You are on page 1of 50

ตอนที่ ๕

การประดิษฐ์พานบายศรีพญานาค
การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๒
แผนการเรียนรู้ตอนที่ ๕

ชุดการเรียน การศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ

ตอนที่ ๕ การประดิษฐ์พานบายศรีพญานาค

เรื่องที่
๕.๑ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์พานบายศรีพญานาค
๕.๒ การเตรียมส่วนประกอบพานบายศรีพญานาค
๕.๓ การประดิษฐ์ส่วนตกแต่งพานบายศรีพญานาค
๕.๔ การประกอบและตกแต่งพานบายศรีพญานาค

สาระสาคัญ

บายศรีพญานาค เป็นบายศรีประยุกต์เพื่อความสวยงาม จะพับใบตองเป็นกลีบหน้านาคแล้วห่อหุ้ม


ด้วยใบตองยกด้านข้างขึ้นเป็นร่องบุ๋มหนึ่งชั้น เป็นลูกบายศรี ส่วนตัวแม่จะมีจานวนชั้นตั้งแต่ ๗-๙ ชั้น หรือ
มากกว่านั้น นุ่งผ้านุ่งโดยการยกใบตองให้เป็นร่องทั้งสองด้านด้วยวิธียกยอหรือยกนม รองด้วยกระหนก
ด้านหลังตัวแม่ เข้าตัวหรื อนุ่งผ้า ๙ ชั้น ๗ ชั้น และ ๕ ชั้น นาไปประกอบบนภาชนะซึ่งอาจเป็นโตกหรือ
พานแบบต่าง ๆ แต่ละชั้นจัดวางด้วยตัวบายศรีจานวน ๖ ตัว และมีตัวแซมเย็บแบบดอกไม้เป็นรูปใบโพธิ์
กลีบใบตองสอดไส้ดอกพุด นาวางระหว่างตัวบายศรี ชั้นบนมีกรวยยอดบายศรีที่เป็นกรวยจีบตกแต่งด้วย
กลีบใบตองรองด้วยกระทงอย่างสวยงาม หลังประกอบเสร็จตกแต่งให้สวยงามด้วยมาลัย และดอกไม้มงคล
ตามความเหมาะสม

จุดประสงค์การเรียนรู้

เมื่อเรียนรู้ตอนที่ ๕ แล้วผู้เรียนสามารถ
๑. บอกวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์พานบายศรีพญานาคได้
๒. อธิบายขั้นตอนการเตรียมส่วนประกอบพานบายศรีพญานาคได้
๓. อธิบายขั้นตอนการประดิษฐ์ส่วนตกแต่งพานบายศรีพญานาคได้
๔. อธิบายขั้นตอนการประกอบพานบายศรีสู่พญานาคได้
๕. ประดิษฐ์พานบายศรีพญานาคได้

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๓
กิจกรรมระหว่างเรียน

๑. ศึกษาชุดการเรียน เรื่องที่ ๕.๑ – ๕.๕ ไปพร้อมกับเรียนรู้จากผู้สอน


๒. ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายตามเอกสารชุดการเรียนแต่ละเรื่อง
๓. ศึกษาเพิม่ เติมจากวีดิทัศน์

สื่อการเรียนรู้

๑. ตัวอย่างของจริง
๒. แบบจาลองบายศรีพญานาค
๓. ใบตอง ดอกไม้
๔. วัสดุอุปกรณ์
๕. เอกสารประกอบการเรียน
๖. กิจกรรมี่ ๕
๗. วีดิทัศน์ประกอบชุดการเรียน

การประเมินผล

๑. ประเมินจากผลการทากิจกรรมที่ ๕
๒. ประเมินผลจากการทากิจกรรมประเมินครั้งสุดท้าย

เมื่ออ่านแผนการเรียนรู้ประจาตอนที่ ๕ แล้ว โปรดศึกษาเอกสาร


และฝึกปฏิบัตติ ามคาแนะนาอย่างต่อเนื่อง และเมื่อศึกษาเอกสารจบตอนแล้วให้ทา
กิจกรรมที่ ๕ ในแบบฝึกปฏิบัติ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๔
เรื่องที่ ๕.๑ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์พานบายศรีพญานาค
พญานาค
๕.๑.๑ การเตรียมวัสดุ
วัสดุในการประดิษฐ์พานบายศรีพญานาคที่ต้องเตรียมมีดังนี้
๑. ใบตองตานี
๒. ดอกดาวเรือง
๓. ดอกบานไม่รู้โรย
๔. ดอกรัก
๕. ดอกพุด
๖. ดอกกุหลาบมอญ
๗. ใบกระบือ หรือริบบิ้น (ถ้ามี)
๘. กาบพับพลึง (ใช้หรือไม่ก็ได้)
๙. ด้ายเบอร์ ๖๐ สีเขียว
๑๐. ด้ายร้อยมาลัย
๑๑. ตะปูเข็ม
๑๒. ไม้จิ้มฟัน
๑๓. ไม้กลัด
๑๔. ไม้เสียบอาหาร
๑๕. โฟมขนาด ๑ ๑/๒ นิ้ว
๑๖. โฟมขนาด ๒ นิ้ว
๑๗. โฟมขนาด ๓ นิ้ว
๑๘. ลวดเบอร์ ๑๘ และ ๒๐
๑๙. กระดาษแข็ง
๒๐. ริบบิ้นฝาง

๕.๑.๒ การเตรียมอุปกรณ์
๑. พานแบบต่าง ๆ ตามชอบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔๒ และ ๒๔ เซนติเมตร
๒. กรรไกร
๓. เข็มมือ
๔. เข็มร้อยมาลัย
๕. มีดคัดเตอร์
๖. คีมปากจิ้งจก
๗. กะละมัง
๘. กระบอกฉีดน้า
๙. ผ้าขาวบางและผ้าขี้ริ้ว

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๕
๕.๑.๓ การเตรียมใบตอง
ในการประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญแบบพญานาค จะใช้พานหลัก ๒ พาน เป็นพานรองพญานาค
และพานรองชั้นบายศรีที่ใช้โฟมจัดเรียงต่อกันเป็นชั้นขึ้นไป บายศรีแต่ละชั้นประกอบด้วยตัวบายศรีชั้นละ
๖ ตัว ชั้นที่ ๑ (ล่างสุด) ชั้นที่ ๒ และชั้นที่ ๓ ใช้ตัวบายศรี ๗ ชั้น ชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ ใช้ตัวบายศรี ๕ ชั้น
ดังภาพ

กรวยจีบ

มาลัยตุ้ม

หงอน

บายศรี ๕ ชั้น

ปิดหน้า

ขอบปากบน ตัวแซม
ลิ้น ตา

ขอบปาก
ล่าง
เครา

อก บายศรี ๗ ชั้น
เกล็ด

ภาพที่ ๕.๑ แสดงส่วนประกอบพานบายศรีพญานาค

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๖
ในการประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญแบบพญานาค ต้องเตรียมใบตองเพื่อพับกลีบจานวนมาก ดังนี้
๑) แม่บายศรีหรือยอดบายศรี
 พับกลีบนิ้วมือนางเก็บชายสาหรับทากระหนก ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๕ นิ้ว
จานวน ๖๐ ชิ้น (ตัวละ ๒ ชิ้น ๕ ชั้น ๆ ละ ๖ ตัว)
 ห่อกลีบนิ้วมือนาง ๔ ชั้น สาหรับทากระหนก ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๖ นิ้ว
จานวน ๒๔๐ ชิ้น (นิ้วมือนาง ๖๐ กลีบ ห่อกลีบละ ๔ ชั้น)
 พับกลีบกุหลาบกระหนกซ้ายและขวา ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว
จานวน ๕๔๐ ชิ้น (จานวนที่ทา ๓๐ ตัว กระหนกซ้าย-ขวา ลาย ๙ ชั้น รวม ๑๘ ชิ้น)
 ห่อกระหนกซ้าย-ขวาเข้าด้วยกัน ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๘ นิ้ว
จานวน ๑๒๐ ชิ้น (กระหนก ๓๐ ตัวห่อตัวละ ๔ ชั้น)
 พับกลีบนิ้วมือนางตัวแม่ ฉีกใบตอง ขนาด ๒x๙ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น
 ห่อกลีบนิ้วมือนางตัวแม่ ๙ ชั้น ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๗ นิ้ว จานวน ๒๗๐ ชิ้น
๒) ลูกบายศรีแบบหน้านาคยกยอ

 พับกลีบหน้านาค ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒๐๔ ชิ้น


 พับกลีบเล็บครุฑยกยอห่อกลีบหน้านาค ฉีกใบตอง ขนาด ๓ x ๙ นิ้ว
จานวน ๒๐๔ ชิ้น
๓) ผ้านุ่งบายศรี
 ตัวบายศรี ๗ ชั้น ขนาดผ้านุ่งนี้สาหรับบายศรี ๑ ตัว ให้ฉีกไว้ ๒ ชุด ๆ ละ ๖ ตัว
ตัวบายศรีชั้นที่ ๑ -๓ ขนาด ๒ x ๘ นิ้ว จานวน ๓ ชิ้น
ตัวบายศรีชั้นที่ ๔-๖ ขนาด ๒ ๑/๒ x ๑๐ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
ตัวบายศรีชั้นที่ ๗ ขนาด ๓ x ๑๑ นิ้ว จานวน ๑ ชิ้น
 ตัวบายศรี ๕ ชั้น ขนาดผ้านุ่งนี้สาหรับบายศรี ๑ ตัว ให้ฉีกไว้ ๓ ชุด ๆ ละ ๖ ตัว
ตัวบายศรีชั้นที่ ๑ -๓ ขนาด ๒ x ๘ นิ้ว จานวน ๓ ชิ้น
ตัวบายศรีชั้นที่ ๔-๕ ขนาด ๒ ๑/๒ x ๑๐ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
๔) กรวยบายศรีพญานาค

 กรวยจีบ ฉีกใบตอง ขนาด ๒ ๑/๒ x ๑๒ นิ้ว จานวน ๕๐ ชิ้น


 กรวยพับ ฉีกใบตองขนาด ๖ x ๑๐ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
 กระทงรองกรวยกลีบกุหลาบ ฉีกใบตองขนาด ๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๕๐ ชิ้น
 กลีบประดับยอดกรวย ฉีกใบตองขนาด ๑ ๑/๒ x ๓ นิ้ว จานวน ๑๔ ชิ้น
 ลายเปียหรือตะขาบรัดข้อ ฉีกใบตองขนาด ๑ x ๔ นิ้ว จานวน ๑๘ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๗
๕) อกพญานาค ฉีกใบตองหรือใบพับพึงขนาด ๔ x ๑๒ นิ้ว จานวน ๒๐-๓๐ ชิ้น
๖) ปิดหน้าพญานาค
 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒x ๕ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
 ห่อยกยอนิ้วมือนาง ๒ ชั้น ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๒ ชิ้น
 พับกลีบกุหลาบ ๕ ชั้น สองด้าน ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ จานวน ๑๐ ชิ้น
 พับก้าน ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๑๕ ชิน้
๗) ลิ้นพญาพญานาค
 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒x ๕ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
 พับก้านฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๑๕ ชิน้
๘) ขอบปากบนพญานาค (ซ้าย-ขวา)
 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
 ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
 กลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๓๖ ชิ้น
๙) ขอบปากล่างพญานาค (ซ้าย-ขวา)
 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
 ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒ ชิ้น
 พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๕๒ ชิ้น
๑๐) เคราพญานาค (ซ้าย-ขวา)
 พับกลีบนิ้วมือนางฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
 ห่อยกยอนิ้วมือนางฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒ ชิ้น
 พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๒๔ ชิ้น
๑๑) ตาพญานาค (ซ้าย-ขวา)
 ตาใน
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๓ ชิ้น
o พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๑๔ ชิ้น
 ตานอก
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
o พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒๐ ชิ้น
๑๒) กระหนกรองตาพญานาค
 ฉีกพับกลีบนิ้วมือนาง ใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
 ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
 พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒๐ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๘
๑๓) หงอนใหญ่ (ด้านหน้า)
ชั้นที่ ๓
ชั้นที่ ๖
ชั้นที่ ๒

ชั้นที่ ๗ ชั้นที่ ๑
ชั้นที่ ๘

ชั้นที่ ๙
ชั้นที่ ๔

ชั้นที่ ๑๐
ชั้นที่ ๕
ชั้นที่ ๑๑
ชั้นที่ ๑๒
ชั้นที่ ๑๓
ภาพที่ ๕.๒ แสดงส่วนประกอบหงอนใหญ่พญานาค

 ชั้นที่ ๑ กระหนก ๗ ชั้น (ซ้าย-ขวา)


o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒ ชิ้น
o พับกลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๒๖ ชิ้น
 ชั้นที่ ๒ ยอดยกยอ (ลายเปีย) ๒๕ ชั้น
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ๒๕ ชั้น ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว
จานวน ๒๕ ชิ้น
 ชั้นที่ ๓ – ๕ ชั้นที่ ๗ – ๙ และชั้นที่ ๑๑ – ๑๓ ลูกบายศรียกยอ ฉีกใบตองจานวน ๙ ชุด
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๓ ชิ้น
 ชั้นที่ ๖ และชั้นที่ ๑๐ ยกยอ (ลายเปีย) ๑๓ ชั้น ฉีกใบตองจานวน ๒ ชุด
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๑๓ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๙๙
กระหนกปิดข้าง

กระหนกปิดข้างตัว S

ภาพที่ ๕.๓ แสดงส่วนประกอบหงอนใหญ่พญานาคที่ปิดข้างแล้ว

 กระหนกปิดข้าง (ซ้าย-ขวา)
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
o ห่อนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
o กลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๓๒ ชิ้น
 กระหนกปิดข้างตัว S หางหงส์ (ซ้าย-ขวา)
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๒ ชิน้
o ห่อนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
o กลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๓๘ ชิ้น
๑๔) หงอนเล็ก (หลัง)
 ยอด (แม่บายศรียกยอ)
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๑ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๑๕ ชิ้น
o กลีบกุหลาบ ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๒๐ ชิ้น
 ลูกบายศรียกยอ
o พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๔ ชิน้
o ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๑๒ ชิ้น
 ผ้านุ่ง
o นุ่งยกยอลูกบายศรี ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๘ นิ้ว จานวน ๔ ชิ้น
o ปิดหน้าเมื่อเข้าตัวเสร็จ ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๖ นิ้ว จานวน ๑ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๐
๑๕) เกล็ดหลังพญานาค

 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒x ๕ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น


 ห่อยกยอนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ ๑/๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น
 ห่อยกยอตัวลูกยกยอ ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๗ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น
๑๖) เกล็ดข้างตัวพญานาค (กลีบเล็บมือนางสอดไส้กลีบบัวสายแปลง)
 พับกลีบครุฑ ฉีกใบตอง ขนาด ๓ x ๓ นิ้ว จานวน ๑๕๐ – ๒๐๐ ชิ้น
 ตัดครึ่งใบกระบือตามยาวตามจานวนใบตองพับกลีบบัวสายแปลงนามาซ้อนด้านใน
๑๗) ตัวแซมแบบกระหนก

 ทาแบบใบโพธิ์ฉีกใบตอง (ไม่ต้องใช้ใบตองสวยก็ได้) จานวน ๔ ชิ้นต่อ ๑ ใบ


จานวน รวม ๑๒๐ ชิ้น
 พับกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๕ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น
 ห่อยอยอกลีบนิ้วมือนาง ๔ ชั้น ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๕ นิ้ว จานวน ๑๒๐ ชิ้น
 พับขอบใบโพธิ์ซ้ายขวา ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๒ ๑/๒ นิ้ว
จานวน ๓๐ ชิ้นต่อ ๑ ใบ รวม ๙๐๐ ชิ้น
 พับยอดกระหนกกลีบนิ้วมือนาง ฉีกใบตอง ขนาด ๒ x ๕ นิ้ว จานวน ๓๐ ชิ้น
 ห่อยกยอกลีบนิ้วมือนางยอดกระหนก ๒ ชั้น ฉีกใบตอง ขนาด ๑ x ๖ นิ้ว
จานวน ๖๐ ชิ้น
 พับยอดกระหนกด้านใน ๓ ชั้น ฉีกใบตอง ด้านนอก ๑๑ ชั้น
ขนาด ๑ ๑/๒ x ๔ นิ้ว จานวน ๘๔๐ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๑
เรื่องที่ ๕.๒ การเตรียมส่วนประกอบพานบายศรีพญานาค

การเตรี ย มส่ ว นประกอบพานบายศรีพญานาคเป็นขั้นตอนการประดิษฐ์ ส่ว นต่าง ๆ ที่จะนามา


ประกอบเป็นพาน ได้แก่ ตัวบายศรี ส่วนประกอบตัวพญานาค และกรวยบายศรี ซึ่งมีรายละเอียดและ
ขั้นตอนการประดิษฐ์ดังนี้

๕.๒.๑ แม่บายศรีหรือยอดบายศรี
แม่บายศรีพญานาคนี้จะประกอบด้วย ๒ ส่วนคือส่วนที่เป็นยอด
แม่บายศรีแบบยกยอและแบบกระหนกมาประกอบกันเพิ่มความสวยงาม
ให้กับตัวบายศรี

๑) ยอดแม่บายศรีแบบยกยอ

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘

๑. - ๕. พับกลีบนิ้วมือนาง
๖. สอดลวดเข้าด้านในกลีบนิ้วมือนางแล้วเย็บ
๗. – ๙. ยกยอกลีบนิ้วมือนางจานวน ๙ ชั้น เป็นตัวแม่ ๙

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๒
๒) ยอดบายศรีแบบกระหนก

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑๓ ๑๔ ๑๕

๑ พับม้วนกลีบนิ้วมือนาง
๒. - ๖. ห่อกลีบยกยอหรือยกนมลดจากยอดกลีบนิ้วมือนาง ๑ นิ้ว
๗. ห่อยกยอเพิ่มอีกรวม ๔ ชั้น เย็บไว้
๘. พับกลีบกุหลาบสวมเข้าข้างกลีบยกยอด้านขวาบิดลงเล็กน้อย
๙. - ๑๐. ตัดชายด้านล่างออกเฉียงเข้าด้านใน
๑๑. สวมกลีบกุหลาบตามขั้นตอน ๘ – ๑๐ จานวน ๙ ชั้น บิดให้โค้ง
๑๒. - ๑๓. ตัดชายโค้งด้านในออก เป็นยอดด้านขวา
๑๔. ทายอดด้านซ้ายตามขั้นตอนที่ ๑ – ๑๓ จัดโค้งให้ได้ขนาดเท่ากับด้านขวา
๑๕. นายอดซ้ายและขวาเย็บติดกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๓
๑๖ ๑๗ ๑๘

๑๙ ๒๐ ๒๑

๑๖. พับใบตองเป็นชายธงห่อด้านล่างพันรวบให้แน่นแล้วเย็บติด
๑๗. – ๒๐. ห่อยกยออีก ๓ ชั้น กดให้สันทบแบะลง พักไว้ ทาทั้งหมด ๑๘ ชิ้น
๒๑. นายอดบายศรียกยอวางทับกระหนก แล้วห่อยกยอ เป็นตัวแม่ ทาไว้จานวน ๑๘ ชิ้น

๕.๒.๒ ลูกบายศรีแบบหน้านาคยกยอ

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๑. จั บ ใบตองด้า นแข็ งอยู่ ข วามือ พับชายใบตองด้ านขวาเฉี ยงลงจากกึ่ง กลางใบตอง ๑/๔ นิ้ ว
มือซ้าย จับปลายกลีบแหลมไว้
๒. พับม้วนกลีบม้วนเข้าไปอีกให้แน่นรักษายอดกลีบไม่ให้คลายออกเมื่อถึงจุดกึ่งกลางแล้วหยุด
๓. – ๕. พับชายใบตองด้านซ้ายเฉียงลงแล้วพับม้วนกลีบเข้าหาจุดกึ่งกลางชนกับกลีบด้านขวาเย็บไว้
เรียกว่ากลีบหน้านาค
๖. ห่อยกยอโดยจับใบตองด้านแข็งไว้ขวามือพับใบตองทางด้านขวาเฉียงลง ๔๕ องศา จากจุด
กึ่งกลางใบตอง

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๔
๗ ๘

๑๐ ๙

๑๑ ๑๒

๗. พับทบเข้าไปตั้งฉากจุดกึ่งกลางใบตอง
๘. – ๙. พับใบตองทางด้านซ้ายเฉียงลง ๔๕ องศา พับทบเข้าไปตั้งฉากจุดกึ่งกลางใบตองชนกับสันทบ
ด้านขวา
๑๐. นากลีบหน้านาคมาวางลงในกลีบข้อ ๙ ลดจากยอดกลีบ ๑/๒ นิ้ว
๑๑. ยกกลีบทางขวาทับกลีบหน้านาคเบี่ยงขึ้นไปทางซ้าย
๑๒. ยกกลีบทางซ้ายเบี่ยงขึ้นไปทางขวาทบสันทบด้านขวาจัดให้กลีบหน้านาคตั้งตรง แล้วเย็บติด

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๕
๕.๒.๓ การเข้าตัวบายศรี

๑ ๒ ๓

๔ ๕

๗ ๘

๙ ๑๐

๑. นาตัวลูกวางต่อจากตัวแม่แล้วห่อหรือนุ่งผ้าแบบยกยอ
๒. – ๓. นุ่งผ้าชั้นถัดไปให้วางผ้านุ่งให้เสมอกับสันทบผ้านุ่งชั้นก่อนหน้า
๔. – ๖. นุ่งหรือห่อตัวลูกจนครบจานวนชั้น คือ ๕ ชั้น ๗ ชั้น และ ๙ ชั้น
๗. พับใบตองเป็นชายธง
๘. นาชายธงปิดทับด้านหน้า
๙. – ๑๐. รวบชายธงไปด้านหลังเก็บชายส่วนเกินเข้าด้านใน เย็บทั้งด้านหน้าและด้านหลัง

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๖
๕.๒.๔ การประดิษฐ์กรวยจีบ

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘

๑. พับใบตองเฉียงตามยาวรีดสันทบเบา ๆ
๒. วางใบตองข้อ ๑ เรียงทับกันระยะห่าง ๑/๒ นิ้ว
๓. – ๔. เย็บกลีบด้านล่างติดกัน ได้ระยะครึ่งวงกลมแล้วหยุด
๕. จับจีบด้านบนซ้อนทับกันแล้วเย็บติดเป็นจีบพีทรูปกระโปรง
๖. ทาเพิ่มอีก ๒ – ๓ ชิ้น
๗. นาจีบพีทในข้อ ๖ เย็บต่อกันทั้งด้านล่างและด้านบนตามโค้ง
๘. – ๙. จับยอดกรวยรวบแล้วเย็บให้กลีบพีทติดกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๗
๕.๒.๕ การประดิษฐ์ลาตัวพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. ตัดโฟมเป็นรูปตัว S แล้วเกาด้านข้างออกให้เรียบมนตามรูป
๒. ปิดด้านหน้าส่วนบนด้วยใบตองช่วงยาวใช้ตะปูเข็มตรึงไว้
๓. พันใบตองปิดโครงแบบโฟมจนเต็มตัว
๔. ใช้ใบตองหรือใบพลับพลึงช่วงยาว พับด้านขวาตั้งฉากกึ่งกลาง
๕. พับอีกด้านลงตั้งฉาก
๖. พับทบเข้าหากันแล้วตะแคงลงให้สันทบอยู่ด้านบน
๗. พับชายด้านบนลงมาตั้งฉากชนริมกลีบด้านหน้า
๘. พับไปด้านหน้าอีกทบ
๙. พลิกกลับทาเช่นเดียวกันกับ ๗ -๘ เป็นกลีบคอม้า
๑๐. จับชายด้านล่างทั้งสองของกลีบคอม้ากางออก
๑๑. นากลีบข้อ ๑๐ ไปจัดวางด้านล่างของโครงแบบยึดด้านข้าง ๒ ด้านด้วยตะปูเข็ม
๑๒. ชั้นถัดขึ้นไปจัดวางให้ปลายแหลมของกลีบตรงกันระยะห่างชั้นละ ๑ นิ้ว ทาจนถึงรอยหยักคอ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๘
๕.๒.๖ การประดิษฐ์ปิดหน้าพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. พับกลีบนิ้วมือโดยใส่ลวดไว้ภายในกลีบ
๒. ห่อยกยอกลีบนิ้วมือนางชั้นแรกเสร็จพลิกไปด้านหลังเย็บริบบิ้นติด
๓. ห่อยกยอต่ออีก ๒ ชั้น รวมเป็น ๓ ชั้น
๔. -๖. พับกลีบแหลมตามภาพ
๗. นากลีบแหลมไปสวมเข้าข้างด้านขวากลีบยกยอข้อ ๓ พับสันทบด้านล่างกลับเป็นกลีบกุหลาบ
๘. พับกลีบกุหลาบด้านซ้ายตรงข้ามเสมอด้านขวา
๙. พับกลีบกุหลาบสลับขวา – ซ้าย ให้กลีบกางออกจนครบ ๔ ชั้น
๑๐. - ๑๒. ห่อยกยอเป็นลายเปียลงไปจนครบ ๑๕ ชั้น พักไว้แต่ละชั้นเย็บทั้งด้านหน้าและด้านหลัง

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๐๙
๕.๒.๗ การประดิษฐ์ลิ้นพญานาค

๑ ๒

๓ ๔

๕ ๖

๑. พับกลีบนิ้วมือนางแล้วสอดลวดไว้ด้านใน
๒. ด้านหลังกลีบนิ้วมือนางเย็บริบบิ้นติดความยาวเท่าลวด
๓. ตัดครึ่งใบกระบือเอาแกนใบออก
๔. นาใบกระบือมาห่อยกยอจานวน ๔ – ๕ ชั้น
๕.- ๖. ห่อยกยอด้วยใบตองต่อ จานวน ๒๐ – ๒๕ ชั้น

หมายเหตุ ถ้าไม่มีใบกระบือใช้ริบบิ้น หรือใช้ใบตองล้วนก็ได้

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๐
๕.๒.๘ การประดิษฐ์ขอบปากบนพญานาค

๑ ๒

๓ ๔

๕ ๖

๑. พับกลีบยกยอจานวน ๒ ชั้น
๒. พับกลีบกุหลาบเข้าด้านข้างทั้งสองด้านสลับซ้ายขวาด้านละ ๓ กลีบ
๓. ชั้นถัดไปเข้ากลีบกุหลาบด้านซ้ายด้านเดียวโค้งลงจานวน ๙ – ๑๑ กลีบ
๔. – ๕. ตัดชายด้านในส่วนโค้งออกทิ้ง
๖. ทาด้านขวาเพิ่มอีก ๑ อัน ให้เทียบระดับความโค้งให้เท่ากับด้านซ้าย

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๑
๕.๒.๙ การประดิษฐ์ขอบปากล่างพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. พับกลีบยกยอ ๒ ชั้น
๒. พับกลีบกุหลาบเข้าด้านข้างทั้งสองด้านสลับซ้ายขวาด้านละ ๒ กลีบ
๓. – ๕. ชั้นถัดไปเข้ากลีบกุหลาบด้านขวาด้านเดียวโค้งลงจานวน ๗ กลีบ ขณะทาให้ตัดชายส่วนเกินออก
เพื่อเพิ่มความโค้ง
๖. – ๗. ตัดชายใบตองด้านในส่วนโค้งออก
๘. พับกลีบกุหลาบสวมเข้าตรงส่วนโค้งด้านใน (โค้งกลับ)
๙. ขณะทาให้ตัดชายใบตองเฉียงเข้าเพื่อเพิ่มความโค้ง
๑๐. พับกลีบกุหลาบเป็นโค้งต่อจนครบ ๑๕ กลีบ พยายามให้งอขึ้นเหมือนลายกระหนก
๑๑. – ๑๒ . ตัดชายใบตองด้านในส่วนโค้งออก ทาเพิ่มด้านซ้ายอีก ๑ อัน ดัดโค้งงอให้เสมอกันเป็นรูปตัว S
เรียกกระหนกหางหงส์

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๒
๕.๒.๑๐ การประดิษฐ์เคราพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑. พับกลีบยกยอ ๒ ชั้น
๒. พับกลีบกุหลาบเข้าด้านข้างทั้งสองด้านสลับซ้ายขวาด้านละ ๒ กลีบ
๓. – ๕. ชั้นถัดไปเข้ากลีบกุหลาบด้านขวาด้านเดียวโค้งลงจานวน ๗ กลีบ ขณะทาให้ตัดชายส่วนเกิน
ออกเพื่อเพิ่มความโค้ง ทาด้านซ้ายเพิ่มอีก ๑ อัน
๖. ตัดชายใบตองด้านในส่วนโค้งออกเป็นรูปกระหนก
๗. นากระหนกซ้าย – ขวา ประกบกันแล้วเย็บติด
๘. – ๙. พันโคนด้านล่างด้วยใบตองแล้วเย็บติด

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๓
๕.๒.๑๑ การประดิษฐ์ตาพญานาค
ตาพญานาค จะประกอบด้วย ตาชั้นในหรือตาด้านบน ตาชั้นนอกหรือตาด้านล่าง และกระหนกรอง
ขอบตาสองด้านซ้ายขวา จะประดิษฐ์เป็นคู่ สาหรับหน้าข้างซ้ายและข้างขวา ส่วนของดวงตาจะใช้เป็นตา
ตุ๊กตาสาเร็จ หรือประดิษฐ์ตกแต่งเป็นวงดอกไม้ก็ได้ มีขั้นตอนประดิษฐ์ ดังนี้
ตาชั้นนอก
ตาชั้นใน

กระหนกรองตา
กระหนกรอง
ตาตา
๑) การประดิษฐ์ตาพญานาคชั้นใน

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๑. พับกลีบยกยอ ๔ ชั้น แล้วพับกลีบกุหลาบเข้าด้านข้างสลับซ้ายขวา


๒. - ๓. เข้ากลีบกุหลาบทุกชั้นโดยเบี่ยงหรือเฉียงกลีบออกด้านข้าง
๔. ในการเข้ากลีบกุหลาบแต่ละชั้นให้ตัดชายใบตองด้านล่างเฉียงเข้า
๕. - ๖. เข้ากลีบกุหลาบด้านข้างจานวน ๗ ชั้น (ข้อ ๕ ภาพด้านหน้า และ ข้อ ๖ ภาพด้านหลัง)
ทาไว้จานวน ๒ ชิ้น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๔
๒) การประดิษฐ์ตาพญานาคชั้นนอก

๑ ๒ ๓

๑. พับกลีบยกยอ ๔ ชั้น
๒. เข้ากลีบกุหลาบซ้ายสลับขวา ใช้ใบตองชิ้นใหญ่กว่าตาชั้นใน
๓. ชั้นถัดไปเข้ากลีบกุหลาบโดยเบี่ยงยอดแหลมออก
๔. ตัดชายด้านล่างกลีบกุหลาบทุกชั้น
๕. ทาจนครบ ๙ ชั้น เมื่อถึงชั้นล่างสุดกลีบจะกางออกเกือบเป็นเส้นตรง ทาไว้จานวน ๒ ชิน้ สาหรับ
ด้านซ้ายและขวา

ภาพที่ ๕.๔ แสดงตาชั้นนอกและตาชั้นในเมื่อประกอบกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๕
๓) กระหนกรองตาพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑. พับกลีบยกยอ ๒ ชั้น แล้วตัดชายใบตองด้านล่างออกเฉียงเข้าด้านใน


๒. เข้ากลีบกุหลาบด้านซ้ายเฉียงเข้ากึ่งกลาง
๓. เข้ากลีบกุหลาบทางด้านขวาอีกกลีบทับกลีบด้านซ้าย
๔. เข้ากลีบกุหลาบอีก ๒ ชั้น จนครบ ๓ ชั้น แต่ละชั้นห่างกัน ๑/๔ นิ้ว เป็นส่วนยอดกระหนก
๕. เข้ากลีบกุหลาบทางด้านขวาบิดเฉียงไปทางซ้ายเป็นส่วนโค้งชั้นที่ ๑
๖. เข้ากลีบกุหลาบทางด้านขวาบิดเฉียงไปทางซ้ายเป็นส่วนโค้งชั้นที่ ๒ และ ๓ โดยให้ห่างกัน
ชั้นละ ๑/๔ นิ้ว จนครบ ๗ ชัน้
๗. - ๘. ตัดใบตองส่วนเกินทางด้านซ้าย โดยตัดให้โค้งเป็นครึ่งวงกลมจากด้านล่างกลีบกุหลาบชั้นที่ ๓
ของส่วนยอดกระหนกลงไปจนสุด
๙. ทากระหนกข้างซ้ายตามขั้นตอนที่ ๑ - ๘ สลับโค้งลงทางซ้าย

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๖
๕.๒.๑๒ การประดิษฐ์หงอนพญานาค
หงอนพญานาค หมายถึง ส่วนที่อยู่ด้านบนของหัวของตัวพญานาค พระอาจารย์วิชัยแห่ง
วัดหนองปลาปาก อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่ท่านเป็นผู้ช านาญเรื่องการประดิษฐ์ พานบายศรี
พญานาคท่านเรียกว่า หงอนพญานาค ซึ่งประกอบด้วย หงอนเล็ก และหงอนใหญ่ โดยหงอนใหญ่จะถูกจัด
วางไว้ด้านหน้า และหงอนเล็กถูกจัดวางไว้ด้านหลังเรียงกัน มีวิธีการประดิษฐ์ดังนี้

๒) หงอนใหญ่ ๑) หงอนเล็ก

ใหญ่

๑) หงอนเล็ก

๑ ๒

๓ ๔

๑. พับกลีบตัวลูกบายศรียกยอจานวน ๓ ชั้น ๔ กลีบ และพันนิ้วมือนางสอดลวดไว้ด้านในแล้วห่อยก


ยอเป็นลายเปีย จานวน ๒๐ – ๒๕ ชั้น
๒. นากลีบบายศรีวางบนลายเปียด้านล่างแล้วนุ่งผ้าแบบยกยอ
๓. – ๔. นุ่งยกยอตัวลูกจนครบ ๔ ชั้น ปิดหน้าด้วยชายธง

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๗
๒) หงอนใหญ่

๑ ๒

๓ ๔

๕ ๖

๑. เตรียมกระหนก ๗ ชั้นเย็บประกอบซ้ายขวา ๑ ชิ้น ยกยอลายเปีย ๑๓ ชั้น ๒ ชิ้น ยกยอลายเปีย


๒๕ ชั้น ๑ ชิ้น ตัวลูกบายศรียกยอ ๓ ชั้น ๙ ตัว
๒. นากระหนกวางด้านหลังเปีย ๒๕ ชั้นแล้วนุ่งผ้าแบบยกยอ
๓. วางตัวลูกบายศรียกยอด้านหน้าล่างของลายเปียแล้วนุ่งผ้าแบบยกยอจานวน ๓ ตัว
๔. วางยกยอลายเปีย ๑๓ ชั้น ต่อแล้วนุ่งผ้าแบบยกยอ
๕. วางตัวลูกบายศรียกยอนุ่งผ้าแบบยกยออีก ๓ ตัว
๖. วางยกยอลายเปีย ๑๓ ชั้น ต่อแล้วนุ่งผ้าแบบยกยอ วางตัวลูกบายศรียกยอนุ่งผ้าแบบยกยออีก
๓ ตัว แล้วปิดทับด้านหน้าด้วยชายธง

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๘

๘ ๙

๗. ประดิษฐ์กระหนก ๑๓ ชั้น ซ้ายและขวา จานวน ๒ ชิ้น


๘. ประดิษฐ์กระหนกหางหงส์ตามอย่างขอบปากบน ซ้ายและขวา จานวน ๒ ชิ้น
๙. นาชิ้นงานข้อ ๗ ติดขอบข้างหงอนใหญ่ด้านบน และนาชิ้นงานข้อ ๘ ติดทับด้านล่างกระหนก
ชิ้นงานข้อ ๗ ทาทั้งสองด้าน จัดวางให้เท่ากัน

๕.๒.๑๓ การประดิษฐ์เกร็ดหลังพญานาค

๑ ๒ ๓
๑. พับกลีบยกยอ ๑ ชั้น จานวน ๓๐ ตัว
๒. เย็บริบบิ้นขนาดความยาว ๕๐ เซนติเมตรไว้ด้านหลัง
กลีบยกยอตัวแรก
๓. นุ่งผ้าแบบยกยอระยะห่างชั้นละ ๑/ ๒ นิ้ว
๔. นุ่งผ้ายกยอจนครบ ๓๐ ตัว ขณะนุ่งผ้าให้เย็บทั้ง
ด้านหน้าและด้านหลัง หากความยาวไม่พอกับหลัง
พญานาคให้พับกลีบและนุ่งผ้าเพิ่มอีก

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๑๙
๕.๒.๑๔ การประดิษฐ์เกล็ดข้างตัวพญานาค

๑) การพับกลีบบัวสายแปลง

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑. กางใบกระบือหันสีเขียวเข้าหาตัว ด้านแข็งอยู่ขวามือพับครึ่งเพื่อหาจุดกึ่งกลางแล้วกางออก
๒. พับเฉียงลง ๔๕ องศา จากจุดกึ่งกลาง
๓. พับทบลงเข้าไปตั้งฉากกึ่งกลาง
๔.- ๕. พับอีกด้านเช่นเดียวกับ ข้อ ๒ และข้อ ๓
๖. พลิกกลับด้านหลัง
๗. พับสันทบด้านขวาทแยงไปทางซ้าย
๘. พับสันทบด้านซ้ายทแยงไปทางขวา เป็นกลีบบัวสาย ดึงด้านล่างกลีบออกเล็กน้อย เรียกกลีบ
บัวสายแปลง แล้วเย็บติด

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๐
๒) การพับกลีบเล็บครุฑ

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๑. - ๕. พับใบตองตามขั้นตอนการพับกลีบบัวสายแปลง
๖. พับสันทบด้านขวาทแยงลงไปทางซ้าย
๗. พับสันทบด้านซ้ายทแยงลงไปทางขวาทับสันทบด้านขวาเป็นกลีบเล็กครุฑ

๓) การพับกลีบเล็บครุฑสอดไส้กลีบบัวสายแปลง

๑ ๒ ๓

๑. พับกลีบเล็บครุฑตามขั้นตอนการพับกลีบเล็บครุฑข้อ ๑ – ข้อ ๕ แล้วนากลีบบัวสายแปลงวางทับ


กึ่งกลางกลีบลดจากยอดแหลมเล็กน้อย
๒. พับสันทบกลีบล่างด้านขวาทแยงลงไปทางซ้าย
๓. พับสันทบกลีบล่างด้านซ้ายทแยงลงไปทางขวา ทับสันทบด้านขวา รัดกลีบบัวสายแปลงช่วงโค้ง
ใช้เป็นเกร็ดข้างตัวพญานาค

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๑
เรื่องที่ ๕.๓ การประดิษฐ์ส่วนตกแต่งพานบายศรีพญานาค

ส่วนตกแต่งพานบายศรีพญานาค เป็นส่วนที่ประดิษฐ์เพิ่มเติมเพื่อความสวยงามของพาน ได้แก่


การประดิษฐ์ตัวแซมแบบกระหนก การเย็บแบบดวงตาพญานาค
การตกแต่งกรวยจี บ มาลัย ตุ้ม มาลัย คล้ องกรวย เฟื่อง และ
ดอกทัดหู มีขั้นตอนการประดิษฐ์ดังนี้

๕.๓.๑ การประดิษฐ์ตัวแซมแบบกระหนก
ตัวแซมกระหนกมีขั้นตอนประดิษฐ์หลายขั้นตอน ได้แก่ เตรียมแบบใบโพธิ์ พับกลีบเล็บครุฑ
เป็นกลีบแต่ง นากลีบเล็บแต่งไปเย็บใส่แบบใบโพธิ์พับกระหนกรองด้านข้าง ๒ ชิ้น มีขั้นตอนประดิษฐ์
ดังนี้
๑) การเย็บแบบใบโพธิ์

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๑. ตัดกระดาษเป็นรูปใบโพธิ์ ๓ ขนาด สาหรับพานบายศรี ๓ ชั้น นามาวางบนใบตองที่สลับทางกัน


๔ ชิ้น
๒. ตัดใบตองตามแบบเย็บตรึงตรงกลาง สอดลวดตัว U ไว้ด้านใน
๓. พับกลีบยกยอหรือยกนม ๓ ชั้น นามาวางบนยอดแหลมของแบบแล้วเย็บติด
๔. – ๕. เย็บใบตองกลีบกุหลาบโค้งลงทางด้านขวาระยะห่างแต่ละชั้น ๑/๔ นิ้ว จนเต็มขอบใบ
๖. เย็บใบตองกลีบกุหลาบโค้งลงทางด้านซ้ายจนเต็มขอบใบเช่นเดียวกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๒
๒) การพับกลีบเล็บครุฑสอดไส้ดอกพุด

๑ ๒ ๓ ๔

๕ ๖ ๗

๑. จับใบตองด้านแข็งไว้ทางขวา พับเฉียงใบตองลงล่าง ๔๕ องศา


๒. พับเข้าอีกครั้งสันทบตั้งฉากกึ่งกลาง
๓. – ๔. พับด้านซ้ายเช่นเดียวกับด้านขวาได้รูปสามเหลี่ยมสันทบตั้งฉากชิดกัน
๕. วางดอกพุดกึ่งกลางลดจากปลายแหลมเล็กน้อย
๖. พับสันทบด้านขวาไปทางซ้าย
๗. พับสันทบด้านซ้ายไปทางขวาเกยทับกันดับสันทบด้านขวา

๓) การเย็บกลีบแต่งใบโพธิ์

๑ ๒ ๓ ๔

๕ ๖ ๗ ๘

๑. ชั้นที่ ๑ นากลีบเล็บครุฑสอดไส้ดอกพุดกลีบแรกวางตรงกลางระหว่างกลีบกุหลาบด้านข้างชั้น
ที่ ๑ แล้วเย็บติด
๒. – ๓ ชั้นที่ ๒ กลีบที่ ๒ วางด้านข้างกลีบที่ ๑ ด้านซ้ายปลายแหลมอยู่เสมอโค้งกลีบชั้นแรก แล้วเย็บติด
กลีบที่ ๓ วางด้านข้างกลีบที่ ๑ ด้านขวาปลายแหลมอยู่เสมอโค้งกลีบชั้นแรก แล้วเย็บติด
๔. – ๕. ชั้นที่ ๓ วางกลีบแรกข้างกลีบชั้น ๒ ด้านซ้ายปลายแหลมอยู่เสมอโค้งกลีบชั้น ๒ กลีบต่อไปวาง
สับหว่างไปทางขวาจนครบ ๓ กลีบ
๖. – ๗. ชั้นที่ ๔ เย็บสับหว่างเช่นเดียวกับชั้นที่ ๓ จานวน ๔ กลีบ
๘. ชั้นที่ ๔ เย็บสับหว่างเช่นเดียวกับชั้นที่ ๔ จานวน ๕ กลีบ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๓
๔) การพับกระหนกรองใบโพธิ์

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙
๓๓
๑. พับกลีบยกยอ ๔ ชั้น จานวน ๒ ชิ้น
๒. พับกลีบกุหลาบสวมเข้าข้างกลีบยกยอด้านขวาบิดลงเล็กน้อย
๓. – ๔. ตัดชายด้านล่างออกเฉียงเข้าด้านใน
๕. สวมกลีบกุหลาบตามขั้นตอน ๓ – ๔ จานวน ๙ ชั้น บิดให้โค้ง
๖. – ๗. ตัดชายใบตองโค้งด้านในทิ้งโดยตัดจากบนลงล่าง เป็นกระหนกรองด้านขวา
๘. ทาด้านซ้ายตามขั้นตอนที่ ๖ – ๗ โดยเปลี่ยนเข้ากลีบกุหลาบทางด้านซ้ายของกลีบยกยอ จัดโค้ง
ให้ได้ขนาดเท่ากับกระหนกรองด้านขวา
๙. นากระหนกซ้าย – ขวา ไปเย็บใส่ด้านหลังของใบโพธิ์

๕.๓.๒ ดวงตาพญานาค
การประดิษฐ์ดวงตาพญานาค โปรดดูขั้นตอนการประดิษฐ์
ในหัวข้อ ๔.๓.๓ การประดิษฐ์ดอกทัดหู หน้า ๘๒

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๔
๕.๓.๓ การตกแต่งกรวยจีบ
การตกแต่งกรวยจีบที่ได้จัดทาไว้ข้างต้นนั้น จะประดิษฐ์กระทงรองกรวยกลีบกุหลาบและทากรวย
แต่งอันเล็กปิดครอบทับยอดกรวยจีบอีกชั้นหนึ่ง ตามขั้นตอนดังนี้
๑) การเย็บกระทงกลีบกุหลาบ

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. จับใบตองให้ด้านแข็งอยู่ขวามือ
๒. พับครึ่งหาจุดกึ่งกลาง
๓. กางออกพับริมด้านขวาลงมาตั้งฉากกึ่งกลาง
๔. พับริมด้านซ้ายลงมาตั้งฉากกึ่งกลางชนด้านขวาเป็นรูปสามเหลี่ยม
๕. พับทบเข้า
๖. พับสันทบด้านบนไปทางขวาเป็นกลีบกุหลาบ
๗. พับอีกกลีบนามาสอดเข้าด้านหลังสันทบกลีบแรกให้สันทบโค้งกลีบแรกทับกลีบที่ ๒
๘. พับกลีบที่ ๓ สอดเข้าหลังกลีบที่ ๒ แล้วเริ่มเย็บจากด้านหลังไปด้านหน้า
๙. พับกลีบต่อไปสอดเข้าด้านหลังต่อกันแล้วเย็บที่ละกลีบ จนได้ขนาดความยาวรอบปากกรวย
๑๐. ตัดด้ายที่เย็บในร่องของกลีบแรก
๑๑. สอดกลีบสุดท้ายเข้าในร่องของกลีบแรกแล้วเย็บต่อกัน
๑๒. ตัดริมด้านล่างให้เสมอกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๕
๒) การถักรัดข้อ

๑ ๒ ๓ ๔

๕ ๖ ๗ ๘

๙ ๑๐ ๑๑

๑๒ ๑๓ ๑๔

๑๕ ๑๖

๑. วางริบบิ้นบนกึ่งกลางใบตอง
๒. – ๕. ห่อแบบยกยอแล้วเย็บติด
๖. - ๗. ตัดชายใบตองด้านล่างเฉียงเข้าด้านใน
๘. ชั้นถัดไปวางใบตองเสมอสันทบด้านบนแล้วห่อยกยอเป็นลายเปียเสมอกันลงไป
๙. เปียจนได้ความยาวที่ต้องการ
๑๐. ตัดปลายกลีบสุดท้ายเฉียงเข้าด้านในให้แหลม
๑๑. - ๑๒. ดึงกลีบเริ่มแรกออก ๓-๔ กลีบ ให้พอดีกับปลายแหลมสอดเข้าได้
๑๓. – ๑๔. ขดรัดข้อเป็นวงเอาปลายแหลมสอดเข้ากลีบแรกให้แน่น
๑๕. - ๑๖. เย็บด้านในของรัดข้อจัดให้เป็นวงกลม

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๖
๓) การตกแต่งกรวยจีบ



๑. พับกรวยเล็กขนาดครอบยอดกรวยจีบได้
๒. พับกลีบเล็บมือนางซ้อนสอดไส้บัวสายแปลงใบกระบือ เย็บรอบกรวย
๓. นารัดข้อ (ตะขาบ) รัดด้านล่างปากกรวย
๔. - ๕. เย็บกระทงกลีบกุหลาบ
๖. จัดวางกรวยจีบลงในกระทง นากรวยเล็กสวมทับยอดกรวยจีบ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๗
๕.๓.๔ การประดิษฐ์ดอกข่าด้วยดอกพุด

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑

๑. ชั้นที่ ๑ เลือกดอกพุดดอกใหญ่ก้านใหญ่แข็งแรง ๑ ดอก


๒. – ๔ ชั้นที่ ๒ เลือกดอกพุดขนาดดอกเท่ากันจานวน ๓ - ๔ ดอก จัดวางลดจากชั้นที่ ๑ ครึ่งดอก
แล้วใช้ด้ายมัดพันลงมาด้านล่าง มัดคล้องให้แน่นแล้วพันกลับขึ้นด้านบนแล้วคล้องมัดอีกครั้ง
๕. – ๗. ชั้นที่ ๓ วางดอกพุดระหว่างช่องว่างของดอกชั้นที่ ๒ แล้วคล้องมัดให้แน่นทีละ ๑ ดอกวนเป็น
วงกลมประมาณ ๔ – ๕ ดอก
๘. ชั้นที่ ๔ วางดอกพุดระหว่างช่องว่างของดอกชั้นที่ ๓ แล้วคล้องมัดให้แน่นทีละ ๑ ดอกวนเป็น
วงกลมประมาณ ๖ – ๗ ดอก
๙. ชั้นที่ ๕ วางดอกพุดระหว่างช่องว่างของดอกชั้นที่ ๔ แล้วคล้องมัดให้แน่นทีละ ๑ ดอกวนเป็น
วงกลมประมาณ ๗ - ๘ ดอก
๑๐. – ๑๑. ถ้าต้องการดอกใหญ่ให้มัดเพิ่มลงไปอีกตามต้องการ แล้วตัดก้านดอกให้เสมอกัน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๘
การนาดอกข่าดอกพุดไปใช้
ดอกข่าที่ประดิษฐ์จากดอกพุดนี้สามารถนาไปใช้ในการประดับตกแต่งพานให้สวยงามด้วยการทา
เป็นช่อดอกประดับยอดตัวแม่บายศรี หรือตกแต่งระหว่างชั้นพานบายศรี หรือนาไปร้อยเป็นอุบะสาหรับ
มาลัยได้ มีวิธีการประดิษฐ์เพื่อการนาไปใช้ดังนี้
การทาก้านดอก

๑ ๒ ๓

๑. หมุนลวดเสียบเข้าระหว่างก้านดอกด้านล่างใช้มือประครองดอกไว้ไม่ให้แตก (ห้ามดันลวด)
๒. ร้อยกลีบเลี้ยงดอกรักขึ้นปิดก้านดอกด้านล่าง
๓. ร้อยขัว้ ชบาพาสติกขึ้นทับกลีบเลี้ยงดอกรัก นาไปเสียบยอดตัวแม่บายศรีแทนมาลัยตุ้มได้

การร้อยตุ้งติ้ง

๑ ๒ ๓


๑. ตัดก้านดอกข่าให้สั้น เตรียมกลีบเลี้ยงดอกรักและขั้วชบาพลาสติก ร้อยด้ายร้อยมาลัยใส่เข็มมือ


๒. ร้อยดอกข่าโดยแทงเข็มเข้าด้านข้างช่อดอกข่าเฉียงขึ้นกึ่งกลางก้านดอกข่า
๓. ร้อยกลีบเลี้ยงดอกรักลงทับก้านดอกข่า
๔. ร้อยขั้วชบาพลาสติกลงทับกลีบเลี้ยงดอกข่าจัดกลีบให้ตรงกัน
๖. ร้อยดอกรักหันปลายแหลมขึ้นด้านบน จานวนดอกแล้วแต่ขนาดการใช้งาน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๒๙
๖.๓.๖ การร้อยมาลัยดอกพุด
มาลัยดอกพุดนี้นาไปใช้ในการคล้องยอดกรวยบายศรีจะร้อยเป็นมาลัยซีก ๓ หลักหรือ ๕ หลักก็ได้
ตามขั้นตอนการประดิษฐ์ดังนี้
๑) มาลัยซีก ๓ หลัก

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑
ภาพที่ ๕.๔ ผังลายมาลัยซีก ๓ หลัก
๑. ร้อยดอกพุด ๒ ดอกไขว้กัน
๒. ชั้นถัดไปร้อยดอกพุด ๑ ดอกวางกึ่งกลางชั้นแรก
๓. – ๕. ชั้นต่อไปร้อยดอกพุด ๒ ดอกและ ๑ ดอกสลับกัน จนเต็มเข็มหรือตามความยาวที่ต้องการ
๖. ร้อยด้ายสาหรับร้อยมาลัยจานวน ๔ เส้น รูดมาลัยออกจากเข็มลงด้ายแล้วมัดเป็นวงกลม
๗. – ๙. ร้อยตุ้งติ้งดอกรัก ๔ ดอก จานวน ๕ สาย
๑๐. รวบตุ้งติ้งรวมกันมัดด้วยด้ายให้แน่นเป็นอุบะ ตัดสายตุ้งติ้งทิ้งเหลือไว้เฉพาะด้ายผูก
๑๑. ผูกอุบะเข้ากับวงมาลัยมัดให้แน่นตัดด้าย

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๐
๒) มาลัยซีก ๕ หลัก

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ภาพที่ ๕.๕ ผังมาลัยซีก ๕ หลัก

๑. ร้อยดอกพุด ๓ ดอกไขว้กัน
๒. ชั้นถัดไปร้อยดอกพุด ๒ ดอกวางกึ่งกลางสับหว่างกับชั้นแรก
๓. – ๔. ชั้นต่อไปร้อยดอกพุด ๓ ดอกและ ๒ ดอกสลับกัน จนเต็มเข็มหรือตามความยาวที่ต้องการ
๖. – ๗. ร้อยด้ายสาหรับร้อยมาลัยจานวน ๔ เส้น รูดมาลัยออกจากเข็มลงด้ายแล้วมัดเป็นวงกลม
๘. ร้อยตุ้งติ้งดอกรัก ๔ – ๕ ดอก จานวน ๕ สาย
๙. รวบตุ้งติ้งรวมกันมัดด้วยด้ายให้แน่นเป็นอุบะตัดสายตุ้งติ้งทิ้งเหลือไว้เฉพาะด้ายผูก
๑๐. ผูกอุบะเข้ากับวงมาลัยมัดให้แน่นตัดด้าย

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๑
๖.๓.๔ มาลัยตุ้มดอกพุด

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. ร้อยดอกรักด้วยเข็มร้อยมาลัยหันก้นดอกขึ้น (ใช้ทางมะพร้าว หรือลวดเบอร์ ๒๐ ก็ได้)


๒. - ๔. ชั้นที่ ๑ ตัดก้านดอกพุดให้สั้น ร้อยดอกพุดลงในเข็มชนดอกรักวนเป็นวงกลม ๕ ดอก
๕. - ๖. ชั้นที่ ๒ ร้อยดอกพุด จานวน ๖ ดอก ส่งดอกเลยชั้นที่ ๑ ครึ่งดอก
๗. - ๘. ชั้นที่ ๓ ร้อยดอกพุด จานวน ๗ ดอก ส่งดอกเลยชั้นที่ ๒ ครึ่งดอก
๙-๑๐ ชันที่ ๔ ร้อยดอกพุด จานวน ๘ ดอก ส่งดอกเลยชั้นที่ ๓ ครึ่งดอก
๑๑ ๑๒ ชั้นที่ ๕ ร้อยดอกพุด จานวน ๙ ดอก ส่งดอกเลยชั้นที่ ๔ ครึ่งดอก

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๒
๑๓ ๑๔ ๑๕

๑๖ ๑๗ ๑๘

๑๙ ๒๐ ๒๑

๒๒ ๒๓ ๒๔

๑๓. – ๑๔. ชั้นที่ ๖ ร้อยดอกพุด จานวน ๙ ดอก ส่งดอกเท่าชั้นที่ ๕


๑๕. - ๑๖. ชั้นที ๗ ร้อยดอกพุด จานวน ๘ ดอก ส่งดอกเท่าชั้นที่ ๔
๑๗. - ๑๘. ชั้นที่ ๘ ร้อยดอกพุด จานวน ๗ ดอก ส่งดอกเท่าชั้นที่ ๓
๑๙. – ๒๐. ชั้นที่ ๙ ร้อยดอกพุด จานวน ๖ ดอก ส่งดอกเท่าชั้นที่ ๒
๒๑. - ๒๒. ชั้นที่ ๑๐ ร้อยดอกพุด จานวน ๕ ดอก ส่งดอกเท่าชั้นที่ ๑
๒๓. ร้อยดอกรักเอาก้นดอกลง
๒๔. ยอดบนร้อยดอกพุด ทาเตรียมไว้ตามจานวนของตัว
บายศรี ๑๘ – ๒๐ อัน

ภาพที่ ๕.๖ ผังมาลัยตุ้ม

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๓
เรื่องที่ ๕.๔ การประกอบและตกแต่งพานบายศรีพญานาค

๕.๔.๑ การเตรียมพาน

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๑. ตัดโฟมเป็นวงกลมลงในพานเล็กและพานใหญ่ แล้วปู
ใบตอง
๒. ตัดโฟมหนา ๓ นิ้ว เป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
เท่ากับพานเล็ก จานวน ๒ ชิ้น แล้ววางซ้อนกันใช้ไม้
เสี ยบอาหารทากาวปักให้ ติดกัน เป็นชั้นที่ ๑ ชั้นถัด
ขึ้นไปลดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลงชั้นละ ๑ นิ้ว
๓. - ๔. พับใบตองตามยาวปิดทับชั้นโฟมชั้ยบายศรีเป็นกลีบ
พีทโดยรอบ
๕. - ๖. นาชั้นบายศรีชั้นที่ ๑ (ชั้นล่าง) มาปักยึดเข้ากับพาน
เล็กด้วยไม้เสียบอาหาร
๗. นาชั้ น บายศรี ชั้ น ถั ด ไปปั ก ยึ ด เข้า กั บ ชั้ น ล่ างเรี ย งลด
ขนาดขึ้นไป

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๔
๕.๔.๒ การประกอบตัวพญานาค

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙

๑. - ๓. นาลาตัวพญานาคที่เตรียมไว้มาติดเกล็ดด้านข้างลาตัวโดยติดเรียงจากด้านล่างขึ้นด้านบน
๔. ติดปิดหน้าพญานาค (ชิ้นส่วนหัวข้อ ๕.๒.๖) จากด้านล่างส่วนหน้าปิดขึ้นมาด้านบนส่วนหัวใช้ลวด
ตัว U ยึดติดให้แน่น
๕. ตัดโฟมเป็นรูปสี่เหลี่ยมแล้วห่อพันด้วยใบตองให้เรียบร้อยนามาเสียบเข้ากับลาคอเป็นช่วงปากยึด
ลวดตัว U
๖. ปักลิ้นเข้าในปาก (ชิ้นส่วนหัวข้อ ๕.๒.๗)
๗. - ๙. นาเกล็ดหลังพญานาค (ชิ้นส่วนหัวข้อ ๕.๒.๑๓) มาติดด้านหลังโดยใช้ไม้เสียบอาหารยึดติดให้แน่น

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๕
๑๐ ๑๑ ๑๒

๑๓ ๑๔ ๑๕

๑๐. ติดหงอนใหญ่ (ชิ้นส่วนหัวข้อ ๕.๒.๑๒) ด้านหน้า ชิด


กับปิดหน้าพญานาคด้วยไม้เสียบอาหาร
๑๑. ติดหงอนเล็ ก (ชิ้ นส่ ว นหั ว ข้อ ๕.๒.๑๒) ด้านหลั ง
๑๖ หงอนใหญ่ด้วยไม้เสียบอาหาร
๑๒. ติดขอบปากบน (ชิ้นส่ ว น ๕.๒.๘) ข้างปิดหน้าทั้ง
สองชิ้นจัดให้เสมอกัน
๑๓. ติดตาล่ างหรือตาชั้นนอก (ชิ้นส่ วน ๕.๒.๑๑) ข้าง
หงอนเล็กโดยใช้ไม้เสียบอาหารปักยึด ทั้งสองด้าน
จัดให้เสมอกัน
๑๗ ๑๔. ติดตาบนหรือตาชั้นใน (ชิ้นส่ ว น ๕.๒.๑๑) ทับตา
ล่างโดยใช้ลวดตัว U ยึดติดให้แน่น ทั้งสองด้านจัด
ให้เสมอกัน
๑๕. ติดกระหนกรองตา (ชิ้นส่วน ๕.๒.๑๑) ต่อจากตา
ชั้นใน ยึดด้วยลวดตัว U ทั้งสองด้านจัดให้เสมอกัน
๑๖. ติดขอบปากล่าง (ชิ้นส่วน ๕.๒.๙) ต่อจากกระหนก
รองตา จัดให้โค้งไปตามของปาก ยึดด้วยลวดตัว U
ทั้งสองด้านจัดให้เสมอกัน
๑๗. ติดเครา (ชิ้นส่วน ๕.๒.๑๐) ใต้ปากยึดด้วยลวดตัว U
๑๘. จัดดัดโค้งงอลิ้นและหงอนให้สวยงามตามต้องการ
๑๘

ข้อควรระวัง
ระหว่างประกอบส่วนหัวอย่ากดแรงโครงโฟมจะหักต้องประคองด้านล่างไว้ด้วย

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๖
๕.๔.๓ การประกอบพานบายศรี

๑ ๒


๑. เสี ย บดอกดาวเรื อ งรอบฐานด้ า นล่ า งของโฟมชั้ น
บายศรี
๒. น าตั ว บายศรี ม าจั ด วางชั้ น ละ ๖ ตั ว สั บ หว่ า งกั น
ทุกชั้น โดยปักตัวบายศรี ๗ ชั้นไว้ล่างสุดและชั้นที่ ๒
ชั้นถัดขึ้นไปเป็นตัวบายศรี ๕ ชั้น
๓. น าตั ว แซมใบโพธิ์ พ ร้ อ มกระหนกรองมาจั ด วาง
ระหว่างตัวบายศรีทุกชั้น
๔. ชั้น บนสุ ดจั ดวางกรวยแต่ ง ปั กยึ ดให้ แน่ นด้ ว ยลวด
ตัว U หรือไม้เสียบอาหาร
๕. ยกตัวพญานาคจัดวางบนพานใหญ่ให้ท้องแอ่นออก
๔ นอกพานเว้นที่หลังพานไว้สาหรับวางพานชั้นบายศรี
ปักยึดด้วยลวดตัว U และไม้เสียบอาหารให้แน่น ติด
ดวงตาให้เรียบร้อยทั้งสองด้าน

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๗
๖ ๗

๖. นาพานเล็กที่จัดวางตัวบายศรี ขึ้นวางบนพานใหญ่ ด้านหลังของพญานาค มัดด้วยฝ้ายเพื่อยึด


พานด้านบนกับด้านล่างไว้ (หากมีลวดใช้ลวดยึดก็ได้แต่จะดูไม่สวยงาม) ปักดอกดาวเรืองให้
เต็มพานใหญ่รอบตัวพญานาค
๗. รัดกรวยด้วยมาลัย (ใช้มาลัยดอกพุดหรือดอกกุหลาบก็ได้)
๘. ตกแต่งด้วยดอกไม้ เสียบยอดบายศรีด้วยมาลัยตุ้ม (มาลัยตุ้มดอกพุด หรือดอกกุหลาบก็ได้)

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๘
ข้อเสนอแนะ
ในขั้นตอนการยกชั้นบายศรีวางบนพานใหญ่นั้นจาเป็นต้องมีคนช่วยยกและจับพานใหญ่ที่มี
ตัวพญานาคไว้ด้วยเพื่อไม่ให้ล้มเอนลงไปด้านหน้า และทบฝ้ายหลาย ๆ เส้นผูกมัดพานเล็กด้วยฝ้ายพัน
โยงลงมาด้านล่างฐานพานใหญ่ และพันฝ้ายอีกชั้นไว้ที่ส่วนคอของพญานาคเข้ากับชั้นบายศรี ดังภาพ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓๙
ภาพที่ ๕.๖ ตัวอย่างพานบายศรีพญานาคแบบต่าง ๆ

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๔๐

You might also like