You are on page 1of 6

ความเป็ นมาและความสำคัญ ๑. ศึกษาความหมายของวรรณคดีและ ๒.

ค้ นคว้ าโวหารจากวรรณคดีเพิ่มเติมผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
โวหารจากวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง จาก
เนื่องด้วยมีการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษา ๓.รวบรวมข้ อมูล นำมาวิเคราะห์และสรุปผล
หนังสือ วรรณคดีไทย เรื่อง ปลาบู่ทอง
ไทยหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่องสีสันงาน การวิเคราะห์ข้อมูล
วิชาการ ซึ่งก็คือการจัดทำโครงงานวิชาภาษา ๒. ศึกษาประเภทโวหารเพิ่มเติมจาก สถิติใช้ วิเคราะห์ข้อมูล คือ การแจกแจงความถี่ของข้ อมูล
ไทยเป็ นกลุ่ม กลุ่มเรามีความสนใจที่จะศึกษา อินเทอร์เน็ต
โวหารวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง ซึ่งโวหารมี ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
หลายประเภท ซึ่งทำให้ผู้อ่านเข้าใจโวหารของ ขัน
้ ตอนการดำเนินโครงงาน ๑. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ
วรรณคดีได้มากขึน
้ จึงได้เลือกศึกษาโวหาร
การศึกษาค้นคว้า ศึกษาโวหารวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง
วรรณคดีเรื่องปลาบู่ทองจากหนังสือ วรรณคดี
ไทย ปลาบู่ทอง เพื่อศึกษาว่ามีโวหารกี่ ๑. ศึกษาความหมายของวรรณคดีและ โวหารในวรรณคดี เรื่อง ปลาบู่ทอง

ประเภท โวหารจากวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง จาก ๑.๑ บรรยายโวหาร คือ มีการ


หนังสือ วรรณคดีไทย เรื่อง ปลาบู่ทอง บรรยายเล่าเรื่องโดยอธิบายหรือ
๒. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม บรรยายเหตุการณ์ที่เป็ นข้อเท็จจริง
วัตถุประสงค์ของการจัดทำโครงงาน
ของประเภทโวหาร เพื่อให้เกิดความ ตามลำดับเหตุการณ์ เป็ นการเขียนตรง
เพื่อศึกษาโวหารวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง
เข้าใจมากขึน
้ ไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ มุ่งความชัดเจน
เพื่อศึกษาประเภทของโวหาร เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ

การดำเนินการ ๑.๒ เทศนาโวหาร คือ มีการให้ข้อคิด


ขอบเขตการศึกษา ๑.ค้ นคว้ าโวหารจากวรรณคดีเรื่ องปลาบูท่ อง จากหนังสือ เปรียบเทียบให้เห็นประโยชน์หรือโทษของ
วรรณคดีไทย เรื่ อง ปลาบูท่ อง เรื่องที่กล่าวถึง
๓. อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเป็ น สรุปและอภิปรายผล
สำนวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกันเพื่อ
๒. เพื่อศึกษาประเภทของโวหาร ในการทำรายงานเรื่อง ศึกษาโวหารวรรณคดี
ทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึง้ ยิ่งขึน
้ โดย
เรื่องปลาบู่ทอง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ศึกษา
โวหาร คือ วิธีการเขียนเรียบเรียงข้อความให้
การเปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกันเปรียบ
มีความรู้ ความเข้าใจจากการศึกษาโวหาร
สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง โวหารที่ใช้ในการเขียน
เทียบโดยโยงความคิดไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง หรือ
วรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง
เรียงความมี ๕ ประเภทได้แก่
เปรียบเทียบข้อความตรงกันข้ามหรือข้อความ
๑. พรรณนาโวหาร หมายถึง การเรียบ ที่ขัดแย้งกัน จากการศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลอาจมีความผิดพลาด เนื่องจากคณะผู้
เรียงข้อความโดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับ จัดทำได้ ทำการศึกษาค้ นคว้ าจากทางเว็บไซต์อย่างหลากหลาย
๔. เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียน ทำให้ คณะผู้จดั ทำไม่สามารถตรวจสอบคัดกรองข้ อมูลได้ ทงหมดั้
บุคคล สิ่งของ ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม
อธิบาย ชีแ
้ จงให้ผู้อ่านเข้าใจ ชีใ้ ห้เห็น เนื่องด้ วยระยะเวลาที่จำกัดหรื ออาจจะเกิดจากปั จจัยอื่นๆ
ตลอดจนความรู้สึกต่างๆของผู้เขียน โดยเน้น
ประโยชน์หรือโทษของเรื่องที่กล่าวถึง
ให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกร่วมกับผู้เขียน
เป็ นการชักจูงให้ผู้อ่ น
ื คล้อยตาม เห็นด้วยหรือ
๒. บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียน เพื่อแนะนำสั่งสอนปลุกใจหรือเพื่อให้ข้อคิด
อธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็ นข้อเท็จ คติเตือนใจผู้อ่าน
จริงตามลำดับเหตุการณ์ เป็ นการเขียนตรงไป
๕. สาธกโวหาร หมายถึง การหยิบตัวอย่าง
ตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ มุ่งความชัดเจนเพื่อให้ผู้
มาอ้างอิงประกอบการอธิบายเพื่อสนับสนุน
อ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ เช่น การเขียน บรรณานุกรม
ข้อความที่เขียนไว้ให้ผู้อ่านเข้าใจ และเกิด
เล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ การเขียนรายงาน
ความเชื่อถือ
เขียนตำราและเขียนบทความ phattarawadi withat. (๒๕๕๗). “ปลาบูท
่ อง”.
[ออนไลน์]. เข้ าถึงได้ จาก :
https://sites.google.com/site/plabuthxng605/
home/prawati-phu-taeng/laksna-kha-
โครงงานวิชาภาษาไทย
praphanth/reuxng-yx
ศึกษาคุณค่าจากวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง
สืบค้ นวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔
เสนอ
ศรี สดุ า ขุลีลงั . (๒๕๕๘). “ประเถทของโวหาร”.
คุณครูพิรมย์รัตน์ อาจยิ่ง
[ออนไลน์]. เข้ าถึงได้ จาก :

https://sites.google.com/site/karchiwohar/ จัดทำโดย
pra-phex-khxng-wohar?
fbclid=IwAR0iGnhIv46HTjj_5ZbGQLlaXqMOqbT
นางสาวเพชรดา ติดใจดี เลขที่ ๓๐
RSuADgdOyNbfdxyVbeeNXDesiSYg

สืบค้ นวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ นางสาวพัชราภรณ์ พลแดง เลขที่๓๓

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่๕

โรงเรียนสุรวิทยาคาร อำเภอเมือง จังหวัด


สุรินทร์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สุรินทร์ เขต๓๓
ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสุรินทร์ เขต๓๓
โครงงานวิชาภาษาไทย

ศึกษาคุณค่าจากวรรณคดีเรื่องปลาบู่
ทอง

เสนอ

คุณครูพิรมย์รัตน์ อาจยิ่ง

จัดทำโดย

นางสาวเพชรดา ติดใจดี เลขที่ ๓๐

นางสาวพัชราภรณ์ พลแดง เลขที่๓๓

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่๕

โรงเรียนสุรวิทยาคาร อำเภอเมือง
จังหวัดสุรินทร์

You might also like