You are on page 1of 18

รายงานการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีเรื่อง พระบรม

ราโชวาท
หน้าที่ 91 ย่อหน้าที่ 7

จัดทำโดย

เด็กชายพงศ์ประกิจ สกุลเรืองโรจน์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/1 เลขที่ 18

เสนอ

อาจารย์กฤษณะ ลำทะแย
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |1

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา ท 23102 ภาษา


ไทย 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566

คำนำ
พระบรมโชวาท คือ คำสอนของกษัตริย์ที่พระที่ราชทานแก่
กลุ่มชนต่าง ๆ เป็ นได้ทั้งคำพูดหรือบทพระราชนิพนธ์ ส่วนมาก
จะเป็ นคำพูด แล้วตึงนำมาตีความหรือพิมพ์เผยแพร่พระบรม
ราโชวาท ที่จะศึกษานี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชนิพนธ์ เพื่อพระราชทานแก่พระเจ้าลูกยาเธอ ๔
พระองค์ ซึ่งเป็ นพระราชโอรสชุดแรกที่เสด็จไปทรงศึกษาวิชาการ
ต่างประเทศ ได้แก่ กรมพระจันทบุรีนฤนาท (พระองค์เจ้ากิติยา
กรวรลักษณ์) กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พระองค์เจ้ารพีพัฒน
ศักดิ์) กรมหลวงปราจิณกิติบดี (พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม)
และกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช (พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช)
เนื้อความข้างต้นแสดงถึงความสัมพันธ์และผูกพันระหว่างรัชกาล
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |2

ที่ ๕ และพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๕ พระองค์ ในฐานะพ่อและลูก


เป็ นคำสอนที่มีคุณค่าในแบบการดำเนินชีวิต
ในส่วนของเนื้อหาและขอบเขตรายงานเล่มนี้ จะยกเลิก
เนื้อหาจากย่อหน้าที่ 7 หน้า 91 ของหนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ม.3
โดยมีประเด็นสำคัญที่น่าสนใจ เกี่ยวกับ การวิเคราะห์คำประพันธ์
เช่น คำศัพท์ต่าง ๆ คุณค่าทางสังคมวัฒนธรรม วรรณศิลป์ ต่าง ๆ
และข้อคิดที่ปรากฏในเรื่อง
ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณอาจารย์ อาจารย์ กฤษณะ ลำทะแย
อาจารย์ที่ปรึกษาผู้ให้ความรู้ในวิชาภาษาไทยและเพื่อน ๆ พี่น้อง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทุกคนที่ค่อยสนับสนุนผู้จัดทำ
รายงานเล่มนี้ ผู้จัดทำรายงานหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้
จักเป็ นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจได้เป็ นอย่างดี
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |3

สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำนำ
1
สารบัญ 2
บทที่ 1 การอ่านวรรณคดีเบื้องต้น

1.1 คำศัพท์ ที่มาและความหมาย


00
1.2 แปลคำประพันธ์
00
1.3 ขยายความบทประพันธ์
00
บทที่ 2 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านเนื้อหา

2.1 ความรู้เรื่อง...............
00
2.2 ข้อคิด.......
00
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |4

2.3 แนวคิด……
00
บทที่ 3 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านสังคมและวัฒนธรรม
00
3.1 ความเชื่อ
00
3.2 ค่านิยม
00
3.3 ประเพณี
00
3.4 วัฒนธรรม
00
3.5 สภาพสังคม
00
3.6 วิถีชีวิต
00
บทที่ 4 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านวรรณศิลป์
00
4.1 วิเคราะห์ด้านวรรณศิลป์
00
บทที่ 5 สรุปผล
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |5

สรุปผล
00
บรรณานุกรม
00
ภาคผนวก
00
งานนำเสนอเรื่อง.............................................
00
รูปภาพ
00
ประวัติผู้ทำรายงาน
00
บทที่ 1 การอ่านวรรณคดีเบื้องต้น
1.1 คำศัพท์ที่หน้าสนใจ
กรมหมื่นเทวะวงษวโรประการ : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการทรงเป็ นตันราชสกุลเทวกุล
พระนามเดิมพระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงษ์ เป็ นพระราชโอรสใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระปิ ยมา
วดีศรีพัชรินทรมาตา ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงการ
ต่างประเทศ
รับปฏิญาณ : คำอ่าน “ปะติยาน” (ก.) ให้คํามั่นสัญญา โดย
มากมักเป็ นไปตามแบบพิธี.
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |6

เป็ นธุระ : (ว.) ถือเป็ นเรื่องที่ตนควรทำให้, เอาเป็ นธุระ ก็ว่า.


สิทธิ์ขาด : (ว.) เด็ดขาด เช่น ในสมัยโบราณแม่ทัพมีอำนาจ
สิทธิ์ขาดในการบัญชาการรบ.
ทำนุบำรุง : (ก.) เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดู เช่น ทํานุบํารุงบิดา
มารดา ทํานุบํารุงบุตรธิดา; ซ่อมแซมรักษา, อุดหนุนให้เจริญ
ขึ้น, เช่น ทํานุบํารุงวัด; ธํารงรักษาไว้ เช่น ทํานุบํารุงศาสนา
ทํานุบํารุงบ้านเมือง, ทะนุบํารุง ก็ว่า.
ราชทูต : (น.) ผู้นําพระราชสาส์นไปประเทศอื่น, ผู้แทนชาติใน
ประเทศอื่น, ตําแหน่งผู้แทนรัฐถัดจากอัครราชทูต. (ป.).
ตั้งลงไว้ : (ก.) กำหนดไว้

1.2 แปลคำประพันธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่


หัว ทรงมอบกรมหมื่นเทวะวงษ์วโรประการ (พระเจ้าอา) เป็ นผู้
คอยดูแลเรื่องการเล่าเรียนของพระราชโอรสทุกพระองค์ ใน
บางกอก เมื่อมีธุระ หรือปั ญหาต่างๆ ให้ส่งหนังสือผ่านกรม
หมื่นเทววงศ์ฯ ส่วนในประเทศยุโรป ถ้าไปอยู่ในประเทศที่มี
ราชทูตของสยาม ราชทูตจะเป็ นธุระดูแลทุกสิ่งทุกอย่างให้ เมื่อ
มีการขัดข้องประการใด จงแจ้งความให้ท่านราชทูตทราบ เมื่อ
อยู่ในโรงเรียนแห่งใด จงประพฤติตามธรรมเนียมปฏิบัติของ
โรงเรียน จงอุตส่าห์พากเพียรเรียนวิชา ให้มีความรู้ความ
สามารถกลับมาเป็ นกำลังสำคัญช่วยพ่อพัฒนาสยามประเทศให้
เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศ
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |7

1.2 ขยายความบทประพันธ์

1.4 กรมหมื่นเทวะวงษวโรประการ
คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการทรง
เป็ นตันราชสกุลเทวกุล พระนามเดิมพระองค์เจ้า
เทวัญอุไทยวงษ์ เป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระปิ ยมาวดีศรี
พัชรินทรมาตา ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง
การต่างประเทศ ตามต้นร่างประกาศแต่งตั้งพระบรมวงศานุวงศ์
ระบุการเขียนพระนามในช่วงต่างๆ ไว้ดังนี้ช่วงที่ทรงเป็ นกรมหมื่น
พระนามเขียนว่าพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงษ์วโร
ประการช่วงที่ทรงเป็ นกรมหลวง พระนามเขียนว่าพระเจ้าน้องยา
เธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรประการช่วงที่ทรงเป็ นกรมพระ
พระนามเขียนว่าพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทวะวงศ์วโรปการ
ช่วงที่ทรงเป็ นกรมพระยา พระนามเขียนว่าสมเด็จพระเจ้าบรม
วงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ (ข้อมูลจากการชี้แจงของ
ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล ในหนังสือเรื่อง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์
เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ
(๑๙๘๔) จำกัด, ๒๕๔๗)
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |8

บทที่ 2 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านเนื้อหา

2.1 ความรู้ คือ วรรณคดีเรื่องนี้อยู่ในรูปแบบของจดหมายร้อย


แก้ว และสื่อสารกับผู้อ่านอย่างตรงไปตรงมา สอนเกี่ยวกับการ
ดำเนินชีวิตและความคาดหวังของผู้เป็ นพ่อแม่ที่หวังอยากจะให้
ลูกเติบโตขึ้นไปเป็ นคนดีและทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า |9

2.1.1 ผลงานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
โคลง เช่น โคลงสุภาษิต โคลงนิราศ โคลงเรื่องรามเกียรต
บทละคร เช่น เงาะป่ า
ลิลิต เช่น ลิลิตนิทราชาคริต
พระราชนิพนธ์ล้อเลียนชวนขัน เช่น บทเทศนามิกาทุระ
กลอนไดอารี่ ซึมซาบ บทละคร
เรื่องวงศ์เทวราช
2.2 การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน คือ
2.2.1 ควรเป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ว่านอนสอนง่าย เพราะถ้า
ประพฤติดิจะมีคุณแก่ตัวเราทั้งในปั จจุบันและอนาคต
2.2.2 ควรรู้จักใช้เงินอย่างประหยัด และไม่ควรเป็ นหนี้ผู้อื่น
2.2.3 ควรตั้งใจศึกษาเถ่าเรียน เพื่อเป็ นกำลังสำตัญและเป็ น
ประโยชน์แก่
บ้านเมือง

2.3 แนวคิด คือ เพื่อส่งไปสั่งสอนพระราช โอรส ๔ พระองค์ที่


เสด็จไปทรงศึกษาวิชาการ ณ ทวีปยุโรปเป็ นรุ่นแรก เพื่อจะได้
ปฏิบัติพระองค์ให้ถูกต้องและดีงาม
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 10

บทที่ 3 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านสังคมและวัฒนธรรม
3.1 ความเชื่อ
3.1.1 บทบาทของพ่อที่ต้องสั่งสอนลูกให้เติบโตเป็ นคนดี
3.1.2 เป็ นญาติผู้ใหญ่ปกครองดูแลบุตรหลาน
3.2 ค่านิยม
3.2.1 นิยมส่งบุตรหลานหรือคนที่มีความรู้ความสามรถไป
ศึกษาเล่าเรียนที่ต่างประเทศแล้วกลับมาพัฒนาประเทศของ
ตนเอง 3.2.2 ประเทศที่
กำลังพัฒนาตามประเทศที่เจริญแล้ว
3.3 ประเพณี
3.3.1 ประเทศใดที่มีราชทูตอยู่ก็ราชทูตจะเป็ นผู้ดำเนินการ
อำนวยความสะดวกแก่พลเมืองไทยที่เข้าไปอาศัยอยู่นะประเทศ
นั้นในทุก ๆ เรื่อง
3.4 วัฒนธรรม
3.4.1 ผู้ที่อยู่ในวัยเรียนควรประพฤติตัวให้เหมาะสม
3.4.2 ชนชั้นต้องผู้ที่มันแสวงหาความรู้เพื่อจะนำมาใช้ใน
การพัฒนาประเทศ
3.5 สภาพสังคม
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 11

3.5.1 สะท้อนสภาพสังคมไทยสมัยก่อน ว่า มีเงินแผ่นดิน


และพระคลังข้างที่ซึ่งมาจากประชาชนเพื่อไปพัฒนาประเทศ

3.6 วิถีชีวิต
3.6.1 การสื่อสารในสมัยก่อนนั้นนิยมใช้การสื่อสารโดยผ่าน
การเขียนจดหมาย
3.7 ศิลปกรรม ไม่มี

3.7.1 จิตรกรรม ไม่มี

3.7.2 ประติกรรม ไม่มี

3.7.3 สถาปั ตยกรรม ไม่มี

3.7.4 หัตถกรรม ไม่มี

3.7.5 เพลง ไม่มี

บทที่ 4 คุณค่าวิเคราะห์คุณด้านวรรณศิลป์
4.1 ใช้คำและภาษาเข้าใจง่าย กระจ่างชัด

4.2 ใช้คำศัพทัสมัยใหม่และการทับศัพทัภาษาอังกฤษ ซึ่ง


ปั จจุบันกี่ยังใช้
กันอยู่ เช่น เก๋ แบงก์ ปอนด์ ฯลฯ
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 12

4.3 ใช้อุปมาโวหาร ทำให้เกิดภาพได้อย่างชัดเจน

4.4 ใช้ถ้อยคำกระทบใจผู้อ่าน เพื่อให้พระราชโอรสทรงประพฤติ


ปฏิบัติ
ตามพระบรมราโชวาท

4.5 สำนวนบางสำนวนทำให้เข้าใจพระราชประสงค์ของพระองค์
ว่าทรง
พระราชนิพนธ์ด้วยความรักของพระองค์ที่มีต่อพระราชโอรส
ในคำ
สอนจึงมีน้ำเสียงแสดงความห่วงใย ความรัก ความหวังดีของพ่อที่
มีต่อถูก
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 13

บทที่ 5 สรุปผล

ความรู้ที่นักเรียนได้รับจากการทำรายงานเรื่อง พระบรม
ราโชวาท หน้าที่ 91 ย่อหน้าที่ 7
ได้รับการใช้ความคิดวิเคราะห์แยกแยะในการใช้หาคำศัพท์หรือ
ค้นหาเพื่อมาสรุปแล้วพิมพ์ลงไปในรายงานนี้และตั้งใจในการ
ทำงานให้เสร็จและให้มีความเรียบร้อยมากที่สุด กระผมหวังว่า
รายงานนี้มีความถูกต้องในการทำงานนี้

นักเรียนเกิดทักษะ การอ่าน การพิมพ์ การฟั ง การดู และ


กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า จากการเรียนรู้
ในการหาคำศัพท์ การอธิบาย การขยายความ การเรียบเรียงคำ
แล้วประโยชน์ หือเนื้อหาที่ไม่เหมือนกัน

นักเรียนมีความรู้อย่างไรกับรายงานและการนำเสนองาน
ของนักเรียนในเรื่อง
พระบรมราโชวาท หน้าที่ 91
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 14

บรรณานุกรม
หนังสือและบทความในหนังสือ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวง
ศึกษาธิการ. (๒๕๕๑).
หนังสือเรียน รายวิชาภาษาไทย
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 15

พื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ กลุ่ม


สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.

วิทยานิพนธ์
กัญจณ์ปภัสส์ สุวรรณวิหค. (2558). "น้ำ" ในวรรณกรรม
นิทานสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 5 ) (วิทยานิพนธ์มหา
บัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปะศาสตร์, สาขา
วิชาภาษาไทย.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2550). “ความรักหลากหลายมิติใน
ลิลิตตะเลงพ่ายกับภาพลักษณ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
วีรบุรุษต้นแบบ”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://legacy.orst.go.th/wp-content/uploads/royin-
ebook/337/FileUpload/1314_3462.pdf (4 พฤศจิกายน
2565).
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 16

ภาคผนวก
งานนำเสนอเรื่องพระบรมราโชวาท

พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช พระองค์เจ้า
กิติยากรวรลักษณ์
ร า ย ง า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ชั้ น ม . 3 ห น้ า | 17

พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พระองค์เจ้าประวิ
ตรวัฒโนดม

กรมหมื่นเทวะวงษวโรประการ

ประวัติผู้ทำรายงาน
ด.ชพงศ์ประกิจ สกลุเรืองโรจน์ เลขที่ 18 ม.3/1

You might also like