You are on page 1of 8

1

บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญ

พวกเราทุกคนอยู่กับความเชื่อในทุกๆวันของเรา ความเชื่ออยู่ใน
หลายที่ ไม่ว่าจะเป็ นการมีศาสนา ความเชื่อเรื่องบาปบุญคุณโทษ ความ
เชื่อในเรื่องภูตผีปี ศาจ ไสยศาสตร์ โหราศาสตร์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆและ
ในสมัยก่อนมีการนำความเชื่อไปใส่ในวรรณคดีไปจนถึงการนำไปใส่ใน
ละครไทยในปั จจุบันเพื่อความสร้างสีสันในการแสดง ความเชื่อในปั จจุบัน
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก เพราะมีวิทยาศาสตร์ที่ขัดแย้ง
ความเชื่อต่างๆเนื่องจากไม่ตรงกับทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการ
รับรองว่าเป็ นความจริง

ดังนั้นผมจึงอยากให้ผู้อ่านได้ตระหนักถึงความสำคัญของความเชื่อ
และเรียนรู้ถึงข้อแตกต่างของ ความเชื่อในวรรณคดีไทยในสมัยก่อนและ
ความเชื่อในละครไทยในปั จจุบัน
2

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ความหมายของความเชื่อ

ความเชื่อ คือ การยอมรับอันเกิดอยู่ในจิตสำนึกของมนุษย์ต่อพลัง


อำนาจเหนือธรรมชาติ ที่เป็ นผลดีหรือผลร้ายต่อมนุษย์นั้นๆ หรือสังคม
มนุษย์นั้นๆ แม้ว่าพลังอำนาจเหนือธรรมชาติเหล่านั้น ไม่สามารถที่จะ
พิสูจน์ได้ว่าเป็ นความจริง แต่มนุษย์ในสังคมหนึ่งยอมรับและให้ความ
เคารพเกรงกลัวสิ่งเหล่านี้ เรียกว่าความเชื่อ ฉะนั้นความเชื่อจึงมีขอบเขต
กว้างขวางมาก ไม่เพียงแต่จะหมายถึงความเชื่อในดวงวิญญาณทั้งหลาย
ภูตผี คาถาอาคม โชคลาง ไสยเวทต่างๆ ยังรวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ที่มนุษย์ยอมรับนับถือ เช่น ต้นไม้ ป่ าเขา เป็ นต้น
3

ลักษณะความเชื่อในวรรณคดี

ในวรรณคดีไทยหลายเรื่องมักจะปรากฎความเชื่อของคนไทยอยู่
เสมอ ๆ ซึ่งเราสามารถแบ่งความเชื่อที่ปรากฎในวรรณคดีได้เป็ น 2
ประเภท คือ ความเชื่อทางไสยศาสตร์และความเชื่อทางพุทธศาสตร์

1. ความเชื่อทางไสยศาสตร์

ความเชื่อทางไสยศาสตร์ คือความเชื่อที่เกี่ยวกับวิญญาณ
เครื่องรางของขลัง โชคลาง ฝั นบอกเหตุ ลางสังหรณ์ การลงเลขเสก
ยันต์ โหราศาสตร์ สีผ้าแต่งกายประจำวัน พิธีกรรมก่อนการทำ
สงคราม การทำเสน่ห์ คุณไสย คาถาอาคม การบวงสรวง การ
แก้บน

2. ความเชื่อทางพุทธศาสตร์

ความเชื่อทางพุทธศาสตร์ คือความเชื่อเรื่องต่างๆที่เกี่ยวกับ
พุทธศาสนาเช่น เวรกรรม บุญบาป การเวียนว่ายตายเกิด นรก
สวรรค์

ความเชื่อในละครไทยในปั จจุบัน

ในละครไทยส่วนใหญ่มักนำความเชื่อที่สะท้อนกับการใช้ชีวิตใน
ปั จจุบัน
4

บทที่ 3

วิธีการดำเนินงาน
รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง เปรียบเทียบความเชื่อในวรรณคดี
ไทยและละครไทยในปั จจุบัน ซึ่งเป็ นรายงานประเภทที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับ
ลักษณะของความเชื่อในวรรณคดีและละครไทยในปั จจุบัน โดยมีราย
ละเอียดวิธีการดำเนินงานดังนี้ต่อไปนี้

1. กำหนดหัวข้อรายงานในรายวิชาภาษาไทยเพื่อการเขียนเชิง
วิชาการโดยการสุ่มจับฉลากในห้อง

2. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับ ความเชื่อ ความเชื่อในวรรณคดี


และความเชื่อในละครไทย จาก หนังสือในห้องสมุดและแหล่ง
เว็บไซต์ต่างๆ

3. จดเก็บข้อมูลและคัดกรองวิเคราะห์ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

4. นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียงในเค้าโครงรายงานตามหัวข้อต่างๆ

5. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

6. นำมาเรียบเรียงเป็ นรูปเล่มรายงานจนเสร็จ
5

บทที่ 4

ผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการศึกษาค้นคว้าที่นำเสนอในบทนี้ประกอบด้วย

1. ได้รู้ความหมายของความเชื่อ

2. ได้รู้ลักษณะของความเชื่อในวรรณคดี

3. ได้รู้ลักษณะของความเชื่อในละครไทย

4. รับรู้ความแตกต่างระหว่างความเชื่อในวรรณคดีและความ
เชื่อในละครไทย
6

บทที่ 5

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

เปรียบเทียบความแตกต่างระหวางความเชื่อในวรรณคดีไทยและ
ความเชื่อในละครไทยในปั จจุบันคือความเชื่อในวรรณคดี เริ่มต้นมาจาก
วรรณคดีถูกแต่งขึ้นมาในสมัยก่อนจึงนำความเชื่อในเรื่องต่างๆในสมัยนั้น
นำมาอยู่ในวรรณคดีไทยเช่น ความเชื่อเรื่องความฝั นในเรื่องพระอภัยมณี
ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทรเรื่องโหราศาสตร์ โชคลางและเรื่อง
7

พุทธศาสนา แต่ความเชื่อในละครไทยในปั จจุบันเกิดจากความเชื่อใน


ปั จจุบัน ความเชื่อในชีวิตประจำวันในสมัยนี้

แหล่งอ้างอิง
8

ครูมยุรา (2022). ความเชื่อในวรรณคดี. สืบค้นจาก :


http://kroomam.blogspot.com/2021/02/blog-post_18.html [19
กันยายน 2566]

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง (2015). ความเชื่อ. สืบค้น


จาก

https://bcnlp56.weebly.com/index.html

You might also like