You are on page 1of 13

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถด้านศัพท์ภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย โดยใช้หนังสือนิทานและ
ภาพประกอบ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาและค้นหาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีรายละเอียด
ตามลาดับ ดังนี้
1.หนังสือนิทาน
1.1 ความหมายของหนังสือนิทาน
1.2 ความสาคัญของหนังสือนิทาน
1.3 ประเภทของนิทาน
2. นิทานภาพ
2.1 ความหมายของนิทานภาพ
2.2 ความสาคัญของนิทานภาพ
2.3 หลักการสร้างนิทาน
2.4 การเขียนภาพประกอบนิทาน
2.5 ประโยชน์ของนิทานและการเล่าเรื่อง
3. เทคนิควิธีการเรียนคาศัพท์
3.1 การสอนคาศัพท์ที่มีประสิทธิภาพ
3.2 การหาประสิทธิภาพแบบทดสอบ
4. แนวทางสาหรับการเรียนการสอนภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
4.2 การจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
หนังสือนิทาน
1.ความหมายของหนังสือนิทาน
ความหมายของนิทานมีนักวิชาการและหน่วยงานหลากหลายหน่วยงาน ได้กล่าวถึงความหมายของนิทาน ไว้ดังนี้ ใน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546, หน้า 588) อธิบายความหมายไว้ว่า นิทาน คือ เรื่องที่เล่ากันมา เช่น นิทาน
ชาดก และนิทานอีสป เป็นต้น กิ่งแก้ว อัตถากร (2519, หน้า 12) ได้ระบุความหมายไว้ว่า นิทาน หมายถึง เรื่องเล่าสืบต่อกันมาเป็น
มรดกทางวัฒนธรรม ส่วนใหญ่ถ่ายทอดด้วยวิธีมุขปาฐะ แต่ก็มีอยูส่ ว่ นมากที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ และนอกจากนี้ยังอธิบาย
ว่านิทานเป็นเรื่องเล่าทั่วไป มิได้จงใจแสดงประวัติความเป็นมา จุดใหญ่เล่าเพื่อความสนุกสนาน บางครัง้ ก็จะแทรกคติเพื่อสอนใจไป
ด้วย นิทานมิใช่เรื่องเฉพาะเด็ก นิทานสาหรับผู้ใหญ่กม็ ีจานวนมาก และเหมาะสาหรับผู้ใหญ่เท่านั้น กุหลาบ มัลลิกะมาส (2518,
หน้า 99-100) ได้ให้ความหมายไว้ว่า นิทาน ไว้ในหนังสือคติชาวบ้านว่า นิทานเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะที่เล่าสืบต่อกันมาหลายชั่ว
อายุคน เพื่อความสนุกสนานเบิกบานใจ ผ่อนคลายความตึงเครียด เพื่อเสริมศรัทธาในศาสนา เทพเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นคติเตือนใจ
ช่วยอบรมบ่มนิสยั ช่วยให้เข้าใจสิง่ แวดล้อมและปรากฏการณ์ธรรมชาติ เนื้อเรื่องของนิทานเป็นเรื่องนานาชนิด อาจเป็นเรื่อง
เกี่ยวกับการผจญภัย ความรัก ความโกรธ เกลียด ริษยา อาฆาต ตลกขบขัน หรือเรื่องแปลกประหลาดผิดปกติธรรมดา ตัวละครใน
เรื่องก็มีลักษณะต่างๆกัน อาจเป็นคน สัตว์ เจ้าหญิง เจ้าชาย อมนุษย์ แม่มด นางฟ้า แต่ให้มีความรูส้ ึกนึกคิด พฤติกรรมต่างๆ
เหมือนคนทั่วไปหรืออาจจะเหมือนที่เราอยากจะเป็น เมื่อนิทานตกไปอยู่ในท้องถิ่นใดก็มักมีการปรับเนื้อเรื่องให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ของถิ่นนั้น นิทานในแต่ละท้องถิ่นจึงมีเนื้อเรื่องส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน คือ สภาพความเป็นมนุษย์ อารมณ์ ความรู้สึกรัก เกลียด
ความโง่ ฉลาด ขบขัน อาฆาตแค้น หรือทุกข์ สุข ส่วนรายละเอียดจะแตกต่างไปบ้างตามสภาพแวดล้อมและอิทธิพลของวัฒนธรรม
ความเชื่อของ แต่ละท้องถิ่น
จากนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวมาข้างต้น คณะผู้วิจัยสรุปได้ว่า นิทาน หมายถึง เรื่องเล่าที่มนุษย์ผูกเรื่องขึ้นด้วยภูมิ
ปัญญา โดยส่วนใหญ่จะถ่ายทอดด้วยวิธีมุขปาฐะ เนื้อเรื่องมีหลากหลายและใช้เล่าเพื่อจุดประสงค์ต่างๆกัน ตามโอกาสและ
สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่น คาที่ใช้เรียกนิทานมีต่างๆกันไป เช่น นิทานชาวบ้าน นิทานพื้นบ้าน นิทานพื้นเมือง วรรณกรรมมุข
ปาฐะ เป็นต้น ในที่นี้จะใช้ว่านิทานพื้นบ้าน

2 ความสาคัญของหนังสือนิทาน
นิทานเป็น สิ่งที่สาคัญต่อชีวิตเด็ก ช่วยให้เด็กมีความสุขให้แง่คิดและคติสอนใจการจัดประสบการณ์ให้เด็กโดยใช้นิทาน
เป็นสิ่งจา เป็นเพราะการเล่านิทาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก ได้มีนักวิชาการกล่าวถึง
ความสาคัญของนิทานไว้หลายท่านดังต่อไปนี้
เกริก ยุ้นพันธ์ (2547 : 55 - 56)ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเล่านิทาน ดังนี้
1. เด็กๆ หรือผู้ฟังจะเกิดความรูส้ ึกอบอุ่นและใกล้ชิด เป็นกันเองกับผู้เล่า
2. เด็กๆ หรือผู้ฟังจะเกิดความรูส้ กึ ร่วมในขณะฟัง ทา ให้เขาเกิดความเพลิดเพลินผ่อนคลายและสดชื่นแจ่มใส
3. เด็กๆ หรือผู้ฟังจะมีสมาธิหรือความตั้งใจที่มีระยะเวลานานขึ้นหรือยาวขึ้น โดยเฉพาะผู้เล่าที่มีความสามารถในการตรึง
ให้ผู้ฟังหรือกเด็กๆใจจดจ่ออยู่กับเรื่องราวที่ผู้เล่าเล่าเรื่องที่มีขนาดยาว
4. เด็กๆ หรือผู้ฟังจะถูกกล่อมเกลาด้วยนิทานที่มีเนื้อหาส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ทาให้เด็กๆ และผู้ฟังเข้าใจใน
ความดีและความงามยิ่งขึ้น
5. นิทานจะทาให้เด็กๆ หรือผู้ฟังมีความละเอียดอ่อน รู้จักการรับและการให้มองโลกในแง่ดี
6. นิทานจะทาให้เด็กๆ หรือผู้ฟังใช้กระบวนการคิดในการพิจารณาแก้ปัญหาได้
7. นิทานสามารถสร้างความกล้าให้กับเด็กๆหรือผู้ฟังโดยการแสดงออกที่ผ่านกระบวนการคิดที่มีประสิทธิภาพ
8. เด็กๆ ผู้ฟังจะได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์และสามารถประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้
9. นิทานช่วยสร้างเสริมจินตนาการที่กว้างไกลไร้ขอบเขตให้กับเด็กหรือผู้ฟัง
10. นิทานสามารถช่วยให้เด็กๆ และผู้ฟังได้รจู้ ักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง การออกเสียง การกระดกลิ้นตัว ร เรือ และ ล สิง
ได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
วิเชียร เกษประทุม(2550 : 9-10)ได้กล่าวถึงความสาคัญของนิทานวามี่ คุณค่าและมีประโยชน์ ดังนี้ 1) นิทานให้ความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน เป็นการผ่อนคลายความเครียดและช่วยให้เวลาผ่านไปอย่างไม่น่าเบื่อหน่าย 2.)นิทานช่วยกระชับ
ความสัมพันธ์ในครอบครัวเด็กบางคนอาจมองผุ้ใหญ่ว่าเป็นบุคคลที่ขบี้ ่นชอบดุด่า น่าเบื่อหน่วยหรือน่าเกรงขาม แต่ถ้าผู้ใหญ่มีเวลา
เล่านิทานให้เด็กฟังบ้าง นิทานที่สนุกๆ ก็จะช่วยให้เด็กอยากอยู่ใกล้ชิดผู้ใหญ่ความเกรงกลัวหรือเบื่อหน่ายผู้ใหญ่ 3)นิทานให้
การศึกษาและเสริมสร้างจินตนาการ 4) นิทานให้ข้อคิดและคติเตือนใจ ช่วยปลูกฝังคุณธรรมต่างๆ ที่สงั คมพึงประสงค์ให้แก่ผู้ฟังเช่น
ให้ซื่อสัตว์ให้เชื่อผู้ใหญ่ ให้พูดจาไพเราะอ่อนหวาน ให้มีความเอื้อเผือ่ เผื่อแผ่ให้ขยันขันแข็ง เป็นต้น 5)นิทานช่วยสะท้อนให้เห็น
สภาพของสังคมในอดีตในหลายๆด้าน เช่น ลักษณะของสังคมวิถีชีวิตของประชาชนในสังคมตลอดจนประเพณีค่านิยมและความเชื่อ
เป็นต้นสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550 : 11-16) ได้ระบุถึงความสาคัญ ของนิทานว่านิทานเป็นสิ่งที่สาคัญ ต่อชีวิตทั้ง
และผู้ใหญ่ เพราะนอกจากนิทาน จะช่วยให้เด็กๆ มีความสุขสนุกหรรษาแล้ว ยังเป็นโลกแห่งจินตนาการที่สมบูรณ์แบบที่คอยช่วย
ถักทอสายใยความรักความฝัน สานสัมพันธ์อันอบอุ่น ความละมุนละไมในกลุม่ สมาชิกของครอบครัว อีกทั้งนิทานยังให้แง่คิดคติ
สอนใจ และปรัชญาชีวิตอันลา ลึกแก่เด็ก
บวรงามศิริอุดม (2554, หน้า 87) ได้กล่าวถึงความสาคัญ ที่ได้จากการเล่านิทานว่า 1) ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ของเด็ก 2) ให้รู้จักคา เรียกชื่อสิ่งของต่างๆ จากรูปภาพในนิทาน 3) เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออก พัฒนาความคิด จินตนาการ 4)
ให้ความรู้สึกทีด่ ีต่อเด็ก 5) มีความตลกขบขันให้ความสนุกสนาน ช่วยแก้ปัญหาให้กับตัวเด็ก
จากนักวิชาการหลายท่านไดกลาวไวขางตน คณะผูวิจัยสรุปไดวา นิทานใหความเพลิดเพลิน สนุกสนานและผอนคลาย
ความเครียด สรางเสริมจินตนาการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม กระชับความสัมพันธในครอบครัว สะทอนใหเห็นสภาพของสังคมใน
อดีตหลายๆ ดาน ชวยพัฒนาเด็กทางคุณลักษณะชีวิต พัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก พัฒนาดานความรูและ สติปญญา ทักษะและ
ความสามารถทางภาษา

3. ประเภทของนิทาน
ไดมีนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึงการกลาวถึงประเภทของนิทานออกเปน หลายประเภท โดยใชการแบงที่แตกตางกัน
ไป เชน (กล่อมจิตต์ พลายเวช. 2526: 105.) ไดแบง ประเภทนิทานไวดังนี้
1. นิทานปรัมปรา (Fairy tale) นิทานปรัมปรานีม้ าจากคา Fairy tale ของภาษาอังกฤษว่าเทพนิยาย ทาให้เกิดความ
สับสนปนกับนิทานอีกแบบหนึ่งคือ Myth เป็นนิทานที่ตัวบุคคลในเรื่องเป็นเทพหรือกึ่งเทพโดยตรง ส่วนนิทานปรัมปรานี้ บางทีไม่มี
เทพหรือนางฟ้ามาเกี่ยวข้อง นิทานปรัมปรานีม้ ีลักษณะที่เห็นได้ชัด คือ
1.1 เป็นเรื่องค่อนข้างยาว มีสารัตถะ (Motif) หลายสารัตถะประกอบอยู่ในนิทานนั้น
1.2 เป็นเรื่องที่สมมติว่าเกิดขึ้นในที่ใดที่หนึ่ง แต่สถานที่ไม่บ่งชัด เช่น ขึ้นต้นว่า “ในกาลครั้งหนึ่ง…” เมื่อใดไม่ชัด มี
พระราชาองค์หนึ่งครอบครองเมืองแห่งหนึ่ง แต่เมืองอะไรไม่ระบุ
1.3 ตัวบุคคลในนิทาน ไม่ใช่มนุษย์ธรรมดาที่มีความจริงตามสภาพปกติของมนุษย์
1.4 เนื้อเรื่องจะประกอบด้วยอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ อานาจอันพ้นมนุษย์วิสัยต่างๆ
1.5 ตัวเอกของเรื่อง มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น เป็นผู้มีอานาจ มีบุญ มีความสามารถ มีฤทธิเดช ทาให้ศัตรูพ่ายแพ้ไปถ้า
เป็นชายมักจะได้แต่งงานกับหญิงสูงศักดิ์ แล้วครอบครองบ้านเมืองอยู่เป็นสุขไปเกือบชั่วกาลนาน ถ้าเป็นหญิงมักจะมีนัยคล้ายคลึง
กัน แม้ว่าจะมีกาเนิดต่าต้อยหรือตกทุกข์ได้ยากในตอนต้น แต่ในทีส่ ดุ จะได้แต่งงานดีมีความสุขยั่งยืน สิ้นศัตรูและอุปสรรคในบั้น
ปลาย นิทานแบบนี้มีอยู่ทั่วไปในโลกทั้งทางตะวันตกและทางตะวันออก เช่น เรื่องนางสิบสอง สังข์ทอง ปลาบู่ทอง สโนไวท์ ซินเดอ
เรลลาและเจ้าหญิงนิทรา เป็นต้น
2. นิทานท้องถิ่น (Legend) นิทานประเภทนี้ มีขนาดสั้นกว่านิทานปรัมปรา มักเป็นเรื่องเหตุการณ์เดียวและเกีย่ วกับ
ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี โชคลาง หรือคตินิยมอย่างใดอย่างหนึ่ง ของคนแต่ละท้องถิ่น แม้ว่าจะเป็นเรื่องแปลกพิสดาร
พ้นวิสัยความจริงไปบ้างก็ยังเชื่อว่า เรื่องเหล่านีเ้ กิดจริงเป็นจริง มีบุคคลจริง มีสถานที่จริงที่กาหนดแน่นอนกว่านิทานปรัมปรา
นิทานท้องถิ่นอาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของวีรบุรุษประจาชาติ หรือประจาเมือง เช่น ท้าวแสนปม พระร่วง พระยากง พระยาพาน
หรือเป็นเรื่องนางไม้นางนาก นางเงือก ที่ปรากฏกายมีเรื่องเกี่ยวกับมนุษย์ตามเรื่องในนิทาน นิทานท้องถิ่นจาแนกออกเป็น 6
ประเภทดังนี้
2.1 นิทานประเภทอธิบาย (Explanatory Tale) เช่น อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของธรรมชาติ เช่น เหตุใดกาจึงมีขน
ดา ทาไมพระราหูกับพระจันทร์จึงเป็นอริต่อกัน อธิบายสาเหตุความเชื่อบางประการ เช่น ห้ามนาน้าส้มสายชูเข้าไปในเมืองลพบุรี
และอธิบายชื่อสถานที่ตา่ งๆ ว่า เหตุใดจึงมีชื่อเช่นนั้น เช่น ภูเขา เกาะ ถ้า เมือง ตาบลและโบราณสถานสาคัญๆ ล้วนมีประวัตคิ วาม
เป็นมาทานองนิทานอธิบายว่าเหตุใดจึงมีชื่อเรียกเช่นนั้น เช่น เขาอกทะลุในจังหวัดพัทลุง เกาะหนู เกาะแมวในจังหวัดสงขลา
ประวัติชื่อตาบล “สามเสน” ในกรุงเทพฯ
2.2 นิทานที่เกี่ยวกับความเชื่อต่างๆ เช่น โชคลาง เรื่องผีชนิดต่างๆ เปรต เงือก นางไม้ เรื่องเกี่ยวกับไสยศาสตร์ การใช้
คาถาอาคมและเวทมนต์ ความเชือ่ เหล่านั้นเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตในสมัยดึกดาบรรพ์ก่อนโลกจะเจริญ
2.3 นิทานเกี่ยวกับสมบัติที่ฝังไว้ มีลายแทงแนะให้หาสมบัตินั้นๆ เช่น เรื่องปู่โสมเฝ้าทรัพย์
2.4 นิทานวีรบุรุษ เป็นเรื่องที่กล่าวถึงคุณธรรม ความฉลาดความสามารถและความองอาจกล้าหาญของบุคคล
ส่วนมากจะเป็นวีรบุรุษของชาติบ้านเมือง คล้ายคลึงกับนิทานปรัมปรา มักมีตัวเอกเป็นวีรบุรุษเหมือนกัน นิทานท้องถิ่นประเภท
วีรบุรุษนี้ มักมีกาหนดสถานภาพทีม่ ีกาหนดเวลาแน่ชัดขึ้น แม้ว่าจะมีเรื่องพ้นอานาจวิสัยมนุษย์ธรรมดาประกอบอยู่บ้างแต่พอที่จะ
ทาให้ผู้ฟังเชื่อว่าอาจเป็นความจริงมากกว่านิทานแบบปรัมปรา เช่น เรื่องท้าวแสนปม พระร่วงวาจาสิทธิ์ พระเจ้าสายน้าผึ้ง ไกรทอง
เป็นต้น
2.5 นิทานคติสอนใจ เป็นเรื่องสัน้ ๆ ไม่สมจริง เจตนาจะสอนความประพฤติอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เรื่องหนูกัดเหล็ก
ชาดกต่างๆ ที่พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคนและสัตว์
2.6 นิทานที่เกี่ยวกับนักบวชต่างๆ เป็นนิทานเกี่ยวกับอภินิหารของนักบวชที่เจริญภาวนาจนมีญาณแก่กล้า มีอิทธิฤทธิ์
พิเศษ เช่น เรื่องหลวงพ่อโคะ (หลวงพ่อทวด)
3. เทพนิยาย (Myth) เทพนิยาย (Myth) นี้จะหมายถึงนิทานที่เทวดา นางฟ้า เป็นตัวบุคคลในนิทานนัน้ เรื่องพระอินทร์
หรือเป็นแต่เพียงกึ่งเทวดาอย่างเช่น เจ้าป่า เจ้าเขา เจ้าที่ เจ้าแม่ต่างๆ เทพนิยายเหล่านี้มักมีส่วนสัมพันธ์กับความเชื่อทางศาสนา
และพิธีกรรมต่างๆ ที่มนุษย์ปฏิบตั ใิ นทางศาสนา ตัวบุคคลในเรื่อง อาจมีลักษณะคล้ายคลึงกับตัวเอกในนิทานท้องถิ่น ประเภท
วีรบุรุษ แต่จะต้องมีส่วนเกีย่ วข้องกับเรื่องทางศาสนาปนอยู่ อาจเนือ่ งมาจากความนิยมในวีรบุรุษแห่งท้องถิ่นมาก่อน ต่อมาจึงได้ยก
ย่องขึ้นเป็นเทวดา หรือเนื่องมาจากความเลื่อมใสลัทธิศาสนาทาให้คดิ แต่งตั้งเทวดาขึ้นก็ได้นิทานประเภทนี้ ได้แก่เรื่องต่างๆ ที่
เกี่ยวกับพระอินทร์ท้าวมหาสงกรานต์เมขลา – รามสูร นารายณ์สิบปาง เป็นต้น
4. นิทานเรื่องสัตว์ (Animal Tale) นิทานประเภทนี้มตี ัวสัตว์เป็นตัวเอก แต่สมมติว่ามีความคิดและการกระทาต่างๆ
ตลอดจนพูดจาอย่างมนุษย์ธรรมดา บางเรื่องแสดงความเฉลียวฉลาดหรือความโง่เขลาของสัตว์จุดเด่นที่น่าสนใจของเรื่องอยู่ที่ ข้อ
ขบขัน การตบตาหลอกลวงกันหรือเรื่องที่ไม่น่าเป็นไปได้และที่เป็นชนิดมีคติสอนใจสอนความประพฤติก็มีเป็นอันมากนิทานเรื่อง
สัตว์นี้ เป็นเรื่องสัตว์ป่า สัตว์บ้าน บางเรื่องก็เป็นเรื่องที่มีคนมีส่วนเกีย่ วข้องอยู่ด้วย แต่ทั้งคนทั้งสัตว์นั้นจะพูดโต้ตอบกัน และปฏิบัติ
กันเหมือนหนึ่งว่าเป็นมนุษย์เหมือนกัน นิทานชนิดที่สอนศีลธรรมต่างๆ นั้นเป็นที่นิยมกว้างขวางทั่วโลก เรื่องชาดกบางเรื่องมีมา
ก่อนศาสนาสาคัญๆ เช่น ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ เสียอีก นิทานเรื่องสัตว์ แบ่งย่อยออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) นิทานประเภท
สอนคติธรรม (Fable) นิทานประเภทนี้ตัวเอกจะต้องเป็นสัตว์ เช่น เรื่องราชสีห์กับหนู ชาดกต่างๆ ที่พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็น
สัตว์หลายชนิด นิทานสุภาษิตบางเรื่อง 2) นิทานประเภทเล่าซ้าหรือเล่าไม่รู้จบ (Cumulative Tale) เช่น เรื่องยายกะตา ปลูกถั่วให้
หลานเฝ้า หลานไม่เฝ้า กามากินถั่วกินงา ฯลฯ นิทานชนิดนี้มีเนื้อเรื่องและวิธีเล่าเป็นแบบจาเพาะ บางทีเรียกว่า Formular Tale
ตัวอย่างเรื่องประเภทนี้ได้แก่ Gingerbread Boy, The House that Jack Built, The Old Woman and Her Pig
5. นิทานตลกขบขัน (Jest) นิทานพื้นบ้านลักษณะนี้ มักเป็นเรื่องสั้นๆ จุดสาคัญของเรื่องตลกขบขันนี้ อยู่ที่มีเรื่องที่ไม่น่า
เป็นไปได้ต่างๆ เกี่ยวกับความโง่และกลโกง การแก้เผ็ดแก้ลา การแสดงปฏิภาณไหวพริบ การพนันขันต่อ การเดินทางและการผจญ
ภัยที่ก่อเรื่องผิดปกติในแง่ขบขันต่างๆตัวเอกของเรื่องตลกขบขัน บางทีไม่ใช่คนฉลาดสามารถ แต่เป็นคนโง่เง่าอย่างที่สุด มักจะทา
เรื่องผิดปกติวิสัยที่มนุษย์มสี ติปัญญาตามธรรมดาเขาทากัน นอกจากนี้ยังมีเรื่องตลกขาขันทีต่ ัวเอกเป็นคนมีสติปญั ญาและปฏิภาณ
ไหวพริบ เช่น เรื่องศรีธนญชัย เป็นต้น
ประคอง นิมมานเหมินท (2550, หนา 9-15) ไดแบงนิทานสาหรับเด็กออกเปน 11 ประเภท ไดแก 1) นิทานเทวปกรณ
หรือนิทานปรัมปรา 2) นิทานมหัศจรรย 3) นิทานชีวิต 4) นิทานประจาทองถิ่น 5) นิทานคติสอนใจ 6) นิทานอธิบายสาเหตุ 7)
นิทานเรื่องสัตว 8) นิทานเรื่องผี 9) นิทานมุขตลก 1). นิทานเรื่องโม และ 11) นิทานเขาแบบมี 2 ประเภท คือ นิทานไมรูจบและ
นิทานลูกโซ
จากนักวิชาการหลายทานไดกลาวไวขางตน คณะผูวิจัยสรุปไดวา ประเภทของนิทานมีหลายประเภท ไดแก นิทานเทพ
นิยาย นิทานปรัมปรา นิทานทองถิ่น นิทานคติสอนใจ นิทานชีวิต นิทานเรื่องผี ขบขัน นิทานชาวบาน นิทานเกี่ยวกับสัตว นิทานที่
เปนบทโครง มีใจความเปนแบบบรรยายโวหารนิทานโกหก นิทานตลกขบขัน

นิทานภาพ
1. ความหมายของนิทานภาพ
นิทานประกอบภาพ หมายถึง การเล่านิทานโดยผูเ้ ล่าจะใช้หนังสือทีมีภาพ ประกอบมาดึงดูจดุ สนใจของผู้ฟังในการเล่า
นิทาน การเล่านิทานปากเปล่า หมายถึง การเล่านิทานโดยผู้เล่าต้องเตรียมตัวให้พร้อมเสมอ เพราะจุดสนใจของเด็กทีกาลังฟังนิทาน
จะอยู่ทีผู้เล่าเท่านัน้ สิรสิ ิงห (2524, หนา 11) ไดใหความหมายของหนังสือสาหรับเด็ก หมายถึง หนังสือสาหรับเด็ก ประเภทให
ความบันเทิง อาจเปนหนังสือภาพ หนังสือนิทาน นิยาย วรรณคดีประเภทตางๆ ที่ เหมาะสมกับเด็กแตละวัย เปนหนังสือที่ใหความ
บันเทิงเพลิดเพลินและใหความรูแตกตางไป จากหนังสือแบบเรียน จะเห็นไดวา นิทานหรือหนังสือสาหรับเด็กนั้นไมจาเปนตองมี
ตัวหนังสือ ตลอดทั้งเลม อาจจะเปนรูปภาพตลอดเลมหรือเปนรูปภาพที่มีคาบรรยายดวยก็ได นิทานหรือ หนังสือเด็กจะเปนการสรา
งเรื่องราวเพื่อใหความเพลิดเพลินสนุกสนาน และใหความรูโดยตัว ละครจะเกีย่ วกับสิ่งที่อยูรอบตัวเด็ก เชน สัตว พืช และคน เปนต
น นิทานอาจแบงไดหลาย ประเภท เชน นิทานพื้นบาน นิทานชาดก นิทานอีสป และนิทานภาพ เปนตน แนวคิดของ ฉวีวรรณ คูหา
ภินันท (2523, หนา 13) ไดใหความหมายของนิทานภาพสาหรับเด็กวา หมายถึง นิทานภาพที่มี จุดมุงหมายในการจัดทาขึ้นสาหรับ
เด็กอานโดยเฉพาะ หรืออาจใหผูใหญอานใหฟงก็ได ถาเปน เด็กเล็กๆ อาจเปนนิทานภาพลวนๆ หรือนิทานที่มีเนื้อเรื่องและรูปภาพ
หรือหนังสือการตูนก็ได นิทานภาพสาหรับเด็กจะตองจัดทาขึ้นใหมีเนื้อหาสาระรูปเลม และตัวอักษรทีเ่ หมาะสมกับวัย ความรู และ
ความสามารถของเด็กดวยรูปแบบหรือลักษณะของนิทานภาพสาหรับเด็กจะมี หลายลักษณะ โดยเฉพาะนิทานภาพสาหรับเด็ก
เล็กๆ จะมีลักษณะตางๆ ไมเล็กหรือใหญ จนเกินไป จับถือไดสะดวก หรือเปนเด็กเล็กยิ่งมีหลายแบบ จนถึงลักษณะพอตเก็ตบุคสา
หรับ เด็กโต ระดับอายุของผูอานตั้งแตกอนเขาโรงเรียนจนกระทั่งวัยรุน ในทิศทางเดียวกัน

2. ความสาคัญของนิทานภาพ
1. จุดประกายความคิดสร้างสรรค์ เรื่องราวในนิทานมักเต็มไปด้วยสีสันและเนื้อหาที่สร้างการเรียนรู้และจินตนาการให้กับ
เด็ก ดังนั้นเมื่ออ่านหนังสือนิทานให้เด็กฟังก็จะทาให้เด็กได้คิดตาม เกิดเป็นความคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการฝึกสมองของ
เด็กให้มีพัฒนาการตามไปด้วย
2. เสริมสร้างความเชื่อมั่น ในระหว่างที่ผู้ปกครองกาลังอ่านหนังสือให้เด็กฟัง ก็มักเป็นช่วงเวลาที่ผู้ใหญ่ได้ใช้เวลาอยู่กับ
เด็กได้อย่างเต็มที่ จึงช่วยสร้างสายสัมพันธ์ที่ดี ยิ่งการปล่อยให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น หรือท่าทางต่าง ๆ ในระหว่างการอ่าน
หนังสือนิทานเด็กเสริมพัฒนาการ ก็จะยิ่งช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นในการแสดงออกของเด็กให้เพิ่มมากขึ้นได้อีกทางหนึ่งด้วย
3. พัฒนาการทางสังคม เรื่องราวในหนังสือนิทานเด็ก มักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตประจาวัน หรือเรื่องราวที่สามารถพบ
เห็นได้ทั่วไปในสังคม ดังนั้นการอ่านหนังสือนิทานก็จะช่วยให้เด็กรู้จกั และเรียนรู้ที่จะอยู่ในสังคม เรียนรู้ว่าเรื่องใดเป็นสิ่งที่ควรทา
และเรื่องใดเป็นสิ่งที่ไม่ควรทาได้ดี
4. พัฒนาด้านการจดจา การอ่านหนังสือนิทานสาหรับปฐมวัยในเด็กเล็กนั้น เด็ก ๆ มักยังไม่มีปฏิกริ ิยาใด ๆ ให้พ่อแม่ได้รู้
ว่าเด็กชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาในหนังสือ แต่เด็กก็จะสามารถรับรู้เรื่องราวที่พ่อแม่หรือผู้ปกครองอ่านให้ฟังได้ ซึ่งจะสามารถสังเกต
ได้ในกรณีที่เด็กโตขึ้น จะเริ่มมีการเลือกประเภทหนังสือที่ชอบให้อ่าน หรือรู้สึกสนุกร่วมทุกครั้งที่ผู้ปกครองอ่านให้ฟัง อันเป็นการ
แสดงให้เห็นว่าเด็กรู้จักจดจาสิ่งที่ผู้ใหญ่อ่านให้ฟังได้เป็นอย่างดี
5. พัฒนาเซลล์สมอง การอ่านหนังสือนิทานช่วยส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ ซึ่งนอกจากนิทานที่เป็นตัวอักษรแล้ว
ผู้ปกครองอาจใช้หนังสือนิทานภาพมาให้เด็กได้อ่านและเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ผ่านภาพประกอบ ซึ่งการกระตุ้นให้สมองของเด็กได้
ทางานจะช่วยให้เซลล์สมองของเด็กที่กาลังตื่นตัวเหล่านีส้ ามารถขยายตัวได้อย่างเต็มที่ ลดการเกิดอาการสมองฝ่อได้ในอนาคต

3. หลักการสร้างนิทาน
อรอนงค์ โชคสกุลและศรีอมั พร ประทุมนันท์ (2544, หน้า10-12) ได้กล่าวถึงลักษณะของหนังสือสาหรับเด็ก ดังนี้
1. เนื้อหาของหนังสือต้องมีความเหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและความสนใจของเด็ก เนื้อหาจะต้องมีความสนุกสนาน มี
การดาเนินเรื่องน่าสนใจ ไม่ใช้การบรรยายมากเกินไป ไม่ทาให้น่าเบือ่ เด็กเล็ก ๆ ควรมีเนื้อหาเพียงเล็กน้อยใน 1 หน้า ถ้าเป็นเด็กที่
โตขึ้น เนื้อหาจะเพิ่มขึ้นตามวัยของเด็กได้แต่ต้องดูความเหมาะสมเป็นเกณฑ์ในการจัดทาเนื้อหา
2. เนื้อหาต้องมีแก่นของเรื่องหรือวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน เนื้อหาของหนังสือระดับเด็กเล็กควรมีความคิดรวบยอดเพียง
อย่างเดียว เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายไม่สบั สน ส่วนเนื้อหาของเด็ก ที่กาลังย่างเข้าสู่วัยรุ่น จะมีความคิดรอบยอดมากกว่าหนึ่งก็ได้ แต่ต้อง
สอดคล้องกันอย่างมีระบบและมีความเหมาะสมกลมกลืนได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
3. เนื้อหาจะต้องมีรูปแบบที่ชัดเจน เช่น จะเขียนเนื้อหาเป็นบทร้อยแก้วหรือบทร้อยกรอง ก็ควรจะกาหนดให้แน่นอน
ก่อนจะลงมือเขียน นอกจากจะกาหนดการเขียนเป็นบทร้อยแก้วหรือบทร้อยกรองแล้ว ยังจะต้องกาหนดให้ชัดเจนอีกว่าจะเขียน
เนื้อหาในรูปแบบใด เช่น นิทาน นิทานพื้นบ้าน เรื่องสั้น บทละคร บันทึกเรื่อง สารคดี เป็นต้น
4. สานวนภาษา ลักษณะการเขียนประโยคในหนังสือเด็ก สานวนภาษาและประโยคที่จะนามาเขียนในหนังสือเด็กจะต้อง
เป็นภาษาง่าย ๆ อ่านแล้วสามารถเข้าใจความหมายได้โดย ไม่ต้องนามาแปลอีกครั้งและการเขียนทุกคาจะต้องถูกต้องตาม
หลักเกณฑ์ทางภาษา เด็ก ๆ จะได้นาไปใช้อย่างถูกต้องทั้งในด้านการเขียนและการนาไปใช้ต่อไป
5. ภาพประกอบที่ใช้ในหนังสือสาหรับเด็ก การใช้ภาพประกอบในหนังสือสาหรับเด็กมีหลายวิธี เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย
ภาพตัดแปะ เป็นต้น ในการนาภาพมาประกอบหนังสือสาหรับเด็ก เป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้จัดทาจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องการพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย เพื่อจะทาภาพได้อย่างเหมาะสมตามความสนใจและพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย เช่น เด็กก่อน
วัยเรียน (อายุ2 -6 ขวบ) ควรเป็นหนังสือที่มีภาพมาก ๆ มีตัวหนังสือประกอบได้เล็กน้อย แต่สาหรับเด็กก่อนวัยรุ่น (อายุ 12-14
ขวบ) ไม่จาเป็นต้องมีภาพประกอบทุกหน้า
6. ขนาดตัวอักษรและขนาดของรูปเล่ม ในการจัดทาหนังสือสาหรับเด็ก ขนาดตัวอักษรที่ใช้ในเนื้อเรื่อง ควรจะให้เหมาะสมกับวัย
ของเด็ก เช่น เด็กวัยก่อนเรียน ใช้ตัวอักษรโต ขนาดประมาณ 20-30 พอยท์ (ประมาณ 1/2 ช.ม.) และตัวอักษรที่ใช้ไม่ควรเป็น
ตัวอักษรลวดลาย ควรเป็นตัวอักษรที่มีรูปแบบที่ชัดเจน อ่านง่าย การเขียนอักษรแต่ละตัวถูกต้องตามหลักเกณฑ์

4. การเขียนภาพประกอบนิทาน
การเขียนนิทานสาหรับเด็กอาศัยจินตนาการที่แจ่มชัดและความสามารถในการสวมความเป็ นเด็กในตัวของผูเ้ ขียน ต้อง
เขียนนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเป็ นการบ้านหรื อตัดสิ นใจเขียนนิทานในฐานะโปรเจ็กต์ส่วนตัว ในการเขียนนิทานสาหรับเด็กนั้น
ให้เริ่ มจากการระดมแนวคิดที่ดึงดูดใจเด็ก จากนั้นเขียนเรื่ องราวที่มีการเปิ ดเรื่ องที่น่าสนใจ มีพฒั นาการด้านเนื้อเรื่ อง และมีคติ
สอนใจ ต้องขัดเกลานิทานหลังจากเขียนเสร็จแล้วเพื่อให้ถูกใจนักอ่าน สิ่งที่สาคัญทีส่ ุดคือ ภาพจะตองเปนภาพที่มี ชีวิตชีวา มี
ความเคลื่อนไหว สอดคลองกับเนื้อเรื่อง และใชอธิบายเรื่องได การเขียนภาพประกอบ นิทานสาหรับเด็กจึงนับวามีความสาคัญมาก
ณรงค ทองปาน (2523, หนา 81 – 82) ไดกลาว ถึงลักษณะของภาพประกอบที่ดีสาหรับเขียนหนังสือเด็กไวดังนี้
4.1 ลักษณะของภาพประกอบที่ดี ไดแก 1) เด็กชอบภาพที่มีลักษณะงายๆ ไมซับซอน แตเมื่ออายุสูงขึน้ จะชอบภาพที่
ซับซอน 2) เด็กชอบภาพประกอบที่แสดงการกระทา และการผจญภัย 3) เด็กสนใจภาพที่อยูขางขวามากกวาภาพที่อยูขางซาย 4)
เด็กชอบ ภาพประกอบมาก มากกวาภาพประกอบนอย และ 5) เด็กชอบภาพตรงกับขอความมากกวา ภาพที่ไมตรงกับขอความ

4.2 แบบของภาพ หมายถึง ภาพที่ใชเปนภาพที่ทาขึ้นมาในลักษณะใดก็ได เชน ภาพถาย ภาพวาดแรเงา ภาพลายเสน


ฯลฯ
4.3 ภาพวาดแรเงา ภาพลายเสน สีของภาพมีอิทธิพลตอความชอบและ ความสนใจของเด็กตอหนังสือมาก นิทานหรือ
หนังสือภาพสาหรับเด็กควรจะมีสสี ันสดใส นาสนใจและเปนสีที่เปนไปตามธรรมชาติ
4.4 ขนาดของภาพ ผูออกแบบภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กควรจะทราบ วาภาพขนาดใดที่เด็กจะชอบ หรือขนาดของ
ภาพมีผลตอความชอบของเด็กเพียงใด
4.5 อารมณของภาพที่เด็กไดรับจากภาพมีอยู 3 อารมณ คือ 1) อารมณ ที่นาพอใจ 2) อารมณที่ไมนาพอใจ และ 3) อา
รมณกลางๆ
จากนักวิชาการหลายทานไดกลาวไวขางตน คณะผูวิจัยสรุปไดวา การออกแบบ ภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กจะตอง
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของภาพที่จะนามาทาหนังสือ สาหรับเด็กใหเขาใจอยางละเอียด เพราะภาพเปนสิ่งที่สาคัญในการสงเสริมการ
เรียนรูของเด็ก และควรจะหาวิธีการในการออกแบบและเทคนิคตางๆ ในการจัดพิมพใหดีดวย

5. ประโยชน์ของนิทานและการเล่าเรื่อง
นิทานและการเลาเรื่องเปนศิลปะของการใชภาษาที่ดี เพราะถือวาในการเลา นิทานนั้นครูจะตองมีความเข
าใจในหลักและวิธีการเลาที่ดี จึงจะประสบความสาเร็จในการสอน รวมไปถึงการเลานิทานยังเปนการพัฒนาทักษะ
ในการใชภาษาของเด็กอีกดวย และยัง พัฒนาการฟงและการพูด เพราะเด็กจะตองฝกการจดจาความตอเนื่องของ
เรื่อง ฝกใหเด็กรูจัก การคิดและเรียนรูคาใหม ดังนั้นนิทานมีคุณค่าและประโยชน์ เป็นวิธกี ารให้ความรู้ที่จะทาให้เด็กสนใจ
เรียนรู้ สามารถจดจาและกล้าแสดงออก ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็กจากตัวแบบในนิทานที่เด็ก
ประทับใจ สร้างสมาธิ ผ่อนคลายอารมณ์ สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างผูเ้ ล่าและผู้ฟัง
ประโยชน์ของการเล่านิทาน (เกริก ยุ้นพันธ์. 2539)
1. เด็ก ๆ หรือผู้ฟังจะเกิดความรูส้ กึ อบอุ่นหรือใกล้ชิดเป็นกันเองกับผู้เล่า
2. เด็ก ๆ หรือผู้ฟังจะเกิด ความรูส้ ึกร่วมในขณะฟัง ทาให้เขาเกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และสดชื่นแจ่มใส
3. เด็ก ๆ หรือผู้ฟังจะมีสมาธิหรือความตั้งใจที่มีระยะเวลานานขึ้นหรือยาวขึ้น โดยเฉพาะผูเ้ ล่าทีม่ ี ความสามารถในการ
ตรึงให้ผู้ฟังหรือเด็กๆใจจดจ่ออยู่กบั เรื่องราวที่ผเู้ ล่าเล่าเรื่องที่มีขนาดยาว
4. เด็กหรือผู้ฟังจะถูกกล่อมเกลาด้วยนิทานที่มีเนื้อหาส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ทาให้เด็กๆและผู้ฟังเข้าใจในความดี
และความงามยิ่งขึ้น
5. นิทานจะทาให้เด็กๆ หรือผู้ฟังมีความละเอียดอ่อนรูจ้ ักการรับและการให้ มองโลกใน แง่ดี
6. นิทานจะทาให้เด็กหรือผู้ฟังสามารถใช้กระบวนการคิดในการพิจารณาแก้ปญ
ั หาได้
7. นิทานสามารถสร้างความกล้าให้กับเด็ก ๆ หรือผู้ฟังโดยการแสดงออกผ่านกระบวนการคิดที่มี ประสิทธิภาพ
8. เด็กๆ และผู้ฟังจะได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์และสามารถประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้
9. นิทานช่วยเสริมสร้างจินตนาการที่กว้างไกลไร้ขอบเขตให้กับเด็กหรือผู้ฟัง
10. นิทานสามารถช่วยเด็กๆและผูฟ้ ังได้รู้จักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง

เทคนิควิธีการเรียนคาศัพท์
1. การสอนคาศัพท์ที่มีประสิทธิภาพ
คาศัพท์คือ กลุ่มเสียง กลุ่มคา เสียงพูดที่มีความหมายทั้งในการพูดและการเขียน ซึ่งคาศัพท์เป็น
องค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญของภาษาทุกภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้เพื่อสื่อความหมายถึงความรู้สึกนึกคิด ความ
ต้องการ หรือความรู้ต่างๆ ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การมีความรู้และความสามารถในการใช้คาศัพท์ของ
บุคคลๆ หนึ่ง ถือเป็นปัจจัยหลักที่จะบ่งบอกว่าบุคคลผู้นั้นสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด คาศัพท์จึง
เป็นสิ่งสาคัญที่ทุกคนต้องเรียนรู้และเพิ่มพูนอยู่เสมอ เพื่อให้ประสบความสาเร็จในการสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
(Burns & Lowe. 1966 : 48) จึงกล่าวได้ว่า คาศัพท์มีความสาคัญในการเรียนภาษาอังกฤษเป็น
ภาษาต่างประเทศ ถ้าผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับคาศัพท์ในภาษาใหม่ไม่เพียงพอ ผู้เรียนจะประสบปัญหาในการสื่อ
ความหมายและความต้องการของตนเองในการใช้ภาษาต่างประเทศ และไม่สามารถเข้าใจสิ่งที่ได้ฟัง ได้อ่านเป็น
ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ไม่ประสบผลสาเร็จในการสื่อสาร (Huang. 1993) ดังนั้น คาศัพท์
จึงเป็นสิ่งสาคัญในกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ
ในการสอนคาศัพท์ มีการใช้กลวิธีในการสอนคาศัพท์อย่างหลากหลาย ดังนี้
4.1 การใช้ของจริง (Real objects) เหมาะสาหรับการสอนคาศัพท์ที่เป็นรูปธรรม (Concrete
noun) และไม่ลาบากสาหรับผู้สอนในการนามาประกอบการสอน เช่น ของใช้ในห้องเรียน ผลไม้ ส่วนประกอบของ
ของแซนด์วิช เป็นต้น
4.2 การใช้หุ่นจาลอง (Models) เหมาะสาหรับกรณีที่ผู้สอนไม่สะดวกในการนาของจริงมาใช้สอน
คาศัพท์ เนื่องจากราคาแพง มีขนาดใหญ่ หรือไม่เหมาะสมในการนามาใช้ในห้องเรียน เช่น การสอนผลไม้นอกฤดู
การสอนเรื่องสัตว์ หรือการสอนเรื่องยานพาหนะ เป็นต้น
4.3 การใช้รูปภาพ (Pictures) ปัจจุบัน รูปภาพเป็นอุปกรณ์การสอนที่หาง่าย ราคาถูก และ
น่าสนใจ สามารถสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนได้ง่ายทั้งคาศัพท์ที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ซึ่งสามารถนาเสนอ
เป็นภาพกระดาษ หรือภาพอิเล็กทรอนิกส์ ขึ้นอยู่กับกิจกรรมและความเหมาะสมของห้องเรียน
4.4 การใช้กิริยาท่าทาง (Actions) ในการสอนคาศัพท์ที่เป็นการแสดงกิริยาท่าทาง หรือสามารถ
แสดงด้วยการแสดงท่าทาง เช่น คากิริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท การใช้กิริยาท่าทางประกอบจะทาให้ผู้เรียนเห็น
ความหมายเด่นชัดขึ้น
4.5 การใช้คานิยาม (Definition) ในการสอนคาที่สามารถใช้ประโยคง่ายๆ ในการให้นิยาม
ความหมายของคา การให้คานิยามก็สามารถทาให้นักเรียนเข้าใจคานั้นๆ ได้ง่าย
4.6 การใช้บริบท (Context) การใช้บริบทในการสอนคาศัพท์ในกรณีที่คานั้นๆ ไม่สามารถใช้
ประโยคเพียงประโยคเดียวในการนิยามความหมายได้เข้าใจแต่ต้องอาศัยประโยคข้างเคียงหลายๆ ประโยคช่วย
บอกความหมาย
4.7 การใช้คาพ้องความหมาย (Synonym) คือการเอาคาศัพท์ที่มีผู้เรียนรู้จักและมีความหมาย
เดียวกันกับคาใหม่มาเปรียบเทียบกัน
4.8 การใช้คาที่มีความหมายตรงข้าม (Antonym) คือการเอาคาศัพท์ที่มีผู้เรียนรู้จักและมี
ความหมายตรงข้ามกับคาใหม่มาเปรียบเทียบกัน

4.9 การแปลคาศัพท์ กรณีที่คาศัพท์ที่สอน ไม่สามารถใช้กลวิธีดังกล่าวข้างต้น หรือใช้แล้ว


เสียเวลามาก และไม่สามารถสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนได้ชัดเจน การแปลความหมายของคาศัพท์เป็นภาษาแม่
ก็เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด

แนวทางสาหรับการเรียนการสอนภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
1. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
การจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์สาคัญ ได้แก่ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก อย่างไรก็ตามครูควรทาความเข้าใจสาระที่ควรเรียนรูต้ ามลักษณะการใช้
ภาษาที่แฝงอยู่ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย ดังนี้

1.1 การฟัง เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้เสียงที่ได้ยิน การตระหนักถึงความหมายของเสียงนั้นในบริบทแวดล้อม และการ


ตีความสิ่งทีไ่ ด้ยินโดยเชื่อมโยงกับความรู้เดิม การรวบรวมข้อมูล การจินตนาการ หรือความชื่นชอบของเด็ก ทั้งนี้ สาระที่ควรเรียนรู้
เกี่ยวกับการฟังแบ่งออกเป็น 3 ด้าน (Jalongo, 1992: 67) ได้แก่ 1) ด้านความสามารถในการได้ยินและจับใจความ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์และภูมิหลังของเด็ก ครูจึงต้องปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับความต้องการและความจาเป็นนั้นๆ 2) ด้านความตั้งใจฟัง
เกิดขึ้นเมื่อมีแรงจูงใจ มีเหตุผลทีด่ ี หรือมีประโยชน์ต่อเด็ก 3) ด้านนิสัยในการฟัง เป็นพฤติกรรมตอบสนองต่อสถานการณ์ในการฟัง
นิสัยที่ดีในการฟังเกิดจากการที่เด็กมีความสนใจ ได้รบั ข้อมูลหรือสารที่ชัดเจน และการได้ตอบสนองต่อสิ่งที่ได้ยิน
ดังนั้น สิ่งที่ครูควรตระหนักและวางแผนในการกาหนดสาระที่เด็กควรเรียนรู้ด้านการฟัง คือ การช่วยให้เด็กมีความไวต่อการ
ใช้บริบท หรือสิ่งชี้แนะเพื่อการตีความ และการเชื่อมโยงสิ่งที่ได้ยินกับประสบการณ์ของเด็ก โดยที่ครูเป็นผู้ช่วยให้เด็กมี
ประสบการณ์ต่างๆ อย่างเพียงพอ เหมาะสมกับวัย ความแตกต่างระหว่างบุคคล และความสนใจของเด็ก เพื่อเป็นแรงจูงใจที่ช่วยให้
เด็กมีความตั้งใจในการฟัง และพัฒนาไปสู่การมีนสิ ัยที่ดีในการฟังในที่สุด
1.2 การพูด เป็นสิ่งสาคัญในการสือ่ สารกับผู้อื่น สาระที่เด็กควรเรียนรู้เพื่อให้สามารถสื่อสารกับผู้อื่นอย่างมีความหมาย และตรง
ตามความต้องการของเด็ก ได้แก่ 1) คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของเด็ก หรือคาศัพท์เกี่ยวกับเรื่องราวที่เด็กสนใจ 2) การ
เรียงลาดับคาต่างๆ เพื่อใช้ในการสือ่ สารให้ผู้อื่นเข้าใจ 3) การใช้คาพูดที่เป็นที่ยอมรับ และ/หรือคาพูดที่สุภาพ 4) การใช้คาพูดให้
เหมาะสมกับบุคคลที่ต้องการสื่อสารด้วย 5) ความมั่นใจในการพูดกับผู้อื่น 6) การยอมรับความคิดทีผ่ อู้ ื่นแสดงออกด้วยการพูด7)
ความสนใจที่มตี ่อคาใหม่ๆ สาระเหล่านี้ช่วยให้เด็กสามารถมากขึ้น

1.3 การอ่าน เป็นกระบวนการทีเ่ ด็กใช้ในการถอดรหัสสัญลักษณ์ และทาความเข้าใจความหมายที่ผเู้ ขียนต้องการ


ถ่ายทอดผ่านสัญลักษณ์เหล่านั้น องค์ประกอบของการอ่านที่เด็กควรเรียนรู้ (สุภัทรา คงเรือง, 2539: 19 - 20) ได้แก่ 1) ความรู้
เกี่ยวกับการใช้หนังสือ ได้แก่ การรู้ทิศทางในการถือหนังสือ การรูส้ ว่ นประกอบของหนังสือ และ การรู้ทิศทางในการอ่าน 2) ความรู้
เกี่ยวกับตัวอักษร ได้แก่ การรู้ว่าการอ่านกับการเขียนสัมพันธ์กัน การรู้จักคาคุ้นตา การรู้ว่าคาคืออะไร การรู้จักตัวอักษรตัวแรก
และตัวสุดท้ายของคา และ การรู้รปู ร่างและทิศทางของตัวอักษร 3) ความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายวรรคตอน ได้แก่ การรู้ความหมาย
ของเครื่องหมายคาพูด เครื่องหมายคาถาม และเครื่องหมายอัศเจรีย์ 4) ความรู้เกี่ยวกับการใช้สิ่งชี้แนะในการคาดคะเนและ
ตรวจสอบการคาดคะเน ได้แก่ การคาดคะเน และตรวจสอบการคาดคะเนโดยอาศัยภาพ ความหมายของคา โครงสร้างของประโยค
และ/หรือ พยัญชนะต้นของคา

1.4 การเขียน เป็นกระบวนการแสดงออกถึงความรู้สึก ความต้องการ และความคิดผ่านทางเครื่องหมายและสัญลักษณ์


ต่างๆ องค์ประกอบของการเขียนที่เด็กควรเรียนรู้ (ภาวิณี แสนทวีสขุ , 2538: 9) ได้แก่ 1) การสร้างสัญลักษณ์ภาษาเขียน หมายถึง
การสร้างภาพ และ/หรือข้อความ ด้วยการวาด การลอก การจามาเขียนทั้งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์และถูกต้องสมบูรณ์ การคิด
พยัญชนะขึ้นเสียงของคา ตลอดจนการคิดสะกดคา 2) ทิศทางการเขียน หมายถึง การจัดเรียงตาแหน่งของสิ่งที่เขียน ตั้งแต่การ
จัดเรียงตามแนวตั้งและแนวนอนอย่างสะเปะสะปะ ไปจนกระทั่งเด็กสามารถเขียนจากซ้ายไปขวา และบนลงล่างอย่างสม่าเสมอ
3) วิธีถ่ายทอดความหมายของสัญลักษณ์ภาษาเขียน หมายถึง การแสดงความหมายของภาพ และ/หรือข้อความที่ตนเขียนให้ผู้อื่น
รับรู้ด้วยการบอกให้ครูช่วยเขียนให้ เขียนเองบางส่วน ตลอดจนเขียนเองทั้งหมด 4) ความซับซ้อนของความหมาย หมายถึง ความ
ชัดเจน ความละเอียดลออ และครอบคลุมความหมายทีต่ ้องการสื่อโดยใช้หน่วยไวยากรณ์ที่เป็นตัวอักษร คา หรือประโยคง่ายๆ

จากข้อมูลข้างต้น คณะผู้วิจยั พบว่า การนาเสนอสาระการเรียนรู้ด้านภาษา ทั้งประสบการณ์สาคัญ และสาระที่ควรเรียนรู้


โดยแยกตามทักษะการใช้ภาษานัน้ เพื่อให้ครูมีความกระจ่างชัดต่อทักษะทางภาษาในแต่ละทักษะ ไม่ได้หมายถึงการจัด
ประสบการณ์ให้แก่เด็กโดยแยกแต่ละทักษะออกจากกัน การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยด้านภาษาต้องเป็นการบูรณาการ
ทุกทักษะเข้าด้วยกัน โดยจัดกิจกรรมที่สนับสนุนให้เด็กได้ใช้ภาษาเพื่อการสื่อความหมายในชีวิตประจาวันอย่างแท้จริง
2. การจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กด้านภาษาจาเป็นต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กได้คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมาย
และเป็นองค์รวม เนื่องจากสภาพแวดล้อมในห้องเรียนเป็นสิ่งทีส่ าคัญที่ส่งผลต่อความต้องการในการเรียนภาษาของเด็ก การจัด
สภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนภาษาของเด็กต้อง สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสารวจ ปฏิบตั ิจริง เป็น
ผู้กระทาด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง
เป็นสิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ ควรยอมรับการสือ่ สารของเด็กในรูปแบบต่างๆโดยคานึงถึงความหมายที่เด็ก
ต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์ (หรรษา นิลวิเชียร, 2535: 211-212)
ห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัยควรมีวสั ดุอุปกรณ์ส่งเสริมการรู้หนังสือที่มคี ุณภาพ เด็กที่ได้อยู่ใน
ห้องเรียนที่มีวรรณกรรมสาหรับเด็กที่มีคุณภาพมีแนวโน้มที่จะรักการอ่าน และการอ่านวรรณกรรมที่ดจี ะกลายเป็นส่วนสาคัญของ
ชีวิตในอนาคตของเด็ก อีกทั้งยังเป็นส่วนที่กระตุ้นให้เด็กมีความต้องการอ่านบ่อยครั้ง ซึ่งส่งผลต่อการประสบความสาเร็จในการ
เรียนในระดับที่สูงขึ้น ทั้งนี้วัสดุอุปกรณ์ที่ควรมีในห้องเรียนได้แก่วรรณกรรมสาหรับเด็กที่มีความหลากหลายในด้านของผู้แต่ง และผู้
วาดภาพประกอบ มีระดับความยากแตกต่างกัน มีวัสดุที่ใช้สาหรับการอ้างอิง ประกอบด้วยพจนานุกรม แผนที่ บัญชีคาศัพท์ และ
สารานุกรม นิตยสารสาหรับเด็ก นอกจากนี้ครูควรจัดให้มสี ื่อสาหรับการเขียนทั้งกระดาษที่ไม่มีเส้น และมีเส้นหลายสี หลายแบบ
หลายขนาด กระดาษบันทึกเล็กๆ ซองจดหมาย ดินสอ ปากกา สีชนิดต่างๆ เครื่องเหลาดินสอ ตรายางและแท่นประทับ นอกจากนี้
ยังอาจจัดสื่อสาหรับการเย็บกระดาษ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องเย็บกระดาษ ที่เจาะกระดาษ เชือก กาว เทปใส กระดาษกาว คลิป
หนีบกระดาษ กรรไกร เป็นต้น โดยควรจัดวางให้เด็กสามารถเลือกหยิบใช้และนามาเก็บคืนได้ด้วยตนเองด้วย

You might also like