธิผลไดู...
มาถึงตรงนี้ คิดว่าหลายท่านคงอยากจะทราบเต็มทนแลูวว่า
เทคนิ คการอ่านเพื่อรับรู้ขูอม้ลข่าวสารนั้ นมีอะไรบูาง มีวิธีการและขั้น
ตอนการปฏิบัติอย่างไร ไดูผลมากนูอยเพียงใด ถูาหากปฏิบัติตาม...
เทคนิ คการอ่านเพื่อรับรู้ขูอม้ลข่าวสารต่างๆนั้ น มีอย่้ 5 เทคนิ คซึ่ง
อย่้ในร้ปภาษาอังกฤษคือ SQ3R ซึ่งเป็ นเทคนิ คที่นิยมใชูกันโดยทัว่ ไปใน
ทุกสังคมทัว่ โลก คำาว่า SQ3R มาจากคำาว่า S คือ Survey (สำารวจ) Q
คือ Question (ตั้งคำาถาม) และ 3R คือ Read (อ่าน) Recite (ท่อง) และ
Review (ทบทวน)…

เทคนิ คที่ 1: Survey (สำารวจ)…


Survey คือ การสำารวจ เป็ นเทคนิ คเบื้ องตูนก่อนที่เราจะอ่านเรื่อง
ใดๆ เราจำาเป็ นตูองสำารวจด้เรื่องนั้ นๆเสียก่อน อาจใชูสายตาพิจารณาด้
เนื้ อหาที่อ่านอย่างคร่าวๆ ว่าเรื่องที่อ่านนั้ นน่าจะมีเนื้ อหาเกี่ยวขูองกับ
เรื่องอะไร

ลองพิจารณาอ่านด้...

...ตลอดระยะเวลา 20 กว่าปี นับแต่สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง


กรณราชวิทยาลัยมีมติอนุมัติใหูวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา ยกระดับขึ้นเป็ น
วิทยาเขตนครราชสีมา เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2529 นับตั้งแต่น้ ัน
เป็ นตูนมา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
นครราชสีมาไดูเปิ ดทำาการและดำาเนิ นการจัดการเรียนการสอนในระดับบาลี
อุดมศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรในเขตจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกลู
เคียง จนกลายเป็ นที่รูจักกันอย่างแพร่หลายในสังคมปั จจุบัน แมูว่าก่อน
หนูานั้น คือช่วงที่เปิ ดทำาการใหม่ๆจะยังไม่มีใครรููจักเลยก็ตาม นิ สิตที่เดิน
ทางเขูามาศึกษาเล่าเรียนในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ก็ยังไม่เป็ นที่ยอมรับกันโดย
ทัว่ ไปในสังคม เพราะสังคมยังไม่เขูาใจรูปแบบการจัดการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยดีพอ เพราะคนส่วนใหญ่ยังคงรููจักการศึกษาของพระสงฆ์กันก็
เพียงรูปแบบการศึกษาทางธรรม คือนักธรรมกับบาลี เท่านั้น ส่วนศาสตร์
สมัยใหม่น้ ันไม่มีใครรููจักเลย และอีกอย่างคนในสังคมบางกลุ่มก็ไม่เห็นดูวย
กับการที่ใหูพระไปเรียนศาสตร์วิชาการสมัยใหม่ เพราะมีความเห็นว่า หาก
บวชเขูามาเป็ นพระภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนาแลูว ก็จะตูองศึกษาพระ
ธรรมวินัยอันเป็ นหลักธรรมคำาสอนของพระพุทธเจูาใหูเขูาใจอย่างลึกซึ้ง
เพื่อดำารงไวูซึ่งพระสัทธรรมคำาสอนดังกล่าวเอาไวูใหูยัง่ ยืน...
(1)

จากการสำารวจด้เนื้ อหาดังกล่าวขูางตูนนั้ น ทำาใหูเราพอเขูาใจว่า


เนื้ อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับการก่อกำาเนิ ดขึ้นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา ดังนั้ น เราสามารถเดาไดูว่า
เรื่องดังกล่าวน่าจะเป็ นเรื่องเกี่ยวกับ การก่อกำาเนิ ดขึ้นของมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา แต่อย่างไรก็ตาม
เนื้ อหาเพียงนูอยนิ ดนี้ ไม่อาจทำาใหูเราตัดสินใจไดูในทันทีว่าเป็ นเรื่องนั้ น
เรื่องนี้ ไดูถ้กจริงแทูรูอยเปอร์เซ็นต์นัก เราจำาเป็ นตูองพิจารณาด้เนื้ อหา
โดยภาพรวมทั้งหมด ทั้งนี้ เพราะผู้เขียนมักมีลีลาการนำาเสนอที่หลาก
หลาย เขียนด้เสียเป็ นเรื่องที่ผู้อ่านเขูาใจทันทีเวลาที่อ่าน แต่ในความ
เป็ นจริงกลับเป็ นอีกเรื่องหนึ่ ง แต่เนื้ อหาขูางตูนก็คงพอใหูเราสามารถ
เดาไดูว่าน่าจะเป็ นเรื่องอะไรไดู เพราะมีเนื้ อหาไม่ซับซูอนมากนั ก...

เทคนิ คที่ 2: Question (ตั้งคำาถาม)…


Question คือ การตั้งคำาถามในเรื่องที่อ่าน เป็ นเทคนิ คที่ใชูหลังจาก
การสำารวจพิจารณาด้เนื้ อหาในเบื้ องตูนอย่างคร่าวๆแลูว เราจำาเป็ นตูอง
ตั้งคำาถามในเนื้ อหาของเรื่องที่อ่านก่อน เพื่อจะเป็ นเครื่องมือช่วยทำาใหู
เราสามารถเขูาใจในเนื้ อหาที่อ่านมากยิ่งขึ้น เทคนิ คการตั้งคำาถามที่นิยม
ใชูกันคือ 5W1H...

...Who คือ การตั้งคำาถามว่า “ใคร...?”


...What คือ การตั้งคำาถามว่า “ทำำอะไร...?”
...Where คือ การตั้งคำาถามว่า “ที่ไหน...?”
...When คือ การตั้งคำาถามว่า “เมื่อไร...?”
...Why คือ การตั้งคำาถามว่า “ทำำไม...?”
...How คือ การตั้งคำาถามว่า “อย่ำงไร...?”

ลองพิจารณาอ่านด้...

...นักศึกษาชาวเขาภาคเหนื อบุกสภาฯ แฉผููบริหารสถาบันชาติพันธ์ุ


และสันติศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มรภ.เชียงราย) มีพฤติกรรม
ล่วงละเมิดทางเพศและขืนใจนักศึกษารายนี้ เปิ ดเผยเมื่อวานนี้ (1 มี.ค.)
เวลา 12.30 น. ที่รัฐสภามีตัวแทนนักศึกษาชนเผ่าต่างๆ จากสถาบัน
ชาติพันธ์ุและสันติศึกษา มรภ.เชียงราย จำานวน 10 คน นำาโดย น.ส.รัชณี
นิ ลจันทร์ อาจารย์สาขาชาติพันธ์ุศึกษา อนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง มรภ.เชียงราย
เขูารูองเรียนต่อนายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิการกิจการ
เด็กเยาวชน สตรี ผููสูงอายุ ผูพ
ู ิการและความมัน
่ คงของมนุษย์ ว่า ผููบริหาร
สถาบันชาติพันธ์ุฯคนหนึ่ งมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศนักศึกษา และ
หลอกลวงเรื่องการใหูทุนการศึกษา ที่พักอาศัยและอาหารฟรี …
(2)

จากเนื้ อเรื่องขูางตูนนั้ น เราสามารถวิเคราะห์ตามเทคนิ คการตั้ง


คำาถามไดูคือ...

...Who “ใคร...?”
...คำำตอบคือ นักศึกษาชาวเขาภาคเหนื อ
...What “ทำาอะไร...?”
...คำำตอบคือ บุกสภาฯ แฉผููบริหารสถาบันชาติพันธ์ุและสันติ
ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย (มรภ.เชียงราย) มีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ
และขืนใจ
...Where “ที่ไหน...?”
...คำำตอบคือ รัฐสภา
...When “เมื่อไร...?”
...คำำตอบคือ เมื่อวานนี้ (1 มี.ค.) เวลา 12.30 น.
...Why “ทำาไม...?”
...คำำตอบคือ เพราะผููบริหารสถาบันชาติพันธ์ุฯคนหนึ่ งมี
พฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศนักศึกษา และหลอกลวงเรื่องการใหูทุน
การศึกษา ที่พักอาศัยและอาหารฟรี
...How “อย่างไร...?”
...คำำตอบคือ เขูารูองเรียนต่อนายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธาน
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูส
ู ูงอายุ ผููพิการและ
ความมัน
่ คงของมนุษย์

เทคนิ คที่ 3: Read (อ่าน)…


Read คือ การอ่านเนื้ อเรื่อง เป็ นการอ่านเพื่อหาใจความสำาคัญของ
เรื่อง คือ การพิจารณาด้ว่าผู้เขียนไดูถ่ายทอดแนวความคิดอะไรลงไป
บูางในงานเขียนของตน การอ่านนั้ นเป็ นการใชูสายตากวาดหาขูอม้ล
ข่าวสารในเรื่องที่อ่านอย่างละเอียดถี่ถูวน อาจอ่านชูาหรือเร็วก็ไดู ขึ้นอย่้
กับความสามารถในการใชูสายตาของแต่ละคน ยิ่งเราอ่านละเอียดมาก
เท่าใด เราก็จะสามารถรับรู้และเขูาใจขูอม้ลข่าวสารในเรื่องที่อ่านไดูมาก
ขึ้นเท่านั้ นดูวย...

ลองพิจารณาอ่านด้...

...เชียงใหม่เป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็ น


ศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรื่องของอาณาจักรลูานนาซึ่งแผ่อิทธิผลปกคลุมทาง
ตอนเหนื อของประเทศไทย พญามังรายทรงเป็ นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักร
ลูานนา ทรงยูายเมืองราชธานี จากเดิมคือเมืองเชียงแสนมาที่เมืองเชียงใหม่
เมื่อปี พ.ศ.1839 เพราะทรงเห็นว่าเมืองเชียงใหม่มท
ี ำาเลที่ต้ ังเหมาะสม มี
ทรัพยากรทางธรรมชาติอันมัง่ คัง่ และมีแหล่งนำ้าที่อุดมสมบูรณ์ อันไดูแก่
แม่น้ ำาปิ ง ซึ่งถือไดูว่าเป็ นสายโลหิตของผููคนในอาณาจักร
เมื่อทรงยูายราชธานี มาที่เชียงใหม่ ไดูทรงสถาปนาชื่อเมืองว่า “นพบุรี
ศรีนครพิงค์เชียงใหม่” นับแต่น้ ัน เมืองเชียงใหม่ไดูกลายมาเป็ นศูนย์กลาง
ความเจริญรุ่งเรืองแห่งอาณาจักรลูานนาแทนที่เมืองเชียงแสนอันเป็ น
ราชธานี เดิม พญามังรายไดูพัฒนาเมืองเชียงใหม่อย่างต่อเนื่ อง ทั้งยังไดู
ทรงก่อสรูางวัดวาอารามขึ้นหลายแห่งมีวัดเชียงมัน
่ เป็ นตูน รวมทั้งไดูมีการ
ตรากฎหมายที่เรียกว่า “มังรำยศำสตร์”ขึ้นใชูภายในอาณาจักรอีกดูวย
เมื่อพระองค์สวรรคต เชื้ อพระวงศ์ท่ีทรงสืบทอดราชบัลลังก์ต่อจาก
พระองค์ไดูสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันปกครอง บริหาร พัฒนาบูานเมือง
พระองค์แลูวพระองค์เล่าตามลำาดับอยู่เรื่อยๆ ทำาใหูบูานเมืองเจริญรุ่งเรื่อง
อย่างมาก โดยเฉพาะในดูานพระพุทธศาสนานั้น มีการจัดทำาสังคายนาพระ
ไตรปิ ฎกขึ้น ใน พ.ศ.2020 ตรงกับราชสมัยของพระเจูาติโลกราช กษัตริย์
องค์ท่ี 9 แห่งอาณาจักรลูานนา พระองค์ทรงอุปถัมภ์การจัดทำาสังคายนาใน
ครั้งนี้ การทำาสังคายนาในครั้งนี้ นั้น ถือไดูว่าเป็ นการทำาสังคายนาครั้งที่ 9
ของโลก และเป็ นครั้งแรกที่ทำาในดินแดนสยาม ต่อมาไม่นานอาณาจักรลูาน
นา ก็เขูาสู่ยุคเสื่อม เพราะถูกรุกรานจากอาณาจักรอื่นๆ มี อาณาจักร
สุโขทัย เป็ นตูน และต่อมาอาณาจักรลูานนาก็สูญเสียเอกราชและถูกผนวก
เขูาเป็ นส่วนหนึ่ งของอาณาจักรสุโขทัยในที่สุด
ตลอดระยะที่เชียงใหม่เป็ นราชธานี และเป็ นศูนย์กลางความเจริญ
รุ่งเรืองของอาณาจักรลูานนานั้น เมืองเชียงใหม่ไดูถูกพัฒนาจากผููปกครอง
บูานเมืองใหูเป็ นเมืองที่อุดมสมบูรณ์และเจริญรุ่งเรืองในหลายๆดูาน อาทิ
ดูานศาสนา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี
และวัฒนธรรม เป็ นตูน ความเจริญรุ่งเรืองดังกล่าวไดูรับการสืบทอดกันมา
อย่างต่อเนื่ องจนกระทัง่ ถึงปั จจุบัน…
(3)

...เมื่ออ่านจบแลูว เราสามารถเขูาใจเรื่องที่อ่าน คือ ....????


เทคนิ คที่ 4: Recite (ท่อง)…
Recite คือ การท่องจำาใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่าน เป็ นเทคนิ คที่
นิ ยมใชูหลังจากเทคนิ คการอ่าน เนื่ องจากเนื้ อเรื่องที่เราอ่านบางเรื่องนั้ น
มีเนื้ อหาที่ค่อนขูางเขูาใจยาก ทำาใหูเราไม่สามารถทำาความเขูาใจใน
เนื้ อหาอย่างแจ่มแจูงไดู เราจึงใชูเทคนิ คการท่องจำามาช่วยเพื่อใหูเกิด
ความเขูาใจประเด็นสำาคัญๆของเรื่องทีอ
่ ่าน การใชูเทคนิ คการท่องจำานี้
เราอาจใชูในกรณี ท่ีเราอ่านเนื้ อเรื่องจบที่ละย่อหนูา หรือที่ละบทก็ไดู จาก
นั้ นก็ควรหยุดอ่านแลูวลองจับใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่าน โดยที่เรา
สามารถอธิบายใหูตัวเราเองหรือผู้อ่ ืนฟั ง เมื่ออธิบายแลูวทั้งตัวเราเอง
และผู้อ่ ืนเกิดความเขูาใจ ก็ใหูขูามไปอ่านย่อหนูาหรือบทต่อๆไป อีกวิธี
หนึ่ ง เราสามารถเขียนเป็ นโครงร่างอย่างย่อๆก็ไดู เป็ นการสรุปประเด็น
ของเรื่องทีเ่ ราอ่าน แต่เมื่อยังไม่สามารถจับประเด็นสำาคัญของเรื่องที่อ่าน
ไดู ก็ควรท่องจำาเพื่อใหูเกิดความเขูาใจในประเด็นสำาคัญของเรื่องที่อ่าน
นั้ นๆ…

ลองพิจารณาอ่านด้...

...ตลอดระยะเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์มวลมนุษยชาติ
สงครามไดูปะทุข้ ึนแทบนับครั้งไม่ถูวน และในปั จจุบันก็มีท่าทีและแนวโนูม
ว่าจะยังคงไม่ส้ ินสุดลงไปตราบใดที่มนุษย์ยังคงมีความตูองการทางดูานวัตถุ
หรือที่เรียกว่ายังคงติดอยู่ในการบริโภคนิ ยมอยู่ เมื่อติดพันหรือเมามันอยู่
กับการเสพบริโภควัตถุอยู่เช่นนี้ ก็จะเป็ นการยิ่งเพิ่มกิเลส ซึ่งแค่กิเลสที่มี
อยู่ในตัวมนุษย์ตอนนี้ ก็แทบจะไม่สามารถกำาจัดออกไปจากจิตใจไดูอยู่แลูว
เมื่อเป็ นเช่นนั้นแลูว มนุษย์ก็จะตูองมานัง่ เอามือกุมขมับคิดหาทางกำาจัด
กิเลสที่เพิ่มจำานวนขึ้นดังกล่าวอีกเป็ นว่าเล่น มนุษย์เองก็อาจตูองบูาคลัง่
และอาจก่อสงครามชนิ ดที่รุนแรงยิ่งกว่าเดิมอีกเป็ นแน่ ขืนเป็ นอยู่เช่นนี้ โลก
ก็คงตูองถึงกาลอวสาน
ดังนั้น ในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็ นยุคที่มีความทูาทูายต่อมนุษย์เป็ น
อย่างมาก เพราะเป็ นยุคที่ไปเต็มไปดูวยวัตถุนานัปการแวดลูอมตัวมนุษย์
อยู่ และกระแสวัตถุนิยมเองก็ไดูเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำาใหูมนุษย์มี
ค่านิ ยมในการบริโภคมากขึ้น เป็ นผลทำาใหูมนุษย์ตูองแข่งขันกันเพื่อ
แก่งแย่งชิงดีกันในเรื่องวัตถุมากขึ้น มีการแข่งขันกันในดูานวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีสูง ยุคนี้ จึงเป็ นยุคที่มนุษย์ไดูทำาสงครามระหว่างกันมากที่สุด
โดยเฉพาะสงครามจิตวิทยา สงครามการเมือง และสงครามเศรษฐกิจ ซึง่
ก็ลูวนแลูวแต่เป็ นผลมาจากการเสพบริโภควัตถุ จนกลายเป็ นวัตถุนิยมของ
มนุษย์นัน
่ เอง
ทางออกปั ญหาในยุคที่มีการแข่งขันกันสูงเช่นนี้ มนุษย์จำาเป็ นตูองมี
ท่าทีและมีความเขูาใจต่อเรื่องที่ตนเกี่ยวขูองดูวยเป็ นอย่างดี มนุษย์ตูองมี
ท่าทีท่ม
ี ีเมตตาทั้งต่อตนเองและเพื่อนมนุษย์ดูวยกัน ตลอดจนมีท่าทีท่ม
ี ี
ความกรุณาทั้งต่อตนเองและผููอ่ ืนอีกดูวย มนุษย์ตูองอาศัยอยู่อย่างมี
ปั ญญา หมายความว่า มนุษย์ตูองดำาเนิ นชีวิตดูวยหลักแห่งปั ญญา และ
หลักแห่งการรููจักประมาณในการเสพบริโภควัตถุ (โภชเนมัตตัญญุตา) รวม
ทั้งหลักแห่งการรููจักพอประมาณในการเสพบริโภควัตถุ (สันโดษ) ดำาเนิ น
ชีวิตแบบเป็ นสัมมาทิฏฐิบุคคล มิใช่มิจฉาทิฏฐิบค
ุ คล นอกจากนั้นมนุษย์
ควรหันมาใส่ใจหรือเอาจริงเอาจังในเรื่องของจิตใจใหูมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม
เมื่อมนุษย์สามารถกระทำาเช่นนี้ ไดู สงครามก็ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ท่ม
ี นุษย์จะ
ไม่สามารถแกูไขไดูเลยสักทีเดียว...
(4)
...เมื่ออ่านจบแลูว เราสามารถสรุปประเด็นสำาคัญของเรื่องไดู
คือ...????
...และประเด็นที่ควรท่องจำาคือ...????

เทคนิ คที่ 5: Review (ทบทวน)…


Review คือ การทบทวนเนื้ อเรื่องที่อ่าน เป็ นการทบทวนในประเด็น
ต่างๆที่ปรากฏอย่้ในเนื้ อเรื่องที่อ่าน เราสามารถทบทวนโดยการตั้งเป็ น
คำาถาม –คำาตอบ (ดูเทคนิ คการตั้งคำาถาม) เพื่อใหูสามารถเขูาใจในเรื่องที่
อ่านมากยิ่งขึ้น และที่สำาคัญยังเป็ นการรื้ อฟื้ นความทรงจำาของเราดูวย
เพราะบางที เวลาที่เราอ่านเนื้ อเรื่องที่มีเนื้ อหาอันยาวเหยียดนั้ น กว่าจะ
อ่านจบเราก็ลืมในบางประเด็นที่สำาคัญในตอนแรกๆเสียแลูว เราจึง
จำาเป็ นตูองใชูเทคนิ คการทบทวนมาช่วยในส่วนนี้...
เราสามารถใชูเทคนิ คการอ่านเพื่อรับรู้ขูอม้ลข่าวสารในการอ่าน
เรื่องใดๆก็ไดู เช่น

...การอ่านหนังสือพิมพ์
...การอ่านหนังสือเรียน
...การอ่านหนังสือนอกเวลา
...ฯลฯ

อย่าลืม...การอ่านเรื่องใดๆก็ตาม จะมีความสัมพันธ์กับเทคนิ คทั้ง


5 ขูอนี้ อย่างแน่นอนไม่ขูอใดก็ขูอหนึ่ ง ดังนั้ น เราจำาเป็ นตูองเรียนรู้ และ
หมัน
่ ฝึ กฝนเทคนิ คต่างๆนี้ ใหูเกิดความชำานาญ เพราะจะเป็ นประโยชน์ใน
เวลาที่เราจะตูองอ่านขูอม้ลใดๆ หรือเรื่องใดๆ เพื่อรับรู้ขอ
ู ม้ลข่าวสารใน
ชีวิตประจำาวันของเรา ซึ่งก็จะทำาใหูเราสามารถรับรู้และเขูาใจขูอม้ล
ข่าวสารต่างๆที่ผู้เขียนไดูถ่ายทอดเอาไวูน้ ั นไดูอย่างถ้กตูองมากขึ้น....

@.........................................................

You might also like