You are on page 1of 30

สารบัญ

คํานํา
สารบัญ
คําอธิบายรายวิชา อักขรธัมม์ล้านนา ๑
รายละเอียด คําอธิบายรายวิชา อักขรธัมม์ล้านนา ๒
ความเป็นมา อักขรธัมม์ล้านนา ๓
โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร ๔
หนังสืออักขรธัมม์ล้านนา ๖
บทที่ ๑
พยัญชนะวรรค ๘
พยัญชนะอวรรค ๘
ข้อสังเกตพยัญชนะในภาษาล้านนา ๘
การแบ่งชนิดของสระในภาษาล้านนา ๙
ลักษณะพิเศษของสระล้านนาที่ควรรู้ ๑๑
บทที่ ๒
การผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ๑๓
การใช้หางของพยัญชนะ ๑๗
บทที่ ๓
คําพิเศษภาษาล้านนา ๑๘
บทที่ ๔
ประโยคเรื่องราวที่ใช้ฝึกอ่านและเขียน ๒๐
ภาคผนวก
วิธีการปรับ Microsoft Office Word 2003 ๒๕
วิธีการปรับ Microsoft Office Word 2007 เพื่อใช้กับ ฟอนท์ LN-Tilok ๒๖
วิธีการพิมพ์อักขรธัมม์ล้านนา ๒๘
คํานํา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๑ ซึ่งได้กําหนดสาระวิชาบังคับเเละวิชาเลือก ส่วน
วิชาเลือกให้สถานศึกษาเป็นผู้ดําเนินการพัฒนา โดยให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของ
ผู้เรียน ชุมชน เเละสังคม
สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร เเละจัดการเรียน
การสอนที่ตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงได้ดําเนินการพัฒนารายวิชาเลือก หลักสูตรอักขรธัมม์ล้านนา
และหนังสือประกอบการเรียน เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของ ครู กศน. และให้ผู้เรียนได้
ทราบถึงความเป็นมา และพัฒนาการของอักษรธรรมล้านนา หรือตัวเมือง ซึ่งเป็นอักษรที่สําคัญและ
แพร่หลายในล้านนามาก การกําเนิดอักษรธรรมล้านนาก็คล้ายกับการกําเนิดอักษรทั้งหลาย คือ
ปรับปรุงจากอักษรมอญที่มีอยู่เป็นระบบมาแล้ว ซึ่งเนื้อหาของหลักสูตรประกอบด้วย ความเป็นมา
ของอักษรธรรมล้านนา ข้อสังเกตพยัญชนะในภาษาล้านนา การแบ่งชนิดของสระในภาษาล้านนา
ลั ก ษณะพิ เ ศษของสระล้ า นนาที่ ค วรรู้ การผสมพยั ญ ชนะ สระและวรรณยุ ก ต์ การใช้ ห างของ
พยัญชนะ และคําพิเศษภาษาล้านนา
สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ขอขอบคุณคณะทํางานทุกท่านที่ให้ข้อคิดเห็นอันเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าว หวังว่าเอกสารรายวิชาเลือกฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้บริหารและครู กศน. และผู้เรียน ตามสมควร

(นายประเสริฐ หอมดี)
ผู้อํานวยการสถาบัน กศน.ภาคเหนือ
คําอธิบายรายวิชา อักขรธัมม์ล้านนา รหัส สค 02022
สาระการพัฒนาสังคม
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวน 3 หน่วยกิต ( 140 ชั่วโมง)
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒธรรม ประเพณี เพื่อ
การ อยู่รวมกันอย่างสันติสุข
ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง
1. รู้และเข้าใจพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และ ตัวเลข อักขรธัมม์ล้านนา
2. อ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข อักขรธัมม์ล้านนา
3. รู้และเข้าใจคําพิเศษ อักขรธัมม์ล้านนา
4. สามารถอ่าน และ เขียนอักขรธัมม์ล้านนาได้
ศึกษาและฝึกฝนทักษะ
1. ฝึกการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข
2. ฝึกการอ่าน และเขียนการผสมอักขรธัมม์ลา้ นนา
3. ฝึกการอ่าน และเขียนคําพิเศษอักขรธัมม์ลา้ นนา
4. ฝึกการอ่าน และเขียนอักขรธัมม์ล้านนา ที่เป็นประโยคและเป็นเรื่องราวได้
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ฝึกการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข จากบัตรคํา
2. ฝึกการอ่านและเขียนประโยคที่เป็นเรื่องราวจากสื่อเอกสารได้
3. ฝึกทักษะการอ่านและเขียนจากสื่ออิเลคทรอนิคส์
การวัดและประเมินผล
1. วัดและประเมินผลจากแบบฝึกทักษะ
2. วัดและประเมินจากแบบทดสอบ
-2-

รายละเอียด คําอธิบายรายวิชา อักขรธัมม์ล้านนา รหัส สค 02022


สาระ การพัฒนาสังคม
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวน 3 หน่วยกิต (140 ชั่วโมง)
มาตรฐานที่
เวลา
ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ 1.1 สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะได้ 1.1 พยัญชนะในวรรค 25 ตัว 40
และตัวเลข 1.2 สามารถอ่านและเขียนสระได้ พยัญชนะนอกวรรค 8 ตัว
1.3 สามารถอ่านและเขียนตัวเลขได้ พยัญชนะเพิ่ม 11 ตัว
พยัญชนะพิเศษ 5 ตัว
1.2 สระ
• สระที่เป็นใหญ่ในตัวเอง
(สระลอย ) 8 ตัว
• สระเดี่ยว 13 ตัว
• สระผสมสระ 4 ตัว
• สระผสมสระ 13 ตัว
• สระพิเศษ
– ลดรูป/ซ่อนรูป
– ไม้กั๋งไหล
– ไม้เก๋า (ห่อหนึ้ง,จู้จี้)
– ไม้ก๋าโว้ง
• ระโฮง
1.3 วรรณยุกต์ 2 รูปผัน 6 เสียง
1.4 ตัวเลข ธัมม์ และโหรา
2 การผสม อักขรธัมม์ล้านนา 2.1 สามารถผสมพยัญชนะกับสระและ 2.1 การผสมพยัญชนะกับสระและ 40
วรรณยุกต์ วรรณยุกต์
2.2 สามารถผสมพยัญชนะกับตัวสะกด 2.2 การผสมพยัญชนะกับตัวสะกด
ตัวเต็ม + หาง (ตีน /เชิง) 2.3 ใช้สระโอะลดรูปกับพยัญชนะ
2.3 สามารถใช้สระโอะลดรูป กับ ตัวสะกด
พยัญชนะตัวสะกด 2.4 การใช้หาง (ตีน ,เชิง) ของ
พยัญชนะ

3 คําพิเศษอักขรธัมม์ล้านนา สามารถอ่านและเขียนคําพิเศษอักขรธัมม์ คําพิเศษอักขรธัมม์ล้านนา 20


ล้านนาได้
4 การอ่านและเขียนอักขรธัมม์ สามารถอ่านและเขียนอักขรธัมม์ล้านนาที่ ประโยคเรื่องราวที่ใช้ฝึกอ่านและเขียน 40
ล้านนาที่เป็นประโยค เป็นประโยคและเป็นเรื่องราวได้
-3-

รายวิชา อักขรธัมม์ล้านนา รหัส สค 02022


สาระ การพัฒนาสังคม
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวน 3 หน่วยกิต (140ชั่วโมง)
ความเป็นมา
“อักขรธัมม์ล้านนา” หรือ “อักษรธรรมล้านนา” เป็นอักขระที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองของ
ดินแดนอาณาจักรล้านนาในอดีต มีอาณาบริเวณกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ในปัจจุบันของภาคเหนือ
ประเทศไทย รัฐ ฉานสหภาพพม่า มณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ในดินแดนเหล่านี้ปรากฏการใช้อักษรธรรมบันทึกเรื่องราวต่างๆ เป็นจํานวนมาก ในรูปของ
ใบลาน พับหนังสา(พับสา) จารึกต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก จารึกฐานพระพุทธรูป เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้บันทึก
เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา คติความเชื่อ ประวัติศาสตร์ กฏหมายโบราณ เอกสารตํารายาต่างๆ
อักษรธรรมล้านนาพบมีอายุเก่าที่สุด ได้แก่จารึกลานทองวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย (สท. ๕๒)
จ.ศ. ๗๓๘ (พ.ศ. ๑๙๑๙) บันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี และอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย และ
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงหมั้น อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๐๐๘ บันทึกด้วยอักษรธรรม
ล้านนา ภาษาบาลีและไทยยวน ส่วนคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลีที่เก่าที่สุดที่พบในปัจจุบัน
ได้ แ ก่ “คั ม ภี ร์ ช าตกฏฺฎกถาย ตึ ส ติ นิ ป าตตฺ ถ สฺ ส วณฺ ณ นา” จ.ศ. ๘๓๓ (พ.ศ. ๒๐๑๔) ในรั ช สมั ย
พระเจ้าติโลกราช [พ.ศ. ๑๙๘๔ - ๒๐๓๐]) ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ [พ.ศ. ๑๙๙๑ -
๒๐๓๑] ปัจจุบันอยู่ที่วัดไหล่หิน ตําบลไหล่หิน อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง1
ในสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ 2 เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๙ (พ.ศ.๒๔๕๒-๒๔๘๒) แห่งราชวงศ์ทิพย์จัก
ราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) อาณาจักรล้านนามีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครอง ล้านนาได้ถูกผนวก
เข้ารวมกับราชอาณาจักรไทยกลายสภาพเป็นจังหวัดในประเทศไทย และใช้ภาษาไทยกลางเป็นภาษาทาง
ราชการแทน อักษรธรรมล้านนาจึงได้ลดบทบาทลงเป็นเพียงการสอนกันตามวัดเท่านั้น ความสามารถใน
การอ่านเขียนอักษรธรรมล้านนาของคนล้านนาจึงลดความสําคัญลงตามลําดับ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการ
พยายามฟื้นฟูอักษรธรรมล้านนาขึ้นหลายครั้ง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๕ Dr.Daniel McGilvary & D.G.Collins
ได้ตั้งโรงพิมพ์ที่บ้านวังสิงห์คํา ต่อมาได้ขายโรงพิมพ์ให้พ่อเลี้ยงเมืองใจ ชัยนิลพันธ์ มีการพิมพ์คร่าวซอ
เรื่องแรกชื่อ “หงส์หิน” ด้วยอักษรธรรมล้านนา และจัดพิมพ์วรรณกรรมล้านนาออกมาอย่างต่อเนื่อง
แต่เมื่อล้านนาได้รับอารยธรรมสมัยใหม่มากขึ้นจากกระแสวัฒนธรรมภาษาไทยและภาษาวิทยาการของ
โลกที่ท่วมท้น อักษรธรรมล้านนาก็มิอาจต้านทานกระแสวัฒนธรรมหลักได้ ในที่สุดก็เสื่อมถอยความนิยม
ลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป3

1
ชัปนะ ปิ่นเงิน เรื่องย่อสรุป “ติงฺสนิบาต” ฐานข้อมูลไมโครฟิล์มเอกสารล้านนา สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
http://202.28.27.140/src_intro/028.064.013%20%E0%B8%A5%E0%B8%9B010403002%20%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AA
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95.pdf

2
เจ้าหลวงเชียงใหม่ ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๙ น.๑๖๐ - ๑๖๑
3
โครงการฐานข้อมูลไมโครฟิล์มเอกสารล้านนา สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552 หน้า 1
-4-

เหตุผลความจําเป็นในการเรียนอักษรธรรมล้านนานั้น เนื่องจาก คติ คําสอน นิทาน หรือเรื่องราว


ต่างๆ ที่ได้รับการถ่ายทอดโดยบันทึกไว้ในคัมภีร์โบราณ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ดังนั้นการเรียนรู้
การอ่าน และการเขียนอักษรธรรมล้านนา จึงจําเป็นอย่างยิ่ง เพื่อที่จะเรียนรู้วิถีชีวิตของบรรพชนคน
ล้านนาโบราณ และยังสามารถนําองค์ความรู้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ในปัจจุบัน
หลักการ
เป็นรายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม ทีส่ ามารถให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้ตามความสนใจ
จุดประสงค์รายวิชา
1. สามารถอ่านพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขได้
2. สามารถเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขได้
3. สามารถผสมอักขรธัมม์ล้านนาได้
4. สามารถอ่านอักขรธัมม์ล้านนาที่เป็นประโยค และเรื่องราวได้
ระยะเวลาเรียนและจํานวนหน่วยกิต
จํานวน 140 ชั่วโมง 3 หน่วยกิต
โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร
หลักสูตรอักขรธัมม์ล้านนา ประกอบด้วยเนื้อหาจํานวน 4 เรื่อง โดยแยกเป็นเนื้อหาดังต่อไปนี้
รายละเอียดเนือ้ หา
1. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และ ตัวเลขได้
2. การผสมอักขรธัมม์ล้านนา
3. คําพิเศษอักขรธัมม์ล้านนา
4. การอ่านและเขียนอักขรธัมม์ล้านนาที่เป็นประโยค
รายละเอียดหัวข้อเนื้อหา
1. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข
1.1 พยัญชนะวรรค 25 ตัว พยัญชนะอวรรค 8 ตัว พยัญชนะพิเศษ 10 ตัว
1.2 สระที่เป็นใหญ่ในตัวเอง (สระลอย ) 8 ตัว สระผสม 16 ตัว สระเดี่ยว 12 ตัว
1.3 วรรณยุกต์ 2 รูป 6 เสียง
1.4 ตัวเลข
-5-

2. การผสมอักขรธัมม์ล้านนา
2.1 การผสมพยัญชนะกับสระ และ วรรณยุกต์
2.2 การผสมพยัญชนะกับตัวสะกด
3. คําพิเศษอักขรธัมม์ล้านนา
• คําพิเศษอักขรธัมม์ล้านนา
4. การอ่านและเขียนอักขรธัมม์ล้านนาที่เป็นประโยค
• ประโยคและเรือ่ งราวที่ใช้ฝึกอ่านและเขียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. สื่อและแบบเรียนอักขรธัมม์ลา้ นนา
2. บัตรคํา
3. สื่ออิเลคทรอนิคส์
4. แหล่งเรียนรู้ ห้องสมุด วัด
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
• ปราชญ์ชาวบ้าน
• องค์ความรู้
• บทความ/ผลงานของภูมิปัญญา
การวัดผลประเมินผล
1. วัดและประเมินจากแบบฝึกทักษะ
2. วัดและประเมินจากแบบทดสอบ
-6-

หนังสืออักขรธัมม์ล้านนา
“อักขรธัมม์ล้านนา” หรือ “อักษรธรรมล้านนา” เป็นอักขระที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองของ
ดินแดนอาณาจักรล้านนาในอดีต มีอาณาบริเวณกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ในปัจจุบันของภาคเหนือ
ประเทศไทย รัฐ ฉานสหภาพพม่า มณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ในดินแดนเหล่านี้ปรากฏการใช้อักษรธรรมบันทึกเรื่องราวต่างๆ เป็นจํานวนมาก ในรูปของ
ใบลาน พับหนังสา(พับสา) จารึกต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก จารึกฐานพระพุทธรูป เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้บันทึก
เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา คติความเชื่อ ประวัติศาสตร์ กฏหมายโบราณ เอกสารตํารายาต่างๆ
อักษรธรรมล้านนาพบมีอายุเก่าที่สุด ได้แก่จารึกลานทองวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย (สท. ๕๒)
จ.ศ. ๗๓๘ (พ.ศ. ๑๙๑๙) บันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี และอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย และ
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงหมั้น อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๐๐๘ บันทึกด้วยอักษรธรรม
ล้านนา ภาษาบาลีและไทยยวน ส่วนคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลีที่เก่าที่สุดที่พบในปัจจุบัน
ได้ แ ก่ “คั ม ภี ร์ ช าตกฏฺ ฐ กถาย ฺ ตึ ส ติ นิ ป าตตฺ ถ สฺ ส วณฺ ณ นา” จ.ศ. ๘๓๓ (พ.ศ. ๒๐๑๔) ในรั ช สมั ย
พระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔ – ๒๐๓๐) ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ -
๒๐๓๑) ปัจจุบันอยู่ที่วัดไหล่หิน ตําบลไหล่หิน อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง 4
ในสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ 5 เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๙ (พ.ศ.๒๔๕๒-๒๔๘๒) แห่งราชวงศ์ทิพย์
จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) อาณาจักรล้านนามีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครอง ล้านนาได้ถูกผนวก
เข้ารวมกับราชอาณาจักรไทยกลายสภาพเป็นจังหวัดในประเทศไทย และใช้ภาษาไทยกลางเป็นภาษาทาง
ราชการแทน อักษรธรรมล้านนาจึงได้ลดบทบาทลงเป็นเพียงการสอนกันตามวัดเท่านั้น ความสามารถใน
การอ่านเขียนอักษรธรรมล้านนาของคนล้านนาจึงลดความสําคัญลงตามลําดับ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการ
พยายามฟื้นฟูอักษรธรรมล้านนาขึ้นหลายครั้ง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๕ Dr.Daniel McGilvary & D.G.Collins
ได้ตั้งโรงพิมพ์ที่บ้านวังสิงห์คํา ต่อมาได้ขายโรงพิมพ์ให้พ่อเลี้ยงเมืองใจ ชัยนิลพันธ์ มีการพิมพ์คร่าวซอ
เรื่องแรกชื่อ “หงส์หิน” ด้วยอักษรธรรมล้านนา และจัดพิมพ์วรรณกรรมล้านนาออกมาอย่างต่อเนื่อง
แต่เมื่อล้านนาได้รับอารยธรรมสมัยใหม่มากขึ้นจากกระแสวัฒนธรรมภาษาไทยและภาษาวิทยาการของ
โลกที่ท่วมท้น อักษรธรรมล้านนาก็มิอาจต้านทานกระแสวัฒนธรรมหลักได้ ในที่สุดก็เสื่อมถอยความนิยม
ลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป6

4
ชัปนะ ปิ่นเงิน เรื่องย่อสรุป “ติงฺสนิบาต” ฐานข้อมูลไมโครฟิล์มเอกสารล้านนา สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
http://202.28.27.140/src_intro/028.064.013%20%E0%B8%A5%E0%B8%9B010403002%20%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AA
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95.pdf
5
เจ้าหลวงเเชียงใหม่ ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๙ น.๑๖๐ - ๑๖๑
6
โครงการฐานข้อมูลไมโครฟิล์มเอกสารล้านนา สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552 หน้า 1
-7-

นักวิชาการได้วิเคราะห์ตัวอย่างอักษรชนิดต่างๆ ดังที่กรมศิลปากรจัดทําเผยแพร่ ร่วมกับหลักฐาน


แหล่งอื่น ทําให้สรุปได้ว่า อักษรธรรมล้านนาน่าจะมีการกําเนิดมาตามขั้นตอน ดังนี้ 7

อักษรเฟนิเซียน

อักษรพราหมี อักษรฝรั่งตางๆ

อักษรปลลวะ อักษรเทวนาครี

อักษรขอมโบราณ อักษรมอญโบราณ

อักษรขอมจารึก อักษรขอมหวัด อักษรธรรมลานนา อักษรมอญปจจุบัน อักษรพมา

อักษรของพอขุนรามคําแหง อักษรไทยลื้อ อักษรลวะ อักษรธรรมอีสาน อักษรไทยใหญ (เงี้ยว)

อักษรลานนาสมัยพระเมืองแกว (ฝกขาม) อักษรไทยนอย

อักษรรัตนโกสินทร อักษรไทยนิเทศ

7
สมเจตต์ วิมลเกษม แบบเรียนภาษาล้านนา หน้า 5
บทที ๑
บ฿ฯที 1
พยัญชนะ วรรค ๒๕ ตัว
วค์ฯ ก ก ข ค ฆ ง
วรรค ก๋ะ ก ข ค ฆ ง
วค์ฯ จ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค จ๋ะ จ ฉ ช ฌ ญ
วค์ฯ ฏ ฏ ฐ ด ฒ ณ
วรรค ระฏ๋ะ ฏ ฐ ฑดฎ ฒ ณ
วค์ฯ ต ต ถ ท ธ น
วรรค ต๋ะ ต ถ ท ธ น
วค์ฯ บ บ ผ พ ภ ม
วรรค ป๋ ะ บ ผ พ ภ ม

พยัญชนะอวรรค (นอกวรรค) ๘ ตัว


ย ร ล ว
ย ร ล ว
ส ห ฬ อํ
ส ห ฬ อํ (อัง)
พยัญชนะเพิม ๑๑ ตัว
ฃ ฅ ซ ป ฝ ฟ ศ ษ ฮ ฤ ฦ
ฃ ฅ ซ ป ฝ ฟ ศ ษ ฮ ฤ ฦ

พยัญชนะพิเศษ ๕ ตัว (ล้ านนา)


£ ¡ ª ¦ ¢
อย ฺ สฺส แล นา
ข้ อสังเกต พยัญชนะในภาษาล้ านนา
๑. พยัญชนะมีเสียง อะ กํากับทุกตัว เช่น ก อ่าน “ก๋ะ” ข อ่าน “ขะ” เป็ นต้ น
๒. ด ใช้ แทนพยัญชนะ ฑ ฎ และ ด มีเสียงเป็ น “ด๋ะ”
๓. วรรค ฏ อ่าน “ระ” นําหน้ าเร็วๆ คือ ฏระฏ๋ะ ฐระฐะ ดด๋ะ ฒระฒะ ณระณะ
๔. บ ใช้ สําหรับเขียนหนังสือเป็ นภาษาบาลี ออกเสียง “ป๋ ะ”
๕. £ อ่าน “อยะ” พยางค์เดียวเสียงสูง เช่น £่า อ่านว่า “อย่า”
๖. หฯ หฯ หฯ หฯ หฯ หฯ พยัญชนะเสียงสูง คือมี ห-นํา
๗. ในคําไทย /ร/ ออกเสียง /ฮ/ เช่น โรฯรฯร อ่าน “โฮง-เฮียน” โดยไม่ต้องใช้ ฮ
-9-

๘. ในคําบาลี /ร/ ออกเสียง /ล/ เช่น สารี บตุ ร อ่าน “สา-ลี-บุด” (เข้ าใจว่าคนล้ านนาไม่ถนัด
การออกเสียงรัวลินจึงได้ ยินเสียงเป็ น /ล/ )
๙. ฅ คือ ฅ-คน ในภาษาล้ านนายังมีความจําเป็ นใช้ อยู่มาก เพราะว่ามีการใช้ ตา่ งกับ
ค ควาย ถ้ าอ่านเสียง ค-ควาย ต้ อง ใช้ ฅ-คน เช่น ฅวาย ฅน ฅา
๑๐. ¦ /และ/ กับ §ฯ /แล/ เป็ นการเขียนลดรูปของ แล
๑๑. เดิมพยัญชนะมี ๓๓ ตัว ภายหลังมีการเพิม พยัญชนะพิเศษเข้ ามาอีกคือ
ฃ ฅ ซ ป ฝ ฟ ศ ษ ฮ ฤ ฦ เพือให้ เขียนเสียงคนกลุม่ ไทยได้ ครบ
การแบ่ งชนิดของสระในภาษาล้ านนาแบ่ งแยกออกเป็ น
สระลอย (สระทีเป็ นใหญ่ในตัวเอง) สระเดียว สระผสม สระพิเศษ
สระทีเป็ นใหญ่ในตัวเอง (สระ ลอย ) ๘ ตัว
อ อา ² ² ³ ´ µ อ
อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สระ ๓๐ ตัว (ผันตามกลุม่ เสียง)
ะ า ิ ี ึ ื  
เะ เ เฯะ เฯ
เิฯะ เิฯ เิฯอะ เิฯอ (ใช้ไม้ “ิ” ทุกตัว ห้ามใช้ไม้ “ื” เด็ดขาด)
โะ โ ฿ฯะ ฿ฯ
โํฯะ ํฯ แะ แ ํา เัา
ไ ใ เยฯ เา (เยฯ เา สองตัวนีใช้ในคําบาลี)
สระเดียว
คือสระทีไม่ผสมกับสระหรือพยัญชนะ ได้ แก่
ะ า ิ ี ึ ื  
เ แ โ ไ ใ
สระผสม
สระผสมสระ ได้ แก่ เะ แะ โะ เา
สระผสมพยัญชนะ ได้ แก่
เฯะ เฯ เิฯะ เิฯ เิฯอะ เิฯอ
฿ฯะ ฿ฯ โํฯะ ํฯ ํา เัา เยฯ
ข้ อสังเกตุ ํา เป็ นเสียงสันของ “อาม” และ เัา เป็ นเสียงสันของ “อาว” ถือเป็ นสระผสมพยัญชนะ
- 10 -

สระพิเศษ (ลดรู ป/ซ่ อนรูป)


โะ ลดรูปเป็ น ฿ ใช้ กบั มาตราแม่สะกด 6 มาตรา ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ
฿ฯ ลดรูปเป็ น ฯ กรณีมีตวั สะกด ตัวอย่างเช่น สฯง รฯร ชฯร
ํฯ ลดรูปเป็ น ฯ กรณีมีตวั สะกด ตัวอย่างเช่น สฯง รฯร ชฯร
เฯ ลดรูปเป็ น ฯ กรณีมีตวั สะกด ตัวอย่างเช่น สฯง รฯร ชฯร

สระพิเศษ (บางกลุ่มชน)
 ๋ “ไม้ เก๋าห่อหนึง” มีการพัฒนาใช้ ในเอกสารของชาวเขิน ลือ ยอง ออกเสียง “เอา”
ตัวอย่างเช่น ร้ฯงหฯ๋ อ่านว่า “ร้ วงเหม้ า” ในบางพืนทีเรียก “ไม้ ก๋อหมวกเจ๊ ก” ออกเสียง
“ออ” ตัวอย่างเช่น พ๋ฯ หรือ พ๋ฯ อ่านว่า “พ่อ” พึงสังเกตุบริบทเอกสารจึงจะอ่านออกเสียงได้
ถูกต้ อง
 ีูฯ “ไม้ เก๋าจู้จี” มีการพัฒนาใช้ ในบางพืนทีเท่านัน ไม่ควรใช้ เป็ นไวยากรณ์หลัก พบในคําว่า
“เจ้ า” เช่น /พระพุทธเจ้ า/ เขียน “ พุทฯจีูฯ”

ข้ อแตกต่ าง ระหว่างสระภาษาล้ านนากับภาษาไทยบ้ าง มีข้อสังเกตดังนี


๑. สระ ะ ไม่นิยมใช้ เพราะพยัญชนะล้ านนา มีต้นแบบ ภาษาบาลี หรื อ ภาษามคธ มีเสียง
สระ อะ กํากับพยัญชนะอยู่แล้ ว เช่น อ อ่าน “อะ” ก อ่านว่า “กะ”
๒. สระ เา ต้ องมีไม้ ซดั ( เัา ) มิฉะนันจะอ่านเป็ น “โอ” ในภาษาบาลีไป เช่น
เรัา อ่าน “เรา” เขัา อ่าน “เขา” เจัา อ่าน “เจ้ า” พุเทฯา อ่าน “พุท-โธ”
๓. ล้ านนาเรี ยกสระและเครื องหมายกํากับว่า “ไม้ ” เช่น เรี ยกว่า า เรี ยก “ไม้ ก๋า”
ี เรียก “ไม้ กี” โ เรียก “ไม้ โก๋” ํ เรียก “ไม้ กงมน”

ในการออกเสียงภาษาล้ านนาให้ ถกู ต้ องตามสําเนียง ล้ านนา อย่างแท้ จริง จะมีสระทีกําหนด
ความ สัน - ยาว สูง - ตํา ของเสียง ถ้ าออกเสียงผิดอาจทําให้ ความหมายเปลียนหรือผิดไปได้
- 11 -

ลักษณะพิเศษของสระล้ านนาทีควรรู้

ไม้ ก๋าหลวง หรือ ไม้ ก๋าโว้ ง ( ¶ฯ ) คือ สระ อา ( า ) ในภาษาล้ านนา ปั จจุบนั ใช้ กบั พยัญชนะเพียง
๕ ตัวเท่านัน คือ ค ท ธ บ ว
ค¶ฯ ท¶ฯ ธ¶ฯ บ¶ฯ ว¶ฯ
สาเหตุทีใช้ เพราะว่า ถ้ าใช้ ไม้ ก๋าธรรมดา ( า ) ผสมกับพยัญชนะ ๕ ตัว ถ้ าเขียนติดกัน จะคล้ ายเป็ น
พยัญชนะตัวอืนไป เช่น
คา คล้ ายตัว ก ทา คล้ ายตัว ต ธา คล้ ายตัว ต
บา คล้ ายตัว ห วา คล้ ายตัว ต
สระ เัา (เ า) ตามไวยากรณ์หลักใช้ เัา แต่มีการใช้ สระ “เอา” ในบางกลุม่ (ไม่ควรใช้ เป็ น
ไวยากรณ์หลัก) อยู่ ๒ ตัว คือ
๑. ๋ เรี ยกว่า ไม้ เก๋าห่อหนึง เช่น ข๋-เขา ม๋-เมา
๒. ีูฯ เรี ยกว่า ไม้ เก๋าจู้จี เช่น จีูฯ- เจ้ า

ไม้ กังไหล (อัง) = · ใช้ ในภาษาบาลีกรณี /ง/ สะกด เช่น สºเฆา - สงฺโฆ ม¸คล - มงฺคลใน
คําไทยยวนพบการใช้ ไม้ กงไหลในคํ
ั า ท·ฯาฯ ลดรูปเป็ น ท·ฯา (ทังหลาย อ่าน ตังหลาย) ส่วนไทยลือ-
เขิน ใช้ รูป ทัฯฯาฯ ลดรูปเป็ น ทัฯฯา และไทยลือ(สิบสองพันนา) เรียก ฯฯ ว่า “ละทังหลาย”

ระโฮงหรือระโว้ ง (  ) คือ /ร/ ใช้ ในคํายืมบาลีสนั กฤต ใช้ เขียนหน้ าพยัญชนะ และทําให้ พยัญชนะ
ทีมีระโฮง เสียงเปลียนไป คือ ออกเสียงถัดไปหนึงวรรค เช่น
(กร) ออกเสียงเป็ น ข (ขะ) เช่น  ฯ /โกรธ/ อ่านว่า “โขด” ีฯา อ่านว่า “ขียา” แปลว่า สินแล้ ว,จบแล้ ว
(คร) ออกเสียงเป็ น ฆ (ฆะ) เช่น ูฯ /ครู/ อ่านว่า “ฆู”  ํฯะ อ่านว่า “เฆาะ” (เคราะห์)
(ตร) ออกเสียงเป็ น ถ (ถะ) เช่น าฯ /ตราบ/1 อ่านว่า “ถาบ”
(ปร) ออกเสียงเป็ น ถ (ถะ) เช่น าฯ /ปราบ/2 อ่านว่า “ผาบ”

1
อุดม รุงเรืองศรี พจนานุกรมลานนา-ไทย ฉบับแมฟาหลวง หนา 269 าฯ ตราบ อาน “ถะหลาบ/ถาบ” น. ขาง,ฝาย,ฟาก,ริม ว.ตราบ-จน
กระทั่ง,ที่สุดถึง (ขอม-ฏราบ) ถะหลาบ ก็วา
2
เรื่องเดียวกัน หนา 411 าฯฯ ก.ทําใหอยูใ นอํานาจ ผาบ ก็วา (ขอม-ปฺราบ, เทียบ, ส.ปฺราปฺติ)
- 12 -

วรรณยุกต์ ๒ รู ปผันได้ ๖ เสียง


รูปวรรณยุกต์ ในภาษาล้ านนา มีอยู่ ๒ รูป คือ
๑. ่ เรียกว่า ไม้ เหยาะ หรือไม้ เอก เช่น
ก่า(ก่า) ข่า(ข่า) ค¶(ฯ ค่า) จ่า(จ่า) ท¶ฯ (ท่า)

๒. ้ เรียกว่า ไม้ ขอช้ าง หรือไม้ โท เช่น


ก้า(ก้ า) ข้า(ข้ า) ค¶(ฯ ค้ า) จ้า(จ้ า) ท¶(ฯ ท้ า)
เสียงวรรณยุกต
เสียงวรรณยุกตในภาษาลานนา จะผันได 6 เสียง โดยใช
พยัญชนะวรรค 1 (เสียงสูง) คูพยัญชนะวรรค 3 (เสียงต่ํา) กํากับดวยวรรณยุกต 2 รูป ผันได 6 เสียง
พยัญชนะวรรค 2 (เสียงสูง) คูพยัญชนะวรรค 4 (เสียงต่ํา) กํากับดวยวรรณยุกต 2 รูป ผันได 6 เสียง
พยัญชนะวรรค ห-นํา (เสียงสูง) คูพยัญชนะวรรค 5 (เสียงต่ํา) กํากับดวยวรรณยุกต 2 รูป ผันได 6 เสียง
ดังนี้
เสียงสูง เสียงตํา
กา ก๋า ก่า ก่า ก้า ก้า ค¶ฯ คา ค¶ฯ ค่า ค¶ฯ ค้า
ขา ขา ข่า ข่า ข้า ข้า ฆา ฆา ฆา ฆ่า ฆ้า ฆ้า
¶ฯ ครา ¶ฯ คร่า ¶ฯ คร้า เสียงเดียวกัน

ฅา ฅา ฅ่า ฅ่า ฅ้า ฅ้า


หฯา หงา หฯ่า หง่า หฯ้า หง้า งา งา ง่า ง่า ง้า ง้า
ข้อสังเกตุ พยัญชนะวรรคที 5 ไม่มีคู่เสียงสูง นักปราชญ์ โบราณจึงใช้ ห-นํา เพือให้ได้คู่เสี ยงสูง
ตัวเลข
ตัวเลข ในภาษาล้ านนามี ๒ แบบ
๑. เลขในธรรม สําหรับใช้ เขียนในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐

๒. เลขโหราศาสตร์ สําหรับใช้ คํานวณและเขียนทัวไป


1 1 3 4 5 6 7 8 9 0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
บทที่ ๒
บ฿ฯที 2
การผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต
การผสมพยัญชนะกับสระที่เปนใหญในตัวเอง (สระลอย) ๘ ตัว สระประเภทนี้ไมตอง
อาศัยพยัญชนะ เพียงแตมีพยัญชนะเปนตัวตาม เพื่อใหไดใจความ สวนใหญเปนคําที่มาจากภาษาบาลี เชน

อ = อะ อหํ - อหํ (ขา) อนน์ฯ –อนันต (ไมสิ้นสุด)


อน฿ง์ฯ - อนงค (นางสาว) อตฯา - อัตตา (ตน)
อา = อา อากาฯ - อาการ (กิริยา) อากฯร - อากร (บอเกิด)
อาวุธ - อาวุธ อาทิตฯ์ - อาทิตย
± = อิ ±ฯ ี์ฯ - อินทรีย ±ริยาบ฿ฯ - อิริยาบท
±¢ฯ - อินตา ±ทํ สุตํ - อิทํ สุตํ (พระสูตรนี้)
² = อี ²สาฯ - อีสาน ²สา - อีสา (งอนไถ)
²มู - อีมู (นก) ²เหฯ - อีเหน
³ = อุ ³ท¶ฯหฯรณ์ - อุทาหรณ ³ณาโล฿ฯ - อุณาโลม
³ตริ - อุตริ ³ณฯกาฯ - อุณฺหการ
´ = อู ³กา - อูกา (เล็น,เหา) ³หา - อูสา (ตรึกตรอง)
´รุ - อูรุ (ขาออน) ´หติ – อูหติ (วิตก)
µ = เอ µกา - เอกา (หนึง่ ) µตทคฯ - เอตทัคคะ
µกทิวสํ - เอกทิวสํ (ในวันหนึ่ง) µวํ - เอวํ
โอ = โอ โอกา – โอกาส (ชองทาง) โอภา - โอภาส (แสงสวาง)
โอตรณ - โอตรณะ (หยัง่ ลง) โอสถ - โอสถ (ยา)
โอฯ฿กาฯ - โองการ (คาถาหรืออาคม) โอ฿ฯหฯํ - โอยหนอ (คําอุทาน)
- ๑๔ -

การผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต
การผสมพยัญชนะและสระ พยัญชนะผสมกับสระ ๑๒ ตัว (สระเดี่ยว) จะไดรปู ดังนี้
ะ = ะ มูล (มูละ) ราค (ราคะ)
า = า ราค¶ฯ (ราคา) มาหา (มาหา)
ิ = ิ ติ (ติ) สิริ (สิริ)
ีี = ี มีสี (มีสี) กณฯี (กัณฐี = คอ)
ึึ = ึ สตึ (สตึ) อึฯอัฯ (อึดอัด)
ืื = ื หฯังสื (หนังสือ) มีมื (มีมือ)
ุฯ = ุ กุสุมา (กุสุมา) บุรเตา (ปุรโต)
 ูฯ = ู ลูร (ลูน) สูญ (สูญ)
เ = เ เหเห (เหเห) เสว¢ (เสวนา)
แ = แ แลตา (แลตา) มาแน่ (มาแน)
ไ = ไ ไพไหฯ (ไปไหน) ไกฯฯตา (ไกลตา)
โ = โ โมโห (โมโห) โกธ¶ฯ (โกธา)

พยัญชนะผสมกับสระประสม ๔ ตัว จะไดรูปดังนี้


 เา = โ ใชสําหรับตามหลังพยัญชนะตน และนิยมใชในภาษาบาลีเปนพื้น เชน พุเทฯ¶ฯ
(พุทโธ) ลเทฯ¶ฯ (ลทฺโธ) กªเบ¶ฯฯ (กสฺสโป)
 เัา = เา ถาตองการใหออกเสียงเปน “เอา” ใหใสไม ั (ไมซัด) ขางบน เชน
เมัาเหัฯา (เมาเหลา) เสัาเริฯร (เสาเรือน) ดังไดกลาวมาแลว
 อํ =  อํ ใชเปนนิคหิต เชน พุทฯํ (พุทฺธํ) ธมํฯ (ธมฺมํ)
- ๑๕ -

วรรณยุกต
วรรณยุกตในภาษาลานนามี ๒ รูป ผันได 6 เสียง ดังไดกลาวมาแลวในบทที่ ๑ แตเมื่อ
นําคําที่มีพยัญชนะผสมกับสระไปผันแลว จะได ๓ เสียง เชน
กา ก่า ก้า คา ค¶ฯ ค¶ฯ
ขา ข่า ข้า ฅา ฅ่า ฅ้า
จา จ่า จ้า ชา ช่า ช้า

ขอสังเกตในการใชสระและลักษณะพิเศษของภาษาลานนา
๑. ไมหันอากาศ, ไมโท, ไมไตคู มีรูปลักษณะใกลเคียงกัน มีการใชเหมือนกัน สวนไมซัด ( ั ) นั้น มี
ลักษณะขมวดหัวเล็กนอย เชน วัฯนัฯ (วันนั้น) ดฯ่วนี (เดี่ยวนี้) เปนตน
๒. ไมตรี และไมจัตวา ไมมีใชในอักษรธรรมลานนา เพราะมีเสียงครบวรรณยุกตอยูแลว
๓. ไมทัณฑฆาต (์) ลานนาเรียก ระหาม มีการใชเหมือนกัน เชน สุริ ์ (สุรินทร) อน฿ง์ฯ (อนงค)
๔. ไมซ้ําคํา (ยมก) ใชเลขสองในธรรมนั่นเอง หมายถึงอานซ้ําคําสองครัง้ หรืออานคําสองพยางค เชน
ไจ้ๆ (ไจๆ) ต่าๆฯ (ตางๆ) ¢ๆ (นานา) สฯๆด (สมุด) สฯๆง (สนอง) เปนตน
การผสมพยัญชนะกับตัวสะกด
ตัวสะกดในภาษาลานนา มีลักษณะสะกดแบบเดียวกับภาษาไทยกลาง ตางแตการเรียง
สระและพยัญ ชนะเท านั้น ตัวหนัง สือ ไทยกลางนิยมเขียนตัวสะกดถัดไปจากพยัญ ชนะตน แตลานนา
ตัวสะกดเขียนไวดานลางพยัญชนะตนในคําไทย และเขียนถัดไปจากพยัญชนะตนในคําบาลี จึงจําเปนตอง
ทําความเขาใจวิธีการผสมสระ และตัวสะกดอยางละเอียด
มาตรา หรือ แม ที่เปนตวสะกดมี ๘ แม โดยอาศัยแม ก กา (กะ กา) เปนหลัก
ก฿ฯ กก หรือ ตัว ก สะกด
ก฿ฯ กง หรือ ตัว ง สะกด
ก฿ฯ กด หรือ ตัว ด สะกด
ก฿ฯ กน หรือ ตัว น หรือ ฯ สะกด
ก฿ฯ กบ หรือ ตัว บ หรือ ฯ สะกด
ก฿ฯ กม หรือ ตัว ม หรือ ฯสะกด
เกิฯ เกย หรือ ตัว ย หรือ ฯ สะกด
เกฯ เกอว หรือ ตัว ว สะกด
- ๑๖ -

ตัวอยางการผสมพยัญชนะกับตัวสะกด
แม ก฿ฯ เชน ค฿ฯ ง฿ฯ ป฿ฯ จ฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ จ฿ฯ ม฿ฯ ร฿ฯ
ก฿ฯ เชน จ฿ฯ น฿ฯ ฅ฿ฯ ร฿ฯ
ก฿ฯ เชน จ฿ฯ ต฿ฯ ฅ฿ฯ ห฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ ผ฿ฯ ล฿ฯ ว฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ ผ฿ฯ ล฿ฯ ช฿ฯ
เกิฯ เชน เขิฯ เผิฯ เลิฯ เหิฯ
เกิฯ เชน เหฯ ขฯว หฯว หฯฯฯว

การใช ฿ (โอะลดรูป) กับพยัญชนะตัวสะกด

฿฿ “ไมกง” หรือ เครื่องหมายที่ใชแทนสระ โะ (โอะ) ลดรูป ในภาษาลานนา แตในภาษาไทย


กลางไมปรากฏรูปใหเห็น

แม ก฿ฯ = หฯาฯค฿ฯ (หลายกก) ตัฯเชิฯก (ตัดเชือก) เผิฯกต฿ฯ (เผือกตก)


ก฿ฯ = หฯฯ฿ท¶ฯฯ (หลงทาง) หาฯด฿ฯ (หางดง) ฅ฿ฯ£ูฯ่ (คงอยู)
ก฿ฯ = ก฿ฯหฯาฯ (กฏหมาย) ไม้ค฿ฯ (ไมคด) ล฿ฯละ (ลดละ)
ก฿ฯ = ฝ฿ฯตฯ฿ (ฝนตก) ฅ฿ฯล้ฯ฿ (คนลม) ว¶ฯห฿่ฯร (วาวหลน)
ก฿ฯ = ผ฿ฯล฿ฯ (ผลลบ) น฿ฯไหฯ้ (นบไหว) ไม้ต฿ฯ (ไมตบ)
ก฿ฯ = ล฿ฯพัฯ (ลมพัด) ดัฯผ฿ฯ (ดัดผม) ขีจ่ฯ฿ (ขี้จม = ชอบบน)
เกิฯ = เนิฯเิฯฯ (เนื้อเปอย) เมิฯฯไข้ (เมื่อไข = ไข) อฯรหฯฯ (ออนหลวย)
เกิฯ = ด้าฯหฯว (ดายเหนียว) หฯฯวผํฯ (เหลียวผอ = มอง) ขํค
ฯ ฯว (ขอเคียว)
- ๑๗ -

การใชหาง (ตีน,เชิง) ของพยัญชนะ

การผสมพยัญชนะกับตัวสะกดของอักษรธรรมลานนาและภาษาไทยกลางมีขอแตกตางกัน คือ พยัญชนะ


ตัวสะกดบางตัว ใชบางสวนของพยัญชนะ หรือมีการเปลี่ยนรูปมาสะกด เชน
ญ ใช ฯ เรียกวา “หางญะ” ตรงกับตัว /ญ/ เชน า – พระญา ใหฯ่ – ใหญ
ฐ ใช ฯ เรียกวา “หางฐะ” (ระฐะ) ตรงกับตัว /ฐ/ เชน รฏฯ – รัฏฐะ อฏฯ – อัฏฐะ
ถ ใช ฯ เรียกวา “หางถะ” ตรงกับตัว /ถ/ เชน สตฯา หรือ สตฯา – สัตถา
พ ใช ฯ เรียกวา “หางปะ” ตรงกับตัว /พ/ เชน นิพฯาฯ – นิพพาน
น ใช ฯ เรียกวา “หางนะ” ตรงกับตัว /น/ เชน ก฿ฯ – กน กัฯ – กัน กิฯ – กิน
บ ใช ฯ เรียกวา “หางปะ” ตรงกับตัว /บ/ หรือ ป เชน นัฯ – นับ กัฯ – กับ ขัฯ – ขับ
ม ใช ฯ เรียกวา “หางมะ” ตรงกับตัว /ม/ เชน ข฿ฯ – ขม ผ฿ฯ – ผม ล฿ฯ – ลม
ย ใช ฯ เรียกวา “หางยะ” ตรงกับตัว /ย/ เชน เกิฯ – เกย เขิฯ – เขย เลิฯ – เลย
ขอสังเกต ผูเรียนสามารถสังเกต ฯ ไดวาเปนตัว ฐ ถ พ ไดโดยสังเกต พยัญชนะตัวขมบนตัวซอน
หรือหาง วาอยูในวรรคใด เชน
รฏฯ แสดงวา ฯ คือ ฐ
สตฯา แสดงวา ฯ คือ ถ
สพฯ แสดงวา ฯ คือ พ
บทที ๓
บ฿ฯที 3
คําพิเศษภาษาล้ านนา

ในภาษาล้ านนา คําพิเศษ หรือคําทีอ่านยากอยู่หลายคํา คําเหล่านีนักปราชญ์ เมืองเหนือนิยม


เขียนสืบต่อกัน มา ผู้ศึกษา ควรจดจําไว้ เพือสะดวกในการเขียนและการอ่าน ซึงจะได้ แยกเป็ นคําๆ
พร้ อมคําอ่านดังต่อไปนี

คําศัพท์ อ่ านว่ า คําศัพท์ อ่ านว่ า คําศัพท์ อ่ านว่ า


คํฯ ก็บ่ คฯี ก็มี บฯี บ่มี
คฯี ก็ดี บํฯา บ่มา รื อันว่า
ไพฯา ไปมา ไพฯา ไปหา จัฯา จักว่า
มัฯา มักว่า จัฯา จักมา คํฯ¶ฯ ก็วา่
¦,§ฯ และ , แล ¦ฯ แล้ ว ¦ฯา,¦ฯา และนา ,แลนา
´า เอา ทัฯา,ท·ฯา ตังหลาย ดู า ดูกรา
ูฯา ดูรา ีฯา ขียา ชืฯา ชือว่า
กฯํา กะตํา คืฯา คือว่า เวทๆฯา เวต๊ ะนา
เทสฯๆา เทสะนา สฯัรฯ์ สวรรค์ สๆฯง สะหยอง
าถฯๆา ผาถะนา ส¸ขฯา สังขะหยา เสิฯๆ เสมอ
เสิฯฯ สะเหวย สฯªฯี สวัสสะดี สฯๆาฯ สหาย
สๆฯบท่าฯ สะหยุบท่าว รฤ รือ,ฤา รฤกฯ์ ฤกษ์
ดฯีฯ ดีหลี าªจาฯ ผาสะจาก อªจัรฯ์ อัศจรรย์1
หฯมหฯับ หอมหยับ เ£ิฯ เฮย ¢ฯ นาน
± ฯ์ อินทรีย์ โยช์ฯ ผะโยชน์ แมัฯา แม่นว่า
ริªฯๆา ริศหนา ดัฯนี , ดังฯี ดังนี ช฿มฯทฯีบ ชมพูทวีป

1
อุดม รุงเรืองศรี, พจนานุกรมลานนา-ไทย ฉบับแมฟาหลวง หนา 882
- ๑๙ -

คําศัพท์ อ่ านว่ า คําศัพท์ อ่ านว่ า คําศัพท์ อ่ านว่ า


เวเชยฯนฯ์ เวชัยยันต์ หิมฯาฯ หิมพาน ี สะหรี
ัรู้ ตรัสรู้ อา อาสะไหล สๆฯํา สะหนํา
ส฿มฯาฯ สมปาน ค¢ฯ กันตฺวา๋ สๆ฿ฯาฯ สงสาร
อรห¢ฯ อรหันตา อ฿ ฯ อนตราย พีฯง
 พีน้ อง
เจัา พระเจ้ า อ¸คาฯ อังคาร ฿ฯ สะหรม
¢ นา ¢ฯ นาย ¢ฯ นาง
อาชฯา อาชญา สเญฯยฯ์ สญชัย เขัฯๆาฯ เข้ าของ
อาราธ¢ อาราธนา ขํฯาเขิฯก ขวําเขือก เดฯะ เสด็จ
กสัฯ กษัตริย2์ จ วาฯ จักรวาฬ ฯง ตรองไตร
ศ ูฯ ศัตรู(สัตถู) ไมยํฯ มัยหัง ม¸คฯฯ มังคละ
หํฯฯ หย้ อ (ย่อ) เงิฯ เงิน กุญฯร กุญชร
เบงฯร เบงชร เชยฯ์เบงฯร เชยฺย์เบงชร วิทูรไอศฯร วิทรู ไอศวร
บุ¡าธิกาฯ บุญญาธิการ เสฏฯี เสฎฐี าฯเกัฯา กราบเกล้ า
อ฿ง์ฯ พุทฯ์ องค์พระพุทธ เนมินฯร เนมินธร สิรน
ิ ฯร สิรินธร

2
อุดม รุงเรืองศรี, พจานานุกรมลานนา-ไทย ฉบับแมฟาหลวง หนา 5
บทที ๔
บ฿ฯที 4
ประโยคเรื องราวทีใช้ ฝึกอ่านและเขียน

ในการอ่านและเขียนภาษาล้ านนา จําเป็ นทีจะต้ องฝึ กอ่านและฝึ กเขียนให้ มากๆ เพราะเป็ น


วิชาทีเกียวกับทักษะทางภาษา ก่อนทีจะอ่านและเขียนในรูปของประโยคหรือเรืองราวต่างๆนัน ผู้ศกึ ษา
ควรทีจะฝึ กอ่านและเขียนคําศัพท์ตา่ งๆให้ ได้ เสียก่อน จึงขอแยกเป็ น ๒ ลักษณะคือ

๑. ฝึ กอ่านและเขียนคําทีเป็ นภาษาบาลี
๒. ฝึ กอ่านและเขียนคําทีเป็ นภาษาพูดแบบล้ านนา

๑. ฝึ กอ่านและเขียนคําทีเป็ นภาษาบาลี

คําศัพท์ คําอ่าน คําแปล


อานนฯ อานันต๊ ะ อานันทะ, อานนท์
เกาณฯ¡ โกณฑัญญะ พระโกญฑัญญะ
วบฯ วัปปะ พระวัปปะ
ภทฯิย ภัททิยะ พระภัททิยะ
มหา¢ม มหานามะ พระมหานามะ
อªชิ อัสสะชิ พระอัสสะชิ
อาวุเสา อาวุโส ผุ้มีอายุ
ภเนฯ ภันเต ผู้เจริญ
เถเรา เถโร พระเถระ
สามเณเรา สามเณโร สามเณร
พุทฯํ พุทธัง พระพุทธเจ้ า
ธมฯํ ธัมมัง พระธรรม
ส·ฆํ สังฆัง พระสงฆ์
สรณํ สรณัง ทีพึง
คจฯามิ คัจฉามิ ถึง
³บ¶ฯสเกา อุบาสโก อุบาสก
- ๒๑ -

อุบ¶ฯสกา อุบาสกา อุบาสิกา


วªา วัสสา ปี
ตªฯา ตัสสมา เพราะเหตุนนั
±มªฯิ๊ อิมสั สมิง นี
³บฯชฯฯาเยา อุปัชฌาโย พระอุปัชฌาย์
นิพฯานํ นิปปานัง พระนิพพาน
บรมํ ปรมัง อย่างยิง
สุขํ สุขงั ความสุข
เมตฯา เมตตา ปรารถนาให้ มีสขุ
กรุณา กรุณา ปรารถนาให้ พ้นทุกข์

๒.ฝึ กอ่ านและเขียนคําศัพท์ ทเป็


ี นภาษาพูดแบบล้ านนา

คําศัพท์ คําอ่าน คําแปล


พํฯแม่ ป้อแม่ พ่อแม่
พีฯฯง ปี น้ อง พีน้ อง
แม่้า แม่ป้า แม่ป้า
¢้อา น้ าอา น้ าอา
ปู่ย่า ปู่ ย่า ปู่ ย่า
ตายาฯ ตายาย ตายาย
ลูกหฯาฯ ลูกหลาน ลูกหลาน
กิฯเขัา กินเข้ า กินข้ าว
เขัางาฯ เข้ างาย ข้ าวเช้ า
เขัาทฯร เข้ าตอน ข้ าวกลางวัน
เขัาแลฯ เข้ าแลง ข้ าวเย็น
ไพไหฯ ไปไหน ไปไหน
ไพแอ่ฯ ไปแอ่ว ไปเทียว
ไผมา ไผมา ใครมา
มากัฯผ มากับไผ มากับใคร
- ๒๒ -

ไพจได ไปจะใด ไปอย่างไร


ม่ฯรแท้ๆ ม่วนแต้ ๆ สนุกจริงๆ
พีรู้สฯง ปี ฮู้สอง พีรู้สอง
น้ฯงรู้นฯึ น้ องรู้นึง น้ องรู้หนึง
อู้หืเพิฯรัฯ อู้หือเปิ นฮัก พูดให้ เขารัก
ยาฯนฯจ ั ัฯหังฯ ยากนักจักหวัง ยากนักทีหวังได้
อู้หืเพิฯชัฯ อู้หือเปิ นจัง พูดให้ เกลียด
คํ¶ฯดฯวคํด้ กําเดียวก็ได้ ใช้ คําๆเดียวเท่านัน
ิฯมีบ้าฯเหิ ฯ ฯอ พริกมีบ้านเหนือ พริกมีบ้านเหนือ
เกิฯอมีบ้าฯใต้ เกือมีบ้านใต้ เกลือมีบ้านใต้
£่าหฯกก่ฯรหํฯฯ อย่าหล๊ วกก่อนหมอ อย่าฉลาดก่อนหมอ
£่าซฯก่ฯรี อย่าซอก่อนปี อย่าซอก่อนปี
เกัาอ฿ฯสิฯยัฯ เกัาอดสิบยัน อดทนอดกลัน
จะได้นฯแ ั ท่ฯฅาเหิฯง จะได้ นงแต่
ั นคําเหลือง จะได้ นงแท่
ั นทอง

ฝึ กอ่ านและเขียนประโยคเรืองราวต่ อไปนี

C พี้ ฯ ฯงผิฯกัฯเหิฯฯร ้าฟัฯ¢ํฯ £่ากําผูกหัฯร


 ทืเวฯ เิฯะเิฯนัฯ¢ํฯหาฯพาเปฯ ´า¢ํฯไสเ£ฯซฯ่ ฯ
เิฯะจิฯส้ฯงให้๚ฯฯเขียนเป็ นคําอ่าน
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C พี้ ฯ ฯงผิฯกัฯเหิฯฯรเห็ก
ฯ ขีหฯฯ้ง ฝ฿ฯ¦ฯหาฯทึฯดี เจัาน้ฯงรัฯ จุ่งอ฿ฯขนีฯ หืแปฯใจดีเหิฯฯร¢ํฯทัฯห้า๚
ให้ เขียนเป็ นภาษาล้ านนา
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
- ๒๓ -

C ร้าฯปฯาฯก่ฯรช่าฯดีปฯาฯหฯฯัง ช่าฯหูมมีมาป่ฯาล้า £่าถืไผดี £่าทืไผช้า ช่าฯเปฯเมฯ


ฝ้าพาม฿ฯ £ู่ฯตาฯ¢ํฯทํ¶ฯไพตาฯตฯ฿ ¢ํฯพฯงฮืดฯกบ฿ฯพฯงอัฯ๚ให้ฯ๚ฯเขียนเป็ นคําอ่าน
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C ง฿ฯฅฯาฯช้าฯมฯ้าฯ ตาฯ¦ฯเหิฯอหัง ฯ ดูกเขัาข฿ฯยัฯ´าไช้กาฯได้ จาลฯงสุด แม้ปุม¦
ไส้ ฅ฿ฯยัฯกฯล
ิ ําอิฯท้ฯง มนุª์เรัาตาฯ สฯๆาฯพีฯ้ง ฯ ไผบ่ห่ฯงข้ฯงอาไลฯ สุดแต่ดก
ู ภ฿ฯะ
ยัฯ´าขฯ้าฯไกฯฯ ก฿ฯจัฯเปฯไภฯ ผีจัฯหฯกบ้าฯ๚ฯ๚ฯ ให้ เขียนเป็ นคําอ่าน
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C บฐมํ ดาฟัฯรฯบร้ฯฯ จัฯริรําถ้ฯฯหืเปฯวิฐาฯ เมิฯอ 2 หํฯฯ ทฯวโล฿ฯสๆ฿ฯาฯ แม่ยิฯสามาฯ
 ่ปฯงฅาข้า ลําดัฯมาเถิฯ เปฯบ฿ฯที 5 จาเถิฯราชาหํฯฯไธ้ฯ เมิฯอเจัาสฯงต฿ฯเดิฯด฿ฯป่ฯาไม้ เปฯ
กฯฯาฯป่ฯากฯ้าฯไกฯฯฅ฿ฯ เมิฯอสฯงหํฯฯท¶ฯฯแก้ฯแก่ฯทฯมห฿ฯ สุริฯว฿งฯ์ห฿งฯฯ์อามาฯเจัา เสฯิอาหาฯ ฉ
งาฯฅาฯเขัา ¦ฯหาฯ ฯไ฿ พย้ฯมโยํฯะ ทีตาฯเหฯผา มคฯาลฯบโลํฯะ เปฯป่ฯาก้ฯฯแกฯบฯร ขิฯขา่ คุก
จฯฅถุงถฯง พูน฿ฯผัฯทฯง กุรํอ้ฯฯเห้ม ฯ หฯาฯม่ฯงหฯาฯผาฯ หฯาฯลาฯปุมเ้ฯ ผัฯชีทฯมด่ฯรน้ฯฯ £ู่ฯสัฯ
สูรกัฯ อ่าฯพัฯอ่าฯร้ฯฯ จ฿ฯจําบ่ด้เนิฯ¢ฯ มีสารภัฯก้ฯฯเทฯก้ฯฯสาฯ แวฯล้ฯม£ํ£าฯ£ู่ฯ 2 ฝ่าฯห้ฯฯ เป
ฯป่ฯาตาฯตาฯ ป่ฯาลานป่ฯาก้ฯฯ ผัฯัฯพูเลิฯมาฯนัฯ ตาฯไจจัฯกิฯผู้อัฯจัฯมัฯ เกฯฯหาฯฯ´ฯาไพ ไนห้ฯฯตาฯ
เลิฯะ ¢ํฯเผิฯดูไส ฝูงสัฯน ต่าฯกิฯต่าฯเหฯฯ้ร เนิฯ ๚ฯให้ฯ๚ฯ เขียนเป็ นคําอ่าน
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
- ๒๔ -

ให้ เขียนเป็ นภาษาล้ านนา (จากค่ าวเจ้ าสุริยวงศ์ หงษ์ อํามาตย์ )

C ว่าปี ภาต๋า ไปหลับจะก้ ววย ลุกมาววยลาพําน้ อง เป๋ นผีอาสัง มันมารําร้ อง เสียงสนันก้ องเมา
มัว ปั น ข้ านาถน้ อง นาต้ านหย้ านกัว ขนหัวเยี ยกปอง ลุกเสียงกู้เ ส้ น ฟั ง เสีย งเปิ บป๋ าว ไปบนวิงเต้ น
เหมือนปั งลงซ้ าวซ้ าว ปี สุริยะ ลุกมาค้ มก๊ าว กับกีบดุ้นหลัวไฟ ซะแวนข้ วางฟื น ส่องแจ้ งแสงใส อัคคเรือง
ไร ทัวไปย่านห้ อง ซําเทวดา รักษาล้ อมป้อง เจ๊ าะต๋ามไพเรืองเรือเล้ า ฝูงสัตย์ทงั หลาย เดือดนันอึดเอ้ า ก็
ลุกจากหันหนีไป ยามนันและ หน่อพระบัวไข ก้ อยยีบหลับไป เถิงตลอดแจ้ ง ปี สุริยา นําตาปอแห้ ง ก็ลกุ
ดังไฟก่อนน้ อง เจ้ าแต่งทํากิน เมียนเสียงแล้ วพร้ อม เรียกเอาน้ องเจ้ านวลแปง ว่าลุกมาเต๊ อะ น้ องนาถ
คําแสง ต๋าวันก็แดง แดดล้ วงทัวห้ อง หน่อพระสัตถา ทีแปงใจ๋ข้อง ก็ลกุ มาววยบ่จ๊า c
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
บรรณานุกรม

คํามูล มุนิวิโฮ. เอกสารการสอนอักษรล้านนา. (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.


มณี พยอมยงค์. ตําราเรียนหนังสือล้านนาไทย. (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
รุ่งรพ สิริมงคล. เรียนง่ายๆ อักษรล้านนา. (2546) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
วงค์ ขุนชนะ. ค่าวซอเรื่องเจ้าสุริยวงศ์ หงส์อมาตย์ (อักษร ล้านนา) (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
อินจันทร์ คเณสโก. หนังสือเรียนภาษาล้านนา. (2555) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
ความเป็นมาอักขรธัมม์ลา้ นนา เข้าถึงได้จาก http://artculture.cmu.ac.th/th/fontlanna/
ln-tilok (วันที่ค้นข้อมูล : 2 สิงหาคม 2555).
คณะผู้จัดทํา

ที่ปรึกษา
นายประเสริฐ หอมดี ผู้อํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางนาถยา ผิวมั่นกิจ รองผู้อํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ
พัฒนาหลักสูตร
นายนิพัทธ์ สัตตรัตนขจร ข้าราชการบํานาญ
นายบุญส่ง ภูวังหม้อ ข้าราชการบํานาญ
นายนิพนธ์ ณ จันตา ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางกรรณิการ์ ยศตื้อ ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางวราพรรณ พูลสวัสดิ์ ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
ผู้เขียน
นายบุญส่ง ภูวังหม้อ ข้าราชการบํานาญ
บรรณาธิการ
นายพิชัย แสงบุญ พนักงาน สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้พิมพ์
นายอภิรักษ์ ตาเสน ลูกจ้าง สํานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พิมพ์ที่
งานการพิมพ์ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

You might also like