You are on page 1of 264

ศึกษาวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

ปริญญานิพนธ์
ของ
วรรณี เพลินทรัพย์

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุ ษยดุรยิ างควิทยา
กันยายน 2554
ลิขสิทธิเป็
์ นของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ศึกษาวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

บทคัดย่อ
ของ
วรรณี เพลินทรัพย์

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุ ษยดุรยิ างควิทยา
กันยายน 2554
วรรณี เพลินทรัพย์. (2554). ศึกษาวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ น่ ภิบาล. ปริญญานิพนธ์ ศป.ม.
(มานุษยดุรยิ างควิทยา). กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะกรรมการควบคุม: ดร.ชนิดา ตังเดชะหิรญ ั , ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมพล งามสุทธิ

ศึกษาวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ผูว้ จิ ยั ใช้หลักการวิจยั ทางมานุ ษยดุรยิ างควิทยา


(Ethnomusicology) กาหนดจุดมุง่ หมายของการวิจยั 2 ข้อ คือ
1. เพื่อศึกษาชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
2. เพื่อศึกษาเทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ผลการวิ จยั พบว่า
1. ศึกษาชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เกิดวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ณ จังหวัดจันทบุร ี บิดาชื่อ
ทองอยู่ ปิ่นภิบาล มารดาชื่อ นางวรรณะ ปิ่ นภิบาล มีพน่ี ้องทัง้ หมด 7 คน สมรสกับพลโท ศุภชัย
โพธิ ์ทองนาค มีบุตรธิดา 2 คน จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาสาขาสังคมศึกษา จากมหาวิทยาลัย
รามค าแหง ทิพ ย์ ว ัล ย์ม ีค วามสามารถในการขับ ร้อ งเพลงและได้ เ ข้ า ประกวด ตัง้ แต่ ร ะดับ
ประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษาตลอดมา จึงทาให้มผี ลงานที่สร้างชื่อเสียงได้รบั รางวัลทีส่ าคัญ คือ
รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน 2 ครัง้ รางวัลทีวตี ุ๊กตาทองมหาชน รางวัลกรังด์ปรีซ์ สยามกล
การ มิวสิคฟาวเดชันและรางวั
่ ลพระพิฆเนศทอง 2 ครัง้
2. ศึกษาเทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
2.1 ข้อมูลด้านบทเพลง บทเพลงที่นามาวิจยั เป็ นบทเพลงที่ได้รางวัลแผ่นเสียง
ทองคาพระราชทาน รางวัลทีวตี ุ๊กตาทองมหาชน รางวัลกรังด์ปรีซ์ สยามกลการมิวสิคฟาวเดชัน่
และรางวัล พระพิฆ เนศทอง ซึ่ง ประพัน ธ์โ ดย วราห์ วรเวช พงษ์ พ รหม สนิ ท วงศ์ ณ อยุ ธ ยา
โอฬาร เพียรธรรม ชัยรัตน์ วงเกียรติ ์ขจร ชาลี อินทรวิจติ รและ วิมล จงวิไล โครงสร้างของเพลง
ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบ Ternary Form และ Binary Form
2.2 ข้อมูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้อง พบเทคนิคการขับร้องทีส่ าคัญ มี 3 ประการ คือ
ประการที่หนึ่ง การบังคับควบคุมลมหายใจพบการแบ่งวลีท่มี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน เพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่อง โดยพบการแบ่งลมหายใจแต่ละเพลงตัง้ แต่ 16 วลีถงึ 31 วลี
การลากเสียงยาวเพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลงพบว่า มีทงั ้ การลากเสียงให้สูงขึ้นและต่ าลง ยาว
3 ถึง 6 จังหวะ ส่วนการเอื้อนเสียงใช้เทคนิคการบังคับลมให้สูงขึน้ หรือต่ าลงโดยใช้ลมเดียวกัน
ไล่เสียงตัวโน้ต 2 ถึง 5 ตัวโน้ต ประการทีส่ อง การออกอักขระพบการใช้เทคนิคการเน้นเสียงเน้นคา
การเน้นเสียงให้ดงั ขึน้ การแผ่วเสียง การพลิว้ เสียง การลากเสียง การครวญเสียง การกระโดดเสียง
จากต่ าไปสูงและจากสูงไปต่ า การทอดเสียงขึ้นและลง การผ่อนเสียง เทคนิคการผันอักษรตาม
ทานองพบการใช้เทคนิควิธกี ารผันอักษรร่วมกัน โดยเฉพาะคาร้องทีเ่ ป็ นอักษรสูงมีเสียงวรรณยุกต์
จัตวา จะใช้วธิ กี ารร้องโดยการเปล่งเสียง อักษรต่ าเสียงสามัญและผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกัน
และจบลงด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นวรรณยุกต์เสียงจัตวา ส่วนการร้องคาเป็ นใช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึ้น คาตายใช้เทคนิคการหยุดเสียงให้สนั ้ ตามคาร้องและมีการลากเสียงต่อเฉพาะบางคา
ประการที่สาม การสื่อ ความหมายพบ การใช้สุนทรียรส โดยการใช้เ สียงในการถ่ ายทอดอารมณ์
เปรียบเทียบได้กบั รสของวรรณคดีไทย คือรสนารีปราโมทย์รสแห่งความรัก จะใช้การเน้ นเสียง
และการพลิ้ว เสีย ง รสพิโ รธวาทัง รสแห่ ง ความโกรธ คับ แค้น ใจจะใช้ ก ารทอดเสีย งให้เ บาลง
รสสัลลาปงั คพิสยั รสแห่งความเศร้า เหงา ใช้การครวญเสียง โดยทอดเสียงขึน้ และลงและผ่อนเสียง
ให้เบาลง ส่วนเทคนิคภวารมณียะคือการใช้หน่ วยเสียงสองเสียงขึน้ ลงสลับกันด้วยการพลิ้วเสียง
พบว่ามีใช้ในบทเพลงเป็นส่วนใหญ่
A STUDY OF THIPPAWAN PINPIBAN ’ S SINGING METHODOLOGY

AN ABSTRACT
BY
WANNEE PLERNSAP

Presented in Partial Fulfillment of the Requirements


for the Master of Fine Arts Degree in Ethnomusicology
at Srinakharinwirot University
SEPTEMBER 2011
Wannee Pleansub. (2011). A Study singing method of Thipawan Pinpibal. Master’s Thesis,
M.F.A. (Ethnomusicology). Bangkok : Graduate School of Srinakharinwirot
University, Advisor Committee: Dr. Janida Tangdajahiran, Associate Professor Dr.
Chalermpol Ngamsutti

A Study singing method of Thipawan Pinpibal, researcher used ethnomusicology


p r i n c i p l e s , i n d i c a t e d i n t o 2 o b j e c t i v e s
1. To study biography and works of Thipawan Pinpibal
2. To study singing techniques of Thipawan Pinpibal
Research results found that
1. Study biography and works of Thipawan Pinpibal
Thipawan Pinpibal was born on 14th October 1954 in Chanthaburi province.
Her father’s name is Mr.Thongyoo Pinpibal and mother’s name is Mrs.Wanna Pinpibal. She
has 7 siblings and married with Major General Supachai Pothongnak. She has 2
daughters. She graduated in faculty of Social Science, Ramkhamhaeng university. She
had talent in singing and contested since she studied in elementary to higher education.
She received significant awards such as Royal Gold Record Award (2 times), Public
Television Academy Award, Grand Prix Award, Siam Kolakarn Foundation Award and Phra
Pikanet Tong Award (2 times).
2. Study singing techniques of Thipawan Pinpibal
2.1 Song information – researched songs were the songs which she had
received Gold Record Award, Public Television Academy Award, Grand Prix Award, Siam
Kolakarn Foundation Award and Phra Pikanet Tong Award. All of these songs were
composed by Warah Woradech, Pongsepom Snitwongse Na Ayudhya, Oral piantham,
Chairat Wongkietkajorn, Chalee Intarawijit. Structure of most songs were Ternary From
and Binary Form.
2.2 Singing technique information – There were 3 types of singing techniques.
The first, breath control, it’s found that division of same content phrases used the same air
in singing to make continuity in contents and breath division were from 16 to 31 phrases.
Long sound hauling to get mood corresponding to the songs, it’s found that there were
higher sound and lower sound from 3 to 6 rhythms. In expressing voice she applied air
controlling to be high or low by using the same air and drove voice for 2 to 5 notes. The
second, in expressing characters, it’s found that she used voice stressing to be higher and
lower, fluttering voice, drawling in the voice, humming voice, jumping voice from low to high
and high to low, stretching out high and low voice and relieving voice. In turning
consonants corresponding to rhythm, it’s found that she sang by using consonant altering
technique, especially for high level consonant which had the sound of the forth tonal mark,
she expressed low level consonant, normal tone, jointly turning consonant and tone marks
and ended with nasal tone of voice to be the forth tonal mark. In singing of live syllable
used techniques of drawling in words to be higher, dead syllable used techniques of
diminishing voice to be short according to the words and drawling in some words. The
third, conveying meaning, it’s found that she used aesthetic taste by applying voice to
convey emotion which compared to taste of Thai literature. It meant that Ros Naree
Pramot (taste of love): would stress and flutter voice, Ros Pirotawatang (taste of anger and
rancor): would drawled voice to be softer, Ros Sallabangkapisai (taste of sadness and
loneliness): would hum voice by drawling voice higher and lower, softening voice.
Techniques of Pawarommaneeya was the use of 2 phonemes up and down alternating with
fluttering sound, it’s found that there were in most of the songs.
ปริญญานิพนธ์
เรือ่ ง

ศึกษาวิธกี ารขับร้องของทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล


ของ
วรรณี เพลินทรัพย์

ได้รบั อนุ มตั จิ ากบัณฑิตวิทยาลัยให้นบั เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร


ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยดุรยิ างควิทยา
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

........................................................................ คณบดีบณ
ั ฑิตวิทยาลัย
(รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สันติวฒ ั นกุล)
วันที่ ....... เดือน ............. พ.ศ. 2554

คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ คณะกรรมการสอบปากเปล่า

........................................................ ประธาน ........................................................ ประธาน


(ดร.ชนิดา ตังเดชะหิรญ ั ) (รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา อินทรสุนานนท์)

........................................................ กรรมการ ........................................................ กรรมการ


(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล งามสุทธิ) (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล งามสุทธิ)

........................................................ กรรมการ
(ดร.ชนิดา ตังเดชะหิรญ ั )

........................................................ กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรัณย์ นักรบ)
ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จด้วยดี เนื่องจากผูว้ จิ ยั ได้รบั คาแนะนาอย่างดียงิ่ จากอาจารย์


ดร.ชนิดา ตังเดชะหิรญ ั ประธานที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล งามสุทธิ กรรมการ
ทีป่ รึกษา ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ทีน่ ้ี
ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา อินทรสุนานนท์ รองศาสตราจารย์
ดร.มานพ วิสุทธิแพทย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ประทีป เล้ารัตนอารีย์ อาจารย์สุรศักดิ ์ จานงค์สาร และ
ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวิชาดุรยิ างคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทีใ่ ห้คาแนะนา
และปรึก ษา ขอกราบขอบพระคุณนายแพทย์วราวุฒ ิ สุมาวงศ์ ครูชยั รัต น์ วงศ์เ กียรติ ์ขจร และ
คุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ที่ให้ความอนุ เคราะห์เกี่ยวกับเรื่องที่มาของเพลงไทยสากล
ทีป่ ระพันธ์ให้แก่ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ขัน้ ตอนการประพันธ์เพลงและการต่อเพลงให้กบั ศิลปิน
นอกจากนี้ขอกราบขอบพระคุณ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ทีใ่ ห้ความอนุ เคราะห์สมั ภาษณ์
เรือ่ งประวัติ เทคนิควิธกี ารขับร้องเพลงไทยสากล และขอขอบพระคุณ อาจารย์ปุณญเกษม สระแก้ว
อดีตผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุร ี อาจารย์ดษิ ฐ์ โพธิยารมย์ ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป
จันทบุร ี อาจารย์วณี ลัดดกลม หัวหน้ าภาควิชาคีตศิลป์สากล วิทยาลัยนาฏศิลป อาจารย์ประสาน
ธัญ ญะชาติ ประธานหลักสูตรดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณีท่ใี ห้การสนับสนุ นส่งเสริม
และให้คาปรึกษาจนทาให้ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้อย่างสมบูรณ์ทน่ี ่าภาคภูมใิ จยิง่
หากปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เกิดประโยชน์ประการใดกับผูอ้ ่าน ผูว้ จิ ยั ขอยกคุณความดีเหล่านี้
แก่บดิ า มารดา และครูบาอาจารย์ ที่ได้อบรมสังสอนผู ่ ้วจิ ยั ให้ประสพความสาเร็จมาถึง ณ ปจั จุบนั
ด้วยเทอญ

วรรณี เพลินทรัพย์
สารบัญ

บทที่ หน้า
1 บทนา .................................................................................................................. 1
ภูมหิ ลัง ............................................................................................................. 1
จุดมุง่ หมายของการวิจยั ..................................................................................... 5
ความสาคัญของการวิจยั .................................................................................... 5
ขอบเขตการวิจยั ................................................................................................ 5
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ................................................................................. 7
คานิยามศัพท์เฉพาะ .......................................................................................... 7
กรอบแนวคิดในการวิจยั ..................................................................................... 10

2 เอกสารและงานวิ จยั ที่ เกี่ยวข้อง ......................................................................... 11


เอกสาร ตาราทีเ่ กีย่ วข้องกับงานวิจยั .................................................................. 11
งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ............................................................................................ 23
เว็ปไซต์ทเ่ี กีย่ วข้อง ............................................................................................ 27

3 วิ ธีดาเนิ นการวิ จยั .............................................................................................. 31


การวิจยั เชิงพรรณา ............................................................................................ 31

4 การศึกษาวิ เคราะห์ข้อมูล .................................................................................. 34


วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านชีวประวัตแิ ละผลงาน ............................................................ 34
วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลง ............................................................................... 39
วิเคราะห์ดา้ นเทคนิควิธกี ารขับร้อง ..................................................................... 43
1. เพลงสุดเหงา ............................................................................................. 44
2. เพลงดอกไม้ช่อนี้ ....................................................................................... 63
3. เพลงไฟ .................................................................................................... 87
4. เพลงในโลกบันเทิง .................................................................................... 111
5. เพลงน้าเซาะทราย .................................................................................... 136
6. เพลงอัสดง ............................................................................................... 163
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้า
5 สรุป อภิ ปราย และข้อเสนอแนะ ...................................................................... 188
ความมุง่ หมายของการวิจยั ................................................................................ 188
วิธกี ารดาเนินการวิจยั ........................................................................................ 188
สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ ........................................................................... 188
อภิปรายผล ....................................................................................................... 215
ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................... 216

บรรณานุกรม ......................................................................................................... 217

ภาคผนวก .............................................................................................................. 221

ประวัติย่อผูว้ ิ จยั ..................................................................................................... 252


บทที่ 1
บทนำ

ภูมิหลัง
มนุษย์ในสมัยโบราณใช้เสียงเป็ นเครื่องมือสื่อสารและบอกถึงความรูส้ กึ ทีต่ ้องการให้ บุคคล
อื่นได้ร ับทราบ เสียงสามารถสื่ออารมณ์ ต่ าง ๆ ได้มากมาย เช่ น เสียงร้องด้ว ยความเจ็บปวด
เสียงร้อ งเพราะความเสียงใจ (ร้อ งไห้) เสียงอุ ทานเมื่อ ตกใจ เสียงร้อ งเมื่อ ดีใจ (หัวเราะ) และ
เมือ่ กาลเวลาผ่านไปมนุษย์เริม่ พัฒนาจากเสียงทีส่ ่อื อารมณ์เพียงอย่างเดียวมาเป็ นภาษาพูด ซึง่ แบ่ง
พื้นฐานภาษาไปตามพื้นที่ต่ าง ๆ ของโลกจนกลายมาเป็ นภาษาในปจั จุบ ัน เช่ น ภาษาไทย จีน
ฝรังเศส
่ อังกฤษ และเมือ่ เรานาเสียงพูดมาเรียงร้อยเป็นถ้อยคาทีค่ ล้องจองโดยใส่ทว้ งทานอง จังหวะ
และโน้ตดนตรีลงไปในแต่ละคาจึงเกิดเป็ นเสียงเพลงขึน้ ซึ่งจะมีเอกลักษณ์ต่างกันไปตามพื้นฐาน
ภาษาของแต่ละชาติ ด้วยเหตุน้ที าให้เราสามารถแยกแยะออกได้ว่าเพลงทีไ่ ด้ยนิ อยู่นนั ้ เป็ นของชาติ
ไหน (ปิ่นศิร ิ ศิรปิ ิ่น. 2551: 4)
ดนตรีจงึ เป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ท่มี นุ ษ ย์ได้สร้างและพัฒนาขึ้นมาทีละน้ อย จนในที่สุ ด
ได้กลายเป็ นสิง่ สาคัญส่วนหนึ่งของชีวติ ซึง่ อันทีจ่ ริงมนุ ษย์ทเ่ี กิดมานัน้ ทุกคนมีจงั หวะดนตรี อยู่ใน
ตัวพร้อมมาแล้วตัง้ แต่ต้น นัน่ คือการเต้นของหัวใจ มนุ ษย์มเี สียงที่เกิดจากปอด หลอดลม กล่องเสียง
และรู้จกั ใช้อวัยวะ เช่น ปาก จมูก ลิ้น ล าคอ ท าให้เสียงนัน้ เปลี่ยนแปลงจนกลายเป็ น เสีย งต่ าง ๆ
กลายเป็นเสียงทีท่ าให้เกิดทัง้ อานาจและสื่อความหมาย การแสดงเจตนารมณ์ ความชื่นชม มนุ ษย์
ผลิต เสียงดนตรีจากตัว เองนัน้ ค่อนข้างจากัด มนุ ษย์ จงึ จาเป็ นที่จะต้องสร้างเครื่องเสียงอย่างอื่น
เพิม่ ขึน้ อีก เพื่อใช้การตามความประสงค์ (พูนพิศ อมาตยกุล. 2535: 25 – 26)
ดนตรีเป็ นงานศิลปะและมีการพัฒนา ดนตรีจงึ เป็ นสื่อที่ทาให้ชาติสมบูรณ์และสามารถ
บ่งชี้ได้ชดั เจนว่า ชาติท่เี จริญย่อมมีดนตรีเป็ นเอกลักษณ์ ของตนเอง นอกจากนัน้ ดนตรียงั เป็ นสื่อใน
การศึกษาความเป็ นอยู่ในอดีต และปจั จุบนั ตลอดจนความเจริญรุ่งเรือง หรือความเสื่อมของสังคม
นัน้ ได้เป็ นอย่างดี ดนตรีในสังคมไทยมีววิ ฒ ั นาการมาอย่างต่ อเนื่องจากอดีตสู่ปจั จุบนั ได้สร้าง
รู ป ลัก ษณ์ จ นเป็ น เอกลัก ษณ์ ใ นการแสดงถึ ง ความเป็ น เจ้า ของดนตรี ซึ่ง แสดงให้ เ ห็น ความ
เจริญรุง่ เรืองมา อย่างยาวนาน (ณรงค์ศกั ดิ ์ ศรีบรรฎาศักดิ ์วัชราภรณ์. 2548: 1)
คุ ณ ค่ า ความงามในดนตรีจ ึง เป็ น สิ่ง ส าคัญ ต่ อ มนุ ษ ย์ใ นยุ ค ป จั จุ บ ัน ดนตรีส ามารถ
กล่อมจิตใจให้สงบให้ว่างก็ได้ หรือจะเลือกเอาเสียงดนตรี เสียงเพลงทีส่ นุ กสนานเร้าใจก็ได้ ดังนัน้
ศิล ปะดนตรีจ ึง เป็ น คุ ณ ค่ า แท้แ ห่ ง ความงามที่เ กิด จากความเด่ น ชัด ของเสีย งที่ม ีจุ ด มุ่ ง หมาย
เพื่อความสงบสุข และเมื่อเข้าถึงรสแห่งเสียงเพลงขัน้ สูงแล้ว สามารถหลุดพ้นความทุกข์พ้นื ฐาน
ทีจ่ ะมารบกวนจิตใจได้ เสียงดนตรีจงึ เป็ นคุณค่าแท้แห่งศิลปะอันเกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุ ษย์
(วิสา อัศเวศน์. 2552: 34 – 35)
2

ดนตรีท่ีเ ป็ น รู ป แบบในป จั จุ บ ัน นั ้น อาจกล่ า วได้ ว่ า ต้ อ งมีก ารประพัน ธ์ ท านองและ


คาร้องการประพันธ์ทานองจึงมีส่วนประกอบคาร้องและเสียงร้องจึงก่อให้เกิดขึน้ เป็ นเพลง เพราะ
เพลงเป็ นศิลปะที่มนุ ษย์ได้สร้างสรรค์ขน้ึ เพื่อเป็ นสื่อในการแสดงความรู้สกึ นึกคิดตลอดจนอารมณ์
ต่าง ๆ ให้ผู้อ่นื ได้รบั ทราบ เพลงสามารถทาให้มนุ ษย์เกิดความรูส้ กึ ทางด้านต่าง ๆ เช่น ความรูส้ กึ
อ่อนไหว เศร้า ร่าเริงแจ่มใส คึกคะนอง สนุ กสนานไปกับเสียงดนตรีและเสียงขับ ร้อง การร้องเพลง
เป็ นสิง่ บันเทิงที่ใกล้ตวั ที่สุดและประหยัดที่สุด เพราะดนตรีช้นิ นี้มามาตัง้ แต่เกิดนัน้ คือ “เส้นเสียง”
ซึ่งอยู่กบั ตัวไปตลอด เมื่อเรามีความสุขเราก็อยากร้องเพลง เสียงเพลงของเรามาจากความรูส้ กึ
ทีอ่ ยู่ภายใน เมื่อร้องเพลงร่วมกับดนตรีจงึ มีความมันใจในเสี ่ ยงเพลงมากยิง่ ขึน้ อาจพูดได้ว่าดนตรี
อยู่คู่กบั มนุ ษย์นัน้ ก็คอื เสียง ดนตรีจะไพเราะเพียงใดนัน้ ขึ้นอยู่กบั การสร้างสรรค์ ทานองและคาร้อ ง
เพลงช่ ว ยให้ ม นุ ษ ย์ ม ีค วามสุ ข ความร่ า เริง สนุ ก สนาน ช่ ว ยคลายความทุ ก ข์ ไ ด้ บ างขณะ
และยังจะช่วยให้ก่ อเกิดสมาธิ เพลงยังช่วยให้จติ ใจคลายความเครียดลงไปได้มาก (ณรงค์ศกั ดิ ์
ศรีบรรฎาศักดิ ์วัชราภรณ์. 2548: 1)
เพลงทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทยได้เกิดจากการนาเครื่องดนตรีสากลมาใช้กบั เพลงไทย โดย
มีกาเนิดมาจากการนาดนตรีของตะวันตกมาปรับให้เข้ากับดนตรีไทย ทัง้ นี้ประวัตคิ วามเป็ นมาของ
เพลงไทยสากล เกิดขึน้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้มกี ารฝึ กหัดทหารตามแบบยุโรป ซึ่งมีการใช้ดนตรีบรรเลงประกอบการฝึ กทหาร โดยใช้ดนตรี
ประเภทแตรวง จากบัน ทึก ของ เทาเซนต์ แฮรีส ทูต ชาวอเมริกัน ที่เ ข้า มาเมือ งไทย กล่ า วว่ า
“วงดนตรีของเขาแปลกใหม่ทด่ี งึ ดูดความสนใจของคนไทยทีพ่ บเห็น เป็ นอันมาก ”และคนไทยเริม่ คุน้
กับแตรวงหรือแตรฝรังตั ่ ง้ แต่นนั ้ จนในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จาคอบ เฟียท Janon Feit คือ บิดาของ
พระเจนดุรยิ างค์ ชาวอเมริกนั เชื้อสายเยอรมัน เข้ามารับราชการเป็ นครูแตรวงในพระราชสานักของ
กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (วังหน้า) ปรับปรุงแตรวงทหารในปี พ.ศ. 2420 วงแตรวงทหารในเวลา
ต่อมาได้รบั การเรียกชื่อใหม่ว่ า “วงโยธวาทิต” (Military Band) ในราชสานักไทยมีการเล่นดนตรี
สาหรับบรรเลงทัง้ ดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์ ; อ้างอิงจาก พูนพิศ
อมาตยกุล. 2529. ดนตรีวจิ กั ษ์. หน้า 7)
สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้ า ฟ้ าบริพ ัต รสุ ขุ ม พัน ธุ์ กรมพระนครสวรรค์ ว รพินิ ต
ทรงเป็นผูน้ าการแต่งทานองเพลงตามมาตรฐานดนตรีสากลและในการประพันธ์เพลงสาหรับบรรเลง
ด้วยแตรวงโดยเฉพาะเพลงวอลซ์ปลื้มจิต ในปี พ.ศ. 2446 สันนิษฐานว่าอาจเป็ นเพลงไทยสากล
เพลงแรกในประวัตศิ าสตร์ดนตรีของเมืองไทย (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์ ; อ้างอิงจาก จานง
รังสิกุ ล . 2517. สนทนาพาที. หน้ า 15) เพลงต่ าง ๆ เหล่ านี้ท รงนิพนธ์โดยใช้โน้ ต และจังหวะ
แบบสากล และจากพระปรีชาสามารถในการทรงประพันธ์เ พลง จึงทรงได้รบั การยกย่อ งเป็ น
“พระบิดาแห่งเพลงไทยสากล” (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์; อ้างอิงจาก พูนพิศ อมาตยกุ ล. 2514.
ทูลกระหม่อมบริพฒ ั น์กบั การดนตรี. หน้า 6)
ละครร้องได้ถือกาเนิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2451 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร
กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ซง่ึ ทรงดัดแปลงมาจากละครมาเลย์ทเ่ี รียกกันว่า “มาเลย์โอเปร่า” หรือ
3

“บัง สาวัน ” และทรงตัง้ ชื่อ ละครคณะใหม่ น้ี ว่ า “ปรีด าลัย ” ลัก ษณะของเพลงมีเ นื้ อ ร้อ งมาก
เอื้อ นน้ อ ยและให้ลู ก คู่เ ป็ น ผู้เ อื้อ นแทนนั ก แสดง ซึ่ง เป็ น ที่นิ ย มในช่ ว งนั น้ จนในปี พ.ศ. 2455
พระบาทสมเด็จ พระมงกุ ฎ เกล้า เจ้า อยู่ห ัว รัช กาลที่ 6 ทรงสร้า งวงดนตรีใ นราชส านัก เรีย กว่ า
“วงเครื่อ งสายฝรัง่ หลวง” และโปรดเกล้า ฯ ให้จ ัด ตัง้ โรงเรีย นเพื่อ สอนดนตรีทุ ก ประเภทที่ช่ือ
โรงเรียนพรานหลวง ทีส่ วนมิสกวัน นอกจากนัน้ ทรงสร้าง “กาแฟนรสิงห์” บริเวณมุมถนนศรีอยุธยา
ลานพระราชวังดุสติ ให้ประชาชนพักผ่อน มีสถานทีข่ ายอาหาร และยังจัดบรรเลงดนตรี วงดุรยิ างค์
สากลและวงปี่พาทย์ให้ประชาชนฟงั ทุก ๆ วันอาทิตย์เริม่ ตัง้ แต่เวลา 17.00-19.00 น.
ดนตรีตะวันตกเริม่ แพร่หลายเข้าสู่ประชาชนอย่างกว้างขวางตามลาดับ ทรงส่งเสริมไห้ม ี
การฝึ กดนตรีตะวันตกในหมู่ขา้ ราชการบริพารและนักดนตรีไทย ซึ่งมีนักดนตรีท่เี ป็ นบุคคลที่ได้รบั
การยกย่ องอย่ าง พระเจนดุ ร ิยางค์ (ปิ ติ วาทยกร) และอีกบุ คคลหนึ่ งในวงเครื่องสายฝรัง่ หลวง
เป็ นหัวหน้าวงกรมโฆษณาการนัน่ คือ เอื้อ สุนทรสนาน (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์; อ้างอิงจาก
พระเจนดุรยิ างค์. 2512. ชีวประวัตขิ องข้าพเจ้า. หน้า 6)
เพลงไทยสากล อาจพูดได้ว่าที่มา เกิดจาก 2 สายคือ สายทางละครและสายทางภาพยนตร์
สายทางละครนัน้ ละครคณะปรีดาลัยเป็ นต้นกาเนิด มีลกั ษณะเป็ นเพลงไทยที่ร้องตามทานองฝรัง่
ส่วนทางสายภาพยนตร์ สันนิษ ฐานว่าชาวญี่ปุ่นเป็ นชาติแรกที่นาเข้ามาฉาย ในเมืองไทยราวปี
พ.ศ. 2471 ในช่วงแรกเป็ นภาพยนตร์เงียบ จึงมีการริเริม่ ทาเพลงประกอบเพื่อเพิม่ อรรถรสสาหรับ
ผูช้ ม โดยใช้แตรวงบรรเลงก่อนการฉายและขณะทาการฉายหนัง เพลงที่บรรเลงเป็ นเพลงสากลกับ
เพลงไทยเช่น เพลงแบล็คอีเกิ้ล และเพลงของทูลกระหม่อมบริพตั รคือเพลงมาร์ชบริพตั รและวอลซ์
ปลืม้ จิต (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์; อ้างอิงจาก วราวุธ สุมาวงศ์. 2526. วิวฒ ั นาการเพลงไทย
สากลจากละครและภาพยนตร์. หน้า 15)
ในสมัย รัช กาลที่ 6 ภาพยนตร์ต ะวัน ตก ท าให้ค ณะละครที่ม ีช่ือ เสีย งต้ อ งหยุ ด ลงไป
มีละครสลับรา (คือมีร้องเพลงประกอบบ้าง) ได้รบั ความนิยมแทน แต่ละครเพลงเหล่านี้ก็ไม่ได้รบั
ความนิ ย มเท่ า ภาพยนตร์ต ะวัน ตก ความนิ ย มในละครประเภทนี้ ก็ ล ดลงตามล าดับ จนในปี
พ.ศ. 2470 จวงจันทร์ จันทร์คณา (พรานบูรณ์) ผูป้ ระพันธ์เรื่องและเพลงของคณะละครศิลป์สาเริง
(คณะละครของแม่ เ ลื่อ น) ประวัติ โคจริก (แม่แ ก้ ว ) ผู้ป ระพัน ธ์เ รื่อ งและเพลงของคณะละคร
นครบันเทิง (คณะละครของแม่ บุญนาค) และสมประสงค์รตั นทัศ นีย์ (เพชรรัต น์ ) แห่ง คณะละคร
ปราโมทย์นคร (คณะละครของแม่ เ สงี่ยม) ได้พ ัฒนาเพลงประกอบละคร “โดยการดัดแปลงจาก
เพลงไทยเดิมทีม่ ที านองสองชัน้ มาใส่เนื้อร้องแทนทานองเอือ้ นใช้ดนตรีคลอฟงั ทันหูทนั ใจ เป็ นทีน่ ิยม
ของประชาชนซึง่ เรียกกันว่าเพลงเนื้อเต็มหรือเนื้อเฉพาะแต่ยงั คงใช้ป่ีพาทย์บรรเลงเหมือนเช่นเดิม ”
วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์; อ้างอิงจาก วราวุธ สุมาวงศ์. 2526. วิวฒ ั นาการเพลงไทยสากล
จากละครและภาพยนตร์. หน้า 18)
เพลงไทยสากล ในสมัยของพรานบูรณ์ (2470-2472) มีลกั ษณะเป็ น “เพลงไทยเดิมสากล”
ได้รบั แรงบันดาลใจจากเพลงไทยเดิม พรานบูรณ์ได้แต่งเพลงลักษณะนี้อกี เป็ นจานวนมาก และในปี
พ.ศ. 2474 พรานบูรณ์และเพชรรัตน์แห่งละครคณะศรีโอภาสได้นาดนตรีสากลประเภทเพลงแจ๊ส
4

(Jazz Band) หรือ รหัสดนตรี เป็นส่วนประกอบละครเรื่อง “โรสิตา” และนาทานองเพลง “วอลซ์ปลืม้


จิต” มาใส่เนื้อร้อง ได้รบั ความนิยมอย่างมาก มีการเผยแพร่บทเพลงออกอากาศทางสถานีวทิ ยุ 7 พี.
เจ. ที่ศาลาแดง และมีการบันทึกแผ่นเสียง โดยห้างนายต.เง็กชวน (วิกิพเี ดีย. 2554: ออนไลน์ ;
อ้างอิงจาก สมาคมนักแต่งเพลง. 2526. กฎหมายลิขสิทธิใ์ นเบื้องหลังเพลงดัง. หน้า 16) และในปี
เดียวกันพรานบูรณ์ร่วมงานกับคณะละครจันทโรภาสก็โด่งดังทีส่ ุด ขัน้ ด้วยละครร้องเรื่อง”จันทร์เจ้า
ขา” ซึ่งมีสถิติการนาออกแสดงถึง 49 ครัง้ ติดต่อกันแทบทุกโรงมหรสพที่มใี นพระนครและธนบุร ี
โดยพรานบูรณ์ แต่ งเพลงไทยสากล มีลลี าทานองอ่ อนหวานอาทิ เพลงจั นทร์เจ้าขา จันทร์สวาท
จันทร์ลอย จันทร์จากฟ้าจันทร์แฝงหมอก ขวัญของเรียม ในช่วงนัน้ บทเพลงประกอบละครร้องเป็ นที่
นิยมแพร่หลายโดยทัวไปตราบจนกระทั
่ งความนิ
่ ยมละครร้องลดน้ อยลงไป ในขณะที่ภาพยนตร์พูด
เสียงในฟิลม์ เข้ามาได้รบั ความนิยมแทน ซึง่ มีบทขับร้องประกอบด้วย
ในสมัยรัชกาลที่ 7 ความนิยมในภาพยนตร์ตะวันตกเพิม่ สูงขึ้นเรื่อย ๆ มีการสร้างศาลา
เฉลิมกรุงในปี พ.ศ. 2474 สกุลวสุวตั ซึง่ มี มานิต วสุวตั หลวงกลการเจนจิต (เภา วสุวตั ) กระเศียร
วสุวตั และการะแส วสุวตั แห่งศรีกรุงภาพยนตร์ทาภาพยนตร์เสียงในฟิลม์ หรือภาพยนตร์พูดได้เป็ น
ครัง้ แรกชื่อเรือ่ งว่า “หลงทาง” ดนตรีประกอบในภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ดนตรีสากลบรรเลงเพลงไทยแท้
มีเนื้อร้อง ทานองทีม่ เี อื้อนเพียงเล็กน้อย ซึง่ ได้แก่ เพลงพัดชา บัวบังใบ ฯลฯ เป็ นต้น และในปี พ.ศ.
2476 ภาพยนตร์เรื่อง “ปู่โสมเฝ้าทรัพย์” โดยมี ขุนวิจติ รมาตรา กากับการแสดงและเรือโทมานิต เสนะ
วีณินประพันธ์เพลงประกอบภาพยนตร์ช่อื ว่า “เพลงกล้วยไม้” ซึ่งนับเป็ นเพลงไทยสากลเพลงแรก
ในการแต่งทานองตามหลักโน้ตสากลในประวัติศาสตร์เพลงของเมืองไทย ขับร้องโดย องุ่น เครือพันธ์
และมณี บุญจนานนท์ ขับร้องหน้าเวทีสลับการฉายภาพยนตร์เรือ่ งนี้ ทีเ่ รียกว่าเพลงไทยสากล น่ าจะ
เพราะ เป็นเพลงไทยทีม่ เี นื้อร้องภาษาไทยแต่มที ่วงทานองลีลาและจังหวะเป็ นแบบสากล
ในปี พ.ศ. 2477 กระทรวงกลาโหมสร้างภาพยนตร์ “เลือดทหารไทย” มีเพลงประกอบ
3 เพลงคือ “มาร์ชไตรรงค์” “ความรักในแม่น้ าเจ้าพระยา” และ “มาร์ชเลือดทหารไทย” ประพันธ์โดย
เรือ โทมานิ ต เสนะวีณิ น และยัง มีภ าพยนตร์อีก หลายเรื่อ งที่ป ระพัน ธ์โ ดย เรือ โทมานิ ต แล ะ
ขุนวิจติ รมาตรา เช่น ตะวันยอแสง จากเรื่อง “เลือดชาวนา” เพลงบวงสรวงจากเรื่อง “เมืองแม่หม้าย”
ฯลฯ และหลังจากที่เรือโทมานิต เสนะวีณิน ถึงแก่กรรมลงในปี พ.ศ. 2479 ได้เกิดนักแต่งเพลงคน
ใหม่ค ือ นารถ ถาวรบุ ต ร มีเ พลงที่เ ป็ น ที่นิ ย มมากมาย เช่ น พลับ พลึง ไพร ชื่ นชีว ิต แสนอาลัย
ใจสนองใจ เป็นต้น
ในปี พ.ศ. 2478 ทางราชการได้แต่ งเพลงขึ้นอีก 2 เพลงคือ เพลงชาติและเพลงเถลิง
รัฐธรรมนู ญ และยังมีเพลงที่สาคัญ เช่น รักเมืองไทย เลือดสุพรรณ ศึกถลาง แหลมทอง เป็ นต้น
ส่วนเพลงเพื่อกองทัพนัน้ ได้รบั ความนิยมสูงมากจนถึงกับนาไปเป็ นเพลงสัญลักษณ์ ก่อนการฉาย
ภาพยนตร์ และเมื่อสงครามระหว่างไทยกับอินโดจีนเกิดขึน้ เพลงปลุกใจก็ยงิ่ มากขึน้ เช่นเพลงแนวรบ
แนวหลัง ทหารไทยแนวหน้า มณฑลบูรพา เป็ นต้น (วิกิพเี ดีย. 2554: ออนไลน์ ; อ้างอิงจาก
ขุนวิจติ รมาตรา. 2518. ยุคเพลงหนังและละครในอดีต. หน้า 18)
5

ในปี พ.ศ. 2480 ได้มกี ารสร้าง เรื่อ ง “เพลงหวานใจ” โดยมีขุนวิจติ รมาตราเป็ นผู้แต่ ง
บทภาพยนตร์ คาร้อ งเพลงประกอบภาพยนตร์และกากับการแสดง นารถ ถาวรบุต ร เป็ นผู้แต่ ง
ทานองเพลง และในปีเดียวกัน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุ พนั ธุย์ ุคล เป็ นหัวหน้าวงดนตรี
มีนั ก ดนตรีท่ีส าคัญ ในวง เช่ น เอื้อ สุ น ทรสนาน เวส สุ น ทรจามร สัง เวีย น แก้ว ทิพ ย์ จ าปา
เล้มสาราญ คีติ คีต ากร (บิล ลี่) ฯลฯ มีเ พลงที่ได้รบั ความนิยมอย่าง “ลมหวล” และ “เพลิน ”
จาก ภาพยนตร์เรือ่ ง “แม่ส่อื สาว” (วิกพิ เี ดีย. 2554: ออนไลน์; อ้างอิงจาก ขุนวิจติ รมาตรา. 2518.
ยุคเพลงหนังและละครในอดีต. หน้า 18)
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล เป็ นศิลปิ นเพลงแนวไทยสากล ที่มชี ่อื เสียงและเป็ นคนสาคัญ
ของวงการเพลงไทยสากล ด้วยความเป็ นนักร้องเพลงไทยสากลที่มเี อกลักษณ์ มีความโดดเด่น
ทางด้านน้ าเสียง อารมณ์ การขับร้อง ผลงานเพลงเป็ นที่ช่ นื ชมและชื่นชอบต่ อผู้ฟงั อย่างมากมาย
สมควรนาไปใช้เ ป็ นต้น แบบในการฝึ กหัดขับร้อ งเพลงไทยสากล สาหรับเยาวชนและผู้ท่ีส นใจ
ผู้ว ิจ ัย จึง เห็น ความส าคัญ ต่ อ การศึก ษา ชีว ประวัติ ผลงาน ตลอดจนวิธ ีก ารขับ ร้อ งเพลงตาม
แบบฉบับของทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เพื่อเป็ นองค์ความรูใ้ นการศึกษาด้านคีตศิลป์ตามลาดับต่อไป

ควำมมุ่งหมำยของกำรวิ จยั
1. เพื่อศึกษาชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
2. เพื่อศึกษาเทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

ควำมสำคัญของกำรวิ จยั
การศึกษาด้านชีวประวัตแิ ละผลงานตลอดถึงวิธกี ารขับร้องเพลงไทยสากลในปจั จุบนั มีอยู่
น้อยมาก การศึกษาครัง้ นี้จะช่วยให้ผทู้ ส่ี นใจศิลปะการขับร้องเพลงไทยสากล ได้รบั ความรู้ โดยตรง
ทีเ่ กี่ยวข้องกับชีวติ และวิธ กี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล อีกทัง้ การศึกษาในครัง้ นี้สามารถใช้
เป็นแนวทางสาหรับผูส้ นใจฝึกหัดขับร้องเพลงไทยสากลต่อไป

ขอบเขตของกำรวิ จยั
ในการศึก ษาวิธ ีก ารขับร้อ งของ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบ าล แบ่งหัว ข้อ ในการศึกษาวิเ คระห์
ออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ ดังนี้
1. ขอบเขตของการเลือกบทเพลง
2. ขอบเขตของการศึกษาวิธกี ารขับร้อง
1. ขอบเขตของกำรเลือกบทเพลง
เพลงที่นามาศึกษาวิธกี ารขับร้องเป็ นเสียงร้อ งของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ซึ่งบันทึก
ในแผ่ นบันทึกเสียงโดยนาเสนอบทเพลงที่ท่านได้ร ับรางวัลแผ่ นเสียงทองค าพระราชทาน ตัง้ แต่ ปี
พุทธศักราช 2524- 2548 จานวน 6 บทเพลง คือ เพลงทีไ่ ด้รบั รางวัล ประกอบด้วย
6

1.1 เพลงสุ ด เหงา จากการขับ ร้อ งบัน ทึก เสีย ง โดย ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล เมื่อ ปี
พ.ศ. 2524 ได้รบั รางวัล แผ่นเสียงทองคาพระราชทาน ครัง้ ที่ 5
1.2 เพลงดอกไม้ช่อนี้ รางวัลทีวตี ุ๊กตาทองมหาชนครัง้ ที่ 3 ในงานSiam Expo’82
จัดขึน้ ที่ สวนสยาม ประเภทนักร้องลูกกรุงยอดนิยมฝ่ายหญิง ในวันศุกร์ท่ี 10 ธันวาคม 2525
ยอดเยีย่ ม
1.3 เพลงไฟ ปี พ.ศ. 2526 ได้รบั รางวัลรางวัลกรังด์ปรีซ์ สยามกลการมิวสิคฟาวเดชัน่
ประเภทเพลงไทยป็ อ ป
1.4 เพลงในโลกบันเทิง ปี พ.ศ. 2527 ได้รบั รางวัลพิณทอง (ชนะเลิศ) ธนาคารกสิกรไทย
1.5 เพลงน้ าเซาะทราย ปี พ.ศ. 2548 รางวัลพระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทย
อมตะยอดเยีย่ ม
1.6 เพลงอัสดง ปี พ.ศ. 2548 รางวัลพระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทยสากลหญิง
ยอดเยีย่ ม
ทัง้ นี้ผู้วจิ ยั ได้พจิ ารณาจากความโดดเด่นของบทเพลงเป็ นหลัก โดยบทเพลงเหล่านี้
ล้วน เป็ นเพลงทีไ่ ด้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน ระหว่างปีพุทธสักราช 2524-2548 และ
เป็ นการขับร้องโดยทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล แต่ เพียงผู้เดียวทัง้ หมด มิได้มกี ารขับร้องร่วมกับนักร้อง
ท่านอื่นแต่อย่างใด ซึง่ จะทาให้เห็นเอกลักษณ์ในการขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล อย่างแท้จริง
2. ขอบเขตของกำรวิ เครำะห์ข้อมูล
ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดแนวทางในการวิเคระห์ขอ้ มูลของการศึกษาวิธกี ารขับร้อง ทิพย์วลั ย์
ปิ่นภิบาล ใน 3 ประเด็นสาคัญ ได้แก่
2.1 ข้อมูลด้านชีวประวัตแิ ละผลงาน ประกอบด้วย
2.1.1 ชีวประวัติ
2.1.2 ผลงาน
2.2 ข้อมูลด้านบทเพลง
2.2.1 ความเป็นมาของบทเพลง (Historical Background)
2.2.2 ความหมายของบทเพลง (Meaning)
2.2.3 โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
2.3 ข้อมูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้อง ประกอบไปด้วย
2.3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
1) การแบ่งวรรคลมหายใจ
2) การลากเสียงยาว
3) การเอือ้ นเสียง
2.3.2 การออกอักขระ (Pronunciation)
1) การเน้นเสียงการเน้นคา
2) การผันอักษรตามทานอง
3) การร้องคาเป็นคาตาย
7

2.3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)


1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ทัง้ นี้ ผู้ว ิจยั ได้พ ิจารณาจากสิ่งที่ปรากฏให้เ ห็นเป็ นเอกลักษณ์ ของทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล
เท่านัน้

ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้รบั
1. ได้บนั ทึกบทเพลงในแนวการขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล เป็ นโน้ ตดนตรีสากล
ซึง่ อาจนาไปใช้ในการฝึกหัดขับร้องสาหรับผูท้ ส่ี นใจต่อไป
2. ได้ท ราบถึง ชีว ประวัติแ ละผลงานของ ทิพย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบ าล ซึ่ง อาจน าไปใช้เ ป็ น
แนวทางในการดาเนินชีวติ
3. เทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล อาจนาไปใช้เป็ นแนวทางในการฝึกฝน
การขับร้องในหลายลักษณะให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป
4. แบบแผนของการวิจยั เล่มนี้ สามารถใช้เป็ นแนวทางสาหรับการวิจยั ศิลปิ นท่านอื่นๆ
ต่อไป

คำนิ ยำมศัพท์เฉพำะ
จากการศึก ษาของผู้ ว ิจ ัย ได้ ศึก ษาศัพ ท์ ใ นการขับ ร้อ งเพลงไทยสากลและศัพ ท์ ใ น
การอธิบายความหมายต่างๆ ดังนี้
1. กำรพริ้ วเสี ยง หมายถึง เป็ นการเน้ นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึ้น และมีการสัน่
ของเสียง (Vibrato) ซึง่ มีทงั ้ ในเสียงสูงและเสียงต่า
2. กำรเน้ นเสียง หมายถึง มีทงั ้ ในคาร้องและคาเอื้อน โดยการเปล่งเสียงให้หนักหรือ
เบากว่าปกติ เพื่อให้เกิดความไพเราะ ตรงกับอารมณ์เพลง ความหมายของคาและอักขระวิธ ี
3. กำรเน้ นคำ หมายถึง การทาเสียงให้ชดั ขึ้น ตามความเหมาะสมของคาร้อง
และอารมณ์เพลง
4. กำรเน้ นเสี ย งเน้ น ค ำ หมายถึง การให้ค วามสาคัญกับเสียงเอื้อ นหรือคาร้อ ง
โดยเพิม่ น้าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
5. กำรปัน้ เสี ยง หมายถึง เป็ นการทาให้เสียงออกจากลาคอ เพื่อให้เสียงชัดเจน
พร้อมทัง้ เน้นเสียงให้หนักหรือเบากว่าปกติ ตัง้ ใจทีข่ บั ร้องให้ล่นื หู
6. กำรซำ้ เสี ยงซำ้ คำ หมายถึง เป็ นการขับร้องพร้อมทัง้ ใช้เสียงในการเล่นคาซ้ากัน
เพื่อสื่อคาร้องและอารมณ์เพลง
7. กำรกระโดดเสียง หมายถึง เป็ นการใช้เสียงขึน้ ไปเสียงสูงในการกระโดดเสียงจะ
กระโดดเสียงขึน้ มากกว่า คู่ 4 หรือไม่ผ่านเสียงอื่น พร้อมทัง้ ยังเป็ นจุดเด่นของเสียงด้วย โดยเฉพาะ
8

ประโยคที่ใช้จะสะดุดหูแก่ผู้ฝงั หรือ อาจกล่าวได้ว่า หมายถึง การกระโดดเสียงจากเสียงหนึ่ง


ไปยังอีกเสียงหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องมากกว่าคู่ 4 เปอร์เ ฟค มีทงั ้
กระโดดเสียงขึน้ และลง
8. กำรทอดเสียงขึ้น หมายถึง เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ พร้อมทัง้
เน้นคา เพื่อเน้นอารมณ์เพลงและความต้องการของผูป้ ระพันธ์
9. กำรทอดเสียงลง หมายถึง เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง
พร้อมทัง้ คา เพื่อเน้นอารมณ์เพลงและความต้องการของผูป้ ระพันธ์
10. เสียงสะดุด หมายถึง เป็นการใช้เสียงในการจับคู่คาพร้อมทัง้ เน้นเสียง ด้วยการทาให้
เสียงให้ชดั ขึน้ เพื่อสื่อคาร้องและอารมณ์เพลง
11. กำรลำกเสียง หมายถึง เป็ นการทาให้เสียงยาวขึน้ ตามอารมณ์เพลง มีทงั ้ การลาก
เสียงขึน้ คือ การทาให้เสียงของคาร้องยาวและเสียงสูงขึน้ และการลากเสียงลง เป็ นการทาให้เสียง
ของคาร้องยาวและเสียงต่าลง
12. กำรผ่อนเสียง หมายถึง เป็ นการใช้เสียงจากเสียงสูงแล้วผ่อนเสียงมาคล้ายการผ่อน
ลมหายใจ เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของเพลง
13. กำรพักเสี ยง หมายถึง เป็ นการขับร้องแล้วหยุดเสียงก่ อนออกเสียงต่ อในประโยค
เดียวกัน
14. กำรทอดเสียงในคำ หมายถึง เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้
หรือลง
15. กำรใช้ เสี ยงครวญ หมายถึง เป็ นการใช้เสียงที่แสดงถึงอารมณ์ของอาการเศร้าโศก
เพื่อให้ได้อารมณ์ของบทเพลง
16. วลี หมายถึง กลุ่มคาทีเ่ รียงติดต่อกันเป็ นระเบียบและมีกระแสความเป็ นทีห่ มายรูก้ นั ได้
แต่ยงั ไม่เป็นประโยคทีส่ มบูรณ์
17. กำรแบ่งวรรคลมหำยใจ หมายถึง ช่วงระยะของการหายใจทีม่ สี ่วนสาคัญ อย่างยิง่
สาหรับการขับร้องเพลง การแบ่งวรรคลมหายใจในแต่ละวรรค แต่ละช่วง ทาให้ขบั ร้องเพลงได้ดี
18. กำรลำกเสียงยำว หมายถึง เป็ นการทาให้เสียงยาวขึน้ ตามอารมณ์เพลงมีทงั ้ การ
ลากเสียงขึน้ คือ การทาให้เสียงของคาร้องยาวและเสียงสูงขึน้ และการลากเสียงลงเป็ นการทาให้
เสียงของคาร้องยาวและเสียงต่าลง
19. กำรเอื้อนเสียง หมายถึง การออกเสียง คาหนึ่งคาให้มเี สียงมากกว่า 1 โน้ต โดยการ
ปล่อยเสียงให้ถูกต้องตามโน้ต ตามจังหวะ การฟงั เสียงจากเครื่องดนตรี การปล่อยเสียงได้ตรงตาม
โน้ตจะทาให้เอือ้ นได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความไพเราะน่ าฟงั
20. กำรเน้ นเสี ยงกำรเน้ นคำ หมายถึง การให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง
โดยเพิม่ น้าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
9

21. กำรผันอักษรตำมทำนอง หมายถึง การร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระ


และวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
22. กำรร้องคำเป็ นคำตำย หมายถึง การร้องเพลงในพยางค์ท่มี เี สียงสระเสียงยาว
(คาเป็ น) และพยางค์ท่มี เี สียงสระเสียงสัน้ (คาตาย) ซึ่งการร้องเสียงสระของคาเป็ นและคาตายนี้
ผู้ขบั ร้องต้องร้องให้ตรงกับคาเหล่านัน้ เพื่อให้ได้อรรถรสตามความหมายของคาร้องและอารมณ์
เพลง
23. ภวำรมณี ย ะ หมายถึง หน่ ว ยเสียงที่เ รียบเรียงอย่างสมบูรณ์ โดยการเคลื่อ นที่
ของระดับเสียง มีจงั หวะ ทานองที่แสดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์
โศกเศร้า วังเวง ขึน้ อยูก่ บั ภวารมณียะของบทเพลง
24. สุนทรียรส หมายถึง การแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งกับเนื้อเพลง
คือ รสแห่งความรัก รสแห่งความเมตตากรุณา รสแห่งความห่วงใยเอื้ออาทร รสแห่งกาลังใจและ
รสคาหรือรสถ้อย
25. รสในวรรณคดี หมายถึง ลัก ษณะที่รู้ส ึก ด้ว ยลิ้น ว่ า มีร สเปรี้ย วหรือ หวาน แต่ ร ส
ในความหมายในการประพันธ์หมายถึง อารมณ์สมั ผัส รับรูด้ ว้ ยใจ เช่น รสเสียง รสถ้อยคา สัมผัสคา
ซึง่ ช่วยสร้างมโนภาพด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ ของวรรณคดีไทย

กรอบแนวคิ ดในกำรวิ จยั


จากการวิจยั ศึกษาชีวประวัติและวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ ผู้วจิ ยั ได้
กรอบแนวคิดในการวิจยั ดังนี้
10

ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บำล

บทเพลงนามาศึกษาวิธกี ารขับร้อง การวิเคราะห์


ชีวประวัติ
เพลงที่ได้รบั รำงวัล ประกอบด้วย การออกอักขระ
ผลงาน 1. เพลงสุ ด เหงา จากการขับ ร้ อ งบัน ทึก เสีย ง โดย
ทิพ ย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล เมื่อ ปี พ.ศ.2524 ได้รบั รางวัล การบังคับควบคุม
แผ่นเสียงทองคา พระราชทาน ครัง้ ที่ 5 ลมหายใจ
2. เพลงดอกไม้ช่อนี้ รางวัลทีวตี ุ๊กตาทองมหาชนครัง้ ที่ 3
ในงานSiam Expo’82 จัดขึน้ ที่ สวนสยาม ประเภท การสื่อความหมาย
นั ก ร้ อ งลู ก กรุ ง ยอดนิ ย มฝ่ า ยหญิ ง ในวั น ศุ ก ร์ ท่ี 10
ธันวาคม 2525
3. เพลงไฟ ปีพ.ศ 2526 ได้รบั รางวัลกรังด์ปรีซ์ สยาม
กลการมิวสิคฟาวเดชัน่ ประเภทเพลงไทยป็อป
4. เพลงในโลกบันเทิง ปี พ.ศ.2527 ได้รบั รางวัล
พิณทอง(ชนะเลิศ)ธนาคารกสิกรไทย
5. เพลงน้ าเซาะทราย ปี พ.ศ.2548 ได้รบั รางวัล
พระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทยอมตะยอดเยีย่ ม
6. เพลงอัสดง ปี พ.ศ.2548 ได้รบั รางวัลพระพิฆเนศ
ทอง ประเภทเพลงไทยสากลหญิงยอดเยีย่ ม

ประโยชน์ที่ได้รบั

1. ได้บนั ทึกบทเพลงในแนวการขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เป็นโน้ตดนตรีสากล ซึง่ อาจนาไปใช้


ในการฝึกหัดขับร้องสาหรับผูท้ ส่ี นใจต่อไป
2. ให้ทราบถึงชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ซึง่ อาจนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวติ
3. เทคนิค วิธ ีก ารขับร้อ งของ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล อาจน าไปใช้เ ป็ น แนวทางในการฝึ กฝนการขับร้อ ง
ในหลายลักษณะให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป
4. แบบแผนของการวิจยั เล่มนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับการวิจยั ศิลปินท่านอื่นๆต่อไป
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

ในการวิจยั ศึกษาชีวประวัติ ผลงาน และวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ครัง้ นี้


ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการศึกษาเอกสาร ตารา งานวิจยั และเว็ปไซด์ทเ่ี กี่ยวข้อง โดยจัดเรียงลาดับ ดังนี้

เอกสาร ตาราที่เกี่ยวข้องกับงานวิ จยั


จากการค้นคว้าวิจยั ได้มผี กู้ ล่าวถึง เพลงไทยสากล อันเป็นแนวคิดทีส่ าคัญดังนี้
ปิติ วาทยกร (2536: 36) ได้กล่าวถึงรูปแบบของเพลงไทยไว้ดงั นี้
1. เพลงดนตรีไทยเดิ ม (พื้นรากเดิ มของการดนตรี)
ก. ขับร้องตาม แบบไทยเดิมเป็ น เพลงสองชัน้ สามชัน้ ใช้ เครื่องดนตรีไทยบรรเลง
ประกอบการขับร้อง
ข. ขับ ร้อ งตาม แบบไทยเช่น เดียวกัน แต่ ใ ช้ เครื่อ งดนตรีส ากลบรรเลงประกอบ
การขับร้อง
2. เพลงดนตรีไทยสมัยใหม่แบบสากล
ก. เพลงที่ประพันธ์ทานองขึน้ ใหม่โดยใช้หลักของบันไดเสียง แบบชาวยุโรป เช่น
ประโยคเพลง วรรคเพลง ตอนเพลง ตามหลักการประพันธ์เพลง การประสานเสียงประกอบ
ตามหลักวิชาจะมีการขับร้องเป็นภาษาไทยหรือไม่กต็ ามและจะบรรเลงด้วยเครือ่ งดนตรีสากล
ข. บทเพลงที่ประพันธ์ ทานองขึน้ ใหม่ โดยใช้หลักบันไดเสียงของไทย แต่มปี ระโยค
วรรค ตอนวางไว้ ตามหลัก ของการประพันธ์เ พลงสากลมีก ารประพันธ์เ สียงประกอบตามหลัก
วิชาการประสานเสียง จะมีการร้องเป็นภาษาไทยหรือไม่กต็ ามและจะบรรเลงด้วยเครือ่ งดนตรีสากล
ค. ได้แ ก่ บทเพลงที่ประพันธ์ข้นึ จากทานองเพลงไทยเดิมหรือ ที่ดดั แปลงมาจาก
ทานองเพลงไทยเดิม แต่หมุ้ ห่อไปด้วยการประสานเสียงตามหลักวิชาการประสานเสียง มีการขับร้อง
เป็นภาษาไทยหรือไม่กต็ าม และจะใช้บรรเลงด้วยเครือ่ งดนตรีสากล
เฉลิมพล งามสุทธิ (2526: 63-64) ได้กล่าวถึง โครงสร้างอย่างง่าย (Simple Form)
บทเพลงจะประกอบด้วยธีม ซึ่งปรากฏในรูปทานองอันไพเราะด้วยการประสานเสียงอย่างไพเราะ
หรือ ด้ว ยวิธ ีก ารอื่นๆ ในธีมหนึ่ง ๆ นัน้ จะประกอบด้ว ย Phrase (วลี) หรือ ด้ว ยวรรคซึ่งไพเราะ
สมบูรณ์ในตัวบ้าง ไม่สมบูรณ์บ้าง รวมกันหลาย ๆ วลี ก็จะเป็ นประโยค (Section) แต่ประโยค
ของดนตรีก็ไ ม่ เ หมือ นกับ ประโยคของภาษาหนั ง สือ หรือ ภาษาพู ด ประโยคของดนตรีอ าจมี
ความหมายมากน้อยตัง้ แต่ 2-3 บรรทัด หรือเกินกว่าหน้ากระดาษก็ได้
โครงสร้างอย่างง่ายทีน่ ามากล่าวในทีน่ ้ีม ี 3 แบบคือ
1. แบบไบนารี่ (Binary Form) ได้แก่บทเพลงทีม่ โี ครงสร้างแบบ 2 ประโยคเช่น
1.1 ทัง้ 2 ประโยคเหมือนกัน จัดเป็น A A
12

1.2 ทัง้ 2 ประโยคผิดกันเล็กน้ อย อาจผิดกันตอนจบ หรือตอนกลางๆ เล็กน้อย


จัดเป็น A A’
1.3 ทัง้ 2 ประโยคต่างกัน จัดเป็น A B
1.4 บางประโยคซ้า 2 ครัง้ เป็นแบบ A A B, A A’ B , A B B หรือ A A’ B B’
2. แบบเทอร์นารี่ (Ternary Form) แบบนี้ผดิ กับแบบไบนารีต่ รงที่แบบเทอร์นารีน่ ัน้
เมื่อจบท่อน A แล้วจะต่อด้วยท่อน B แล้วจบสมบูรณ์ดว้ ยท่อน A คือเข้าลักษณะ A B A หรือ A B A’
หรือ A A’ B A B A หรือ A A’ B A” B A”
3. ฟอร์มเพลงร้อง (Song Form) แบบสากลหรือแบบไทยสากลมีลกั ษณะ A A B A
หรือ A A’ B A ฟอร์มเพลงร้องอาจเรียกว่า Rounded Binary ก็ได้
ณัชชา โสคติยานุรกั ษ์ (2532 : 61-68) กล่าวว่า รูปลักษณ์ในทางดนตรี (Musical Form)
หมายถึง โครงสร้างที่เ ป็ นแบบแผนในการประพันธ์เพลง สังคีต ลักษณ์ ใ นการอ้างถึงแต่ล ะตอน
จะใช้อกั ษร A, B, C, ซึง่ ในแต่ละตอน จะมีความยาวเท่า ๆ กัน
สมชาย รัศมี (2536 : 23) มีความสาคัญอยู่ท่วี ่าจะต้องมีการสิ้นสุดในระดับหนึ่งนี้คอื
วิธที ่ถี ูกต้อง การแต่งเพลงที่งดงามจะต้องมีจงั หวะของการวางประโยคเพลงที่เหมาะสม แต่ละประโยค
ต้องมีการพัก (การสิน้ สุดประโยค) เพลงหรือบทกวีสาหรับการเริม่ ต้นของเพลง และได้กล่าวถึงเรื่อง
ของทานองที่เกี่ยวข้องกับการเรียบเรียงเสียงประสานว่า แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ แบบ
ทานองหลักของเพลง และแนวทานองสอดแทรกในเพลง หลักในการสร้างทานองเพลง คือ การสร้าง
สัดส่วนทานอง การสร้างระดับเสียง การสร้างแนวทานองจากทางเดินคอร์ด เพลงมีองค์ประกอบ
ที่สาคัญ อีก ประการหนึ่ง คือ จังหวะซึ่งเป็ นสิ่งที่กากับให้เ สียงเคลื่อ นที่เ ป็ นรูปแบบต่ างๆ ตาม
จุดประสงค์ของผูป้ ระพันธ์
เอกราช เจริญนิตย์ (2537: 47) กล่าวว่า รูปแบบเป็ นโครงสร้างรูปแบบของบทเพลง
ทีผ่ ปู้ ระพันธ์ สร้างขึน้ โดยกาหนดสัญลักษณ์ได้ดงั นี้
1. ทานองหลักเดียวใช้เป็น A (เอกบท)
2. ทานองสองหลักใช้เป็น A B (ทวิบท)
3. ทานองสามหลักใช้เป็น A B C (ตรีบท)
แอนนี่ โอ วอร์บอร์ตนั (Znnie O. Warburton) ได้เรียบเรียงหนังสือ Melody writing
and analysis กล่าวถึงวิธกี ารแต่งเพลง คีตลักษณ์ (Form) ชนิดต่าง ๆ ประเภทวรรคถาม วรรคตอบ
รวมถึงการวิเคราะห์ทานอง ดาเนียล เอ.ริชกิ ลีอาโน (Daniel A. Riciglino) ได้เรียบเรียงหนังสือ
Popular & Jass Harmony เป็นตาราเกีย่ วกับการเรียบเรียงเสียงประสาน นาเสนอวิธกี ารเรียบเรียง
เสียงประสาน ท่อนต่างๆ ในเพลง เช่น ท่อน Introduction Coda Interlude ตลอดจนการใช้คอร์ด
และการดาเนินคอร์ดแบบต่าง ๆ
ปารี่ วิลเลียม (PARRY WILLIAMS. 1972: 56) กล่าวถึงวิธกี ารสร้างทานองโดยเขียน
เป็นวรรคเพลง (Phrases) แบบต่าง ๆ ดังนี้
13

วรรคเพลง (Phrases) แบบ AABA


วรรคเพลง (Phrases) แบบ ABBA
วรรคเพลง (Phrases) แบบ ABCD
วรรคเพลง (Phrases) แบบ ABAB
วรรคเพลง (Phrases) แบบ AAAB
วรรคเพลง (Phrases) แบบ AAAA
ปิยพันธ์ แสนทวีสุข (2546: 100) กล่าวถึงการแต่งเพลงว่า การแต่งเพลงนัน้ มีอยู่หลายวิธ ี
ด้วยกัน แต่โดยสรุปแล้วมีวธิ แี ต่งเพลงอย่างง่ายดังนี้
1. แต่งทานองก่อน แล้วค่อยแต่งเนื้อร้องขึน้ ทีหลัง การแต่งเพลงด้วยวิธนี ้ี จะได้บทเพลง
ทีไ่ พเราะ รืน่ หู ทัง้ ทานองและเนื้อร้อง คือฟงั ดูแล้วเป็ นเพลง ไม่ใช่ฟงั ยังไงก็เหมือนการอ่านกลอน
หรือสวดมนต์ โดยมีหลักการแต่งดังนี้
1.1 ก าหนดร่างเค้าโครงของทานองก่อ นว่าจะใช้แบบไหน ใช้เครื่องหมายกาหนด
จังหวะอย่างไหนและเป็นเพลงแบบใด เช่น ใช้เครือ่ งหมายกาหนดจังหวะ 2/2 เป็ นจังหวะ Swing
ฉะนัน้ เค้าโครงร่างหรือ Rhythmic ของทานองจะต้องเป็นแบบฝึกจังหวะ (Syncopation)
1.2 กาหนดระดับเสียง การที่จะกาหนดระดับได้นัน้ จะต้ องรู้ว่าแต่งให้ใครร้องก่อ น
รวมทัง้ ขนาดพิกดั ของเสียง (Range) ด้วย โดยปกติแล้วจะมีความกว้างไม่เกินคู่ 9 Major หรือ
อย่างมากก็ไม่เกินคู่ 10 Major
1.3 กาหนดรูปร่างหรือลายเส้นของทานอง (Melodic Curves หรือ Meldic line)
โดยกาหนดว่าทานองมีรปู ร่างเป็ นรูปใดหรือนาหลาย ๆ รูปมาผสมกัน
1.4 กาหนดคอร์ดในบทเพลง พร้อมกับเขียนร่างแนวทานองหยาบๆ
1.5 ขัดเกลาตกแต่งทานองตามเค้าโครงร่าง (Rhythmic ) ทีก่ าหนดไว้ และขัดเกลา
การเคลื่อนของทานองตาม Melodic line
1.6 ตกแต่งทานองตามหลักแบบฟอร์มของบทเพลง การเคลื่อนของทานอง และการ
เกลาทานอง
ส. จิตรมันคง่ (2512) ได้แนะนา ก่อนขับร้อง ไว้ว่า
1. ยึดทรวงอก ตัง้ ลาตัวและศีรษะให้ตรงพอสมควรแก่ลกั ษณะ จะอยู่ในท่ายืนหรือนัง่
สุดแต่ความจาเป็น ส่วนมากควรยืน
2. อย่ า แต่ ง กายด้ว ยสิ่ง ขัด ขวางต่ อ การขยายตัว ของปอด และล าคอขณะที่ข ับ ร้อ ง
ซึง่ อาจเป็นภัยแก่สุขภาพได้งา่ ย
3. พยายามเปล่งเสียงจากลาคอ (ผ่านเส้นเสียง) พุ่งตรงออกจากริมฝี ปาก อย่างบีบ
ขึน้ เพดานออกทางจมูก จะทาให้เสียงกังวานไม่ชวนฟงั
4. กระแสเสียงที่นุ่มนวลมีกงั วาน นอกจากธรรมชาติหลอดคออานวยให้แล้ว ยังต้อง
อาศัยการฝึกฝนและบารุงอนามัยอีกด้วย
14

5. คาร้องกับสาเนียงต้องพยายามดัดแปลงให้ชดั เจนเลียนเสียงเครื่องดนตรี (คาร้องอาจ


ไม่ชดั เหมือนคาพูด) การอ้าปากเป็นอุปกรณ์ให้ชดั และเป็นทีส่ ่งกังวาล
6. การเคลื่อ นทานอง (ลีล า) นอกจากยึดลักษณะตัวโน้ ต เป็ นหลักแล้ว ต้อ งพยายาม
พิจารณาถึงความสาคัญหนัก-เบา ของบทประพันธ์ และรสนิยมอาจมีแฝงอยู่ในทานองเพลงบทนัน้ ด้วย
เจตนาดีงามเพื่อการดนตรีดว้ ยเสมอ
7. ความรู้สกึ มีชวี ติ คาร้องแลสาเนียงของเพลง นอกจากจะเป็ นไปตามบทประพันธ์
และโน้ ตแล้ว ต้องอาศัยความรู้สกึ ทางจิตใจของผู้ขบั ร้อง ที่จะให้โอนอ่อนไปตามความมุ่ง หมาย
อนุเคราะห์ให้เพลงนัน้ มีชวี ติ จิตใจเกิดขึน้
เฉลิมพล งามสุทธิ (2526: 59) ลักษณะของการร้องประสานเสียงและร้องเดีย่ ว (Vocal
Music) ลักษณะการขับร้องทีเ่ ป็ น (Vocal Music) นัน้ ผูร้ อ้ งจะต้องผ่านการฝึกมาอย่างดีเป็ นเวลานาน
น้ าเสียงจะต้องได้รบั การแก้ไ ขให้ม ีความสูงต่ าเท่ากับเสียงดนตรี เช่นผู้หญิงร้องเสียงโซปราโน
ก็ต้องร้องให้มนี ้ าเสียงสูง สดใสกังวานเท่ากับเครื่องดนตรีในกลุ่มโซปราโน ผู้ชายเสียงเทนเนอร์
ก็ต้องร้องให้มนี ้ าเสียงเท่ากับเครื่องเทนเนอร์ ผู้ร้องจะต้องใช้อวัยวะออกเสียงให้ถูกน้ องทัง้ ปอด
หลอดเสียง ขากรรไกร และโพรงปาก ริมฝีปาก การร้องก็ไม่นิยมใช้เครื่องขายเสียง แต่จะใช้เสียง
ธรรมชาติ ทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดผลเต็มที่ บทเพลงทีน่ ามาร้องก็มกั จะนามาจากวรรณคดี หรือบทกวีนิพนธ์
ทีม่ คี วามหมายลึกซึง้ การฝึกฝนทางการร้องมีความยากง่ายไม่แพ้กบั การฝึกทางดนตรี
ดุษฎี พนมยงค์ ( 2539: 42-43) ได้เขียน สานฝนั ด้วยเสียงเพลงมาฝึ กร้องเพลงกันเถิดว่า
การร้องเพลงเป็ นกิจกรรมทีค่ นทัว่ ๆ ไปกระทาอยู่เสมอในสังคมปจั จุบนั เพลงทีน่ ิยมหรือติดอันดับมาก
เป็นเพลงทีค่ นทัวไปน ่ ามาร้องเล่นกันอยู่ เสมอ ๆ การร้องเพลงเป็นทักษะทางดนตรีทอ่ี าจกล่าวได้ว่า
มีอยู่ในคนทุกคน แต่เ ป็ นทักษะดนตรีท่ตี ้องได้รบั การฝึ กฝนเช่นเดียวกับทักษะอื่นๆ ทางดนตรี
เนื่องจากากรร้องเพลงมีหลายลักษณะและเทคนิคต่างๆ ในการร้องเพลงได้ไพเราะน่ าฟงั ดันนัน้
เราจึงควรฝึ กร้องเพลงเพื่อที่จะเรียนรู้เทคนิคการขับร้อง เมื่อฝึ กฝนก็ย่อ มได้รบั ความรูเ้ กิดความ
ชานาญในการขับร้อง จากทีร่ อ้ งไม่เป็นเลย ก็ทาให้พอจะร้องได้บา้ ง
เมือ่ เกิดความสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจ เมื่อร่างกายผ่อนคลาย จิตใจก็คลายเครียด
ความสมดุลระหว่างกายและใจก็เกิดขึน้ โดยเฉพาะเสียงดังต่อไปนี้
เสียงในลาคอ ภาษาอิตาเลียนเรียกว่า “Voice Gutturale” เสียงในลาคอเกิดโดยสูดลม
เข้าปอดไม่ลกึ พร้อมกับเกร็งกล้ามเนื้อ
เสียงนาสิก ภาษาอิตาเลียนเรียกว่า “Voice Nasale” หากริมฝีปากเกร็งและจมูกหดเข้า
ก็ทาให้เกิดเสียงนาสิกหรือเสียงขึน้ จมูกบางครัง้ ถ้ากล้ามเนื้อคอเกร็ง ก็อาจเกิดเสีย งนี้ได้ (หากเกิด
เสียงนาสิกก็จะร้องเสียงสูงไม่ได้ด)ี
เสียงแหบ ภาษาอิตาเลียนเรียกว่า “Voice Bianca” เสียงแหบเป็ นเสียงสะท้อนบางส่วน
ที่กกั ในช่องปากส่วนบนและช่วงต่อของกะโหลกและช่องอกน้ าเสียงไม่ใส จัดอยู่ในประเภทเสียง
ในลาคอ วิธแี ก้ไขที่ดที ่สี ุดคือการฝึ กฮัมเพลงด้วยแบบฝึ กหัดช้า ๆ ไล่บนั ไดเสียงลงห้ามฝึ กด้วย
เสียงสูง และแบบฝึกหัดเร็ว ๆ
15

เสียงบอด (Blind Voice) เสียงบอดเกิดจากคลื่นเสียงออกทางโพรงจมูก เสียงงึมงาไม่ม ี


การเปลี่ยนแปลง ฟงั แล้วรู้สกึ ว่ากลวง เพราะคอกับโคนลิ้นยกขึ้นทาให้คลื่นเสียงหมุนเวียนไม่ดี
ควรฝึกโดยใช้เสียงสระ “โอ” และ “อู”
เสียงอูอ้ ้ี (Sheep Voice) เสียงอูอ้ ม้ี กั เกิดจากอวัยวะทีใ่ ช้ออกเสียงอ่อนแรง เสียงเบาและ
ไม่มแี รงจึงต้องพักให้อวัยวะออกเสียงฟื้นคืนสภาพจึงจะแก้ไขเสียงอูอ้ ไ้ี ด้
เสีย งสัน่ ภาษาอิต าเลีย นเรีย กว่ า “Tremolo” เสีย งสัน่ เกิด จากการขาดความเข้า ใจ
อย่างถูกต้องเกี่ยวกับเสียงพลิ้ว (Vibrato) ซึ่งต่างกันในกรณีของเสียงสันนั ่ น้ ลมหายใจรัวออกทาง

เส้นเสรียง ตาแหน่งคอมไคทีก่ ล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ขาดความยืดหยุ่น ร้องเสียงระดับสูงออกมาไม่ได้
และไม่สามารถร้องเสียงระดับกลางด้วย
เพลงในแนวสุนทราภรณ์นัน้ ส่วนใหญ่มกั จะดัดแปลงหรือเลียนแบบทานองของเพลงไทยเดิม
ซึ่งบางเสียงยัง ใช้เ ทคนิค แบบเพลงไทยอยู่ ดังนัน้ จากการศึก ษาแนวเพลงด้า นการขับ ร้อ ง
เพลงไทย ได้มผี กู้ ล่าวถึงดังนี้
กาญจนา อินทรสุนานนท์ (2540 : 67-95) ศัพท์ทางด้านการขับร้องเพลงไทย
1. เสียงครัน่ เป็นความถนัดไม่ปรากฏในท่อนใดหรือทีใ่ ดของบทเพลงซึง่ อยู่ทค่ี วามเหมาะสม
ของบทเพลงนัน้ ๆ “ครัน” ่ เป็นส่วนหนึ่งของการประคบเสียง โดยการเอื้อนเสียงสะดุดและสะเทือน
อย่างต่อเนื่อง ซึง่ อาจจะยืนเสียงเดิมหรือไม่กไ็ ด้
“ครัน” ่ หมายถึง การทาเสียงร้องสะดุดสะเทือนเพ่อให้เกิดความไพเราะเสียงนี้จะ
ออกมาแค่อกคล้ายการกระแอม แต่กระแอมจะลึกกว่า ครัง้ จะมีทงั ้ ยาวและสัน้ แบ่งเป็ น 2 แบบคือ
ครันที
่ ท่ านองและครันที ่ ค่ าร้อง
“ครัน้ ” หมายถึง การลากเสียงอือ หรือเสียงอื่น โดยสะเทือนเสียงที่เพดานขึน้ นาสิก
แล้วสะดุดเสียง
2. “กระทบ” มีทงั ้ ในคาร้องและคาเอื้อน โดยการเปล่งเสียงเอื้อนอย่างน้อย 3 พยางค์
ขึน้ ไป โดยทีพ่ ยางค์หลังต้องกระชัน้ และกระชับ
“กระทบ” หมายถึง การออกเสียงต่างระดับกัน อาจเป็ น 2 เสียง หรือ 3 เสียง เรียกว่า
กระทบ 2 เสียงหรือกระทบ 3 เสียง การออกเสียงกระทบเป็ นการนาเสียง 2 หรือ 3 เสียงมาเฉียดกัน
เท่านัน้ มี 2 ลักษณะคือ กระทบเสียงตรง กระทบต่างเสียง และแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ กระทบ
คาร้องและกระทบทานอง
“กระทบ” หมายถึง การลากเสียงยาวมาสัมผัสเสียงสัน้ และกลับมาเสียงเดิม เช่น
เออ - เฮอะ - เออ เสียงกระทบนี้อาจทาได้หลายครัง้ ต่อเนื่องกัน ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของผูร้ อ้ ง
3. “เน้นเสียง” มีทงั ้ ในคาร้องและคาเอื้อน โดยการเปล่งเสียงให้หนักหรือเบากว่าปกติ
เพื่อให้เกิดความไพเราะ ตรงกับอารมณ์เพลง ความหมายของคาและอักขรวิธ ี
“เน้นเสียง” หมายถึง การท าเสีย งให้ชดั ขึ้น ตามความเหมาะสมของค าร้อ งและ
อารมณ์เพลง จะพบแต่การเน้นคาร้อง ยังไม่พบการเน้นทานอง
16

“เน้นเสียงเน้นคา” หมายถึง การให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนัก


เสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ จะเห็นได้ชดั เจนในเรื่องของร้องเพลงละคร ต้องเน้นทุกถ้อย
กระทงความ เสียงหนัก /เสียงเบา
4. “ประคบเสียงประคบคา” เป็นการเปล่งเสียงให้นุ่มนวล ไพเราะ ตรงกับอารมณ์เพลง
ความหมายของคาและอักขรวิธ ี โดยเสียงทีอ่ อกมานัน้ จะต้องมีความพอดี ไม่มากไม่น้อยเกินไป
“ประคบเสียงประคบคา” ลักษณะคล้ายการเน้นเสียงแต่มากกว่า
“ประคบเสียงประคบคา” หมายถึง การทาเสียงและคาร้องให้ชดั เจน ตรงตามความ
ประสงค์ของทานองโดยไม่ดงั หรือไม่เบาตนเกินไป
5. “กล่อมเสียง” มีลกั ษณะคล้ายประคบเสียง
“กล่อมเสียง” หมายถึง การทาเสียงให้นวลเนียนราบรืน่
“กล่อมเสียง กลิง้ เสียง กลึงเสียง” มีลกั ษณะคล้ายประคบเสียง แต่ขน้ึ อยู่กบั เทคนิค
และลีลาของผูร้ อ้ ง
6. “กลิ้งเสียง” เป็ นลักษณะที่คล้ายกับการครันแต่ ่ จะนุ่ มนวลกว่า มีการโหนเสียงเข้า
ผสมเล็กน้อย จะใช้เสียงต่อเนื่องกันมีระดับเสียงมากว่า 2 เสียงขึน้ ไป
7. “กลึงเสียง” มีการกล่อมทานองร้องมาผสม คาว่ า กลึงเสียง และตึงเสียง น่ าจะเป็ น
เสียงเดียวกัน
8. “กลืน เสีย ง” เสีย งร้อ งจะหมดที่ท้ายค าในส่ ว นที่เ ป็ น ท านอง เสีย งจะอยู่ใ นล าคอ
เป็นเสียงทีค่ ่อนข้างต่า ต้องใช้เสียง อือ จึงจะกลืน มักพบในเพลงสาเนียงมอญ
“กลืนเสียง” คือ การร้องโดยเผยอปากเล็กน้อย ทาให้เสียงผ่านลงลาคอแล้วเปล่งเสียง
กลับออกมาใหม่ คล้ายเสียงกลึงแล้วปล่อยออกมาใหม่
9. “ขยักขย่อนเสียง” หมายถึง การเปล่งเสียงเอือ้ น ทีย่ นื เสียงเดียว โดยการปรุงแต่งเสียง
ให้สละสลวยตรงตามทานองหลัก
10. “ครวญ” หมายถึง การเปล่ ง เสียงออกจากล าคอเป็ นเสีย งเอื้อ นโดยโยนเสีย งและ
ผันเสียง โหนเสียงไปสูงและต่า มีทงั ้ เสียงหนักและเสียงเบา เลื่อนไหลติดต่อกันไปจนกว่าจะหมดช่วง
ทานอง มักจะมีคาสุดท้ายของเพลงที่จะร้องครวญ “ครวญ” จะมีอยู่ในเพลงร่ายนอก เพลงโอ้ป่ี
เพลงประเภทหน้าทับสองไม้
“ครวญ” หมายถึง ลักษณะของทานองเพลงที่แสดงถึงอารมณ์โศกเศร้า โดยกาหนด
รูปแบบไว้โดยเฉพาะในการแสดงโขนละครเท่านัน้ เป็ นทีห่ มายรูก้ นั ในหมูน่ กั ร้อง
“ครวญ” หมายถึง เทคนิคการเปล่งเสียงคาร้องและการเอื้อน เพื่อให้เกิดอารมณ์
เศร้าโศก โดยอาจจะขยายทานองได้ตามความเหมาะสม ในอัตราจังหวะหน้าทับเดิม
11. “คร่ อ ม” หมายถึง การร้อ งที่ล งเสีย งไม่ ต รงจัง หวะ อาจจะลงก่ อ นจัง หวะหรือ
หลังจังหวะ หรือหลังจังหวะ เช่น การลัก การย้อน เสียงที่จบทานองต้องตรงกับเสียงที่กาหนดไว้
โดยเจตนาให้เกิดความไพเราะ
17

“คร่อม” หมายถึง การขับร้องที่ลงเสียงกึ่งกลางจังหวะเป็ นวิธกี ารเฉพาะของผู้ประพันธ์


และผูข้ บั ร้อง โดยนามาใช้ในบางช่วงของเพลง
“คร่อ ม” หมายถึง วิธ ีการขับร้อ งที่เ จตนาร้อ งให้ไม่ต รงจังหวะ เพื่ อ ความไพเราะ
และแสดงออกถึงอารมณ์ในเฉพาะบางเพลง
12. “ควงเสียง” จะคล้ายกับศัพท์อ่นื เช่น ช้อนเสียง โยนเสียง โหนเสียง ผันเสียง
“ควงเสียง” หมายถึง การขับร้องทีใ่ ช้เสียงสูงลงมาหาเสียงต่ า หรือเสียงต่ าขึน้ ไปหา
เสียงสูงในเสียงเดียวกัน
“ควงเสียง” แบ่งเป็ นควงเสียงสูงและควงเสียงต่า
“ควงเสียงสูง” หมายถึง การร้องที่ต้องใช้การม้วนเสียง โดยเริม่ จากเสียงต่ าไปหา
เสียงสูงให้เสียงต่อเนื่องกันแล้วสะบัดเสียงในตอนท้าย
“ควงเสียงต่ า” หมายถึง การร้องที่ต้องใช้การม้วนเสียง โดยเริม่ จากเสียงสูงลงหา
เสียงต่าโดยให้เสียงต่อเนื่องกันแล้วสะบัดเสียงในตอนท้าย
13. “ช้อนเสียง” หมายถึง ลีลาการร้องทีเ่ น้นถ้อยคา โดยใช้เสียงต่าไปหาเสียงสูง
“ช้อ นเสียง” หมายถึง เป็ นการขับ ร้อ งที่ใ ห้เ สียงอ่ อ นลงมา แล้ว ย้อ นเสียงขึ้นไป
เพื่อให้คาชัดเจนและนุ่มนวล
“ช้อนเสียง” หมายถึง การขับร้องทีใ่ ช้ความหนักเบาของระดับเสียงแสดงความเด่นชัด
ของคาร้องบางคาให้เหมาะสมกับอารมณ์เพลง
ั ้ ยง” หมายถึง การบังคับเสียงร้องออกจากลาคอให้กลมกล่อมชัดเจน ตัง้ ใจทีจ่ ะ
14. “ปนเสี
ขับร้องลื่นหู
15. “ปริบ” หมายถึง การลากเสียงอือ หรือเสียงอื่น โดยสะเทือนเสียงทีเ่ พดานขึน้ นาสิก
แล้วสะดุดเสียง มีลกั ษณะเดียวกับครันแต่ ่ เสียงสันกว่
่ า
“ปริบ” หมายถึง เสียงเบาและสันกว่่ ากระทบ
16. “โปรย” หมายถึง ลีลาการร้องทีเ่ น้นถ้อยคา โดยการโรยเสียงจากสูงลงมาหาเสียงต่า
17. “ผันเสียง” หมายถึง การไล่หางเสียงทีถ่ อ้ ยคานัน้ ๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจนยิง่ ขึน้
18. “ผ่อนเสียง” หมายถึง การร้องโดยก่อนที่จะเปล่งเสียงต้องสูดลมหายใจเข้าให้เต็มที่
เมื่อต้องการใช้เสียงยาวก็ค่อยๆ ผ่อนลมออกทีละน้อยอย่างสม่าเสมอแม้จะต้องทาเสียงที่มชี ่วงยาว
ตามกาหนดจังหวะหนึ่งฉิ่ งหนึ่งฉาบก็ตาม วิธ ีน้ีจะช่วยชะลอกาลังไว้ ใ ห้มมี ากพอและผ่ อ นใช้ใ ห้
พอเหมาะดี ก็จะมีกาลังเสียงใช้ได้อย่างพอเพียง
“ผ่อนเสียง” หมายถึง การทาเสียงให้เบาลงเพื่อให้เกิดความไพเราะในถ้อยคาและ
ทานองเพลง
“ผ่อนเสียง” หมายถึง การออกเสียง โดยการลากเสียงให้ยาวและค่อยๆ เบาลงจาก
เสียงเดิมเพื่อให้เกิดความนุ่มนวล สามารถทาได้ทงั ้ คาร้องและทานองเอือ้ น
18

19. “ม้วนเสียงม้วนคา” หมายถึง การขับร้องที่ใช้ความหนักเบาของระดับเสียง แสดง


ความเด่ น ชัด ของค าร้อ งและการเอื้ อ นเช่ น เดีย วกับ การช้ อ นเสีย ง โดยเพิ่ม ความละเอี ย ด
ของท่วงทานองลักษณะนี้มกั ใช้ในตอนจบของท่อนเพลง
20. “โยกเสีย ง” หมายถึง การท าเสียงสูงๆ ต่ า ๆ ในระดับเสียงเดิม กลับไปกลับมา
หลายๆ ครัง้ จนกว่าจะหมดทานอง
“โยกเสียง” หมายถึง การขับร้องทีใ่ ช้เสียงเอื้อนตัง้ แต่ 2 เสียงขึน้ ไปเคลื่อนไปมาจาก
ช้าไปหาเร็ว
“โยกเสียง” เป็ นวิธกี ารเอื้อ นเสียงหนึ่งไปยังอีกเสียงหนึ่ง โดยการสลับเสียงไปมา
อย่างต่อเนื่อง มีการผ่อนเสียงบ้างเพื่อให้เกิดความไพเราะ
21. “โยนเสียง” หมายถึง การทาเสียงให้แกว่งไปมาจากเสียงหนึ่งไปยังอีกเสียงหนึ่ง และ
กลับมาเสียงเดิมให้ลงตามจังหวะ โยนเสียงนี้มไี ว้เพื่อเป็ นทีพ่ กั ของเพลงบางตอน และเปิ ดโอกาส
ให้ผรู้ อ้ งหรือผูแ้ ต่งเพลงได้ประดิษฐ์ทานองดัดแปลงออกไปตามความพอใจ จะสัน้ จะยาวเท่าใดก็ได้
เพียงแต่เมื่อสุดท้ายของการพิลกแพลงไปแล้ว ให้มาตกทีเ่ สียงอันเป็ นความประสงค์ของโยนเสียง
ตอนัน้ เท่านัน้
“โยนเสียง” เป็ นบทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีมากกว่าร้อง จึงไม่มขี อ้ มูล หากแต่รอ้ ง
ก็เป็นส่วนหนึ่ง
“โยนเสียง” เป็ นวิธกี ารเอื้อนเพื่อเชื่อมคาร้องหรือการเอื้อนให้รอ้ ยรัดติดต่อกัน โดย
การออกเสียงจากเสียงหนึ่งไปยังอีกเสียงหนึ่ง เน้นให้มนี ้ าหนักเสียง และกระแทกเสียงในบางตอน
ให้เหมาะสม ส่วนมากมักใช้เพลงสาเนียงมอญ
22. “รวบเสียง” หมายถึง การทาเสียงช่วงท้ายของทานองเพลงจากการดาเนินทานองร้อง
ในจังหวะเร็ว โดยสะดุดเสียงแล้วปล่อยทานองต่อไปให้ชา้ ลง
“รวบเสียง” หมายถึง การร้องเอื้อน 3 เสียงเริม่ จากเสียงที่ 1 ผ่านเสียงที่ 2 โดยเร็ว
และยืนอยูใ่ นเสียงที่ 3
“รวบเสียง” หมายถึง วิธกี ารร้องและการเอือ้ น ตัง้ แต่ 2 เสียงขึน้ ไปให้กระชับเน้นและ
ตรงจังหวะเพื่อแสดงอารมณ์เพลง ส่วนมากใช้ในเพลงทีม่ จี งั หวะเร็ว
23. “ลักจังหวะ” หมายถึง การร้องซึ่งดาเนินไปโดยไม่ตรงจังหวะ เสียงที่หนักน่ าจะลง
ตรงจังหวะก็ทาให้ตกลงทีอ่ ่นื ซึ่งไม่ตรงจังหวะ แต่การการะทานี้ เป็ นการกระทาโดยเจตนาเพื่อให้
เกิดความไพเราะหรือเร้าอารมณ์
“ลักจังหวะ” หมายถึง การขับร้องทีว่ างคาและทานองลงก่อนถึงจังหวะ
“ลักจังหวะ” หมายถึง วิธกี ารร้องที่เจตนาออกเสียงคาร้องหรือเอื้อนก่อนจังหวะตก
เพื่อให้เกิดความไพเราะ
24. “ย้อยจังหวะ” หมายถึง การร้องซึง่ ประดิษฐ์ทานองให้เสียงทีค่ วรจะตกลงจังหวะไปตก
หลังจังหวะ เมือ่ เป็นเช่นนี้ทานองของประโยคนัน้ ก็จะยาวกว่าประโยคธรรมดา
“ย้อยจังหวะ” คือ การขับร้องทีว่ างคาและทานองลงหลังจังหวะ
19

“ย้อยจังหวะ” หมายถึง วิธกี ารร้องที่เจตนาออกเสียงคาร้องหรือเอื้อนหลังจังหวะตก


เพื่อให้เกิดความไพเราะ ส่วนมากจะใช้ในคาร้องหรือเอือ้ นท้ายวรรคเพลง
25. “ล่วงหน้า” หมายถึง การร้องซึง่ ประดิษฐ์ทานองให้เสียงทีค่ วรจะตกลงตรงจังหวะไป
ตกก่อนจังหวะ
“ล่วงหน้า” มีความหมายเดียวกับคาว่า ลักจังหวะ
26. “เลื่อนไหล” หมายถึง การเอือ้ นเสียงเปล่าไปตามทานองเพลง
“เลื่อนไหลเสียง” หมายถึง การขับร้องทีเ่ ปล่งเสียงเอื้อนอย่างต่อเนื่องจากระดับเสียง
สูงมาหาระดับเสียงต่า
“เลื่อนไหล (ขึน้ -ลง) เป็ นวิธกี ารขับร้องหรือเอื้อนทีเ่ จตนาลากเสียงจากระดับเสียงต่ า
ไปหาเสียงสูง หรือจากระดับเสียงสูงไปหาเสียงต่ าอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องกัน ส่วนมากใช้ใน
เพลงสาเนียงมอญ
27. “เสียงสะดุด” หมายถึง การทาเสียงให้กระทบกันเหมือนสะดุดเพียงเบาๆ ในระหว่าง
เสียงว่างเล็กๆ น้อยๆ สาหรับใช้สอดแทรกหรือปรุงแต่งให้มอี รรถรสยิง่ ขึน้
28. “เสียงปริบ” หมายถึง การปฏิบตั กิ ารเอือ้ นเสียงหนึ่งไปอีกเสียงหนึ่ง เสียงที่ 1 จะเป็ น
เสียงหนัก เสียงที่ 2 จะเป็นเสียงเบา
29. “ผ่านเสียง” หมายถึง การขับร้องที่ใช้เสียงเอื้อนจากเสียงหนึ่งอย่างต่อเนื่องไปยังอีก
เสียงหนึ่ง “เลื่อนไหลและผ่านเสียง” มีความสัมพันธ์กนั มีหน่ วยเสียงทีล่ าดับกันหรือชิดกันไป การ
ผ่านเสียงจะอาศัยการเลื่อนไหล โดยให้เลื่อนไหลบนเสียงต่างๆ โดยเสียงต่อเนื่องกันไม่ขาดเสียง
30. “หางเสียง” หมายถึง การใช้เสียง “หือ” ท้ายถ้อยคา ท้ายเสียง และเอื้อนเพื่อปรับและ
ตกแต่งคาให้ชดั เจน และไพเราะตามเสียงดนตรี เสียง “หือ” ใช้เฉพาะท้ายเสียงอักษรสูง และใช้เป็ น
หางเสียงของเอือ้ นหรือใช้ในตอนสุดวรรคสุดตอนของเพลง
“หางเสียง” หมายถึง การลากเสียงให้สูงขึน้ จากเสียงเดิมพียงเล็กน้อยในตอนท้าย
ของคาร้องหรือการเอือ้ น เพื่อให้คาชัดเจนหรือไพเราะยิง่ ขึน้
31. “เหิน เสีย ง” หมายถึง การท าเสีย งเอื้อ นให้เ ลื่อ นไหลจากต่ า ไปหาสูง มีล ัก ษณะ
คล้ายคลึงกับการช้อนเสียง
“เหิน เสีย ง” เป็ น วิธ ีก ารร้อ งหรือ เอื้อ นที่เ จตนาลากเสีย งให้ สู ง ขึ้น จากเสีย งเดิม
อย่างสม่าเสมอแบบต่อเนื่องกันในช่วงสัน้ ๆ
32. “โหนเสียง” หมายถึง การทาเสียงเอื้อนให้เลื่อนไหลจากระดับเสียงสูงเดิมให้สูงขึน้ ไปอีก
ส่วนใหญ่จะใช้กบั เพลงทีม่ อี ารมณ์เศร้า ประเภทเพลงทยอย
33. “เสียงลอย” หมายถึง การร้อ งที่มเี สียงไม่ถึงเสียงสูง หรือระดับเสียงต่ ากว่าเสียง
ทีก่ าหนด เป็นลักษณะของการร้องทีถ่ ูกต้อง
“เสียงลอย” เป็นวิธกี ารลากเสียงยาว ส่วนใหญ่จะใช้กบั ระดับเสียงสูง
“เสียงลอยจังหวะ” เป็ นวิธ ีการขับร้องที่ล ากเสียงจนกว่าจะครบจังหวะหน้ าทับหรือ
รอให้ตกจังหวะหน้าทับก่อนแล้วจึงร้องคาต่อไป นิยมใช้กบั เพลงหน้าทับทยอย
20

34. “เสียงอาศัย” หมายถึง ความพยายามใช้เสียงของผูข้ บั ร้อง ทีจ่ ะใช้เสียงสูงกว่าระดับ


เสียงจริงของแต่ละบุคคล โดยเปล่งเสียงออกทางปากและจมูก ทาให้เสียงที่ออกมาเบากว่าปกติ
จะใช้ต่อเมือ่ มีความจาเป็นเท่านัน้
35. “ล่อนผิวลม” หมายถึง เสียงทีใ่ ช้สอดแทรกในระหว่างเสียงที่ว่างน้อยๆ เสียงเบากว่า
ครันแทรกอยู
่ ใ่ นเสียงปริบ เป็นเสียงนิดๆ
“ล่อนผิวลม” หมายถึง การร้องทีผ่ ่อนเสียงหนักเบาใช้ในช่วงเอือ้ นไปรับคา
36. “อมเสียง” หมายถึง การออกเสียงตรีเป็นเสียงอือ และเสียงฮือ (ช่วงเท่า)
“อมเสียง” หมายถึง ลักษณะคาร้องของคาบางคาที่ต้องใช้วธิ กี ารหุบปากเก็บเสียง
แล้วระบายเสียงออกจากจมูกเป็นบางส่วน เพื่อไม่ให้เสียงขาดและทาให้เกิดอารมณ์เพลง
37. “ปนค ั ้ า” หมายถึง การบังคับเสียงตกแต่งคาร้องให้ไพเราะกลมกล่อมชัดเจน
38. “เสียงลงทรวง” เป็ นเทคนิคการใช้เสียงที่เลื่อนไหล จากลาคอสู่ทรวงอกเป็ นทักษะ
ทีเ่ กิดจากเสียงต่า
“เสียงลงทรวง” หมายถึง วิธกี ารขับร้องทีเ่ กิดจากการออกเสียงจากลาคอลงทรวงอก
แล้วเปล่งออกมา เพื่อเกิดอารมณ์ต่างๆ นิยมใช้ในเพลงสาเนียงมอญ และทานองแหล่
39. “เสียงพริว้ ” เป็นเทคนิคการทาเสียงทีใ่ ช้ถ้อยคาชัดเจนไพเราะขึน้ คล้ายสะบักแต่เบา
และนุ่มนวลกว่า
“เสียงพริว้ ” หมายถึง วิธกี ารขับร้องที่ทาให้หางเสียงเกิดความสันไหว ่ และแผ่วลง
เล็กน้อย
40. “ร่อนใบไม้ร่วง” หมายถึง เสียงทีค่ ่อยๆ เลื่อนไหลจากเสียงสูงลงมาหาเสียงต่ า ไปสู่
เสียงทานองหลัก
“ร่อนใบไม้ร่วง” หมายถึง การขับร้องที่ใช้วธิ กี ารสะบักเสียงเป็ นช่วงๆ โดยเริม่ จาก
เสียงสูงไปหาเสียงต่า หรือจากเสียงต่าไปหาเสียงสูงโดยลากเสียงตัวสุดท้ายของแต่ละช่วงให้ยาว
41. “สะบัดเสียง” หมายถึง การทาเสียงตัง้ แต่ 3 เสียงขึน้ ไปในตอนท้ายบางช่วงของ
การเอือ้ นให้ต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว
“สะบัดเสียง” หมายถึง วิธกี ารขับร้องทีท่ าให้เกิดเสียงจากเสียงเดิม ตัง้ แต่ 3 เสียงขึน้ ไป
อย่างรวดเร็วในส่วนท้ายของหางเสียง
42. “ทิง้ เสียง” หมายถึง การจบคาร้องโดยไม่มเี สียงเอือ้ นต่อท้าย
“ทิง้ เสียง” เป็นวิธกี ารขับร้องทีเ่ น้นคาร้องเป็นคาๆ แต่ให้มคี วามไพเราะ
43. “บีบเสียง” เป็ นวิธกี ารขับร้องที่เกิดจากการเกร็งที่กราม หรือช่วงท้องเพื่อแก้ปญั หา
การขับร้องให้เสียงสูงตรงกับเสียงทีต่ อ้ งการ จะคล้ายเสียงอาศัยหรือเสียงผี
44. “กนกคอ” เป็นวิธกี ารขับร้องทีใ่ ช้การเอื้อนลูกคอให้มคี วามไพเราะ เหมือนเป็ นกลเม็ด
อย่างหนึ่ง
45. “ประดิษฐ์คา” เป็นวิธกี ารออกเสียงให้ไพเราะ
46. “สาเนียงเพลง” เป็นบทเพลงทีม่ ที านองหรือลีลาทีส่ ่อื ความหมายถึงชาติพนั ธ์
21

โฉมฉาย อรุณฉาน (สทท.11. 2545 : 7) มีหลักในการร้องเพลงว่าการร้องเพลง คือ การ


ฝึ ก สมาธิขนั ้ ต้นโดยอาศัยหลัก ปฏิบตั ิของการฝึ กสมาธิ คือ การหายใจเข้า – ท้องป่อง และการ
หายใจออก – ท้องแฟ็ บ เป็ นแนวทางกาหนดลมหายใจขณะขับร้อ งเพลง การร้องเพลงจะต้อ ง
ขับร้องอย่างมีความสุขแม้ว่าบทเพลงทีก่ าลังร้องอยูน่ นั ้ เป็นเพลงเศร้าจนผูร้ อ้ งน้ าตาซึมก็ตาม เธอให้
หลักง่ายๆ ของการร้องเพลงไว้ 4 ประการ คือ
1. เปล่งเสียงให้เต็มเสียงจากช่องท้อง
2. ออกเสียงอักขระวิธใี ห้ชดั เจน
3. ถ่ายทอดบทเพลงอย่างเข้าถึงอารมณ์เพลง
4. ขับร้องเพลงไทยด้วยสาเนียงไทย
ดุษ ฎี พนมยงค์ (2539 : 16-18) การหายใจ ลมหายใจเป็ นพื้นฐานของการขับร้อ ง
หากไม่มวี ธิ กี ารควบคุมและผ่อนลมหายใจทีด่ กี ไ็ ม่สามารถมีเสียงอันไพเราะได้ ไม่ว่าจะขับร้องเพลง
ประเภทใดก็ต าม พื้นฐานการหายใจก็ล้ว นมีว ิธ ีเ ดียวกันทั ง้ สิ้น การหายใจเป็ นการเคลื่อ นไหว
ของอวัยวะทีใ่ ช้หายใจทางานร่วมกับอวัยวะทีใ่ ช้ออกเสียงและอวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงสะท้อน มิใช่
อาศัยเพียงการสูดลมหายใจเข้าออกเท่านัน้ วิธกี ารหายใจทีถ่ ูกต้องมีเพียงอย่างเดียว เมื่อหายใจ
เข้ากะบังลมจะเคลื่อนลงต่ าทาให้เกิดที่ว่าง บริเวณทรวงอก อากาศภายนอกจะไหลเข้าไปแทนที่
โดยผ่านปากหรือจมูก หลอดลม แล้วจึงเข้าสู่ปอด เมื่อหายใจออกกะบังลมจะยกตัวขึน้ สูง อากาศ
ภายในจึงถูกผลักออกมาทางหลอดลม จมูกและปากเช่นเดียวกัน
การหายใจเช้าไปภายในก้นบึ้งของปอดแล้วค่อยๆ เติมลมในช่วงบนของปอดเปรียบเสมือน
การรินน้าใส่แก้ว น้าจะไหลลงไปในก้นแก้วแล้วจึงล้นขึน้ มาข้างบน
การฝึ กหายใจ ขัน้ แรกต้องให้ความสนใจกับการวางท่าทางเพื่อไม่ให้อวัยวะที่เ กี่ยวข้อง
ถูกกดทับ ต้องยืนตรงอย่างมันคง ่ ยืดอก ผ่อนคลายทุกส่วนในร่างกาย ทาให้สบายๆ ใจต้องสงบใจยิง่
สงบลมหายใจยิ่งเป็ นธรรมชาติ เพราะจิตกับกายส่ งผลต่อกัน หากลมหายใจไม่พอเพียงก็จะรู้ส ึก
ไม่เป็ นธรรมชาติและเหมือนกับขาดใจตาย อาจทาให้ผู้เริม่ ฝึ กใจเสีย สิง่ นี้ไม่เป็ นผลดีต่อการฝึ ก
ดังนัน้ ใจต้องสบายและจาเป็นต้องทาสมาธิก่อนการฝึกทุกครัง้
ขณะสูดลมหายใจเข้า ปอดจะขยายกว้า ง ซี่โ ครงยืด ออกสองข้า งท้อ งน้ อ ยขยายออก
เมื่อสูดลมเข้าเต็มทีแ่ ล้วก่อนปล่อยออกให้ใช้ซ่ีโครงกักลมไว้ 1-2 วินาที แล้วค่อยๆ ผ่อนลมออกมา
ช่วงทีป่ ล่อยลมออกมา คือช่วงทีเ่ ปล่งเสียงอย่างต่อเนื่อง ขณะหายใจออกให้ผ่อนลมช้าๆ จนรูส้ กึ ได้
ตอนฝึกใหม่ๆ จะรูส้ กึ เหนื่อยเพราะกะบังลมรับน้ าหนักมากขึน้ อย่างกะทันหัน แต่ฝึกไปซักพักก็จะ
ค่อยยังชัวขึ
่ น้ ขณะหายใจซีโ่ ครงก็ค่อยๆ กลับสู่สภาพก่อนสูดลมหายใจ แต่ปอดจะไม่หดและคลาย
ทันที ต้องให้รู้สกึ ว่าลมหายใจถู กพยุงอยู่ระหว่างช่องอกและสะดือ เสียงที่อ อกมาจึงเปี่ ยมพลัง
สามารถปรับใช้และควบคุมลมหายใจได้ เมื่อลมหายใจผ่านเส้นเสียงแล้วจึงถึงขัน้ ตอนการเกิดเสียง
ซึง่ ทางานประสานกันระหว่างอก ช่องท้องและกะบังลม การบีบและคลายตัวจะก่อให้เกิดกาลังลม
ทีต่ อ้ งการขณะเปล่งเสียง เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้เรือ่ ยๆ ก็จะเข้าใจแจ่มแจ้งโดยไม่รตู้ วั
22

การสูดลมไม่ต้องสูดมาก แต่ผู้ฝึกมักกลัวลมหายใจจะไม่พอจึงสูดเข้าเต็มปอดเลยทาให้
ส่วนอกโดยเฉพาะอกท่อนบนเกิดอาการเกร็ง ขาดความยืดหยุ่นจนทาให้เปล่งเสียงได้ยาก ความจริง
ปริมาณอากาศน้อยหรือปานกลางดีกว่าปริมาณอากาศมาก เพราะทาให้ปอดมีแรงยืดหยุ่น อีกทัง้
ไม่ เ กิด ความแน่ นและอึดอัด การเปล่ งเสีย งขณะหายใจออกก็ ต้ อ งควบคุ มลมหายใจโดยค่ อ ยๆ
ผ่านออกมา จุดประสงค์ของการฝึกหายใจก็เพื่อให้รอ้ งเพลงได้ดี ดังนัน้ การฝึกหายใจควรฝึกพร้อม
การออกเสียงเพื่อพิจารณาดูว่าวิธหี ายใจถูกต้องหรือไม่
กาญจนา อินทรสุนานนท์ (2538) กล่าวถึงการหายใจ ในที่น้ีหมายถึงการหายใจได้ถูก
ทีถ่ ูกต้องตามวรรคตอนของการเอือ้ นทานองและคาร้องโดยไม่ขดั กับลีลาของเพลง
ดุษฎี พนมยงค์ (2537) การเปล่งเสียง การเปล่งเสียงเป็นการฝึกต่อเนื่องจากการหายใจ
เมื่อควบคุมการหายใจได้ดี จะนาไปสู่การเปล่งเสียงที่ดี ควรนาการเปล่งเสียงมารวมกับขัน้ ตอน
การหายใจ การเปล่งเสียงเป็ นการประสานงานกันระหว่างอวัยวะสามส่ วนคือ อวัยวะที่ใ ช้การ
หายใจ อวัยวะที่ใช้ในการเกิดเสียงสะท้อน วิธกี ารเปล่งเสียงขึ้นอยู่ท่กี ารสามารถใช้เสียงที่เปล่ง
ออกมาเพื่อ ถ่ ายทอดอารมณ์ ค วามรู้ส ึกและเนื้อ หาของบทเพลง หลายคนมัก หวัง เพีย งให้แค่ ม ี
น้ า เสีย ง ที่ไ พเราะเท่ า นัน้ ซึ่ง ไม่ค รบถ้ว น ฉะนัน้ เสีย งที่ดีค วรมีล ัก ษณะ คือ น้ า เสีย งไพเราะ
คุณภาพเสียง สดใส มีเสียงสะท้อนกังวาน สิง่ เหล่านี้ต้องผ่านการฝึกฝนอย่างจริงจัง เพื่อให้เสียง
เป็ นธรรมชาติ ที่สุด การฝึ ก การเปล่ งเสียงควรเริ่มจากการเปิ ดช่อ งคอ กล่ าวคือ จาเป็ นต้อ ง
พยายามทาให้ช่องคอขยายออก และความเกร็ง เริม่ ฝึ กการเปล่งเสียงด้วยการพูด โดยเปล่งเสียง
เป็ นประโยค รวมทัง้ การเปล่งเสียงเร็วและช้า พร้อมทัง้ การใช้น้ าเสียงทีช่ ดั เจนหรือการเปล่งเสียง
สูงเสียงแหลม เสียงช้า-เบา ทีด่ งั ฟงั ชัด
การฝึกคาร้อง การขับร้องทีด่ นี นั ้ นอกจากการเปล่งเสียงและการฝึกทานอง จังหวะเพื่อให้
ได้เสียงทีม่ คี ุณภาพแล้ว การออกเสียงคาต่างๆ ในทานองเพลงให้ชดั เจนและถูกต้องตามอักขระวิธ ี
ก็เป็นสิง่ สาคัญ การออกเสียงผิดมักส่งผลต่อเนื้อหาของเพลง
อารมณ์ เ พลง การขับ ร้อ งเพลงไม่ ว่ า จะเป็ น เพลงประเภทใดก็ ต าม ถ้ า อาศัย เพีย ง
ความสามารถทางน้ าเสียงอย่างเดียวก็ไม่อาจจะสร้างความประทับใจให้แก่ ผู้รบั ชมรับฟงั ได้อย่าง
ลึกซึง้ ฉะนัน้ ผู้ขบั ร้องจาเป็ นต้องเข้าใจเนื้อหาและรูปแบบทานองอย่างถูกต้อง พร้อมทัง้ สามารถ
วิเคราะห์ว่าจะสื่อความหมายเช่นใดให้ผู้ฟงั เข้าใจ และซาบซึง้ กับบทเพลง การสื่อความหมายของ
บทเพลงให้ล ึก ซึ้งต้อ งเข้า ใจเนื้ อ หาสาระของบทเพลงนัน้ ๆ ให้ถ่ อ งแท้ หรือ ความต้อ งการของ
ผูป้ ระพันธ์ เพลงนัน้ ๆ จุดประสงค์หลักของการขับร้อง การใช้ความสามารถทางการขับร้องทีไ่ ด้รบั
การฝึกหรือประสบการณ์มานัน้ สื่อความหมายและเนื้อหาของบทเพลงอย่างมีชวี ติ ชีวา ใช้เสียงเพลง
อันไพเราะและเอกลักษณ์ของเสียงสร้างความเคลิบเคลิม้ และอารมณ์ต่างๆ ของเพลงให้กบั ผูฟ้ งั
23

งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง


ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ดังนี้
จิระศักดิ ์ จิตตบุตร (2542: 15) ได้กล่าวถึง ผลของรูปแบบเพลงไทยสากลทีส่ ร้างมาจาก
เพลงไทยเดิมมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ
1. ทาเพลงไทยคลาสสิค แพร่หลายไปทัวหมู ่ ่ชนทัวไป่ โดยเฉพาะวัยรุ่นทีร่ อ้ งเพลงไทย
สากล
2. ทาให้เกิดความชื่นชอบขึน้ ในหัวใจคนฟงั โดยไม่รตู้ วั พวกเด็ก ๆ เข้าใจว่าเป็ นทานอง
เพลงไทยสากล ครัง้ ฟงั ไปร้องไปจนติดใจแล้วก็เท่ากับฟงั และร้องเพลงไทยเดิมด้วย
3. ทาให้ปลูกฝงั เพลงไทยคลาสสิค ลงในหมู่เยาวชนง่ายขึน้ เพียงแต่แนะนาว่าเพลงทีเ่ ขา
ชอบอยู่นัน้ เป็ นเพลงไทยเดิมแล้วบรรเลงให้เขาฟงั จะเข้าใจถึงความงามของเพลงไทยคลาสิคได้ด ี
ทีเดียว
นอกจากนัน้ ยังได้ก ล่าวถึง จิระศักดิ ์ จิตตบุตร (2542: 15) ลักษณะเพลงไทยสากล
ประเภทสังคีตสัมพันธ์ มีลกั ษณะดังนี้
1. ความเป็นไทยในรูปแบบของเพลง คือ ความถูกต้องในด้านการใช้ภาษาไทย
2. ความเป็นไทยในการประพันธ์ทานองอาจสร้างใหม่ทงั ้ หมดหรือนาเค้าเดิมจากของเก่า
มาใช้ หรือใช้ทานองของเก่าจนตลอดเพลงก็ได้
3. ความเป็ นไทยในจังหวะลีลาในการขับร้องและบรรเลง การขับร้องมี การเอื้อนเสียง
การทอดเสียง การใช้ลูกคอ ตลอดจนการผสานรอยต่อระหว่างวรรคของคาร้องและการเชื่อมโยง
ของทานอง
4. ความเป็ นไทยในปรัชญาชีวติ ความเชื่อ รสนิยม ตลอดจนวัฒนธรรมที่ แสดงออก
ก็บ่งบอกถึงความเป็นไทย
5. ความเป็ นไทยในบุคลิก ของนักดนตรีและนักร้อง กิรยิ ามารยาทของนักเรียน เช่น
นักร้องในเพลงสุนทราภรณ์ มีเอกลักษณ์เป็นแบบฉบับของนักร้องเพลงไทย
เอกรินทร์ สีม่ หาศาลและคณะ (2544: 4) ได้กล่าวถึง การขับร้องเพลงไทยสากล ไว้ว่า
เพลงไทยสากลเป็ นเพลงทีถ่ ูกแต่งขึน้ โดยใช้แนวทานองดนตรีสากล ซึง่ แนวทานองเพลงจะแตกต่าง
จากเพลงไทย คือ ไม่มกี ารเอื้อน มีตวั โน้ตเป็ นตัวบอกจังหวะและทานอง ในปจั จุบนั เพลงไทยสากล
มีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบตั ิ ดังนี้
1. ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทานองเพลง
2. ร้องให้เต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
3. ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
4. ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
5. ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงทีข่ บั ร้อง
6. ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สมั พันธ์กบั ความหมายของเพลง
24

เจตนา นาควัชระ (2540 : 25) ได้กล่าวว่าเพลงไทยสากลเป็ นขุมทรัพย์ทางวรรณศิลป์


อันมหาศาลทีค่ นเป็นจานวนไม่น้อยอาจมองข้ามไป
ดิเรก ทัศมาลัย (2545) ได้ศกึ ษาอัตชีวประวัตแิ ละวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงของ
พิมพ์ปฏิพาณ พึง่ ธรรมจิตต์ การศึกษาวิเคราะห์พบว่า วิธกี ารประพันธ์ทานองของ พิมพ์ปฏิพาณ
จะเป็นการเขียนทานองในประโยคถามและตอบ ทีม่ ลี กั ษณะของ ริทมึ มิคแพทเทิรน์ ทีเ่ หมือนกันนัน้
เป็นเพราะว่าผูป้ ระพันธ์เนื้อร้องขึน้ ก่อนแล้วจึงประพันธ์ทานอง ซึง่ จะแตกต่างจากหลักการประพันธ์
ของดนตรีตะวันตก ซึง่ จะประพันธ์ทานองขึน้ ก่อน ทานองส่วนใหญ่เป็ นโน้ตในคอร์ด มีการเกลา
ทานองโดยใช้โน้ตนอกคอร์ด ทาให้แนวทานองดาเนินไปอย่างต่อเนื่องกัน ในด้านโครงสร้างของ
ทานอง ผลจากการวิเ คราะห์พ บว่ า การประพัน ธ์เ พลงของพิม พ์ปฏิพ าณ พึ่งธรรมจิต ต์ จะ
ประพันธ์เนื้อร้องก่อนแล้วจึงนามาเขียนเป็ นทานอง ดังนัน้ การเขียนโครงสร้างของทานองเพลง
แต่ละเพลงจึงมีทงั ้ ทีอ่ ยู่ในแบบฟอร์มและไม่อยู่ในแบบฟอร์มขึน้ อยู่กบั เนื้อร้องจะพาไป ในด้านการ
เรียบเรียงเสียงประสานเพลง ในชุดเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มีพระชนมายุ
ครบ 6 รอบ จากการวิเคราะห์พบว่า ผู้ประพันธ์จะประพันธ์เนื้อร้องก่อนแล้วจึงนามาเขียนเป็ น
ทานอง ดังนัน้ ผูป้ ระพันธ์จงึ ได้ใช้เทนชัน่ (Tension Of Dominant 7 th) เพื่อนาเอาโน้ตทีม่ ไิ ด้อยู่ใน
คอร์ดมาใช้ร่ว มอยู่ใ นคอร์ด ผู้ป ระพันธ์ได้เ รี ยบเรียงเสียงประสาน นัน้ กว้างมากขึ้นเป็ นพิเ ศษ
ในด้านการดาเนินคอร์ดนัน้ ผู้ประพันธ์ได้เรียบเรียงเสียงประสานจนเกิดความชานาญ ดังนัน้
บางบทเพลงท่านจะใช้การดาเนินคอร์ดทีเ่ รียบง่ายไม่ซบั ซ้อน แต่บางเพลงท่านใช้การดาเนินคอร์ด
ที่ซ ับ ซ้อ นแสดงถึง ภูม ิค วามรู้ค วามสามารถของท่ า น ที่ท่ า นจะน ามาใช้ไ ด้อ ย่า งเหมาะสมกับ
การประพันธ์เพลง การพักประโยคเพลง ผู้ประพันธ์จะใช้การพักประโยคเพลงตามหลักทฤษฎี
ดนตรีสากล
นิตยา อรุณวงศ์ (2547) ได้ศกึ ษาชีวประวัตแิ ละวิธกี ารขับร้องของ รวงทอง ทองลันธม ่
เป็ นการศึกษาชีวประวัตแิ ละวิธกี ารขับร้องของ รวงทอง ทองลันธม ่ ผลการวิจยั พบว่า วิธกี ารขับร้อง
ของรวงทอง ทองลันธม ่ ผลการวิจยั พบว่า เพลงที่ใช้ในการศึกษาทัง้ หมด 20 เพลง เป็ นเพลง
ในจังหวะช้า คุณลักษณะในการขับร้องทัวไป ่ ของรวงทอง ทองลันธม ่ เป็ นเสียงที่กว้างและลึก
พร้อมทัง้ ขับร้อ งในแต่ละคาด้วยความประณีตของเสียง เป็ นเสียงตรงที่มกี ารเอื้อนแบบไทยเดิม
ซึง่ มีความไพเราะและเป็ นเอกลักษณ์ของตน ในเรื่องเปล่งเสียงคาร้องนัน้ ชัดเจน มีการใช้เทคนิค
พิเศษหลายอย่างขับร้องเพ่อให้เข้ากับเนื้อหาและอารมณ์เพลง ได้แก่ การปนเสี ั ้ ยงปนค
ั ้ า การเน้น
เสียงเน้นคา การใช้เสียงครวญ การผ่อนเสียง การใช้เสียงนาสิก การกระโดดเสียง การทอดเสียงขึน้
การลากเสียง การใช้คาอุทาน
อรรณพ วรวานิช (2547) ศึกษาชีวปิ ระวัตแิ ละวิธกี ารขับร้องของ ศรีสุดา รัชตะวรรณ
เป็ นการศึกษาชีวประวัติและวิธกี ารขับร้องของ ศรีสุดา รัชตะวรรณ ผลการวิจยั พบว่า ศึกษา
วิธกี ารขับร้องของ ศรีสุดา รัชตะวรรณ ผลการวิจยั พบว่า เพลงที่ใช้ในการศึกษาทัง้ 18 เพลง เป็ น
เพลงในจังหวะเร็ว คุณลักษณะในการขับร้องทัวไป ่ ของ ศรีสุดา รัชตะวรรณ เป็ นการขับร้องเสียง
นิ่ง เสียงตรง เสียงเต็ม เอกลัก ษณ์เ สียงของ ศรีสุดา รัชตะวรรณ เป็ นเสียงใสแหลมสูงที่เ ป็ น
25

เอกลักษณ์เฉพาะ ในเรื่องเปล่งเสียงคาร้องนัน้ ชัดเจน มีการใช้เทคนิคพิเศษหลายอย่างขับร้อง


เพื่อให้เข้ากับเนื้อหาและอารมณ์เพลง ได้แก่ การเน้นเสียงคา การลากเสียง การกระโดดเสียง
การรวบเสียงรวบคา การทอดเสียงขึน้ การซ้าเสียง การใช้เสียงนาสิก
รัฐภูม ิ ช่างเจรจา (2546) ได้วเิ คราะห์เพลงของไพบูลย์ บุตรขัน เป็ นการศึกษาวิจยั
โดยมีจดุ มุง่ หมายเพื่อการศึกษาชีวประวัตขิ องไพบูลย์ บุตรขัน และการศึกษาวิเคราะห์ทานองเพลง
และคาร้องของไพบูลย์ ผลการศึกษาวิจยั พบว่า ไพบูลย์ บุตรขัน เป็ นคนสุภาพ มีความยุตธิ รรม
และมีความกตัญญูสูง จึงเป็ นทีร่ กั ใคร่ของบุคคลใกล้ชดิ และลูกศิษย์ มีความสามารถหลายด้านเช่น
ชกมวย เขีย นบทละคร แต่ ท่ีไ ด้ร ับ การยกย่ อ งว่ า เป็ น อัจ ฉริย ะ คือ ด้า นการประพัน ธ์เ พลง
ได้ประพันธ์เพลงมีความยาว 32 ห้องเพลง จานวน 8 เพลง และเพลงทีม่ คี วามยาวมากว่า 32
ห้องเพลง จานวน 5 เพลง บทเพลงแต่ล ะเพลงได้แบ่งแยกออกเป็ นประโยคเพลงน้ อ ยไปหา
ประโยคเพลงใหญ่ๆ ซึ่งในแต่ละประโยคเพลงนัน้ มรการถามตอบซึ่งกันและกัน ลักษณะทานอง
อยู่ในบันไดเสียงเมเจอร์ 9 เพลง และอยู่ในบัน ไดเสียงไมเนอร์ 4 เพลง มีวธิ กี ารประพันธ์เพลง
โดยนาอักษร C D E F A B มาใช้ในการจาระดับเสียงของทานอง นอกจากนี้เพลงทีป่ ระพันธ์
ส่วนมากมีรปู แบบของเทอรนารี่ (Ternary Form) 12 เพลง และแบบไม่มกี ารซ้าทานอง (Non
Repetition) 1 เพลง การเคลื่อนทีข่ องทานองอยู่ในรูปแบบตามขัน้ (Conjunct Motion) และข้ามขัน้
(Disjunct Motion) โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเคลื่อนทีเ่ หล่านี้ ยังมีเทคนิคการนาโน้ตผ่าน (Passing
Note) เทคนิคการใช้จุดพัก (Cadence) มาประกอบการประพันธ์เพื่อให้ทานองเกิดความสุมดุล
มีความต่อเนื่อง บทเพลงมีการประพันธ์คาร้องได้สอดคล้องเหมาะสมกับทานอง รูปแบบคาร้อง
อยู่ในลักษณะของบทร้อยกรอง คาร้องทีน่ ามาใช้ในแต่ละเพลงล้วนมีความหมายดี ทาให้ผฟู้ งั เกิด
จินตภาพได้งา่ ย ไพบูลย์ บุตรขัน มีเทคนิคการแต่งคาร้องให้น่าสนใจดังนี้ ท่อนที่ 1 ดึงดูดความ
สนใจ ฟงั แล้วกระทบความรูส้ กึ ของผูฟ้ งั ทันที ท่อนที่ 2 เหมือนเพลงทัวๆ ่ ไป ท่อนที่ 3 ต้องทาให้
เป็นจุดสนใจ ท่อนที่ 4 ต้องทาให้อยูใ่ นความทรงจา คมคาย ประทับใจ
ณรงค์ศกั ดิ ์ ศรีบรรฎาศักดิ ์วัชราภรณ์ (2548) ได้ศกึ ษาวิธกี ารขับร้องของเพ็ญศรี พุ่มชูศรี
โดยผลการศึก ษาพบว่ า เพลงที่ใ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ทงั ้ หมด 14 เพลง เป็ นเพลงพระราชนิพนธ์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ นักประพันธ์คาร้องและทานองหลายท่าน เพลงที่ขบั ร้องจะเป็ น
เพลงในจังหวะช้าและเร็ว มีกระแสเสียงทีแ่ จ่มใส ไพเราะ พร้อมด้วยความจัดเจนในการถ่ายทอด
ความงามแห่งคีตศิลป์ไทย อันเป็ นวัฒนธรรมของชาติให้ผสานผสมกลมกลืนเข้ากับลักษณะดนตรี
ตะวันตก เกิดเป็ นผลงานการขับร้องทีง่ ดงาม ชัดเจน มีเสน่ หช์ วนฟงั และทีส่ าคัญยิง่ คือ
1. สามารถแสดงออกถึงเอกลักษณ์แห่งความเป็ นไทย และได้รสแห่งความเป็ นสากล
เด่นชัดในเวลาเดียวกัน การขับ ร้องเป็ นการขับร้อง แม่นยาในจังหวะ เสียงกว้าง เสียงเต็ม เสียง
ตรง คุณลักษณะในการขับร้องโดยทัวไป ่ ของเพ็ญศรี พุ่มชูศรี เป็ นเสียงเล็กใสละเอียดนุ่ มนวล มี
ความสามารถควบคุมการทอดเสียงให้เกิดการสันสะเทื ่ อนได้อย่างพรายพริว้
2. การเปล่งเสียงคาร้องนัน้ ชัดเจนที่โดดเด่นก็คอื การเปล่งคีตวลี (Phrasing) อันเป็ น
เอกลัก ษณ์ เ ฉพาะตน สามารถขับ ร้อ งสื่อ ความหมายของค าร้อ ง อารมณ์ เ พลง เทคนิ ค พิเ ศษ
26

ของเสียงในการขับร้อง โดยเฉพาะเสียงที่เป็ นจุดเด่น ได้แก่ การพลิ้วเสียง การทอดเสียงในคา


การขับร้องหน่ วยจังหวะ การขับร้องล้าจังหวะ การสะดุดเสียง พร้อมทัง้ เทคนิคการใช้เสียงอื่น ๆ
คือ การทอดเสียง การกระโดดเสียง การใช้เสียงในลาคอ การดันเสียง การลากเสียง การเน้นเสียง
เน้นคา การรวบเสียงรวบคา การใช้เสียงครวญ การใช้เสียงนาสิก การปนเสี ั ้ ยงปนค
ั ้ า การใช้เสียง
อาการใช้เสียงฮึฮอื การทอดเสียงยาว การซ้าเสียงซ้าคา การผ่อนเสียง การใช้คาอุทาน การเน้น
การเน้ นคา การทิ้งเสียง และการปนเสี ั ้ ยง โดยเสียงต่ าสุดและเสียงสูงสุดมีความห่างเท่ากับคู่ 16
การหายใจเป็นการหายใจตามวรรคเพลง ซึง่ เอือ้ อานวยต่อการขับร้องเสียงต่าและสูงได้อย่างดี
จากเทคนิค การขับร้อ งที่เ ป็ นเอกลักษณ์ เ ฉพาะตนนี้จงึ ส่ งผลให้ เพ็ญศรี พุ่มชูศ รีได้รบั
การเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล – ขับร้อง) ปี พ.ศ. 2534
กิตติวฒั น์ ขวัญมงคล (2552) ได้ศึกษาชีวประวัติและวิธกี ารขับร้องสมเศียร พานทอง
(ชาย เมืองสิงห์) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง- นักแต่งเพลงลูกทุ่ง) ปีพุทธศักราช
2538 ผลการวิจยั พบว่า ในการขับร้องเป็ นการขับร้องเสียงเอื้อน ทีน่ าทานองเพลงพืน้ บ้านพืน้ เมือง
มาผสมกับเพลงสากล ประกอบกับการใช้เสียงทานองเพลงกล่อมเด็กเข้าผสมผสาน ทาให้มคี วามเป็ น
เอกลักษณ์ของเพลงนี้ ที่เห็นได้ชดั เจน และลักษณะการขับร้องที่ใช้ลมในการขับร้อง โดยจะต้อง
หายใจโดยผ่านทัง้ ทางจมูกและปาก พร้อมกันทัง้ 2 ทาง โดยหายใจผ่านทางจมูก 20 % ผ่านทางปาก
80 % เพราะการหายใจทางปากนัน้ สามารถเก็บลมได้มากกว่าและเร็วกว่าการหายใจทางจมูก
เพียงทางเดียว คุณลักษณะในการขับร้องโดยทัวไปของ ่ นายสมเศียร พานทอง (ชาย เมืองสิงห์)
เป็นเสียงทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะตน ในเรือ่ งการเปล่งเสียงคาร้องนัน้ ชัดเจน
พิสุทธิ ์ การบุญ (2551) ได้ศกึ ษาวิธกี ารขับร้องของ เสรี รุ่งสว่าง ผลการวิจยั พบว่า
การสร้างอารมณ์ให้เข้ากับบทเพลงและความหมายของคาร้องที่สาคัญในบทเพลง เสรี รุ่งสว่าง
ใช้วธิ กี ารศึกษาทาความเข้าใจเนื้อหาของบทเพลงก่อนเพื่อให้เข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึน้ ในบทเพลง
นัน้ ๆ เพื่อขับร้องให้เกิดความไพเราะด้วยน้ าเสียงนุ่ มนวล เน้นหนัก - เบา ออดอ้อน ตัดพ้อ
เศร้าสร้อยเสียใจ สนุ กสดใส ขอร้อง ท้อแท้ ต่อว่าต่อขาน และใช้วธิ กี ารขับร้องลักษณะต่าง ๆ
ทุกวรรคเพลงเพื่อให้ได้ความหมายชัดเจน คือ การปนค ั ้ า การเน้นคา เน้นเสียงหนัก - เบา
การผ่อนเสียง การทอดเสียงขึน้ - ลง เสียงนาสิก การควงเสียงสูง - ต่ า การช้อนเสียง การโหนเสียง
การโยนเสียง การขยักขย่อนเสียง และการโยกเสียง เทคนิคพิเศษในการขับร้องให้เข้ากับบทเพลง
เสรี รุ่งสว่าง คัดเลือกคาร้อง พยางค์ทส่ี าคัญ ๆ เป็ นพิเศษ ในบทเพลง 12 บทเพลง การเน้นคา
ให้ได้ความหมายตามคาร้อง พบเทคนิคพิเศษ คือ การทอดเสียง ขึน้ - ลง การควงเสียงสูง - ต่ า
การขยักขย่อนเสียง การผันเสียงขึน้ - ลง การเน้นเสียง - เน้นคา การโยนเสียง ลูกคอ การโยกเสียง
และการโหนเสียง การหายใจ พบเทคนิคพิเศษในการแบ่งวรรคการหายใจในการขับร้อง 4 ลักษณะ
คือ การแบ่งวรรคหายใจ 1 ครัง้ ต่อ 1 วรรคเพลง หายใจ 2 ครัง้ ต่อ 1 วรรคเพลง หายใจ 3 ครัง้
ต่อ 1 วรรคเพลงและหายใจ 1 ครัง้ ต่อ 2 วรรคเพลง
27

การร้องคาเป็ น - คาตาย พบเทคนิคพิเศษในการขับร้อง 3 ลักษณะ คือ การลากเสียง


ให้ยาวขึน้ ในคาร้องทีเ่ ป็ นคาเป็ น การหยุดเสียงให้สนั ้ ลงในคาร้องที่เป็ นคาตาย และ การลากเสียง
ให้ยาวขึน้ ในคาร้องทีเ่ ป็นคาตาย
จากการศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง สังเกตได้ว่า ผู้วจิ ยั ท่านอื่น ๆ ได้ดาเนินการศึกษา
นักร้องท่านใด จาเป็ นต้องมีการศึกษาได้ถงึ อัตชีวประวัติ และการศึกษาถึงเทคนิควิธกี ารขับร้อง
ทัง้ นี้ น าแนวทางทฤษฎีท างด้ า นการขับ ร้อ งและดนตรีเ ข้า มาเป็ น รายละเอีย ดขอ งแนวทาง
การวิเคราะห์ ผู้วจิ ยั จึงได้นาไปใช้เป็ นแนวทางการในการศึกษา ชีวประวัติและวิธกี ารขับร้องของ
ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ตามลาดับต่อไป

เว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้อง
เพลงไทยสากล คือเพลงทีใ่ ช้ท่วงทานองดนตรีสากล มีหลักปฏิบตั ใิ นการร้องต้องถูกต้อง
ตามท านอง ร้อ งให้เ ต็มเสียง ออกเสียงพยัญ ชนะและอักขระให้ถู กต้อ ง เนื้อ เพลงต้อ งครบถ้ว น
สอดคล้องกับจังหวะวรรคตอนของเพลง เพลงไทยสากลที่ผู้วจิ ยั เลือ กวิเคราะห์จงึ เป็ นแนวเพลง
ลูกกรุง ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงได้ศกึ ษาความเป็นมาของเพลงลูกกรุงดังนี้
ความเป็ นมาของเพลงลูกกรุง
นุ ชนาถ ศรีแ ดนกลาง (2551: ออนไลน์ ) ได้กล่ าวถึง เพลงลูกกรุง หมายถึง “บทเพลง
ทีถ่ ่ายทอดออกมาในรูปแบบของ สังคม และคนเมืองหลวง รวมถึงเรื่องราว ตลอดจนเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้
การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ าเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรปู แบบ
ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่ มนวล ความรูส้ กึ ของผู้ฟงั ฟงั แล้วเกิดจินตนาการตาม เนื้อร้อง
ของบทประพันธ์ออกมาเป็ นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน ผู้ประพันธ์
นักร้อง นักดนตรี และผูฟ้ งั อาจเข้าถึงบทเพลงไปตามจินตนาการแตกต่างกันไป”
จากบางแหล่งข้อมูลเพลงลูกกรุงกาเนิดขึน้ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2474 ซึง่ เป็ นช่วงทีป่ ระเทศไทย
กาลังจะเปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองฯ ในรัชกาลที่ 7 บางแหล่งบอกปลาย รัชกาลที่ 6 ประมาณ
พ.ศ. 2455 โดยการจ้างครูจากอิตาลีนาเครื่องสายสากลเข้ามาสอน แต่เพลงลูกกรุงเริม่ ชัดเจน
เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2475 โดยเริม่ มีแนวเพลง เนื้อร้อง ทานอง และเครื่องดนตรีท่นี ามาบรรเลง
ประกอบเป็ นไทย นาทานองเพลงของรัชกาลที่ 6 ที่นามาเรียบเรียงเสียงประสานใช้เครื่องดนตรี
สากลบรรเลงประกอบ เป็ นเพลงในกิจการลูกเสือ ต่อมาได้มกี ารนาเพลง "ลาทีกล้วยไม้" ของ
ขุนวิจติ รมาตรา มาทาในจังหวะรุมบ้าเพลงแรกของไทย และบทเพลงของจิตร ภูมศิ กั ดิ ์ และอื่นๆ
ซึง่ แต่งและใช้เครือ่ งดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเครือ่ งบ่งบอกการกาเนิดของเพลงลูกกรุง
คาว่า “เพลงลูกกรุง” ได้แยกกลุ่มผู้ฟงั อย่างเด่นชัดขึน้ มาตามลาดับ โดยนาเอาความเป็ นอยู่
(Lifestyle) ของผูฟ้ งั ศิลปิน นักร้อง นักดนตรี เป็ นผูก้ าหนดทิศทาง วงสุนทราภรณ์เป็ นวงแรก ก่อตัง้
เป็ นวงดนตรีวงใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2482 ซึง่ ทาให้สงั คมเมืองในยุคนัน้ เริม่ ตื่นตัวการฟงั เพลง ผูฟ้ งั และ
ค่ายเพลงต่างๆ เริม่ จัดประเภทเพลง สร้างนักร้องให้มรี ูปแบบความเป็ นคนเมืองหลวง นักดนตรี
28

นักแต่งเพลง นักร้องต่างมีรปู แบบ หาแฟชันน ่ าสังคม ทัง้ เรื่องการแต่งตัว การออกกินข้าวนอกบ้าน


มีคลับมีบาร์ แถวถนนราชดาเนิน ตามย่านชุมชน โรงแรมใหญ่ ๆ มีห้องบอลรูม เพื่อให้มกี ารจัด
แสดงดนตรีประกอบ กลุ่มคนฟงั จึงเริม่ รับแนวเพลงลูกกรุง เกิดการเปรียบเทียบระหว่างแนวเพลงลูกทุ่ง
กับเพลงลูกกรุงขึน้ มาโดยอัตโนมัติ
นักร้องลูกกรุงที่ถอื ว่าเป็ นรุ่นแรกที่กาหนดแนวเพลงลูกกรุงไว้ชดั เจน ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษา
ค้นคว้า อัตชีวประวัติ และผลงานสาคัญมาพอสังเขป ดังนี้
1. เอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน หรือ เรียกกันว่า “ครูเอื้อ” ( 21 มกราคม พ.ศ. 2453 - เมษายน
พ.ศ. 2524) เป็ น ทัง้ นัก ร้อ ง นั ก ประพัน ธ์เ พลง อาทิ เพลงถวายพระพร เพลงวัน ลอยกระทง
เพลงปลุ ก ใจ เพลงสดุ ดี เพลงประจาจังหวัด และเป็ น หัว หน้ า วงดนตรีสุ น ทราภรณ์ นอกจากนี้
ยังเป็นหนึ่งในผูก้ ่อตัง้ สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์อกี ด้วย
สรุปผลงาน
พ.ศ. 2479 แต่งเพลง "ยอด ตองต้องลม" เป็ นเพลงแรก และ ร้องเพลงเป็ นเพลงแรก
คือเพลง “ในฝนั ”
พ.ศ. 2483 แต่งเพลงปลุกใจ เพลงแรกคือ “รักสงบ”
พ.ศ. 2489 บรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์เป็ นเพลงแรกคือ พระราชนิพนธ์ "ยามเย็น"
และแต่งเพลงถวายพระพรเป็นเพลงแรกคือ “ราชาเป็นสง่าแห่งแคว้น”
พ.ศ. 2482 ก่อตัง้ วงดนตรี สุนทราภรณ์ ดารงตาแหน่ งหัวหน้าวง นักร้อง นักดนตรี
และผูค้ วบคุมวง ตลอดมาจนถึงปี พ.ศ.2524 คือ เมือ่ ถึงแก่กรรม รวมเวลา 42 ปี
พ.ศ. 2512 ก่อตัง้ โรงเรียนสุนทราภรณ์การดนตรี
พ.ศ.2518 - 2519 ร่วมก่อตัง้ สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผลงานเพลงทีแ่ ต่งไว้มหี ลายประเภท เช่น เพลงถวายพระพร เพลงปลุกใจ เพลงสดุดี เพลงประจา
จังหวัด เพลงมหาวิทยาลัย หรือสถาบันต่างๆ เพลงราวง เพลงรัก เพลงชมธรรมชาติ เพลงประกอบ
ละครเวที ละครวิทยุ-โทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฯลฯ รวมทัง้ สิ้นประมาณ 2000 เพลง เพลงสุดท้าย
ทีร่ อ้ งคือ “พระเจ้าทัง้ ห้า” ผลงานเพลงเกี่ยวกับเทศกาลต่าง ๆ ของไทย ซึ่งครูเอื้อได้แต่งไว้ยงั คง
ได้รบั ความนิยม และถูกใช้เปิ ดงานตามเทศกาลต่างๆทุกปี จนเพลงเหล้านัน้ กลายเป็ นส่วนหนึ่ง
ของเทศกาลไปด้วย เช่น สวัสดีปีใหม่ ราวงเริงสงกรานต์ ราวงลอยเรือ เป็ นต้น ตลอดเวลา 42 ปี
อยูก่ บั งานดนตรีมาโดยตลอด สร้างสรรค์ผลงานอมตะไว้อย่างมากมาย ได้รบั รางวัลเกียรติยศต่าง ๆ
จากหลากหลายสถาบัน ระหว่างปี พ.ศ.2523 ครูเอื้อได้เข้าเฝ้าและร้องเพลงถวายเป็ นครัง้ สุดท้าย
เพลงทีร่ อ้ งถวายคือ “พรานทะเล” และตัง้ แต่เดือนธันวาคมของปีนัน้ ครูเอื้อก็เริม่ มีอาการทรุดหนัก
จากอาการเนื้อร้ายทีป่ อด ในวันที่ 1 เมษายน 2524 ก็ถงึ แก่กรรมด้วยวัย 71 ปี เอื้อ สุนทรสนาน
ได้รบั พระราชทานโล่เกียรติยศในฐานะศิลปินตัวอย่าง สาขาผูป้ ระพันธ์เพลง ประจาปี 2523-2524
29

“แผ่นเสียงทองคาพระราชทาน” เป็ น ครัง้ ที่ 4 รับพระราชทานแทนโดย คุณอติพร เสนะวงศ์


บุตรีคนเดียว ของท่านเมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2524 (บ้านคนรักสุนทราภรณ์. 2545: ออนไลน์)
2. สุเทพ วงศ์กาแหง
สุเทพ วงศ์กาแหง ศิลปินแห่งชาติ สาขา เพลงไทยสากล-ขับร้อง ประจาปี พ.ศ. 2533
เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่ จังหวัดนครราชสีมา และจบการศึกษาจาก โรงเรียนเพาะช่าง
เป็นศิลปินนักร้องเพลงไทยสากลทีม่ นี ้าเสียงเสนาะ จนได้รบั ฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า " นักร้อง
เสียงขยีแ้ พรบนฟองเบียร์ " มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี
บุ ค คลที่ม ีส่ ว นให้ ท่ า นได้ เ ป็ น นั ก ร้อ งคือ ครู ไ ศล ไกรเลิศ ในระยะเวลาดัง กล่ า ว
สุเทพ วงศ์กาแหง ได้รอ้ งเพลงไว้ถงึ 3,000 เพลง แบ่งเป็ น 3 ยุค เพลงที่ทาให้มชี ่อื เสียงคือ เพลง
“รักคุณเข้าแล้ว ” ซึ่ง สมาน กาญจนะผลิน เป็ นผู้ประพันธ์ทานอง และสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์
เป็ นผู้ประพันธ์บทร้อง ทาให้เป็ นที่รู้จกั ของนักฟงั เพลงมากขึ้น และเมื่อมีโอกาสได้ร้องเพลงคู่กบั
สวลี ผกาพันธุ์ ยิง่ ทาให้มชี ่อื เสียงโด่งดังไปทัวประเทศ ่ เพลงที่ท่านร้อ งจะมีความงามในน้ าเสียง
นุ่ ม นวล มีก ัง วาน มีล ีล าเป็ น กันเอง ทุ ก เพลงที่ร้อ งล้ว นกลัน่ ออกมาด้ว ยความวิจ ิต รประณีต ยิ่ง
(วิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี. 2552: ออนไลน์)
3. ชริ นทร์ นันทนาคร
ชริน ทร์ งามเมือ ง เดิม ชื่อ บุ ญ มัย งามเมือ ง ศึก ษาระดับ ประถมที่ โ รงเรีย นดารา
วิทยาลัย จบมัธยมการศึกษาจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ และโรงเรียนอัสสัมชัญ
พาณิชยการ กรุงเทพมหานคร เริม่ ฝึ กหัดร้องเพลงกับครูไสล ไกรเลิศ และเริม่ ร้องเพลงสลับละคร
เวทีเ รื่อ ง นางไพร เมื่อ พ.ศ. 2492 ด้ว ยเพลงดวงใจในฝ นั และเริ่ม บัน ทึก แผ่ น เสีย งจ าหน่ า ย
เป็นครัง้ แรก และตามด้วยเพลง อิเหนาราพัน เมื่อ พ.ศ. 2494 จากนัน้ ย้ายกลับไปเชียงใหม่ ทางาน
ที่บริษัทกมล-สุ โกศล สาขาเชียงใหม่ แล้ว สานักงานใหญ่เรียกมาทางานที่กรุงเทพฯ ในต าแหน่ ง
แผนกบัญชี แผนกต่างประเทศ ไปจนถึงแผนกแผ่นเสียง จากนัน้ ทางานเป็ นเลขานุ การทีอ่ งค์การยูซ่อม
(USOM)
ผลงานของชรินทร์ นันทนาคร ที่สร้างชื่อเสียง เป็ นที่นิยมมาก ได้แก่ เพลงเรือนแพ
มนต์รกั ดอกคาใต้ หยาดเพชร อาลัยรัก ทาสเทวี ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทานจากเพลง
อาลัยรัก ก่ อ นจะผันไปเป็ นผู้ก ากับและผู้อ านวยการสร้างภาพยนตร์ เมื่อ พ.ศ. 2514 มี ผ ลงาน
ในฐานะผู้ผลิตภาพยนตร์ทงั ้ หมดกว่า 19 เรื่อง โดยมีภาพยนตร์เรื่อง รักข้ามคลอง ที่ทารายได้สูงที่สุด
และภาพยนตร์ แผ่นดินแม่ ถือเป็นภาพยนตร์เรือ่ งแรกของประเทศไทยทีส่ ร้างในระบบ 70 มิลลิเมตร
แต่หลังจากนัน้ ก็เลิกทาหนังไป เหตุเพราะวงการหนังทีเ่ ปลีย่ นไป จึงเกิดความเบื่อ
ต่อมาคุณวิเชียร อัศว์ศวิ ะกุล เจ้าของค่ายนิธทิ ศั น์โปรโมชัน่ ติดต่อมาร้องเพลงและ
ออกอัลบัม้ เรือนแพ เป็ นอัลบัม้ แรก นับจากนัน้ จึงได้ยดึ อาชีพนักร้องมาโดยตลอด จนได้รบั พระราชทาน
นามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ว่า “นันทนาคร” ซึ่งมีความหมายว่ า “ผู้ให้ความรื่นรมย์
แก่ชาวเมือง” เพลงทีช่ รินทร์ให้สมั ภาษณ์ว่าร้องบ่อยทีส่ ุดมีเพลง “เรือนแพ” “หยาดเพชร” “ผูช้ นะสิบทิศ”
30

ซึ่งเพลงหลังนี้ชรินทร์ก ล่าวว่าร้องมากกว่าหมื่นครัง้ ได้ ชรินทร์ได้รบั รางวัล ศิลปิ นแห่งชาติส าขา


ศิลปะการแสดง ประจาปี พ.ศ. 2541 (ชรินทร์ นันทนาคร. 2552: ออนไลน์).
4. เพ็ญศรี พุ่มชูศรี
เพ็ญศรี พุ่ มชูศรี (17 มิถุ นายน 2472 - 14 พฤษภาคม 2550) หรือ ชื่อเดิม ผ่ องศรี
พุ่มชูศรี ผูม้ พี รสวรรค์พเิ ศษทางด้านการร้องเพลง ได้เริม่ ต้นแสดงความสามารถต่อหน้าสาธารณชน
เป็ น ครัง้ แรกด้ว ยการเข้า ประกวดร้อ งเพลงตามงานวัด ต่ า งๆ โดยใช้น ามว่ า “ผ่ อ งศรี พุ่ ม ชูศ รี”
จากเด็กหญิงตัวเล็ก ๆ ที่ไม่มใี ครรูจ้ กั มาก่อนคนนัน้ มาจนถึงวันนี้ เธอได้ก ลายมาเป็ นนักร้องหญิง
ที่ม ีช่ ือ เสีย งโด่ ง ดัง เป็ น ดาวค้า งฟ้ า และประสบความส าเร็จ ที่สุ ด ผู้ห นึ่ ง ของเมือ งไทย รู้จ ัก กัน
ในชื่อ เล่ น ป้ า โจ๊ ว เป็ น นั ก ร้อ ง และครูส อนขับ ร้อ งเพลงไทยสากล เป็ น นัก ร้อ งประจ าวงดนตรี
กรมโฆษณาการ หรือ สุ น ทราภรณ์ ได้ ร ับ การคัด เลือ กให้ ข ับ ร้ อ งเพลงพระราชนิ พ นธ์ ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาตัง้ แต่ครัง้ แรกทีม่ กี ารบันทึกแผ่นเสียง ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติ
เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจาปี พ.ศ. 2534
จากการศึกษา รูปแบบของเพลงไทยสากล การขับร้องเพลงไทยสากล ความเป็ นมา
ของเพลงลูก กรุง และอัต ชีวประวัติ และผลงานสาคัญ ของนักร้อ งเพลงลูกกรุง ดังกล่ าวข้างต้น
จึงเป็ นแนวทางการวิจยั อัตชีวประวัตขิ อง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล และแนวทางการขับร้องเพลงของ
ทิพย์วลั ย์ปิ่นภิบาล ตามรูปแบบของเพลงไทยสากล ทัง้ นี้ผู้วจิ ยั จาเป็ นต้องศึกษาทฤษฎีทางด้าน
ดนตรีและการขับร้องที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั เพื่อ นาไปในการวิเคราะห์ตามระเบียบวิธกี ารวิจยั
ต่อไป
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจยั

การศึกษาครัง้ นี้ใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงพรรณา (Descriptive Research) โดยอาศัยข้อมูล


ทางวิชาการจากเอกสารวิจยั หนังสือทางวิชาการ เอกสารสิง่ พิมพ์ แผ่นบันทึกเสียง วีดที ศั น์และผูท้ ม่ี ี
ประสบการณ์โดยตรง เพื่อให้การศึกษาวิจยั บรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงดาเนินการศึกษา ค้นคว้า
ตามขัน้ ตอนดังนี้

การวิ จยั เชิ งพรรณนา


1. ขัน้ รวบรวมข้อมูล
1.1 รวบรวมข้อมูล ชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล จากการสัมภาษณ์
สิง่ พิมพ์ (Printed Materials) ดังนี้
1.1.1 ข้อมูลจากสิง่ พิมพ์ วารสาร บทความ บทวิเคราะห์ ทีม่ เี นื้อหาเกี่ยวข้องกับ
ชีวติ และผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
1.1.2 บทสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลและนักประพันธ์เพลง
1.1.3 วิทยานิพนธ์และผลงานการวิจยั ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานวิจยั เล่มนี้
1.2 รวบรวมข้อมูลบทเพลงของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ที่ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา
พระราชทาน จานวน 6 บทเพลง จากแผ่นบันทึกเสียงและบทสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เรื่อง
วิธกี ารขับร้องเพลงไทยสากล
2. ขัน้ ศึกษาข้อมูล
2.1 นาข้อมูลจากข้อที่ 1.1 มาศึกษาชีวประวัตแิ ละผลงานของทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
เพื่อมาประมวลเรียบเรียง จัดหมวดหมูเ่ พื่อใช้ในการวิเคราะห์
2.2 นาข้อมูลบทเพลงของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ที่ได้รบั รางวัล แผ่นเสียงทองคา
พระราชทานจานวน 6 บทเพลง มาเขียนเป็ นโน้ตสากลทางร้อง (Melody) เพื่อศึกษาวิธกี ารขับร้อง
คือ
3. ขัน้ วิ เคราะห์ข้อมูล
3.1 นาข้อมูลที่ประมวลเรียบเรียงและจัดหมวดหมู่จากข้อ 2.1 มาศึกษาวิเคราะห์
โดยแบ่งออกเป็นดังนี้
3.1.1 ชีวประวัติ
3.1.2 ผลงาน
3.2 วิเคราะห์วธิ กี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
นาบทเพลงซึง่ ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน 6 บทเพลง โดยการนา
โน้ตเพลงในแนวทานอง (Melody) พร้อมเนื้อร้องและแผ่นบันทึกเสียง มาวิเคราะห์วธิ กี ารขับร้อง
ดังนี้
32

3.2.1 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลง


1) ความเป็นมาของบทเพลง (Historical Background)
2) ความหมายของบทเพลง (Meaning)
3) โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
3.2.2 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้อง ประกอบไปด้วย
1) การบังคับควบคุมลมหายใจ
(1) การแบ่งวรรคลมหายใจ
(2) การลากเสียงยาว
(3) การเอือ้ นเสียง
2) การออกอักขระ ( Pronunciation)
(1) การเน้นเสียงการเน้นคา
(2) การผันอักษรตามทานอง
(3) การร้องคาเป็นคาตาย
3) การสื่อความหมาย (Interpretation)
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ
4. ขัน้ สรุปข้อมูลและรายงานผล
4.1 สรุปผลการศึกษาและวิจยั
4.2 นาเสนอผลงานในรูปแบบงานวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research)
4.3 ข้อเสนอแนะ
บทที่ 4
การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล

การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาวิธกี ารขับร้องเพลงไทยสากลของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล


ในครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการวิเคราะห์ไว้ 3 หัวข้อใหญ่ๆ ดังนี้
1. วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านชีวประวัตแิ ละผลงาน ประกอบด้วย
1.1 ชีวประวัติ
1.2 ผลงาน
2. วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลง
2.1 ความเป็นมาของบทเพลง (Historical Background)
2.2 ความหมายของบทเพลง (Meaning)
2.3 โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
3. วิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้อง ประกอบไปด้วย
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ (Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในการศึก ษาชีว ประวัติของ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ น ภิบ าล ครัง้ นี้ ได้ข้อ มูล มาจากการสัม ภาษณ์
ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลโดยตรง ดังนี้

1. วิ เคราะห์ข้อมูลด้านชีวประวัติและผลงาน
1.1 ชีวประวัติของ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลเป็ นนักร้องเพลงไทยสากลที่มคี วามสามารถ ขับร้อ งเพลงไทย
สากลและบันทึกเสียงเผยแพร่สู่สาธารณชนไว้เป็ นจานวนมาก ในงานวืจยั ครัง้ นี้ผู้วจิ ยั ขอนาเสนอ
ชีวประวัตแิ ละผลงานของท่าน โดยใช้หวั ข้อในการนาเสนอคือ ชีวติ ก่อนเข้าสู่อาชีพนักร้อง ชีวติ
อาชีพนักร้อง ผลงานการขับร้องและชีวติ ในปจั จุบนั ดังต่อไปนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เกิดในอาเภอ
34

เมือง จังหวัดจันทบุร ี วันพุธที่ 14 ตุลาคม 2497 ปจั จุบนั อายุ 57 ปี บิดาชื่อ ทองอยู่ ปิ่ นภิบาล
อายุ 85 ปี อดีตผูอ้ านวยการสถานีทดลองพืชสวนพลิ้ว จังหวัดจันทบุร ี ปจั จุบนั เกษียณอายุราชการ
และได้เสียชีวติ แล้ว มารดาชื่อนางวรรณะ ปิ่ นภิบาล บ้านเดิมอยู่ตรงข้ามทางเข้าน้ าตกพลิ้ว
อาเภอขลุง จังหวัดจันทบุร ี ปจั จุบนั อยู่บา้ นเลขที่ 16 ซอยอุดมเกียรติ ์ ถนนสุทธิสาร แขวงห้วยขวาง
กรุงเทพฯ 10310 ทิพย์วลั ย์ เป็นลูกสาวคนโต ในจานวนพีน่ ้องทัง้ หมด 7 คน คือ
1. ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (โพธิ ์ทองนาค)
2. พวงพร ปิ่นภิบาล (เลิศกิจจา)
3. ศิรเิ พ็ญ ปิ่นภิบาล
4. รัดเกล้า ปิ่นภิบาล
5. กรกนก ปิ่นภิบาล
6. พิจาริณี ปิ่นภิบาล
7. จักรทอง ปิ่นภิบาล
ปจั จุบนั ยังมีชวี ติ อยูค่ รบทุกคน
1.1.1 ครอบครัว
ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล สมรสกับ พลโท ศุ ภ ชัย โพธิท์ องนาค ป จั จุ บ ัน
เกษียณอายุราชการแล้ว มีบุตรธิด า 2 คน คือ นายณัฏฐธชัย โพธิ ์ทองนาค อายุ 31 ปี ปจั จุบนั
ทางานที่บริษัททรู (True) นางสาวกุ ลกรณ์ พชั ร โพธิ ์ทองนาค อายุ 21 ปี ปจั จุบนั ศึกษาอยู่คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาดุรยิ างค์ตะวันตก วิชาเอกขับร้อง (Voice) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.1.2 การศึกษา
ประถมศึก ษา โรงเรียนสฤษดิเ ดช จังหวัดจันทบุร ี มัธ ยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนสตรีศรียานุ สรณ์ จังหวัดจันทบุร ี มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเบญจมราชูทศิ จังหวัด
จันทบุร ี จบมัธยมศึกษาปี ท่ี 5 โรงเรียนอัมพรไพศาล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ระดับอุดมศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ เอกสังคมศึก ษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง รุ่ นที่ 2 และประกาศนียบัตรชัน้ สูง
หลักสูตรเสริมสร้างสังคมสันติสุข (สสสส.1) สถาบันพระปกเกล้า
ทิพย์วลั ย์ ชอบร้องเพลงมาตัง้ แต่สมัยเป็นเด็ก เมือ่ เข้าโรงเรียน ในวิชาขับร้อง
เธอทาได้ดีเป็ นพิเ ศษ จึงได้รบั หน้ าที่เป็ นตัว แทนโรงเรียน ประกวดร้องเพลง ตัง้ แต่ชนั ้ ประถม
เรื่อยมาจนถึงระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็ นงานในโรงเรียนหรือระดับจังหวัด งานศิลปะหัตกรรม
นักเรียน เป็นต้น เพลงทีใ่ ช้ประกวดส่วนใหญ่ เป็นเพลงไทยสากลและเพลงพระราชนิพนธ์
นอกจากนัน้ เธอยังสนใจภาษาอังกฤษและชอบร้องเพลงสากล เช่น เพลงที่
ได้รบั ความนิยม เก่า ๆ เพลงจากภาพยนตร์ ฉะนัน้ จึงมีความชานาญทัง้ เพลงไทยและสากล
สมัยเป็ นนักเรียน ตอนเช้าตื่นขึน้ มาทางานบ้าน ก็รอ้ งเพลงไปด้วยโดยเปิ ด
แผ่นเสียงเพลงเก่าๆ แล้วร้องตาม บางเพลงมีแต่ทานองเพราะเป็ นเพลงบรรเลงก็อุตส่าห์ไปหา
เนื้อเพลงมาร้องตามทานองเพลงนัน้ ๆและขอความรู้ ความถูกต้องจากนักดนตรีภายหลังจนเกิด
35

ความชานาญ ครูท่เี ห็น ทิพ ย์วลั ย์ ตัง้ แต่ประถมคือ ครูบรรจง โรงเรียนสฤษดิเ ดชได้ส่ งทิพย์ว ลั ย์
ไปประกวดร้องเพลงในรายการวิทยุ (07 วิทยุทหารอากาศ ) และต่อมาชัน้ มัธยมครูบวั ศรี โกศล
ท่านสอนร้องเพลงไทย ทิพย์วลั ย์กไ็ ม่ทาให้ครูผดิ หวัง นารางวัลมาให้โรงเรียนเสมอ รวมทัง้ ครูกณ ั หา
วรรณทอง โรงเรียนศรียานุ สรณ์และครูมาลัย โรงเรียนเบญจมราชูทศิ ได้ขอให้ทพิ ย์วลั ย์รอ้ งเพลง
ให้กบั วงดนตรีสากลของโรงเรียนด้วย
เมื่อทิพย์วลั ย์เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้รบั เลือกให้เป็ นนักร้อง
ประจาวงดนตรีสากล ชื่อวง R.U. BAND ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง เธอเล่าให้ฟงั ว่า “ เมื่อวันไป
สมัค รคัดตัว นัก ร้อ ง เขาได้ปิ ดรับ สมัค รไปแล้ว แต่ คุ ณ เจนกิจ คุ ณ ฑีว งศ์ ประธานแผนกดนตรี
ขณะนัน้ ยังเล่นเปี ยโนอยู่ บอกให้รอ้ งเพลงให้ฟงั เธอจึงเลือกเพลง Till และ Too Young พอเริม่
ร้องนักศึกษาที่ฟงั อยู่ใกล้ๆ แผนกดนตรีและร้านอาหารบริเวณนัน้ ก็วงิ่ มาดู” คุณเจนกิจจึงรับเป็ น
นักร้องประจาวง R.U. BAND ทันที
พ.ศ. 2519 ไทยทีวสี ชี ่อง 3 จัดประกวดนักร้องสมัครเล่ น คุณพ่อ ของสามี
และสามี เป็ นผู้นาข่าวการประกวดนักร้องสมัครเล่นและสนั บสนุ นให้เข้าประกวดจนได้รบั รางวัล
ชนะเลิศ ทาให้ประสบผลสาเร็จเป็นทีร่ จู้ กั และมีช่อื เสียงตัง้ แต่นนั ้ เป็ นต้นมา
ปจั จุบนั เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แฟร์โอเปอร์เรชัน่ จากัด ผลิตรายการ
วิทยุ โทรทัศน์ โดยมีรายการทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั และเคยได้รบั รางวัลโทรทัศน์ทองคา ดังนี้
ผลิ ตรายการโทรทัศน์
1. รายการ ร้อ ยอาชีพ ได้ ร ับ รางวัล โทรทัศ น์ ท องค าเช่ น เดีย วกัน โดย
สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
2. ผลิตรายการ The Royal music เนื่องในวโรกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ทรงครองราชย์ ครบ 60 ปี ในปีพุทธศักราช 2539 ได้รบั รางวัลโทรทัศน์ทองคา และ
รางวัลจากสื่อมวลชนแคทอลิค สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
3. ผลิตรายการ อร่อย 100 เส้นทาง สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
รายการวิ ทยุ
1. รายการเพลงผลิใบ ออกอากาศวันเสาร์ เวลา 16.00 – 17.00 น. 92.5 F.M
2. รายการเมล็ดพันธ์เพลง ออกอากาศวันอาทิตย์ เวลา 13.00 น. – 15.00 น.
93.5 F.M.
3. รายการวิทยุทงั ้ 2 รายการเป็ นรายการเพลงไทยสากลและเรื่องราวที่เป็ น
ประโยชน์ต่อผูฟ้ งั ทัง้ เศรษฐกิจ สังคม สุขภาวะทางอารมณ์ ตัวอย่างของการใช้ชวี ติ ความมีวฒ ั นธรรม
และการพูดคุย รวมทัง้ สอนให้ผฟู้ งั รักและมีความรูเ้ กี่ยวกับเพลงไทยสากล (ลูกกรุง)และวิวฒ ั นาการ
ต่างๆ ในวงการเพลงไทยสากลด้วย
36

1.1.3 งานอาสาสมัครและงานองค์กรการกุศล
1) เป็นกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
2) เป็ น กรรมการสมาคมนั ก ร้อ งแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชูป ถัม ภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
3) เป็นกรรมการสภาสตรีแห่งชาติ
4) ให้ ค วามรู้ เ รื่อ งการร้ อ งเพลงไทยสากล การใช้ เ สีย งแก่ ป ระชาชน
และองค์กรต่างๆ รวมทัง้ อาสาสมัคร การสอนในฑัณฑสถานร่วมกับกรมราชฑัณฑ์ดว้ ย
นอกจากนี้ทพิ ย์วลั ย์ยงั ได้รบั เชิญ เป็ นกรรมการตัดสิน การประกวดร้องเพลงให้กบั
องค์กรต่าง ๆ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อยูเ่ ป็นนิจ
1.2 ผลงาน
เริม่ มีช่อื เสียงเมื่อได้รบั ตาแหน่ ง นักร้องสมัครเล่นแห่งประเทศไทย (Amateur singing
contest 1976) เมือ่ พ.ศ. 2519 ร่วมกับคุณเกวลิน บุญศิรธิ รรม เมือ่ กลับจากการประกวด ได้เซ็นสัญญา
กับทางช่อง 3 เป็ นเวลา 4 ปี โดยร้องเพลงให้กบั รายการชื่อ All star Variety Show ทุกสัปดาห์
โดยมีนักร้องอาชีพ นักร้องสมัครเล่นมาร่วมรายการด้วย นักร้องสมัครเล่นของทางช่อง 3 จะ
ได้รบั การฝึกฝน ให้มคี วามสามารถขับร้องเพลงได้หลายแนว เมื่อได้ออกสื่อบ่อยครัง้ ทาให้มบี ริษทั
แผ่นเสียงหลายแห่งมาติดต่อ ทิพย์วลั ย์ได้รบั การติดต่อจากบริษทั อโซน่ า โปรโมชัน่ จากัด ให้มา
เซ็นสัญญาร้องเพลง หลังจากหมดสัญญากับไทยทีวสี ชี ่อง 3 แล้ว
ในระหว่างนัน้ ทิพ ย์วลั ย์ได้ทางานอยู่ฝ่ายจัด รายการของไทยทีว ีสชี ่ อ ง 3 ด้ว ยและ
มีงานพิเศษ คือ งานเพลงโฆษณา เช่น โอวัลติน บริษทั ประกันภัย เพลงประกอบภาพยนตร์
ละครหลายเรื่อ ง เช่น แสนรัก ภูชิต นริศ รา สายเลือ ดเดียวกัน พิศ วาส ร่มฉัต ร เป็ นต้น
หลังจากหมดสัญญากับไทยทีวสี ชี ่อง 3 ทิพย์วลั ย์หนั มาเป็นนักร้องอาชีพเต็มตัว โดยเซ็นสัญญากับ
บริษทั อโซน่าจากัดและออกอัลบัม้ เป็นของต้นเองเรือ่ ยมา
อัล บัม้ ชุ ด แรกคือ ชุ ด ฉั น รัก รถเมล์ ท าให้ผู้ค นรู้จ กั ทิพ ย์ว ัล ย์ม ากขึ้น แต่ เ ธอรู้ว่ า
แนวเพลงสไตล์แบบนี้ไม่เป็ นตัวเธอ จึงเปลีย่ นแนวเพลงใหม่และได้ออกอัลบัม้ ชุดใหม่ คือ ชุดสุดเหงา
ซึง่ แต่งโดย วราห์ วรเวช (นายแพทย์ วราวุฒ ิ สุมาวงศ์) เพลงนี้ ได้ รบั รางวัลแผ่นเสี ยงทองคา
พระราชทาน ในปี 2525 หลัง จากได้ร บั รางวัล แผ่ น เสีย งทองค า กรมประชาสัม พัน ธ์ไ ด้เ ชิญ
ทิพย์วลั ย์เป็ นตัวแทนนักร้องไทยไปร่วมงาน มหกรรมอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
โดยมีคุณ อ้อ ยทิพย์ ปญั ญาธร เป็ นตัวแทนนัก ร้องประเภทเพลงพื้นบ้าน (ลูกทุ่ ง) ขับร้องเพลง
สาวทรานซิสเตอร์
ในปี 2527 ทิพ ย์ว ลั ย์ ได้รบั เชิญ อีกครัง้ จากกรมประชาสัมพันธ์ ให้เ ป็ นตัว แทน
นักร้องไทยร่วมงานมหกรรมอาเซียน ครัง้ ที่ 3 ทีป่ ระเทศสิงคโปร์ ในครัง้ นี้เธอได้นาบทเพลง ไฟ
ทีไ่ ด้รบั รางวัล
37

กรัง ด์ป รีซ์ (Grand Prix) จากการประกวดเพลงไทยป๊อ ป ของสยามกลการมิว สิค ฟาวเดชัน่


ไปขับร้อ งโชว์ และครัง้ นี้คุ ณ เทีย รี่ เมฆวัฒนาและกลุ่ มวงดนตรีค าราบาว เป็ น ตัว แทนประเภท
เพลงพืน้ บ้านขับร้องเพลงเพื่อชีวติ
ในช่ ว งเวลาที่ก าลัง มีช่ือ เสีย ง ทิพ ย์ว ัล ย์ ได้ร ับ การติด ต่ อ และรับ เชิญ หลายครัง้
ให้ ข ับ ร้ อ งเพลงในงานกาชาดคอนเสิ ร์ ต และบัน ทึ ก เสี ย งในบทเพลง พระราชนิ พ นธ์ ใน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โดย พลเรือตรีปรีชา ศิษยนันท์ เป็ นผู้แต่ งทานองเพลงคล้องกับ
บทพระราชนิพนธ์ คือ บทเพลง เดิ นตามรอยเท้าพ่อ ณ โรงละครแห่งชาติ
ในปีเดียวกันนัน้ ได้รบั เชิญให้ขบั ร้องเพลงเพื่อประกวดเพลงไทยสากล ธนาคารกสิกร
ไทย จัดขึน้ เนื่องในวาระครบรอบ 36 ปี ทิพย์วลั ย์ได้ขบั ร้องบทเพลง ในโลกบันเทิ ง ทีแ่ ต่งทานอง
โดย อาจารย์ยงยศ แสงไพบูลย์ คาร้องโดย อาจารย์วมิ ล จงวิไล เรียบเรียงโดย อาจารย์ปราจีน
ทรงเผ่า เพลงนี้ได้รบั รางวัล พิณทอง (ชนะเลิศ) ประเภทเพลงไทยสากล
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล มีงานเพลงที่ได้รบั การบันทึกเสียงให้กบั สถาบันการศึกษา อาทิ
โรงเรียนบดินทรเดชา โรงเรียนสตรีภูเก็ต ฯลฯ เหล่าทัพต่าง ๆ เช่น กองทัพอากาศ โรงเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้า ฯลฯ มูลนิธติ ่าง ๆ เป็นต้น
1.2.1 ผลงานเพลงทีไ่ ด้รบั รางวัล
1) สุด เหงา เป็ นเพลงแรกที่ส ร้างชื่อ เสียงและเกียรติยศให้แก่ ทพิ ย์ว ลั ย์
จากรางวัล แผ่ น เสีย งทองค าพระราชทาน ที่จ ัด โดย สมาคมดนตรีแ ห่ ง ประเทศไทย เมื่อ ปี
พุทธศักราช 2524 โดยเพลงสุดเหงา ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา ประเภทขับร้องยอดเยีย่ มหญิง
และรางวัล เพลงยอดเยี่ย ม (ท านองเรีย บเรีย งเสีย งประสาน) อีก ด้ว ย แต่ ง ค าร้อ งและท านอง
โดย วราห์ วรเวช หรือนายแพทย์ว ราวุฒ ิ สุมาวงศ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย ครูพมิ พ์ปฏิภาณ
พึง่ ธรรมจิตต์ หลังจากเพลงนี้ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา กรมประชาสัมพันธ์ ได้เชิญทิพย์วลั ย์
เป็นตัวแทนนักร้องไทย ไปร่วมงานมหกรรมเพลงอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
เมือ่ ปีพุทธศักราช 2525
2) ดอกไม้ ช่ อ นี้ ปี พุ ท ธศัก ราช 2525 ได้ ร ับ รางวัล แผ่ น เสีย งทองค า
ประเภทเพลงยอดนิ ย มและยัง ได้ร ับ รางวัล ตุ๊ ก ตาทองทีว ีม หาชน ในปี เ ดีย วกัน ด้ว ย เนื้ อ ร้อ ง
และทานองแต่งโดยคุณโอฬาร เพียรธรรม ซึ่ง ในขณะนัน้ คุณโอฬารเป็ นวิศวกร องค์การโทรศัพท์
แห่งประเทศไทย
3) ไฟ ปี พุทธศักราช 2526 สยามกลการมิวสิคฟาวเดชัน่ โดย ดร.ถาวร
พรประภา ได้จดั ประกวดเพลงไทยสากล ชื่อรายการ ไทยป๊อปปูล่าซองเฟสติวลั THAI POPULAR
SONG PESTIVAL 2526 เพลงไฟ ซึง่ แต่งโดยคุณชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร ทัง้ คาร้องและทานอง
เรียบเรียงโดยคุณทรงวุฒ ิ จรูญเรืองฤทธิ ์ ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ ม
38

รางวัลกรังค์ปรีซ์และทิพย์วลั ย์ได้รบั เชิญจากกรมประชาสัมพันธ์ ให้เดินทางไปร่วมงานมหกรรม


อาเซียนอีกครัง้ (ครัง้ ที่ 3) ณ ประเทศสิงคโปร์ ในปีพุทธศักราช 2527
4) ในโลกบันเทิ ง ปีพุทธศักราช 2527 ธนาคารกสิกรไทย ครบรอบ 36 ปี
ได้จดั ประกวดเพลงไทยสากลขึน้ มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดมากมายและเพลงในโลกบันเทิงที่แต่ง
ทานองโดยอาจารย์ยงยศ แสงไพบูล ย์ ค าร้อ งโดยอาจารย์ว ิมล จงวิไล ขับร้อ งโดยทิพย์ว ลั ย์
ปิ่นภิบาล ได้รบั รางวัลชนะเลิศรางวัลพิณทอง
5) น้ า เซาะทราย ปี พุ ท ธศัก ราช 2548 ได้ร ับ รางวัล พระพิฆ เนศทอง
พระราชทาน ประเภทขับร้อ งหญิงยอดเยี่ยมและเพลงอมตะ เพลงนี้แต่ งทานองโดยคุ ณจารัส
เศวตาภรณ์ คาร้องโดยครูชาลี อินทรวิจติ ร ศิลปิ นแห่งชาติ ทิพย์วลั ย์ได้ขอลิขสิทธิ ์มาบันทึกเสียง
ใหม่ โดยร่วมกับมูลนิธบิ างกอกซิมโฟนี (B.S.O.) จัดทาอัลบัม้ ชื่อ ทะเลจันทร์ โดยนาเพลงที่ตวั เอง
ได้รบั รางวัล เพลงที่ได้รบั ความนิยมและเพลงทีช่ อบมาเรียบเรียงดนตรีใหม่ โดยใช้ดนตรีประเภท
อคูสติค (ACUSTIC) ซึง่ ไม่ใช้เสียงจากเครือ่ งไฟฟ้าและขับร้องใหม่ ในอัล้ บัม้ เดียวกันนี้
6) อัสดง ปีพุทธศักราช 2548 ได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทอง ประเภทเพลง
ไทยสากลหญิงยอดเยีย่ มหญิง แต่งโดยคุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
จากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล (สัมภาษณ์. 2553) กล่าวว่า
ได้บนั ทึกเสียงการขับร้องบทเพลงลูกกรุงไทยไว้จานวนมาก และได้บนั ทึกเสียงไว้กบั หลายบริษทั
บางบริษทั ได้ปิดกิจการลง จึงขอนาเสนอผลงานทีส่ ามารถสืบค้นได้ ดังนี้
 ฉันรักรถเมล์
 สุดเหงา
 อยูค่ นเดียวทุกที
 มาซิขยับมาซิ
 ธารสวาท
 ดอกไม้ช่อนี้
 สายเลือดเดียวกัน
 คิดถึง
 จงรัก
 รักคุณเข้าแล้ว
 เสีย่ งรัก
 พรหมลิขติ
 ข้องจิต (ร้องคู่กบั คุณวินยั พันธุรกั ษ์) ทีร่ ะลึกครบรอบ 60 ปี สุนทราภรณ์
 อัลบัม้ สองเสียงสวรรค์ (เพลงแนวใหม่ทร่ี ว่ มกับ BUtterfly)
39

 ดอกจัน 1
 ดอกจัน 2
 ดอกจัน 3
 Once Upon Time
 วันวาน
 ทะเลจันทร์ (B.S.O)
สรุปได้ว่า ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เป็ นศิลปินนักร้องทีม่ คี ุณภาพคนหนึ่งของสังคมไทย
มีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อวงการเพลง ด้วยผลงานและแนวทางการขับร้ อง เพลงลูกกรุงที่ยงั คงอยู่ใน
สังคมไทย ซึ่งมีเอกลักษณ์ ทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ทางอารมณ์และภาษาแห่งศิลปะการขับร้องเพลง
ลูกกรุง ด้วยเป็ นเพชรน้ าหนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้กบั วงการเพลงของประเทศ จากรางวัลแผ่นเสียง
ทองคาพระราชทาน รางวัลพระพิฆเนศทองและรางวัลตุ๊กตาทองทีวมี หาชน รวมถึงผลงานอื่น ๆ
จึงเป็นเครือ่ งชีว้ ดั ได้ถงึ คุณภาพผลงานการขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

2. วิ เคราะห์ข้อมูลด้านบทเพลง
ในการศึก ษาข้อ มูล ด้า นบทเพลงของ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ครัง้ นี้ ไ ด้ข้อ มูล มาจากการ
สัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยตรงและรวบรวมบทสัมภาษณ์ของนักประพันธ์เพลงในแนวเพลง
ไทยสากล มีเพลงทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้ าเซาะ
ทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
2.1 ความเป็นมาของบทเพลง (Historical Background)
2.2 ความหมายของบทเพลง (Meaning)
2.3 โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
40
41

คาร้อง เพลงสุดเหงา
ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย หนาวเหน็บหนาวไม่หาย
ยามฉันอยูเ่ ดียวดายขาดเธอ จากเธอไป
ไม่ใช่เรือ่ งทีฉ่ ันนัน้ อยากจะทา แต่เป็นเรือ่ งทีฉ่ นั ไม่ทาไม่ได้
สุดหักอาลัยยามไกลไปจากเธอ * ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย
หนาวเหน็บหนาวไม่หาย ยามฉันอยูเ่ ดียวดายขาดเธอ
แต่เพื่อความรักของเธอและเขา ฉันยอมรับความเหงาเศร้าตรม
** ปล่อยเวลารักษาอารมณ์ จนกว่าความระทมผ่อนคลาย
(ซ้า * . *)

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลงของเพลงสุดเหงา ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการวิเคราะห์


3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ความเป็ นมาของบทเพลง (Historical Background)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล กล่าวถึงความเป็ นมาของเพลงสุดเหงา ว่าเป็ น
เพลงที่ประพันธ์คาร้องและทานองโดยวรา วรเวช หรือนายแพทย์วราวุฒ ิ สุมาวงศ์ โดยมีครูพมิ พ์
ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์ เป็ นผู้เรียบเรียงเสียงประสาน เป็ นเพลงแรกที่สร้ างชื่อเสียงและเกียรติยศ
ให้แก่ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ทีจ่ ดั โดยสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย เมื่อปีพุทธศักราช 2524 โดยเพลง
สุดเหงาได้รบั รางวัล แผ่นเสียงทองค า ประเภทขับร้องยอดเยี่ยมหญิงและรางวัลเพลงยอดเยี่ยม
(ทานองเรียบเรียงเสียงประสาน) หลังจากเพลงนี้ได้รบั รางวัลแผ่ นเสียงทองคา กรมประชาสัมพันธ์
ได้เชิญทิพย์วลั ย์ เป็ นตัวแทนนักร้องไทยไปร่วมงานมหกรรมเพลงอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์
ประเทศมาเลเซีย เมือ่ ปีพุทธศักราช 2525
2.2 ความหมายของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (สัมภาษณ์. 2553) กล่าวถึง เนื้อหาของบทเพลง
สุดเหงา ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึงเรือ่ งราวของผูห้ ญิงคนหนึ่งซึง่ เธอมีความเหงาอยูใ่ นหัวใจ เพราะว่าขาด
คนรักที่คอยดูแลและสร้างความอบอุ่นทัง้ กายและใจให้แก่เธอ จากความรูส้ กึ เหงานี้ เธอได้ถ่ายทอด
ความรูส้ กึ เชิงอุปมาอุปมัยว่า ความรูส้ กึ ของคนเราที่เกิดจากความเหงาและอ้างว้าง ถ้ารูส้ กึ ว่าร้อนก็จะ
ร้อนที่สุด ถ้ารู้สกึ ว่าหนาวความหนาวก็จะไม่จางหายไปจากความรู้สกึ ยิง่ เมื่อต้องอยู่เดียวดายและ
ขาดคนทีจ่ ะคอยดูแล ยิง่ ทาให้ความร้อนและความหนาวเพิม่ ยิง่ ขึน้ ความเหงาของผู้หญิงคนนี้ เป็ นสิง่ ที่
เธอไม่อยากให้เกิดแต่ เป็ นเรื่องทีเ่ ธอไม่สามารถหยุดยัง้ มันได้ เพราะว่าความรักของเธอทีม่ ตี ่อคนรัก
นัน้ มากมาย แต่บดั นี้คนรักของเธอได้มผี ู้หญิงคนใหม่ จึงทาให้เธอต้องยอมรับความเหงาเศร้าตรม
อยูใ่ นหัวใจเพียงผูเ้ ดียวโดยปล่อยให้กาลเวลาเป็ นผูร้ กั ษาอารมณ์และความระทมให้ผ่อนคลาย เพื่ อให้
ความเหงาได้จางหายไปจากกายและใจของเธอ
42

2.3 โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)


บทเพลงสุดเหงา มีโครงสร้างของบทเพลง เป็นลักษณะแบบ Ternary Form คือ A B
A C A โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B แล้วจึงย้อนกลับมาร้องท่อน A ซ้าอีกครัง้
หนึ่ง หลังจากนัน้ จะร้องท่อน C และย้อนกลับมาร้องซ้าท่อน A อีกครัง้ ดังนี้

ท่อนA

ท่อน B

ท่อน A
43

ท่อน C

ท่อน A

3. ข้อมูลด้านเทคนิ ควิ ธีการขับร้อง


ในการศึก ษาข้อ มูล ด้านเทคนิ ค วิธ ีก ารขับร้อ งของ ทิพย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล โดยตรง มีเพลงทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
44
45

คาร้อง เพลงสุดเหงา
ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย หนาวเหน็บหนาวไม่หาย
ยามฉันอยูเ่ ดียวดายขาดเธอ จากเธอไป
ไม่ใช่เรือ่ งทีฉ่ นั นัน้ อยากจะทา แต่เป็นเรือ่ งทีฉ่ นั ไม่ทาไม่ได้
สุดหักอาลัยยามไกลไปจากเธอ * ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย
หนาวเหน็บหนาวไม่หาย ยามฉันอยูเ่ ดียวดายขาดเธอ
แต่เพื่อความรักของเธอและเขา ฉันยอมรับความเหงาเศร้าตรม
** ปล่อยเวลารักษาอารมณ์ จนกว่าความระทมผ่อนคลาย
(ซ้า * . ** )

ในการวิเคราะห์ข้อ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงสุดเหงา ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อ


ในการวิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
ในการศึกษาวิเคราะห์การบังคับควบคุ มลมหายใจ ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมาย
ของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน
ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้
46

การแบ่งวรรคลมหายใจของเพลงสุดเหงา

ในการแบ่งวลีเพื่อการหายใจใช้สญ
ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดการหายใจ

การหายใจวลีท่ี 1 ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย
การหายใจวลีท่ี 2 หนาวเหน็บหนาวไม่หาย
47

การหายใจวลีท่ี 3 ยามฉันอยูเ่ ดียวดาย


การหายใจวลีท่ี 4 ขาดเธอ
การหายใจวลีท่ี 5 จากเธอไป
การหายใจวลีท่ี 6 ไม่ใช่เรือ่ งทีฉ่ ันนัน้ อยากจะทา
การหายใจวลีท่ี 7 แต่เป็นเรือ่ งทีฉ่ นั ไม่ทาไม่ได้
การหายใจวลีท่ี 8 สุดหักอาลัยยามไกลไปจากเธอ
การหายใจวลีท่ี 9 * ร้อนสุดร้อนผ่อนคลาย
การหายใจวลีท1่ี 0 หนาวเหน็บหนาวไม่หาย
การหายใจวลีท่ี 11 ยามฉันอยูเ่ ดียวดาย
การหายใจวลีท่ี 12 ขาดเธอ
การหายใจวลีท่ี 13 แต่เพื่อความรักของเธอและเขา
การหายใจวลีท่ี 14 ฉันยอมรับความเหงาเศร้าตรม
การหายใจวลีท่ี 15 ** ปล่อยเวลา
การหายใจวลีท่ี 16 รักษาอารมณ์
การหายใจวลีท่ี 17 จนกว่าความระทม
การหายใจวลีท่ี 18 ผ่อนคลาย
(ซ้า * . **)

สรุ ป ในบทเพลงสุ ด เหงา ทิพ ย์ ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ ว ิ ธ ีก ารหายใจเพื่ อ ให้


ความหมายของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี ี
เนื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง
จานวน 18 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
ในบทเพลงสุ ด เหงา ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ เ ทคนิ ค วิธ ีก ารบัง คับ ลมเพื่อ
ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การ
ลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...ขาดเธอ... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “เธอ”
โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว B และ C# สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo และ Decrscendo ในโน้ตตัว B ลากเสียงให้ยาว
ขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว B โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการ
ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
48

2) ...จากเธอไป... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ ไป ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว B และ C# สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว B
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

3) ...ไม่ได้... ผู้ร้อ งใช้เ ทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงค าร้อ ง ค าว่า “ไม่ได้”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C# และ D# สลับกันไป หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค
Crescendo ในโน้ตตัว C# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วย
โน้ตตัว C# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
49

4) …อารมณ์... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “อารมณ์ ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C# และ D# สลับกันไป หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค
Crescendo ในโน้ตตัว C# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วย
โน้ตเสียง โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

5) ...ผ่ อ นคลาย ... ผู้ร้อ งใช้เ ทคนิ ค การบัง คับ ลมเพื่อ ลากเสีย งค าร้อ ง ค าว่ า
“ คลาย ” โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตโน้ตตัว E และ F# สลับกันไป หลังจาก
นัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วย
โน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ

สรุป ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อ


ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การ
ลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 5 วลี คือ คาว่า...ขาดเธอ...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ คาว่า...จากเธอไป...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่ได้...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ คาว่า…อารมณ์...การลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ...ผ่อนคลาย...
การลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการ
เอื้อนเสียง ซึง่ ทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการปล่อยเสียงให้
50

ถูกต้องตามโน้ต ตามจังหวะ ซึง่ จะทาให้การเอือ้ นเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความไพเราะ


น่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้

ปล่อยเวลารักษาอารมณ์(...........)จนกว่าความระทมผ่อนคลาย

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 4 ตัว คือ เริม่ ต้นด้วย


โน้ตตัว C# และเอื้อนเสียงให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตตัว D#
E A G# จบลงด้วยโน้ตตัว C #

สรุป ในบทเพลงสุ ด เหงานัน้ เนื่ อ งจากเป็ น บทเพลงไทยสากล จึง มีก ารเอื้อ น


ในระหว่างคาร้องผูว้ จิ ยั พบการเอื้อนทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า ปล่อยเวลารักษา
อารมณ์(.........)จนกว่าความระทมผ่อนคลาย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับ ลม
สาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อ นเสียงให้สูงขึ้นโดยใช้ล มในการขับร้อ งเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่ เสียง
ตัวโน้ตเสียง D # E A G# จบลงด้วยโน้ตตัว C# ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
3.2 การออกอักขระ (Pronunciation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การออกอักขระของคาในบทเพลง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยใน
การวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลง
เพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
ดังนี้
1) คาว่า...ร้อนสุดร้อน...หนาวเหน็บหนาว...
51

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ร้อนสุดร้อน โดยใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงให้ดงั ขึน้
เพื่อเน้นความหมายของคาว่า ร้อน โน้ตตัว G# คาว่า สุด โน้ตตัว F# และคาว่า ร้อน โน้ตตัว G#
เพื่อให้เกิดความรูส้ กึ ว่า ร้อนมาก ส่วนคาว่า หนาวเหน็บหนาว ก็ใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงให้ดงั
ขึน้ เพื่อเน้นความหมายของคาว่า หนาว โน้ตตัว G# คาว่า สุด โน้ตตัว F# และคาว่า หนาว โน้ ต
ตัว G# เพื่อให้เกิดความรูส้ กึ ว่า หนาวมากเช่นเดียวกัน
2) คาว่า ....เดียวดาย....ขาดเธอ

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...เดียวดาย... โดยใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมาย
ของคาว่า เดียว ด้วยน้ าเสียงทีห่ นักแน่ น โน้ตตัว B ส่วนคาว่า ดาย โน้ตตัว B ซึง่ เป็ นโน้ตทีเ่ สียง
ยาวกว่าจะใช้เทคนิคการใช้เสียงที่การแผ่วเสียงเบาลงในตอนท้ายของคา เพื่อให้เกิดความรูส้ กึ ว่า
เดียวดายจริงๆ ส่วนคาว่า ขาดเธอ ก็ใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงในคาว่า...ขาด...ให้หนักแน่ นและ
พลิว้ เสียง คือการสันของเสี
่ ยงให้เป็ นลักษณะคลื่นในตอนท้ายคาว่า... เธอ...โน้ตตัว B เพื่อให้เกิด
ความรูส้ กึ ว่า ขาดเธอจริงๆ
3) คาว่า...เธอ... เขา...

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...เธอ..โดยใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมายของคา
ว่า เธอ ด้วย เทคนิคการลากเสียง โน้ตตัว B ให้จงั หวะยาวออกไป 5 จังหวะครึง่ เพื่อเน้นถึงอารมณ์
เศร้า ส่วนคาว่า..เขา..โน้ตตัว F# ก็ใช้เทคนิคการลากเสียง เพื่อให้จงั หวะยาวออกไป 3 จังหวะ
เช่นกัน เพื่อเน้นความหมายของคาว่า..เขา... ซึง่ เป็นผูห้ ญิงคนใหม่ของเธอทีท่ าให้เธอไม่สามารถ
หวนกลับคืนมาหาได้
52

4) คาว่า...เหงา... เศร้า... ตรม

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...เหงา..เศร้า...ตรม โน้ตเสียง F# C# และ E โดยใช้
เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมายของคาว่า ...เหงา..เศร้า...ตรม ด้วย เทคนิคการใช้เสียงครวญ คือ
การร้อ งน้ า เสีย งแผ่ ว เบาคล้า ยกับ การสะอื้นไปในตัว ซึ่งเป็ นเสียงที่แสดงอารมณ์ ของการเหงา
เศร้าโศกไปตามบทเพลง
5) คาว่า...เวลา...รักษา...

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายที่เด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...เวลา...รักษา... โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจาก
เสียงโน้ตตัว B ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัว G# โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจาก
เสียงต่าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียงเพื่อเน้นคาให้ได้อารมณ์ชดั เจนตามความหมายของคาร้อง
6) คาว่า...ผ่อนคลาย...

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...ผ่อนคลาย... โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียง
โน้ตตัว E ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัว B โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ า
ไปหาเสียงสูง ห่างกัน 5 เสียงซึง่ เป็ นการร้องทีแ่ สดงอารมณ์ของคาว่า...ผ่อนคลาย...ให้รสู้ กึ ว่าผ่อน
คลายจริงๆ ได้ตามความหมายของคาอย่างชัดเจน
53

สรุป ในบทเพลงสุ ด เหงา ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารเน้ น เสียงเน้ นค าใน
บทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้ อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้ นคาให้ชดั เจน
เป็ นพิเศษ ซึ่งมีคาร้องที่ผู้วจิ ยั พบจานวน 6 วลี คือ คาว่า...ร้อนสุดร้อน...หนาวเหน็บหนาว...ใช้
เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงให้ดงั ขึน้ เพื่อเน้นความหมายของคาว่า ร้อน ส่วนคาว่า หนาวเหน็บหนาว
ก็ใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงให้ดงั ขึน้ เพื่อเน้นความหมายของคาว่า หนาว คาว่า ...เดียวดาย...ใช้
เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมายของคาว่า เดียว ด้วยน้ าเสียงทีห่ นักแน่ นส่วนคาว่า ดาย ใช้เทคนิค
การใช้เ สียงที่ก ารแผ่ ว เสียงเบาลงในตอนท้า ยของค า เพื่อ ให้เ กิด ความรู้ส ึก ว่ า เดียวดายจริง ๆ
ส่วนคาว่า ขาดเธอ ก็ใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงในคาว่า...ขาด...ให้หนักแน่นและพลิว้ เสียง คือการ
สันของเสี
่ ยงให้เป็นลักษณะคลื่นในตอนท้ายคาว่า... เธอ... คาว่า ...เธอ..โดยใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเน้น
ความหมายของคาว่า เธอ ด้วย เทคนิคการลากเสียง เพื่อเน้นถึงอารมณ์เศร้า ส่ วนคาว่า..เขา.. เพื่อ
เน้ นความหมายของค าว่า..เขา...ใช้เ ทคนิค การลากเสียง เพื่อ เน้ นความหมายของคาว่า...เขา...
ซึง่ เป็นผูห้ ญิงคนใหม่ของเธอทีท่ าให้เธอไม่สามารถหวนกลับคืนมาหาได้ คาว่า ...เหงา..เศร้า...ตรม
ใช้เทคนิคการใช้เสียงครวญ คือการร้องน้ าเสียงแผ่วเบาคล้า ยกับการสะอื้นไปในตัว ซึง่ เป็ นเสียงที่
แสดงอารมณ์ของการเหงา เศร้าโศกไปตามบทเพลง คาว่า ...เวลา...รักษา... โดยใช้เทคนิคการ
กระโดดเสียงจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อ เน้ นค าให้ได้อารมณ์ ชดั เจนตาม
ความหมายของคาร้อง คาว่า...ผ่อนคลาย..โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียง จากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง
ห่างกัน 5 เสียง ซึง่ เป็ นการร้องทีแ่ สดงอารมณ์ของคาว่า...ผ่อนคลาย...ให้รสู้ กึ ว่าผ่อนคลายจริงๆได้
ตามความหมายของคาอย่างชัดเจน
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิ ธกี ารผัน
อัก ษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้ว ยพยัญ ชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง
วรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
1) คาว่า…หาย...
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฮาย โน้ตตัว G# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูง
พยัญชนะ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
54

2) คาว่า…เหงา…
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า...เงา…โน้ตตัว F# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าเดียวเพื่อให้
เกิดเสียงคาว่า...เหงา...ในหลักภาษาไทยเป็ นการออกเสียงแบบคาที่ม.ี ..ห...นาเสียงของคาจะเป็ น
เสียงจัตวา ซึ่งผู้ขบั ร้องต้องใช้การโดยการผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้อง
ด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว G# ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

3) คาว่า...รักษา...
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบ าล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซา โน้ตตัว G# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูง
พยัญชนะ ษ ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

4) คาว่า...ผ่อนคลาย...
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า พอ โน้ตตัว D# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูง
พยัญชนะ ผ ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันให้เสียงต่ าลงมาหนึ่งเสียงคือโน้ตตัว C#
และเปล่งเสียงด้วยคาว่า ห่อนซึ่งเมื่อรวมคาว่า …พอ… ผสม กับคาว่า…ห่อน… จะได้เสียงขับร้อง
เป็นคาว่า ผ่อน ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

สรุปการขับ ร้อ งโดยการผัน อัก ษรตามท านอง ในบทเพลงสุ ดเหงา ทิพ ย์ว ัล ย์
ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สม
55

ด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องเพื่อให้เปลีย่ นไปตามทานองเพลง


ผู้วจิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีท่สี าคัญๆ คือคาว่า….หาย...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฮาย ซึ่งเป็ น
อักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิก เป็นคาว่า...หาย... คาว่า…เหงา…เริม่ ต้นการร้องด้วยคาว่า...เงา…ใช้เทคนิคการออก
เสีย งค าที่ม ี. ..ห...น า..ง...เสีย งของค าจะเป็ น เสีย งจัต วา ซึ่ง ผู้ข บั ร้อ งต้อ งใช้ก ารผัน อัก ษรและ
วรรณยุกต์ร่วมกันจบลงเป็ นคาว่า...เหงา....คาว่า...รัก ษา...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซา เป็ นอักษร
ต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ษ ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิก จบลงเป็นคาว่า...รักษา... คาว่า...ผ่อนคลาย...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า พอ เป็ นอักษรต่ า
คู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ผ ซึ่งใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันให้เสียงต่ า และเปล่งเสียงด้วย
คาว่า ห่อนซึง่ เมือ่ รวมคาว่า…พอ… ผสม กับคาว่า…ห่อน…จะได้เสียงขับร้องเป็นคาว่า ผ่อน
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงสุ ด เหงา ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารร้อ งค าเป็ น ค าตาย คือ
การขับร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการ
ขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงสุดเหงา
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง ดังนี้
ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
1) ร้อน
คาว่า...ร้อน...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ออและสะกดด้วย น
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

2) คลาย
คาว่า...คลาย…เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย
ย ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้
ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น
56

3) ปล่อย
คาว่า...ปล่อย…เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ออ และสะกด
ด้วย ย ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้ องให้ยาวขึน้
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย


1) เหน็บ
คาว่า...เหน็บ...เป็นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ เอะ และสะกดด้วย
บ ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้
ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

2) สุดหัก
คาว่า...สุด...เป็นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อุ และสะกดด้วย ด
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กด และคาว่า...หัก...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะและสะกด
ด้วย ก ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย
57

3) ความรัก
คาว่า...ความรัก...เป็ นคาตายที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกด
ด้วย ก ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

สรุปในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ


การขับร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการ
ขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงสุดเหงา
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็น
คาว่า...ร้อน...สระ ออและสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
เป็นคาว่า ร้อน
คาว่า...คลาย…สระ อา และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า คลาย
ค าว่า ...ปล่ อ ย… สระ ออ และสะกดด้ว ย ย ใช้เ ทคนิค การลากเสีย งค าร้อ งให้
ยาวขึน้ เป็นคาว่าปล่อย
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...เหน็บ... สระ เอะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า เหน็บ
คาว่า...สุดหัก...คาว่า...สุด...สระ อุ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิ คการหยุดเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลงเป็ นคาว่า สุด ส่วนคาว่า...หัก...สระ อะและสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลง เป็นคาว่า...หัก...
58

คาว่า...ความรัก...คาว่า...รัก...สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียง


คาร้องให้สนั ้ ลง เป็นคาว่า ความรัก
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมายในบทเพลง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงสุ ด เหงา ทิพย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้สุ น ทรีย รสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอื้ออาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึง่ ผูข้ บั ร้อง
ใช้น้ าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงสุดเหงามีคาร้องที่สาคัญๆที่ผู้ขบั ร้อง
ได้ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า..ร้อนสุดร้อน...
ร้อนสุดร้อน จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงสุดเหงาพบว่า วลีน้ีมคี วามหมาย
ทีก่ ล่าวถึงความรุ่มร้อนในความเหงาของคน ที่ถูกคนรักทอดทิ้ง จะมีความรุ่มร้อนยิง่ กว่าคนทัวไป ่
วลีน้ที พิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วย
การเน้ นค าด้ว ยน้ าเสียงที่ด งั แสดงถึง ความรุ่มร้อ นที่ถึง ที่สุ ด ทาให้ผู้ฟ งั เกิด ความรู้ส ึก ว่ ารุ่มร้อ น
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

2) คาว่า...หนาวเหน็บหนาว...
หนาวเหน็บหนาว จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงสุดเหงาพบว่า วลีน้ีม ี
ความหมายที่กล่าวถึงความเหน็บหนาวของคน ที่ถูกคนรักทอดทิ้ง จะมีความเหน็บหนาวยิง่ กว่า
คนทัวไป
่ วลีน้ีทิพ ย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ถ่ ายทอดอารมณ์ โ ดยใช้สุ นทรียรส คือ รสค าหรือ รสถ้อ ย
โดยขับร้องด้วยการเน้นคาด้วยน้ าเสียงทีด่ งั แสดงถึงความเหน็บหนาวในอารมณ์ทถ่ี งึ ทีส่ ุด ทาให้ผฟู้ งั
เกิดความรูส้ กึ ว่าเหน็บหนาวคล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
59

3) คาว่า...ยามฉันอยูเ่ ดียวดาย...ขาดเธอ...
ยามฉันอยู่เดียวดาย....ขาดเธอ จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงสุดเหงา
พบว่า วลีน้มี คี วามหมายทีก่ ล่าวถึงความเหงาความอ้างว้างของผูห้ ญิงทีถ่ ูกคนรักทอดทิง้ ให้อยู่เดียวดาย
วลีน้ที พิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้า เหงา เดียวดาย
หรือ สัล ลาปงั คพิส ยั ในรสของวรรณคดีไทย โดยการขับร้องแบบพลิ้วเสียง ซึ่งเป็ นการเน้ นเสียง
แล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ขาดเธอ…ทาให้ผฟู้ งั เกิด
ความรูส้ กึ เดียวดายคล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

4) คาว่า...ฉันยอมรับความเหงา...เศร้าตรม...
ฉันยอมรับความเหงา...เศร้าตรม จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงสุดเหงา
พบว่า วลีน้มี คี วามหมายทีก่ ล่าวถึงความเหงา...เศร้า...ของผูห้ ญิงทีถ่ ูกคนรักทอดทิง้ ให้อยู่เดียวดาย
วลีน้ี ทิพ ย์ ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ถ่ า ยทอดอารมณ์ โ ดยใช้ สุ น ทรีย รส คือ รสแห่ ง ความเศร้า หรือ
สัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย โดยใช้เสียงครวญ... เศร้าสร้อย...ซึง่ มีลกั ษณะ...แผ่วเบาผสม
ความสะอืน้ ..ในน้าเสียง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ เหงา...เศร้าสร้อย...คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

5) คาว่า...จนกว่าความระทม...ผ่อนคลาย...
จนกว่าความระทม...ผ่อนคลาย จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงสุดเหงา
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่ก ล่ าวถึงความรู้ส ึกของผู้หญิง คนหนึ่ง ที่ใ ช้กาลเวลาเป็ นเครื่อ งรักษา
อารมณ์ ซึง่ ในวลีน้ี ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความทุกข์
หรือสัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย ใช้การแผ่วเสียงที.่ ..แผ่วเบา...ซึง่ มีลกั ษณะแสดงออกถึง
ความหลุดพ้นจากความทุกข์ ความเหงาในน้ าเสียง ทาให้ผู้ฟงั เกิดความรูส้ กึ ...ผ่อนคลาย...คล้อย
ตามไปกับผูข้ บั ร้อง
60

3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ การทา
หน่วยเสียง 2เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆ ทีเ่ รียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ตสากล ตอนบนของบรรทัด 5
เส้น มีสญั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั ิหรือขับร้องต้องเล่นโน้ต 2 ตัวสลับกัน
อย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ต2 ตัวนี้ ตัวทีท่ าหน้าทีใ่ ห้เสียงหลักคือโน้ตตัวล่าง การตกแต่งเสียงเป็ น
หน้ าที่ของโน้ ต ตัว บน หน่ ว ยเสียงที่เ รียบเรียงอย่างสมบูรณ์ น้ีแสดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง
ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของบทเพลง ในบทเพลงสุดเหงา
มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) คาว่า...ขาดเธอ...
คาว่า...เธอ...ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ต
ตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

2) คาว่า...จากเธอไป...
คาว่า...ไป...ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสีย งหลัก คือโน้ต
ตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
61

3) คาว่า...อารมณ์ ...
คาว่า...รมณ์...ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ต
ตัว C# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

4) คาว่า...ผ่อนคลาย
คาว่า...คลาย...ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ต
ตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคระห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
62

1) การใช้สุ น ทรีย รสในการถ่ า ยทอดอารมณ์ ค วามรู้ส ึ ก ในบทเพลงสุ ด เหงา


ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึง้ ในบทเพลง
ซึ่งเป็ นสุ นทรียรสต่ างๆ ผู้ว ิจยั ขอยกตัว อย่างการใช้สุ นทรียรสที่ใ ช้ใ นการถ่ ายทอดความรู้ส ึก
ที่สาคัญๆ ในบทเพลง คือ คาว่า..ร้อนสุดร้อนได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือ
รสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้นคาด้วยน้ าเสียงที่ดงั แสดงถึงความรุ่มร้อนทีถ่ งึ ที่สุด คาว่า ...หนาว
เหน็บหนาว... ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้นคา
ด้วยน้ าเสียงที่ดงั แสดงถึงความเหน็บหนาวในอารมณ์ท่ถี งึ ทีส่ ุด คาว่า...ยามฉันอยู่เดียวดาย...ขาด
เธอ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้า เหงา เดียวดายหรือสัลลาปงั คพิสยั
ในรสของวรรณคดีไทย โดยการขับร้องแบบพลิว้ เสียง ซึ่งเป็ นการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้
และมีก ารสันของเสี
่ ย ง (Vibrato) โดยเฉพาะค าว่ า ...ขาดเธอ…ค าว่ า ...ฉันยอมรับ ความเหงา...
เศร้าตรม...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าหรือสั ลลาปงั คพิสยั ในรสของ
วรรณคดีไทย โดยใช้เสียงครวญ... เศร้าสร้อย...ซึง่ มีลกั ษณะ...แผ่วเบาผสมความสะอื้น..ในน้ าเสียง คา
ว่า...จนกว่าความระทม...ผ่อนคลาย...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความทุกข์
หรือสัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย ใช้การแผ่วเสียงที.่ ..แผ่วเบา...ซึง่ มีลกั ษณะแสดงออกถึง
ความหลุดพ้นจากความทุกข์ ความเหงาในน้ าเสียง ทาให้ผู้ฟงั เกิดความรูส้ กึ ...ผ่อนคลาย...คล้อย
ตามไปกับผูข้ บั ร้อง
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล มีลกั ษณะ
การขับร้องก่อให้เกิด ภวารมณียะ คือ คาว่า...ขาดเธอ...โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่ง
เสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ ตตัว C# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์คล้อย
ตามไปกับผู้ขบั ร้อง คาว่า...จากเธอไป...โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว C# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...อารมณ์ ...โน้ตตัว C# และมีเสียงโน้ ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ ต
ตัว D# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ผ่อนคลาย
...โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะการ
ขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
63
64

คำร้อง เพลงดอกไม้ช่อนี้
ดอกไม้ช่อนี้ นึกดูให้ดคี ุณเคยมอบให้
และบอกว่าแทนความรักในใจ ทีจ่ งรับไป จวบจนนิรนั ดร์
ดอกสวยเรือ่ ยมา เพราะเป็นผกาทีท่ าเทียมนัน่
ประดิษฐ์ได้ดี สดสีลาวัณย์ ยัวใจของฉั
่ นให้ฝนั เฟื่องฟู
*จนผ่านมานาน หมดความฉ่ าหวานชื่นชู
ก็จงึ รู้ รักปลอมคุณอยูข่ า้ งใน
ดอกไม้ช่อนี้ แม้ยงั สดสีเหมือนวันคุณให้
แต่ดอกก็ปลอม เช่นรักในใจ
โปรดจงรับไป ฉันไม่ตอ้ งการ
(ซ้า *)

2. วิ เครำะห์ข้อมูลด้ำนบทเพลง
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลงของเพลงสุดเหงา ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการวิเคราะห์
3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ควำมเป็ นมำของบทเพลง (Historical Background)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล กล่าวถึงความเป็นมาของเพลงดอกไม้ช่อนี้ เป็ น
เพลงทีป่ ระพันธ์คาร้องและทานองโดย คุณโอฬาร เพียรธรรม ในปี พุทธศักราช 2525 ได้รบั รางวัล
แผ่นเสียงทองคา ประเภทเพลงยอดนิยมและยังได้รบั รางวัลตุ๊กตาทองทีวมี หาชน ในปีเดียวกันด้วย
2.2 ควำมหมำยของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล(สัมภาษณ์. 2553)กล่าวถึงเนื้อหาของบทเพลง
ดอกไม้ช่อนี้ ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึงเรือ่ งราวของผูห้ ญิงคนหนึ่งซึง่ เธอเคยได้รบั ดอกไม้จากชายคนรัก
ซึง่ เป็ นสัญลักษณ์แทนความรัก ทีช่ ายผู้นนั ้ มีให้แก่เธอตลอดไป ดอกไม้ทม่ี อบให้แด่เธอ ถึงแม้ว่าจะ
เป็ นดอกไม้ท่ปี ระดิษฐ์ขน้ึ แต่ก็มคี วามสวยสดงดงาม จนทาให้ จติ ใจของเธอมีความสุข เหมือนดัง
ความฝนั ในจินตนาการ แต่เมือ่ เวลาผ่านไปนาน... ความรักนัน้ ก็หมดความหวาน ความชุ่มฉ่ า เธอจึง
รูว้ ่าความรักทีผ่ ู้ชายคนนัน้ มอบให้ เป็ นความรักที่หลอกลวง เป็ นการอุปมาอุปมัยเปรียบเปรยเรื่อง
ของความรักที่จอมปลอมกับดอกไม้ท่ปี ลอมๆ สุดท้ายเธอจึงมอบดอกไม้ปลอมๆช่อนัน้ คืนแก่เขา
เพราะเป็นสิง่ ปลอมๆทีเ่ ธอไม่ตอ้ งการ
2.3 โครงสร้ำงและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
บทเพลงดอกไม้ช่อนี้ มีโครงสร้างของบทเพลง เป็นลักษณะแบบ Ternary Form คือ
A A’ B A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ตามด้วยท่อน A’ และร้องท่อน B
ตามด้วยท่อน A” แล้วจึงย้อนกลับไปร้องท่อน B ซ้าอีกครัง้ และจบลงด้วยท่อน A” ดังนี้
65

3. ข้อมูลด้ำนเทคนิ ควิ ธีกำรขับร้อง


ในการศึกษาข้อมูลด้านเทคนิค วิธ ีการขับร้อ งของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล โดยตรง มีเพลงทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
66

3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
67

คำร้อง เพลงดอกไม้ช่อนี้
ดอกไม้ช่อนี้ นึกดูให้ดคี ุณเคยมอบให้
และบอกว่าแทนความรักในใจ ทีจ่ งรับไป จวบจนนิรนั ดร์
ดอกสวยเรือ่ ยมา เพราะเป็นผกาทีท่ าเทียมนัน่
ประดิษฐ์ได้ดี สดสีลาวัณย์ ยัวใจของฉั
่ นให้ฝนั เฟื่องฟู
*จนผ่านมานาน หมดความฉ่ าหวานชื่นชู
ก็จงึ รู้ รักปลอมคุณอยูข่ า้ งใน
ดอกไม้ช่อนี้ แม้ยงั สดสีเหมือนวันคุณให้
แต่ดอกก็ปลอม เช่นรักในใจ
โปรดจงรับไป ฉันไม่ตอ้ งการ
(ซ้า *)
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงดอกไม้ช่อนี้ ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อ
ในการวิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ ในการศึกษาวิเคระห์การบังคับควบคุมลมหายใจ ผูว้ จิ ยั
ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมาย
ของค าร้อ งและท านองเพลงได้ต รงกับ จิน ตนาการของผู้ป ระพัน ธ์ โดยใช้ก ารแบ่ง วลีท่ีมเี นื้อ หา
เดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้

กำรแบ่งวรรคลมหำยใจของเพลงดอกไม้ช่อนี้

ในกำรแบ่งวลี เพื่อกำรหำยใจ ใช้สญ


ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดกำรหำยใจ
68

การหายใจวลีท่ี 1 ดอกไม้ช่อนี้
การหายใจวลีท2่ี นึกดูให้ดคี ุณเคยมอบให้
การหายใจวลีท่ี 3 และบอกว่าแทนความรักในใจ
การหายใจวลีท่ี 4 ทีจ่ งรับไป จวบจนนิรนั ดร์
การหายใจวลีท่ี 5 ดอกสวยเรือ่ ยมา
การหายใจวลีท่ี 6 เพราะเป็ นผกาทีท่ าเทียมนัน่
การหายใจวลีท่ี 7 ประดิษฐ์ได้ดี สดสีลาวัณย์
การหายใจวลีท่ี 8 ยัวใจของฉั
่ นให้ฝนั เฟื่องฟู
การหายใจวลีท่ี 9 *จนผ่านมานาน
การหายใจวลีท1่ี 0 หมดความฉ่ าหวานชื่นชู
การหายใจวลีท่ี 11 ก็จงึ รู้
การหายใจวลีท่ี 12 รักปลอมคุณอยูข่ า้ งใน
69

การหายใจวลีท่ี 13 ดอกไม้ช่อนี้
การหายใจวลีท่ี 14 แม้ยงั สดสีเหมือนวันคุณให้
การหายใจวลีท่ี 15 แต่ดอกก็ปลอมเช่นรักในใจ
การหายใจวลีท่ี 16 โปรดจงรับไปฉันไม่ตอ้ งการ
(ซ้า * )

สรุป ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพ ย์ว ลั ย์ ปิ่ น ภิบาล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารหายใจเพื่อ ให้
ความหมายของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี ี
เนื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง
จานวน 16 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อ
ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การ
ลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...ช่อ นี้... ผู้ร้องใช้เทคนิค การบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ช่อนี้”
โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G# และ A# สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว G# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

2) ...มอบให้... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ให้ ”


โดยใช้เทคนิคVibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D# และ C # สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว D#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
70

3) ...ในใจ... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ใจ ” โดยใช้


เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C# และ D# สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว C#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

4) ...นิรนั ดร์... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “รันดร์”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D# และ E สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว D#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

5) ...เรื่อยมา... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “เรื่อยมา”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G# และ A# สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ในโน้ตตัว G# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

6) ...เทียมนัน่ ... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “นัน่ ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D# และ E สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว D#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
71

7) ...ลาวัลย์... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “วัลย์”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C# และ D สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว C#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

8) ...เฟื่องฟู... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “เฟื่องฟู”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G# และ A สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว A#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

9) ...ชื่นชู... ผู้ร้องใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อ ลากเสียงคาร้อง ค าว่า “ชื่นชู”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G# และ A# สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ในโน้ตตัว G# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
72

10) ...จึง รู้... ผู้ร้อ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อ ลากเสียงคาร้อ ง ค าว่า “จึงรู้”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว A# และ B สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ในโน้ตตัว A# ลากเสียงให้ยาวขึ้นโดยใช้ลมในการ
ขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ ตตัว A# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ
4 จังหวะ

11) ...คุณให้... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “คุณให้”


โดยใช้เทคนิค Vibrato โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D# และ E สลับกันไป จบลงด้วยโน้ตตัว D#
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

12) ...ต้ อ งการ... ผู้ร้อ งใช้เ ทคนิ ค การบัง คับ ลมเพื่อ ลากเสีย งค าร้อ ง ค าว่ า
“ต้องการ” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G# และ A#
สลับกันไปหลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว G# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลม
ในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 6 จังหวะ

สรุป ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคั บลม


เพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้
73

การลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 12 วลี คือ คาว่า...ช่อนี้...


ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...มอบให้...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ในใจ...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า)...นิรนั ดร์...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เรื่อยมา...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เทียมนัน่ ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ลาวัลย์...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เฟื่ องฟู...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ชื่นชู...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...จึงรู.้ ..ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะคาว่า...คุณให้...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ต้องการ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้เ ทคนิค วิธ ีการบังคับลม
สาหรับการเอื้อนเสียง ซึ่งทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการ
ปล่อยเสียงให้ถูกต้องตามโน้ ต ตามจังหวะ ซึ่งจะทาให้การเอื้อนเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และมีความไพเราะน่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้

ก็จงึ รู.้ .......รักปลอมคุณอยู(่ ........)ข้างใน.........

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 2 ตัว คือ เริม่ ต้นด้วย


โน้ตตัว C# และเอื้อนเสียงให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดีย วกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตตัว D#
จบลงด้วยโน้ตตัว C #
สรุปในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้นัน้ เนื่องจากเป็ นบทเพลงไทยสากล จึงมีการเอื้อน
ในระหว่างคาร้องผูว้ จิ ยั พบการเอือ้ นทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า ก็จงึ รู.้ .......รักปลอม
คุณอยู(่ ........)ข้างใน.........
ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อน
เสียงให้ต่ าลงโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง D # จบลงด้วยโน้ต
ตัว C# ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2จังหวะ
3.2 กำรออกอักขระ ( Pronunciation)
ในการศึกษาวิเ คราะห์การออกอักขระของคาในบทเพลง ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อ ย
ในการวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
74

ในบทเพลงดอกไม้ช่ อ นี้ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ว ิธ ีก ารเน้ น เสีย งเน้ น ค า
ในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจน
เป็นพิเศษ ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 คาว่า และบอกว่าแทน..ความรักในใจ

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายที่เด่นชัดยิง่ ขึ้น คือคาว่า...และบอกว่าแทน..ความรักในใจ โดยใช้เทคนิคพิเศษ
การทอดเสียงขึ้นคือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึ้นพร้อมทัง้ เน้ นคาว่า...แทน…โน้ตตัว
C# และคาว่า...ใจ... โน้ตตัว C# ซึง่ เป็นเสียงทีแ่ สดงอารมณ์ตามความหมายของคาได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างที่ 2 คาว่า รักปลอมคุณอยู.่ ..ข้างใน

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า รักปลอมคุณอยู.่ ..ข้างในโดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือ
การใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลงพร้อมทัง้ เน้นคาให้โดยเฉพาะคาว่า...อยู่... โน้ตตัว C# คาว่า
ข้างใน...โน้ ตตัว D# ซึ่งเป็ นเสียงที่แ สดงอารมณ์ ถึงความรักที่ความปลอมๆซึ่งมีอ ยู่ภายในจิต ใจ
ของคนรัก ตามความหมายของคาได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างที่ 3 คาว่า ดอกสวย...เรือ่ ยมา...
75

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ดอกสวย...เรื่อยมา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจาก
เสียงโน้ตตัว D# ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัว G# โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจาก
เสียงต่ าไปหาเสียงสูงห่างกัน 4 เสียง ซึง่ เป็ นเสียงทีแ่ สดงอารมณ์ถงึ ดอกไม้ช่อนัน้ ว่ามีความสวยสด
จริงๆ ตามความหมายของคาได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างที่ 4 คาว่า...ฉันไม่ตอ้ งการ…

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...รับไป...ฉันไม่ ...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียง
โน้ตตัว C# ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัว B โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียง
ต่ าไปหาเสียงสูงห่ างกัน 7 เสียง ซึ่งเป็ นเสียงที่แสดงอารมณ์ไม่ต้องการดอกไม้ช่อนี้จริงๆ ตาม
ความหมายของคาได้อย่างชัดเจน
สรุปในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้ นเสียงเน้ นคา
ในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจน
เป็ นพิเศษ ซึ่งมีคาร้องที่ผู้วจิ ยั พบจานวน 4 วลี คือ คือคาว่า...และบอกว่าแทน..ความรักในใจ
โดยใช้เทคนิคพิเศษการทอดเสียงขึน้ คือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ พร้อมทัง้ เน้นคาว่า
...แทน…คาว่า รักปลอมคุณอยู่...ข้างในโดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือการใช้เสียงในการขับร้อง
ให้เรียงเสียงลงพร้อมทัง้ เน้นคาให้โดยเฉพาะคาว่า...อยู่...คาว่า ดอกสวย...เรื่อยมา...โดยใช้เทคนิค
การกระโดดเสียงจากเสียงโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตอีกตัวหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดด
เสียงร้องจากเสียงต่าไปหาเสียงสูงและเน้นคาว่า...ดอกสวย...ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...
รับไป...ฉันไม่...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากโน้ตตัวหนึ่งไปโน้ตตัวหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่น
เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูงห่างกัน 7 เสียงและเน้นคาว่า... ฉันไม่
ต้องการ...ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง
วรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
1) คาว่า…ของฉัน...
76

ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้ว ิธ ีการร้อ งด้ว ยเทคนิ ค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ชาน โน้ตตัว C# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญ ชนะ ฉ ซึ่งต้อ งใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่ว มกัน และจบลงด้ว ยการร้อ งด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว D# ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

2) คาว่า…ดอกสวย...
ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้ว ิธ ีการร้อ งด้ว ยเทคนิ ค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซ่วย โน้ตตัว G# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญ ชนะ น ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่ว มกันและจบลงด้วยการร้อ งด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว A# ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

3) คาว่า….ให้ฝนั ...
ในบทเพลงดอกไม้ช่อ นี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้ว ิธ ีการร้อ งด้ว ยเทคนิ ค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟาน โน้ตตัว A# ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อักษรสูงพยัญชนะ น ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้ องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว B ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
77

สรุปการขับร้องโดยการผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วย


พยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั
ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีท่สี าคัญๆ คือคาว่า …ของฉัน...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ชาน ซึง่ เป็ นอักษร
ต่าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฉ ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกเป็นคาว่า…ฉัน...คาว่า…ดอกสวย...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซ่วย ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษร
สูงพยัญชนะ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกเป็ นคาว่า...สวย...คาว่า...ให้ฝนั ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟาน ซึ่งเป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้ว ยการร้อ งด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ฝนั ...
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ
การขับร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการ
ขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงดอกไม้
ช่อ นี้ มีคาร้อ งที่เ ป็ นค าเป็ นและค าตายหลายคาด้วยกัน ผู้ว ิจยั ขอยกตัว อย่างการร้อ งค าเป็ นและ
คาตายทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง ดังนี้
ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น ในเพลงดอกไม้ช่อนี้ มีอยูใ่ นบทร้องเป็ นจานวนมาก
บางค าผู้วจิ ยั นามาใช้ใ นการวิเคราะห์ในหัว ข้อการลากเสียงยาว เพื่อ ให้การยกตัวอย่างไม่ซ้ากัน
จึงได้ยกตัวอย่างบางคาทีส่ าคัญๆ ดังนี้
1) ดอกไม้
คาว่า...ดอกไม้...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ไอ ทิพย์วลั ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ค วามหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

2) มานาน
78

คาว่า...มานาน…เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกด


ด้วย น ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

3) ในใจ
ค าว่ า...ในใจ…เป็ นค าเป็ นที่ผ สมด้ว ยสระเสียงยาว คือ สระ ใอ ทิพย์ว ลั ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ค วามหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) ต้องการ
คาว่า...ต้องการ…เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกด
ด้วย ร ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

5) คุณให้
คาว่า...คุณให้…เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ไอ ทิพย์วลั ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ค วามหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น
79

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย


1) นึกดู
คาว่า...นึกดู...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อึ และสะกดด้วย ก
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

2) ประดิษฐ์
คาว่า...ดิษฐ์...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อี และสะกดด้วย ษ
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กด ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

3) รักปลอม
คาว่า...รัก...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย ก
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย
80

4) รับไป
คาว่า...รับ...เป็ นคาตายที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย
บซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้
ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

สรุปในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย


คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว
ในการขับร้อ งจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่ ว นค าตายจะเป็ นคาที่ผ สมด้ว ย
สระเสียงสัน้ และมีต ัว สะกดในแม่ก ก กด กบ ในการขับ ร้อ งจะต้อ งขับร้อ งเสียงสัน้ ด้ว ยวิธ ีหยุด
หางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง
ส่วนในเพลงดอกไม้ช่อนี้ มีค าร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่าง
การร้องคาเป็นและคาตายทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
คาว่า...ดอกไม้...สระ ไอ ได้ใช้เทคนิค การลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้นเป็ นค าว่า
ดอกไม้
คาว่า...มานาน…สระ อา และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
เป็นคาว่า นาน
คาว่า...ในใจ…สระ ใอ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ใจ
คาว่า...ต้อ งการ…สระ อา และสะกดด้ว ย ร ใช้เ ทคนิค การลากเสียงคาร้อ งให้
ยาวขึน้ เป็นคาว่า การ
คาว่า...คุณให้…สระ ไอ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ให้
คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย
คาว่า...นึกดู... สระ อึ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า นึก
คาว่า...ดิษฐ์... สระ อี และสะกดด้วย ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า ดิษฐ์
คาว่า...รักปลอม... สระ อะ และสะกดด้วย ก ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้
สัน้ ลงเป็นคาว่า รัก
81

คาว่า...รับไป...สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง


เป็นคาว่า รับ
3.3 กำรสื่อควำมหมำย (Interpretation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมายในบทเพลง ผู้วจิ ัยได้แบ่งหัวข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอื้ออาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึง่ ผูข้ บั ร้อง
ใช้น้าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงดอกไม้ช่อนี้ มีคาร้องทีส่ าคัญๆทีผ่ ขู้ บั ร้อง
ได้ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า...และบอกว่าแทน...ความรักในใจ...
...และบอกว่าแทน...ความรักในใจ...การศึกษาวิเคราะห์บทเพลงดอกไม้ช่อนี้
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงดอกไม้ท่ชี ายคนรักมอบให้แทนความรักของเขา วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์
ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก โดยการเน้นเสียงแล้วลากเสียงยาวขึน้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ถึงจิตใจทีแ่ ท้จริงของผูช้ าย ทีม่ ตี ่อหญิงคนรักทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไป
กับผูข้ บั ร้องให้

2) คาว่า...ยัวใจของ...ฉั
่ น...ให้ฝนั เฟื่องฟู...
น...ให้ฝนั ฟื่องฟู...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงดอกไม้ช่อนี้
...ยัวใจของ...ฉั

พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงการที่ดอกไม้มคี วามสวยงามทาให้จติ ใจของเธอผู้นัน้ คิดฝนั ไป
ไกล วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรักหรือนารี
ปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยเฉพาะคาว่า...ฉัน... ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่ายัวยวนจิ ่ ตใจ
ของฉันทาให้เพ้อฝนั ไปไกล ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ เพ้อฝนั คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
82

3) คาว่า หมดความฉ่ าหวาน...ชื่นชู...


หมดความฉ่ าหวาน...ชื่นชู...จากการศึกษาวิเ คราะห์บทเพลงดอกไม้ช่อ นี้
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงความรักที่เจือจางไปแล้วของชายคนรัก วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรักหรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย
การขับร้อ ง แบบพลิ้ว เสียง ซึ่งเป็ นการเน้ นเสียงแล้ว ลากเสียงให้ยาวขึ้นและมีการสันของเสี
่ ยง
(Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ชื่นชู...ทาให้เกิดความรู้สกึ ถึงการหมดสิ้นของความรักคล้อยตามไป
กับผูข้ บั ร้อง

4) คาว่า รักปลอมคุณ...อยู.่ ..ข้างใน...


รักปลอมคุณ...อยู่...ข้างใน... จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงดอกไม้ช่อนี้
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่ าวถึงความรูส้ กึ ถูกหลอกลวงของชายคนรัก วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความผิดหวังหรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี
ไทย โดยการทอดเสียงลงและลากเสียงทาให้ผู้ฟงั เกิดความรู้สกึ ถึงการที่ผู้หญิงคนหนึ่งถูกผู้ชาย
หลอกลวงโดยเฉพาะคาว่า...อยู.่ ..ข้างใน... คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

5) คาว่า โปรดจง...รับไป...ฉันไม่ตอ้ งการ...


โปรดจง...รับไป...ฉันไม่ต้องการ...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงดอกไม้ช่อนี้
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่ก ล่าวถึงความรู้ส ึกผิดหวังของผู้หญิงในเรื่องความรักและขอมอบคืน
ความรักนัน้ กลับคืนไปแก่เขา ซึ่งในวลีน้ี ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส
83

คือ รสแห่งความผิดหวัง หรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงพร้อมทัง้ ลาก


เสียง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่าดอกไม้ช่อนี้ขอให้คนรัก นากลับคืนไป ฉันไม่ต้องการ...โดยเฉพาะ
คาว่า...ฉันไม่ตอ้ งการ...ทาให้ผฟู้ งั รูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ การทา
หน่ วยเสียง 2เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆ ที่เรียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ตสากล ตอนบนของบรรทัด
5 เส้น มีสญ ั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั หิ รือขับร้องต้องเล่นโน้ต 2 ตัวสลับกัน
อย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ต2 ตัวนี้ ตัวทีท่ าหน้าที่ให้เสียงหลักคือโน้ตตัวล่าง การตกแต่งเสียง
เป็ นหน้าที่ของโน้ตตัวบน หน่ วยเสียงทีเ่ รียบเรียงอย่างสมบูรณ์น้ีแสดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง
ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของบทเพลง ในบทเพลงสุดเหงา
มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) คาว่า...ช่อนี้...
คาว่า...ช่อ นี้...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A#
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

2) คาว่า...เรือ่ ยมา...
คาว่า...เรื่อยมา...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A#
84

ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

3) คาว่า...ลาวัณย์...
คาว่า...ลาวัณย์...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว C# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D#
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

4) คาว่า...ชื่นชู...
คาว่า...ชื่น ชู...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือ การใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A#
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ว่า
“ ภวารมณียะ ”

5) คาว่า...จึงรู.้ ..
คาว่า...จึง รู้...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว A# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B
85

ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

6) คาว่า...ต้องการ...
คาว่า...ต้องการ...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลัั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ”

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคระห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงดอกไม้ ช่ อ นี้ ทิพ ย์ ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ สุ น ทรีย รสในการ
แสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุ นทรียรสต่ างๆ ผู้ว ิจยั ขอ
ยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือคาว่า...และบอก
ว่าแทน...ความรักในใจ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก โดยการเน้นเสียง
แล้ว ลากเสียงยาวขึน้ คาว่า...ยัวใจของ...ฉั
่ น...ให้ฝนั ฟื่ องฟู...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส
คือ รสแห่งความรักหรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยเฉพาะคาว่า...ฉัน... คาว่า...หมด
ความฉ่ าหวาน...ชื่นชู...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรักหรือนารีปราโมทย์
ในรสของวรรณคดีไทย การขับร้องแบบพลิว้ เสียง ซึง่ เป็ นการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมี
การสันของเสี
่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ชื่นชู...คาว่า...รักปลอมคุณ...อยู่...ข้างใน..ได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความผิดหวังหรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดีไทย โดย
การทอดเสียงลงและลากเสียงโดยเฉพาะคาว่า...อยู.่ ..ข้างใน... คาว่าโปรดจง...รับไป...ฉันไม่ต้องการ
...ได้ถ่ายทอดอารมณ์ โ ดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่ งความผิดหวัง หรือสัลลาปงั คพิไ สยในรสของ
86

วรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงพร้อมทัง้ ลากเสียงโดยเฉพาะคาว่า...ฉันไม่ต้องการ...การใช้เทคนิคภ


วารมณียะในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ
คือ คาว่า...ช่อนี้...โน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A#
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...เรื่อยมา...โน้ตตัว
G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ลาวัณย์...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้ ทิพย์
วัลย์ ปิ่ นภิบาล โน้ตตัว C# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว
D# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ชื่นชู...โน้ตตัว
G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องคาว่า...จึงรู.้ .. โน้ตตัว A# และมีเสียงโน้ตตัว
บนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิด
อารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ต้องการ...โน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่ง
เสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตาม
ไปกับผูข้ บั ร้อง
87
88

คำร้อง เพลงไฟ
ไฟ....ทีแ่ ผดและเผาทุกสิง่ ไฟผูไ้ ม่ประวิงหยุดผลาญทาลาย
ร้อนจนสุดจะทานทน พืชคนและสัตว์ตอ้ งวางวาย
และสิง่ สุดท้าย เหลือเพียงเถ้าธุล ี
ไฟ ทีแ่ ผดและเผาในอก ไฟ... เหมือนดังนรกหมกสุ
่ มชีว ี
ไฟกิเลสในใจคน จุดความหมองหม่นมานานปี
ถ้าดับไฟนี้ โลกคงมีสุขไม
*ร้อนไม่เห็นเย็นไม่ม ี ชื่อว่าไฟหรือปราณีใครเล่า
อาจจะเป็ นน้ าช่วยหยุดแผดเผา แต่ความร้อนเร่าใครหรือจะดับมัน
ไฟ...ผูจ้ ดุ โลกใสสว่าง ไฟผูส้ ร้างชีวติ ให้ทุกชีวนั
แล้วก็จบทีก่ องไฟ ดับความฝนั ใฝ่มลายพลัน
โอ้เปลวไฟนัน้ เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย
(ซ้า *)

2. วิ เครำะห์ข้อมูลด้ำนบทเพลง
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลงของเพลงไฟ ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการวิเคราะห์
3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ควำมเป็ นมำของบทเพลง (Historical Background)
จากการสัม ภาษณ์ ทิพ ย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล กล่ าวถึงความเป็ นมาของเพลงไฟ ว่ า ในปี
พุ ท ธศัก ราช 2526 สยามกลการมิว สิค ฟาวเดชัน่ โดย ดร.ถาวร พรประภา ได้จ ดั ประกวด
เพลงไทยสากล ชื่อรายการ ไทยป๊อปปูล่าซองเฟสติวลั THAI POPULAR SONG PESTIVAL 2526
เพลงไฟ ซึ่งแต่งโดยคุณชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร ทัง้ คาร้องและทานองเรียบเรียงโดยคุณทรงวุฒ ิ
จรูญเรืองฤทธิ ์ ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ มรางวัลกรังค์ปรีซแ์ ละทิพย์วลั ย์
ได้ร ับ เชิญ จากกรมประชาสัม พัน ธ์ ให้เ ดิน ทางไปร่ ว มงานมหกรรมอาเซีย นอีก ครัง้ (ครัง้ ที่ 3)
ณ ประเทศสิงคโปร์ ในปีพุทธศักราช 2527
2.2 ควำมหมำยของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (สัมภาษณ์.2553) กล่าวถึง เนื้อหาของบทเพลง
ไฟ ผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึง ความร้อ นของเปลวไฟ ที่สามารถทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างโดยไม่หยุดยัง้
ซึ่งเปลวไฟนี้มคี วามร้อนจนสุดที่จะทนได้ ทาให้ทงั ้ มนุ ษย์และสัตว์ต้องตายลง เหลือเพียงเถ้าธุ ล ี
เปรียบเหมือนคนทีม่ คี วามรุ่มร้อนและมีตวั กิเลสอยู่ในใจ จะทาให้ใจมีแต่ความเศร้าหมอง ถ้าดับไฟ
ในใจคนได้ จะทาให้โลกมนุ ษย์มแี ต่ค วามสุ ขและสดชื่น ความร้อนก็มองไม่เห็น ความเย็นก็ไม่ม ี
เพราะขึ้นชื่อ ว่าไฟนัน้ ไม่มกี ารปราณีต่ อ ทุ กคน มีเ พีย งน้ าเท่านัน้ ที่จะหยุดยัง้ การเผาผลาญของ
89

เปลวไฟได้ แต่ความร้อนเร่าในจิตใจคนนัน้ ไม่มใี ครสามารถหยุดมันได้ การเปรียบเทียบไฟเหมือน


เป็นผูท้ ท่ี าให้โลกสว่างขึน้ และไฟเป็ นผูส้ ร้างชีวติ ของคนเราทุกคนและถ้าคนเรายังมีกเิ ลส ความร้อน
เร่าอยูใ่ นตัว ไม่สามารถดับมันลงได้ เปลวไฟนัน้ เปรียบเหมือนจิตใจคนทีย่ งั มีกเิ ลสอยูต่ ลอดเวลา
2.3 โครงสร้ำงและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
บทเพลงไฟ มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ นลักษณะแบบ Ternary Form คือ A A’ B
A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ตามด้วยท่อน A’ และร้องท่อน B ตามด้วยท่อน A” แล้ว
จึงย้อนกลับไปร้องท่อน B ซ้าอีกครัง้ และจบลงด้วยท่อน A” ดังนี้
90

3. ข้อมูลด้ำนเทคนิ ควิ ธีกำรขับร้อง


ในการศึกษาข้อมูลด้านเทคนิค วิธ ีการขับร้อ งของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล โดยตรง มีเพลงทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
91

คำร้อง เพลงไฟ

ไฟ ทีแ่ ผดและเผาในอก ไฟ... เหมือนดังนรกหมกสุ


่ มชีว ี
ไฟกิเลสในใจคน จุดความหมองหม่นมานานปี
ถ้าดับไฟนี้ โลกคงมีสุขไม่ซบเซา
*ร้อนไม่เห็นเย็นไม่ม ี ชื่อว่าไฟหรือปราณีใครเล่า
92

อาจจะเป็ นน้ าช่วยหยุดแผดเผา แต่ความร้อนเร่าใครหรือจะดับมัน


ไฟ...ผูจ้ ดุ โลกใสสว่าง ไฟผูส้ ร้างชีวติ ให้ทุกชีวนั
แล้วก็จบทีก่ องไฟ ดับความฝนั ใฝ่มลายพลัน
ไฟ....ทีแ่ ผดและเผาทุกสิง่ ไฟผูไ้ ม่ประวิงหยุดผลาญทาลาย
ร้อนจนสุดจะทานทน พืชคนและสัตว์ตอ้ งวางวาย
และสิง่ สุดท้าย เหลือเพียงเถ้าธุล ี
ไฟ ทีแ่ ผดและเผาในอก ไฟ... เหมือนดังนรกหมกสุ
่ มชีว ี
ไฟกิเลสในใจคน จุดความหมองหม่นมานานปี
ถ้าดับไฟนี้ โลกคงมีสุขไม่ซบเซา
*ร้อนไม่เห็นเย็นไม่ม ี ชื่อว่าไฟหรือปราณีใครเล่า
อาจจะเป็ นน้ าช่วยหยุดแผดเผา แต่ความร้อนเร่าใครหรือจะดับมัน
ไฟ...ผูจ้ ดุ โลกใสสว่าง ไฟผูส้ ร้างชีวติ ให้ทุกชีวนั
แล้วก็จบทีก่ องไฟ ดับความฝนั ใฝ่มลายพลัน
โอ้เปลวไฟนัน้ เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย
(ซ้า *)

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงไฟ ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการ


วิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 กำรบังคับควบคุมลมหำยใจ
ในการศึกษาวิเคราะห์การบังคับควบคุ มลมหายใจ ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงไฟ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารหายใจเพื่อ ให้ค วามหมาย
ของค าร้อ งและท านองเพลงได้ต รงกับ จิน ตนาการของผู้ป ระพัน ธ์ โดยใช้ก ารแบ่ง วลีท่ีมเี นื้อ หา
เดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้

กำรแบ่งวรรคลมหำยใจของเพลงไฟในกำรแบ่งวลี
93

เพื่อกำรหำยใจ ใช้สญ
ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดกำรหำยใจ

3.

การหายใจวลีท่ี 1 ไฟ....ทีแ่ ผดและเผาทุกสิง่


การหายใจวลีท่ี 2 ไฟ.....
การหายใจวลีท่ี 3 ผูไ้ ม่ประวิงหยุดผลาญทาลาย
การหายใจวลีท่ี 4 ร้อนจนสุดจะทานทน
การหายใจวลีท่ี 5 พืชคนและสัตว์ตอ้ งวางวาย
การหายใจวลีท่ี 6 และสิง่ สุดท้าย
94

การหายใจวลีท่ี 7 เหลือเพียงเถ้าธุล ี
การหายใจวลีท่ี 8 ไฟ.....
การหายใจวลีท่ี 9 ทีแ่ ผดและเผาในอก
การหายใจวลีท1่ี 0 ไฟ.....
การหายใจวลีท่ี 11 เหมือนดังนรกหมกสุ
่ มชีว ี
การหายใจวลีท่ี 12 ไฟกิเลสในใจคน
การหายใจวลีท่ี 13 จุดความหมองหม่นมานานปี
การหายใจวลีท่ี 14 ถ้าดับไฟนี้
การหายใจวลีท่ี 15 โลกคงมีสุขไม่ซบเซา
การหายใจวลีท่ี 16 *ร้อนไม่เห็น
การหายใจวลีท่ี 17 เย็นไม่ม ี
การหายใจวลีท่ี 18 ชื่อว่าไฟหรือปราณี
การหายใจวลีท่ี 19 ใครเล่า
การหายใจวลีท่ี 20 อาจจะเป็ นน้ า
การหายใจวลีท่ี 21 ช่วยหยุดแผดเผา
การหายใจวลีท่ี 22 แต่ความร้อนเร่าใครหรือ
การหายใจวลีท่ี 23 จะดับมัน
การหายใจวลีท่ี 24 ไฟ....
การหายใจวลีท่ี 25 ผูจ้ ดุ โลกใสสว่าง
การหายใจวลีท่ี 26 ไฟ.....
การหายใจวลีท่ี 27 ผูส้ ร้างชีวติ ให้ทุกชีวนั
การหายใจวลีท่ี 28 แล้วก็จบทีก่ องไฟ
การหายใจวลีท่ี 29 ดับความฝนั ใฝ่มลายพลัน
การหายใจวลีท่ี 30 โอ้เปลวไฟนัน้
การหายใจวลีท่ี 31 เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย
(ซ้า * )

สรุป ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมาย


ของค าร้อ งและท านองเพลงได้ต รงกับ จิน ตนาการของผู้ป ระพัน ธ์ โดยใช้ก ารแบ่ง วลีท่ีมเี นื้อ หา
เดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่ องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน
31 วลี

3.1.2 การลากเสียงยาว
95

ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียง


ให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียง
สูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...ไฟ...ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ไฟ” โดยใช้
เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F# สลับกันไป หลังจาก
นัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว E ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน
จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

2) ...ธุล.ี ..ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ ธุล ี ” โดยใช้


เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว F# และ G สลับกันไปหลังจากนัน้
ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว F# ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน
จบลงด้วยโน้ตตัว F# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

3) ...ใครเล่า...ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ ใครเล่า ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว B และ C สลับกันไป
จบลงด้วยโน้ตตัว F# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ

4) ...ดับมัน...ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ดับมัน”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว F# และ G สลับกันไป
จบลงด้วยโน้ตตัว F# โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ
96

5) ...นิ่งเลย...ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ นิ่งเลย ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F# สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ในโน้ตตัว E ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน จบลงด้วยโน้ ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ
4 จังหวะ

สรุ ป ในบทเพลงไฟ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้เ ทคนิ ค วิธ ีก ารบัง คับ ลมเพื่อ
ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การ
ลากเสียงสูงขึ้นและต่ าลง โดยมีว ลีท่ใี ช้ใ นการบัง คับ ควบคุ ม ลมหายใจ 5 วลี คือ ค าว่า ...ไฟ...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ธุล.ี ..ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะคาว่า...ใครเล่า...ลากเสียง
ยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...ดับมัน...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...นิ่งเลย...ลากเสียง
ยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการ
เอื้อนเสียง ซึง่ ทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการปล่อยเสียงให้
ถูกต้องตามโน้ต ตามจังหวะ ซึง่ จะทาให้การเอือ้ นเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความไพเราะ
น่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
โอ้เปลวไฟนัน้ (.........)เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย
97

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 3 ตัว คือ เริม่ ต้น


ด้วยโน้ตตัว G และเอื้อนเสียงให้ต่ าลง โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ ต
ตัว G F# E แล้วโหนเสียงกลับมาทีเ่ สียงโน้ตตัว G ในคาร้องคาว่า...เหมือน...และดาเนินการ
ขับร้องต่อไปตามบทเพลง
สรุ ป ในบทเพลงไฟนั ้น เนื่ อ งจากเป็ น บทเพลงไทยสากล จึง มีก ารเอื้อ น
ในระหว่างคาร้องผูว้ จิ ยั พบการเอื้อนทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า...โอ้เปลวไฟนัน้ ...
เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย... ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อนเสียง
โดยเอือ้ นเสียงให้ต่าลง โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง G F# E แล้ว
โหนเสียงกลับมาทีโ่ น้ตตัว G ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.2 กำรออกอักขระ (Pronunciation)
ในการศึกษาวิเ คราะห์การออกอักขระของคาในบทเพลง ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อ ย
ในการวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
ในบทเพลงสุดเหงา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลง
เพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 คาว่า ...ไฟ...ผลาญ...ท้าย...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายที่เด่นชัดยิง่ ขึ้น คือคาว่า...ไฟ...โน้ ต ตัว E ใช้เ ทคนิค พิเศษการพลิ้วเสียง คือ
การเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) ซึง่ เป็นเสียงทีแ่ สดงให้เห็นถึง
พลัง ของเปลวไฟที่ร้อ นแรง ตามความหมายของค าได้อ ย่า งชัด เจน ค าว่า ...ผลาญ...โน้ ต ตัว G
98

เป็นการเน้นคาเพื่อเพื่อแสดงถึงความไม่สนใจทีจ่ ะหยุดเผาผลาญลาลายและคาว่า...ท้าย...โน้ตตัว G
เป็นการเน้นคาเพื่อแสดงถึงการเหลือเพียงเถ้าธุลที าลายทุกสิง่ ให้หมดสิน้ ไป
ตัวอย่างที่ 2 คาว่า ...เผา...ทาลาย...ธุล.ี ..

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...เผา...โน้ตตัว B โดยใช้เทคนิคพิเศษการลากเสียง คือการ
เน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาว เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของเพลง เป็นการเน้นถึงเปลวไฟว่ามันทาลายทุกสิง่
คาว่า...ทาลาย...โน้ตตัว E เป็ นการเน้ นถึงเปลวไฟที่ไม่สนใจและพร้อมที่จะทาลายทุกสิง่ ทุกอย่าง
และคาว่า...ธุล.ี ..โน้ตตัว F# เป็นการแสดงถึงการทีเ่ หลือเพียงเถ้าธุล ี
ตัวอย่างที่ 3 คาว่า ...หมองหม่นมานานปี...แต่ความร้อน...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัด ยิง่ ขึน้ คือคาว่า...หมองหม่นมานานปี...โน้ตตัว D E F# โดยใช้เทคนิค
การทอดเสียงขึ้น คือ การใช้เสียงในการขับร้อ งให้เรียงเสียงขึ้น พร้อ มทัง้ เน้ นคาว่าหมองหม่น
เพื่อแสดงถึงความเศร้าสร้อยหม่นหมองมานานปี คาว่า...แต่ความร้อนเร่า …โน้ตตัว D E F#
เป็นการเน้นเสียงคาว่าร้อนเร่าแสดงถึงความร้อนเร่าในจิตใจคน
ตัวอย่างที่ 4 คาว่า ...โลกคงมีสุข...เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย...
99

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...โลกคงมีสุข...โน้ตตัว G F# E D# โดยใช้เทคนิค
การทอดเสียงลงคือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง พร้อมทัง้ เน้นคาเพื่อแสดงถึงการทีโ่ ลก
มีแต่ความสุขและไม่เงียบเหงา คาว่า...เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย... โน้ตตัว G F# E D# เป็ นการ
เน้นคาว่าใจว่าไม่เคยหยุดนิ่งเลย
ตัวอย่างที่ 5 คาว่า ...คนและสัตว์ตอ้ งวางวาย...ชื่อว่าไฟหรือปราณี...ใครเล่า

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...คนและสัตว์ต้องวางวาย...โน้ตตัว E F# D E F#โดยใช้
เทคนิคการทอดเสียงในคา เป็นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง เพื่อแสดงถึง
การทีค่ นและสัตว์ตอ้ งตายลงไป คาว่า...ชื่อว่าไฟหรือปราณีใครเล่า...โน้ตตัว E F# G A G F#
B เป็นการแสดงถึงเปลวไฟทีไ่ ม่เคยมีความปราณีผใู้ ด
สรุปในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลง
เพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
ซึง่ มีคาร้องที่ผวู้ จิ ยั พบจานวน 5วลี คือ คาว่า...ไฟ...ใช้เทคนิคพิเศษการพลิ้วเสียง คือการเน้นเสียง
แล้วลากเสียงให้ยาวขึ้นและมีการสันของเสี ่ ยง (Vibrato) คาว่า...ผลาญ...ใช้เทคนิค การเน้ นค า
เพื่อ แสดงถึง ความไม่ ส นใจที่จ ะหยุด เผาผลาญล าลายและค าว่ า ...ท้า ย... ใช้เ ทคนิ ค การเน้ น ค า
เพื่อแสดงถึงการเหลือเพียงเถ้าธุลที าลายทุกสิง่ ให้หมดสิ้นไป คาว่า...เผา...โดยใช้เทคนิคพิเศษ
การลากเสียง คือการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาว คาว่า...ทาลาย...ใช้เทคนิคการเน้นถึงเปลวไฟ
ทีไ่ ม่สนใจและพร้อมทีจ่ ะทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างและคาว่า...ธุล.ี ..ใช้เทคนิคการเน้นเสียงแล้วลากเสียง
100

ยาวเพื่อเป็ นการแสดงถึงการที่เหลือเพียงเถ้าธุลจี ริงๆ คาว่า...หมองหม่นมานานปี ...ใช้เทคนิค


การทอดเสียงขึน้ คือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ พร้อมทัง้ เน้นคาว่า...หมองหม่น...
คาว่า...แต่ความร้อนเร่า…ใช้เทคนิคการเน้นเสียงคาว่า...ร้อนเร่า...เพื่อแสดงถึงความร้อนเร่าในจิตใจ
ของมนุ ษย์ คาว่า...โลกคงมีสุข...ใช้เทคนิค การทอดเสียงลงคือ การใช้เสียงในการขับ ร้อ งให้เรียง
เสียงลง พร้อมทัง้ เน้นคาเพื่อแสดงถึงการที่โลกมีแต่ความสุขและไม่เงียบเหงา คาว่า...เหมือนใจ
ไม่ห ยุด นิ่ ง เลย...ใช้เ ทคนิ ค การเน้ น ค าว่ า ...ใจ...ว่ า ไม่เ คยหยุด นิ่ ง เลย ค าว่ า ...คนและสัต ว์ต้อ ง
วางวาย...ใช้เ ทคนิ ค การเน้ น เสีย งและทอดเสียงในค า เป็ นการใช้เ สีย งในการขับร้อ งของค าให้
เรียงเสียงขึน้ หรือลง คาว่า...ชื่อว่าไฟ...หรือปราณีใครเล่า... ใช้เทคนิคการเน้นคาว่า...ปราณี...เพื่อ
เป็นการแสดงถึงเปลวไฟทีไ่ ม่เคยมีความปราณีต่อผูใ้ ด
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ ีการร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษร
ตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียงวรรณยุกต์
ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
1) คาว่า…ผลาญ...
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน
อักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า พลาญ โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูง
พยัญชนะ ผ ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

2) คาว่า…เหลือเพียง...
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน
อักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เลือ โน้ตตัว A ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียง
ของ ห นา ล ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกโน้ตตัว B ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

3) คาว่า…หมองหม่น...
101

ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน


อักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มอง โน้ตตัว F# ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้
เสียงของ ห นา ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิกโน้ตตัว G ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

4) คาว่า…เหมือนดัง...่
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน
อักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เหมืือน โน้ตตัว C ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้
เสียงของ ห นา ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิกโน้ตตัว D ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

5) คาว่า…ไม่เห็น...
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน
อักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เฮน โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูง
พยัญชนะ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

สรุปในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผัน


อัก ษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้ว ยพยัญ ชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง
วรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลี่ยนไปตามทานองเพลง ผู้วจิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีท่สี าคัญๆ คือ
คาว่า…ผลาญ...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า พาน ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ญ ซึง่ ต้อง
ใช้การผันอักษรและวรรณยุก ต์ร่ว มกันและจบลงด้ว ยการร้อ งด้วยหางเสียงขึ้นนาสิกเป็ นค าว่า...
102

ผลาญ…คาว่าเหลือเพียง...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เลือ ซึง่ เป็นการผันอักษรโดยใช้เสียงของ ห นา


ล ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ น
คาว่า...เหลือ...คาว่า…หมองหม่น...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มอง ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียง
ของ ห นา ม ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกเป็ นคาว่า...หมอง... คาว่า…เหมือนใจ...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เมืือน ซึ่งเป็ นการผัน
อักษรโดยใช้เสียงของ ห นา ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้อง
ด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...เหมือน...คาว่า …ไม่เห็น...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เฮน ซึง่ เป็ น
อักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการ
ร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า...เห็น...
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็นคาตาย คือ การขับร้อง
คาเป็ นคือคาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้อง
จะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมี
ตัว สะกดในแม่ก ก กด กบ ในการขับร้อ งจะต้อ งขับ ร้อ งเสีย งสัน้ ด้ว ยวิธ ีห ยุดหางเสียงเพื่อ ให้ไ ด้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงไฟ
มีคาร้อง ที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง ดังนี้
ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
1) ร้อน
คาว่า...ร้อน...เป็นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระออและสะกดด้วย น
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

2) ไฟ
ค าว่ า ...ไฟ...เป็ น ค าเป็ น ที่ผ สมด้ว ยสระเสีย งยาว คือ สระ ไอ ทิพ ย์ว ัล ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ค วามหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น
103

3) วางวาย
คาว่า...วางวาย...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกด
ด้วย ย ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) ชีว ี
ค าว่ า ...ชี ว ี. ..เป็ น ค าเป็ น ที่ผ สมด้ ว ยสระเสีย งยาว คือ สระ อี ทิพ ย์ว ัล ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อ งให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ ค วามหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

5) ไฟนี้
คาว่า...นี้...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อี ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องที่ชดั เจนและถูกต้อง
ของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย


1) ช่วยหยุด
104

คาว่า...หยุด...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อุ และสะกดด้วย ด


ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กด ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

2) ทานทน
คาว่า...ทานทน...เป็ นคาตายที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ โอะ และสะกด
ด้วย น ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

3) ดับไฟ
คาว่า...ดับ...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย บ
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ไ ด้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

4) มีสุข
คาว่า...สุข...เป็นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อุ และสะกดด้วย ข
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสีย งคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย
105

5) ชีวติ
คาว่า...ชีวติ ...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อิ และสะกดด้วย ต
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กด ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสีย งคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

สรุป ในบทเพลงไฟ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารร้อ งค าเป็ น ค าตาย คือ
การขับร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการ
ขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงไฟ
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
คาว่า...ร้อน...สระออและสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็ น
คาว่า ร้อน
คาว่า...ไฟ...สระ ไอ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า...ไฟ...
ค าว่า...วางวาย...สระ อา และสะกดด้ว ย ย ได้ใ ช้เ ทคนิค การลากเสียงค าร้อ ง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า วาย
คาว่า...ชีว.ี ..สระ อี ใ ช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวเป็นคาว่า ชีว ี
คาว่า...ไฟนี้... สระ อี ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ไฟนี้

คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย


คาว่า...หยุด...สระ อุ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า หยุด
106

คาว่า...ทานทน... คือ สระ โอะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง


ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ทน
คาว่า...ดับไฟ...สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า ดับ
คาว่า...มีสุข...สระ อุ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า สุข
คาว่า...ชีวติ ...สระ อิ และสะกดด้วย ต ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลงเป็ น
คาว่า ชีวติ
3.3 กำรสื่อควำมหมำย (Interpretation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมายในบทเพลง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงไฟ ทิพ ย์ ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ สุ น ทรีย รสในการแสดงออกถึ ง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอือ้ อาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึง่ ผูข้ บั ร้องใช้
น้ าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงสุดเหงามีคาร้องที่สาคัญๆที่ผู้ขบั ร้องได้
ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า...ไฟ...ทีแ่ ผดและเผา...ทุกสิง่
จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงไฟ พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงเปลวไฟ
ที่มคี วามร้อนซึ่งสามารถทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างให้หมดสิ้นไป วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือรสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึ้น
และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) เป็ นการแสดงถึงเปลวไฟที่มคี วามร้อนแรงมากและทาลายทุกสิง่
ให้หมดสิ้นไปโดยเฉพาะคาว่า ...ไฟ...และคาว่า...เผา...ทุกสิง่ เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทังในรสของ
วรรณดีไทย ซึ่งทาให้ผู้ฟงั เกิดความรูส้ กึ ว่าไฟนัน้ ร้อนแรงจริงๆและทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างให้หมดไป
ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

2) ร้อน...จนสุดจะทานทน...
จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงไฟ พบว่า วลีน้ีม ีความหมายทีก่ ล่าวถึงความ
ร้อนของเปลวไฟทีร่ อ้ นมากจนแทบทนไม่ไหว วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้
107

สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการการเน้นเสียงแล้วทาเสียงให้เบาลงเปรียบเทียบได้กบั พิโรธ


วาทังในรสของวรรณดีไทย ซึ่งทาให้รู้สกึ ร้อนมากแทบทนไม่ไหว เกิ ดความรู้สกึ คล้อยตามไปกับ
ผูข้ บั ร้อง

3) และสิง่ สุดท้าย...เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..
จากการศึก ษาวิเ คราะห์บ ทเพลงไฟ พบว่ า วลีน้ี ม ีค วามหมายที่ก ล่ า วถึง
การทาลายของเปลวไฟทีท่ าให้เหลือเพียงเถ้าธุล ี วลีน้ที พิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้
สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก โดยการการแผ่วเสียงให้เบาลง รูส้ กึ ถึงการหมดสิน้ เหลือเพียง
เถ้าธุลโี ดยเฉพะคาว่า ...สิง่ สุดท้าย...เถ้าธุล.ี ..ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

4) ไฟ...เหมือนดังนรก...หมกสุ
่ มชีว.ี ..
จากการศึก ษาวิเ คราะห์บทเพลงไฟ พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่ กล่ าวถึง
เปลวไฟทีเ่ ปรียบเหมือนนรกทีม่ ใี นใจคน วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรยรส
คือ รสค าหรือ รสถ้ อ ย โดยการเน้ น เสีย งให้ด ัง แรงขึ้น เปรีย บเทีย บได้กับ พิโ รธวาทัง ในรสของ
วรรณดีไ ทย เป็ นการเปรียบเทียบไฟเหมือ นนรกที่อ ยู่ใ นใจคน โดยเฉพาะค าว่ านรก ทาให้ผู้ฟ งั
เกิดความรูส้ กึ ว่าเปลวไฟเหมือนนรกในใจคนจริงๆ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
108

5) โอ้เปลวไฟนัน้ ...เหมือนใจไม่หยุดนิ่ง...เลย จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลง


ไฟ พบว่า วลีน้มี คี วามหมายทีก่ ล่าวถึงจิตใจคนทีย่ งั ไม่หยุดนิ่งยังมีกเิ ลสอยู่ วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ถ่ ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุ นทรียรส คือ รสค าหรือ รสถ้อ ย โดยการทอดเสียงและทาเสียงเบาลง
เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทย ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่าเปลวไฟนัน้ ไม่มวี นั ทีจ่ ะ
หยุดนิ่ง คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ การทา
หน่ วยเสียง 2เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆ ที่เรียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ตสากล ตอนบนของบรรทัด
5 เส้น มีสญ ั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั หิ รือขับร้องต้องเล่นโน้ต 2 ตัวสลับกัน
อย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ต2 ตัวนี้ ตัวทีท่ าหน้าที่ให้เสียงหลักคือโน้ตตัวล่าง การตกแต่งเสียง
เป็ นหน้าที่ของโน้ตตัวบน หน่ วยเสียงทีเ่ รียบเรียงอย่างสมบูรณ์น้ีแสดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง
ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของบทเพลง ในบทเพลงสุดเหงา
มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) ไฟ...ผูไ้ ม่ประวิงหยุดผลาญ...ทาลาย
คาว่า…ไฟ...ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ
การใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว E
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

2) และสิง่ สุดท้าย...เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..
คาว่า...สุดท้าย...ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ต
ตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
109

3) ถ้าดับไฟนี้...โลกคงมีสุขไม่ซบเซา
ค าว่า...ถ้าดับไฟนี้...ในบทเพลงไฟ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้เ ทคนิ ค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

4) โอ้เปลวไฟนัน้ ...เหมือนใจไม่หยุดนิ่ง...เลย
คาว่า...โอ้เปลวไฟนัน้ ...ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เ สียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคระห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึง ความ
ประทับใจและความซาบซึง้ ในบทเพลง ซึง่ เป็นสุนทรียรสต่างๆ ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรส
ที่ใช้ในการถ่ ายทอดความรู้ส ึกที่ส าคัญๆในบทเพลง คือ ค าว่ า...ไฟ...ที่แผดและเผา...ทุ กสิ่ง ...ได้
ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้นเสียงแล้วลากเสียง
ให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ไฟ...และคาว่า...เผา...ทุกสิง่ เปรียบเทียบ
110

ได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทยซึง่ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่าไฟนัน้ ร้อนแรงจริงๆและทาลาย


ทุกสิง่ ทุกอย่างให้หมด คาว่าร้อน...จนสุดจะทานทน...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคา
หรือรสถ้อ ย โดยการการเน้ นเสียงแล้ว ทาเสียงให้เ บาลงเปรียบเทียบได้กับพิโรธวาทังในรสของ
วรรณคดีไทย ซึ่งทาให้รสู้ กึ ร้อนมากแทบทนไม่ ไหว คาว่า...และสิง่ สุดท้าย...เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก โดยการการแผ่วเสียงให้เบาลง รูส้ กึ ถึง
การหมดสิน้ เหลือเพียงเถ้าธุลโี ดยเฉพะคาว่า...ไฟ...เหมือนดังนรก...หมกสุ่ มชีว.ี ..ได้ถ่ายทอดอารมณ์
โดยใช้สุนทรยรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงให้ดงั แรงขึน้ เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทัง
ในรสของวรรณดีไทย เป็ นการเปรียบเทียบไฟเหมือนนรกที่อยู่ในใจคน โดยเฉพาะคาว่า ...นรก...
คาว่าโอ้เปลวไฟนัน้ ...เหมือนใจไม่หยุดนิ่ง...เลย ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือ
รสถ้อย โดยการทอดเสียงและทาเสียงเบาลง เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทย
ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่าเปลวไฟนัน้ ไม่มวี นั ทีจ่ ะหยุดนิ่ง เหมือนจิตใจคน
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ ในบทเพลงไฟ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล มีลกั ษณะการขับร้องที่ก่อให้เกิด ภวารมณียะ คือ
คาว่า ไฟ...ผูไ้ ม่ประวิงหยุดผลาญ...ทาลาย…โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...และสิง่ สุดท้าย...เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..คาว่า...สุด ท้าย...โน้ ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้
ตกแต่งเสียงให้เ กิดความไพเราะ คือโน้ ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า ...ถ้าดับไฟนี้...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...โอ้เปลวไฟนัน้ ...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือ
โน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
111

4.
..
112

คำร้อง เพลงในโลกบันเทิ ง

เกิดมาร่วมฟ้าเดียวกัน อยูใ่ นโลกฝนั บันเทิงนานา


ใฝป่ องเครือ่ งหมายดารา ต่างเพียรไขว่คว้ามาครอง
เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญจีรงั พร้อมพรังทรั
่ พย์สนิ เนืองนอง
ไม่หลงลืมตัวลาพอง ตอบสนองมวลชนจริงใจ
*หมันเพี
่ ยรสร้างเสริมไมตรี ต่างรักศักดิ ์ศรียนื ยง นานไป
ผ่อนคลายโลกร้อนดังไฟ สู่ความสดใสชีว ี
สร้างสิง่ บันเทิงใดใด น้อมให้ลว้ นไร้ราคี
**แข่งขันจรรโลงความดี โลกนี้เจริญยืนนาน
(ซ้า * . **)

2. วิ เครำะห์ข้อมูลด้ำนบทเพลง
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลงของเพลงในโลกบันเทิง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการ
วิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ควำมเป็ นมำของบทเพลง (Historical Background)
เพลงในโลกบันเทิง ในปีพุทธศักราช 2527 ธนาคารกสิกรไทย ครบรอบ 36 ปี ได้จดั
ประกวดเพลงไทยสากลขึน้ มีผสู้ ่งผลงานเข้าประกวดมากมายและเพลงในโลกบันเทิงทีแ่ ต่งทานอง
โดยอาจารย์ยงยศ แสงไพบูลย์ คาร้องโดยอาจารย์วมิ ล จงวิไล ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล
ได้รบั รางวัลชนะเลิศรางวัลพิณทอง
2.2 ควำมหมำยของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (สัมภาษณ์.2553) กล่าวถึง เนื้อหาของบทเพลง
ในโลกบันเทิง ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึงมนุ ษย์ท่เี กิดมาในโลกเดียวกันซึ่งอยู่ในความฝนั ของโลกมายา
ต่างต้องการทีจ่ ะเป็ นดาวดวงเด่น พยายามทีจ่ ะไขว่คว้ามาครองให้ได้ เพื่อความมีเกียรติยศชื่อเสียง
ทีม่ นคงและมี
ั่ ทรัพย์สนิ เงินทองมากมาย แต่เมื่อได้มาแล้วก็ไม่หลงลืมตัวพร้อมทัง้ ทาหน้าที่ของ
ตัว เองด้ว ยความจริงใจ พร้อมทัง้ สร้างความเป็ นมิตรไมตรีแก่ค นทัวไป ่ มีค วามรักในเกียรติและ
ศักดิ ์ศรีตลอดไป เปรียบเหมือนดังเป็
่ นการช่วยผ่อนคลายให้โลกทีร่ อ้ นดังไฟ นาไปสู่ชวี ติ ทีม่ คี วามสดชื่น
สดใสและมุ่งทีจ่ ะสร้างความบันเทิงให้กบั ทุกคนอย่างบริสุทธิ ์ใจพร้อมทัง้ ให้ช่วยกันแข่งขันทาความดี
เพื่อโลกของเราจะมีความเจริญตลอดไป
2.3 โครงสร้ำงและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
บทเพลงในโลกบันเทิง มีโครงสร้างของบทเพลง เป็นลักษณะแบบ Binary Form คือ
A B A B โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B แล้วจึงย้อนกลับมาร้องท่อน A
ซ้าอีกครัง้ หนึ่ง และจบลงทีท่ ่อน B ดังนี้
113

3. ข้อมูลด้ำนเทคนิ ควิ ธีกำรขับร้อง


ในการศึกษาข้อมูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยตรง มีเพลงที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ (Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
114

4.
115

คำร้อง เพลงในโลกบันเทิ ง

เกิดมาร่วมฟ้าเดียวกัน อยูใ่ นโลกฝนั บันเทิงนานา


ใฝป่ องเครือ่ งหมายดารา ต่างเพียรไขว่คว้ามาครอง
เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญจีรงั พร้อมพรังทรั
่ พย์สนิ เนืองนอง
ไม่หลงลืมตัวลาพอง ตอบสนองมวลชนจริงใจ
*หมันเพี
่ ยรสร้างเสริมไมตรี ต่างรักศักดิ ์ศรียนื ยง นานไป
ผ่อนคลายโลกร้อนดังไฟ สู่ความสดใสชีว ี
สร้างสิง่ บันเทิงใดใด น้อมให้ลว้ นไร้ราคี
**แข่งขันจรรโลงความดี โลกนี้เจริญยืนนาน
(ซ้า * . ** )

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงในโลกบันเทิง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อ


ในการวิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 กำรบังคับควบคุมลมหำยใจ
ในการศึก ษาวิเคราะห์การบังคับควบคุมลมหายใจ ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมาย
ของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน
ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้
116

ตัวอย่ำง กำรแบ่งวลีในกำรหำยใจของ เพลงในโลกบันเทิ ง

ในกำรแบ่งวลี เพื่อกำรหำยใจ ใช้สญ


ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดกำร
หำยใจ

4.

การหายใจวลีท่ี 1 เกิดมาร่วมฟ้าเดียวกัน
การหายใจวลีท่ี 2 อยูใ่ นโลกฝนั บันเทิงนานา
การหายใจวลีท่ี 3 ใฝป่ องเครือ่ งหมายดารา
การหายใจวลีท่ี 4 ต่างเพียรไขว่คว้ามาครอง
การหายใจวลีท่ี 5 เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญจีรงั
การหายใจวลีท่ี 6 พร้อมพรังทรั
่ พย์สนิ เนืองนอง
117

การหายใจวลีท่ี 7 ไม่หลงลืมตัวลาพอง
การหายใจวลีท่ี 8 ตอบสนองมวลชนจริงใจ
การหายใจวลีท่ี 9 *หมันเพี
่ ยรสร้างเสริมไมตรี
การหายใจวลีท1่ี 0 ต่างรักศักดิ ์ศรียนื ยงนานไป
การหายใจวลีท่ี 11 ผ่อนคลายโลกร้อนดังไฟ ่
การหายใจวลีท่ี 12 สู่ความสดใสชีว ี
การหายใจวลีท่ี 13 สร้างสิง่ บันเทิงใดใด
การหายใจวลีท่ี 14 น้อมให้ลว้ นไร้ราคี
การหายใจวลีท่ี 15 **แข่งขันจรรโลงความดี
การหายใจวลีท่ี 16 โลกนี้เจริญยืนนาน

สรุ ป ในบทเพลงในโลกบัน เทิง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารหายใจเพื่อ ให้
ความหมายของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี ี
เนื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง
จานวน 16 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
ในบทเพลงในโลกบัน เทิง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้เ ทคนิ ค วิธ ีก ารบัง คับ ลม
เพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้
การลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...นานา... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “นานา”
โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D และ E สลับกันไป
จบลงด้วยโน้ตตัว D โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ

2) ...ดารา... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ดารา”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว F และ G สลับกันไป
จบลงด้วยโน้ตตัว F โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
118

3) ...ไขว่ ค ว้า ... ผู้ ร้อ งใช้เ ทคนิ ค การบัง คับ ลมเพื่อ ลากเสีย งค าร้อ ง ค าว่ า
“ไขว่คว้า” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A
สลับกัน หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว G แล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมใน
การ ขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 2 จังหวะ

4) ...มาครอง... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “มาครอง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F สลับกันไป
จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ

5) ...เนืองนอง... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “เนือง


นอง” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F สลับกัน
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว E แล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการ
ขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ
2 จังหวะ
119

6) ...ตอบสนอง... ผู้ร้อ งใช้เ ทคนิ ค การบัง คับ ลมเพื่อ ลากเสีย งค าร้อ ง ค าว่ า
“ตอบสนอง” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว B และ C
สลับกัน หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว B แล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลม
ในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว B โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 2 จังหวะ

7) ...เจริญ...ยืน นาน... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า


“ยืนนาน” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C และ D
สลับกัน หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว C แล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลม
ในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว C โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 2 จังหวะ

สรุปในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลม


เพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้
การลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 7 วลี คือ คาว่า...นานา...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...ดารา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...ไขว่คว้า...ลาก
เสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...มาครอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...เนืองนอง...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...ตอบสนอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...เจริญ...
ยืนนาน...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงในโลกบัน เทิง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้เ ทคนิค วิธ ีก ารบัง คับ ลม
สาหรับการเอื้อนเสียง ซึ่งทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการ
120

ปล่อยเสียงให้ถูกต้องตามโน้ ต ตามจังหวะ ซึ่งจะทาให้การเอื้อนเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ


และมีความไพเราะน่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้

ตอบสนอง(...........)มวลชนจริงใจ

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 4 ตัว คือ เริม่ ต้นด้วย


โน้ตตัว C# และเอือ้ นเสียงให้สงู ขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตตัว A B
C D จบลงด้วยโน้ตตัว A
สรุปในบทเพลงในโลกบันเทิงนัน้ เนื่องจากเป็ นบทเพลงไทยสากล จึงมีการเอื้อน
ในระหว่างค าร้อ งผู้ว ิจยั พบการเอื้อ นที่เ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่ว งคือ ระหว่ างค าร้ อ งค าว่า ตอบสนอง....
มวลชนจริงใจ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อนเสียง
ให้สงู ขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง B C D แล้วผ่อนเสียงลง
มาทีโ่ น้ตตัว A ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.2 กำรออกอักขระ ( Pronunciation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การออกอักขระของคาในบทเพลง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยใน
การวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้ นเสียงเน้ นคาใน
บทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจน
เป็นพิเศษ ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 คาว่า...คว้า...มาครอง...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...คว้า...มาครอง...โน้ตตัว G F E โดยใช้เทคนิคการ
พลิ้วเสียง คือ การเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) เพื่อแสดงถึง
121

การทีค่ นเราต่างพยายามทีจ่ ะไขว่คว้ามาครอบครองให้จงได้ โดยเน้นคาว่า...คว้า...เพื่อทาให้ผฟู้ งั


เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

ตัวอย่างที่ 2 คาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...ตอบสนอง...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...โน้ตตัว E F G โดยใช้เทคนิค
การทอดเสียงขึ้น คือ เป็ นการทอดเสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึ้น เพื่อแสดงความมีเกียรติ
ทีย่ งยื
ั ่ น คาว่า...ตอบสนอง...โน้ตตัว A B เป็ นการเน้นคาว่าสนองให้เด่นชัดยิง่ ขึน้ ซึง่ เป็ น การแสดง
ถึง การที่ไ ด้ต อบแทนประชาชนด้ว ยความจริง ใจ เพื่อ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด ความรู้ส ึก คล้อ ยตามไปกับ
ผูข้ บั ร้อง
ตัวอย่างที่ 3 คาว่า..เกิดมา...ต่างเพียรไขว่คว้า....

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...เกิดมา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียงโน้ตตัว
122

G ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัวโน้ตตัว E โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ า


ไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่าเกิดมาให้มคี วามชัดเจนยิ่งขึน้ คาว่า ...ต่างเพียร...
เป็ นการกระโดดเสียงจากโน้ตตัว A ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัวโน้ตตัว F โดยไม่ผ่านเสียงอื่น
เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นคาว่าต่างเพียรให้ม ี
ความชัดเจนยิง่ ขึน้
สรุปในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคา
ในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจน
เป็นพิเศษ ซึง่ มีคาร้องผูว้ จิ ยั พบจานวน 4 วลี คือ คาว่า...คว้า...มาครอง...ใช้เทคนิคการพลิว้ เสียง คือ
การเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato)โดยเน้นคาว่า...คว้า...เพื่อแสดง
ถึงการไขว่คว้ามาครอบครองให้ได้ คาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...ใช้เทคนิคการทอดเสียงขึ้น คือ
เป็นการทอดเสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ เพื่อแสดงความมีเกียรติทย่ี งยื ั ่ น คาว่า...ตอบสนอง...
ใช้เทคนิคการเน้ นคาว่าสนองให้เด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...ใช้เทคนิคการทอดเสียงขึน้
คือ เป็ นการทอดเสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึ้น เพื่อแสดงความมีเกียรติท่ีย งั ่ ยืน ค าว่ า
...ตอบสนอง...เป็ นการเน้นคาว่า...สนอง...ให้เด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...เกิดมา...ใช้เทคนิคการกระโดด
เสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่า...เกิดมา...ให้มคี วามชัดเจน
ยิง่ ขึน้ คาว่า ...ต่างเพียร... เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง
เพื่อเน้น คาว่า...ต่างเพียร...ให้มคี วามชัดเจนยิง่ ขึน้
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียง
วรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ตัวอย่างการผันอักษรทีส่ าคัญๆ ดังนี้
1) คาว่า…ฝนั ...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟนั โน้ตตัว F ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว G ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
123

2) คาว่า…เครือ่ งหมาย...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้ว ยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มาย โน้ตตัว G ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ห
นา ม ไปหาเสียงอัก ษรสูง คือ ห ซึ่งต้อ งใช้การผันอัก ษรและวรรณยุกต์ร่ว มกันและจบลงด้ว ย
การร้องด้วยหางเสียงขึ้นนาสิกโน้ ตตัว A ซึ่งทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคา
และทานองเพลง

3) คาว่า…ทรัพย์สนิ ...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซิน โน้ตตัว F ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส
นา น ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้อง
ด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว G ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

4) คาว่า…ไม่หลง...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ลง โน้ตตัว A ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ห
นา ล ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ห ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการ
ร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว B ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานอง
เพลง
124

5) คาว่า…สร้างเสริม...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เออ โน้ตตัว F ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส
นา ม ไปหาเสีย งอัก ษรสูง คือ ส ซึ่งต้อ งใช้การผัน อักษรและวรรณยุกต์ร่ว มกันและจบลงด้ว ย
การร้องด้วยหางเสียงขึ้นนาสิกโน้ ตตัว G ซึ่งทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคา
และทานองเพลง

6) คาว่า…สนอง...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า นอง โน้ตตัว B ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส
นา น ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้อง
ด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว C ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

7) คาว่า…แข่งขัน...
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า คัน โน้ตตัว A ซึง่ ใช้เสียงของอักษร
ข นา ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ข ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้อง
ด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว B ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
125

สรุปในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค


วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่ง
เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ
คือ คาว่า…โลกฝนั ...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฝาน ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึง่
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...
ฝนั ...คาว่า…เครือ่ งหมาย...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มาย ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ห นา ม ไปหา
เสียงอักษรสูง คือ ห ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...หมาย...คาว่า …ทรัพย์สนิ ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซิน ซึง่ ใช้เสียง
ของอักษร ส นา ม ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบ
ลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...สิน...คาว่า …ไม่หลง...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคา
ว่า ลง โน้ตตัว A ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ห นา ล ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษร
และวรรณยุ ก ต์ ร่ ว มกัน และจบลงด้ว ยการร้อ งด้ว ยหางเสีย งขึ้น นาสิก เป็ น ค าว่ า ...หลง...ค าว่ า
…สร้างเสริม...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เออ ซึ่งใช้เสียงของอักษร ส นา ม ไปหาเสียงอักษร
สูง คือ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิก
เป็ น คาว่า...เสริม...คาว่า ตอบสนอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า นอง ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส นา น
ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วย
หางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า …สนอง... คาว่า…แข่งขัน...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า คัน ซึง่ ใช้
เสียงของอักษร ข นา ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ข ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกัน
และจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า...ขัน...
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ
การขับร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการ
ขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงสุดเหงา
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง ดังนี้
ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็ น คำเป็ น ในเพลงในโลกบันเทิง มีอยู่ในบทร้องเป็ นจานวน
มาก บางคาผูว้ จิ ยั นามาใช้ในการวิเคราะห์ในหัวข้อการลากเสียงยาว เพื่อให้การยกตัวอย่างไม่ ซ้ากัน
จึงได้ยกตัวอย่างบางคาทีส่ าคัญๆ ดังนี้
1) เกิด
คาว่า...เกิด...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ เออ และสะกดด้วย
ด ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กด ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้
ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น
126

2) ฟ้า
ค าว่ า ...ฟ้ า...เป็ น ค าเป็ น ที่ผ สมด้ว ยสระเสีย งยาว คือ สระ อา ทิพ ย์ว ัล ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค การลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ความหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

3) โลก
คาว่า...โลก...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ โอ และสะกดด้วย ก
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) เครือ่ งหมาย
ค าว่ า ...เครื่อ งหมาย...เป็ น ค าเป็ น ที่ผ สมด้ว ยสระเสีย งยาว คือ สระ อา
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง
ทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น
127

5) บันเทิง
คาว่า...บันเทิง...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ เออ ทิพย์วลั ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค การลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ความหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

6) เจริญ
คาว่า...เจริญ...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ เออ ทิพย์วลั ย์
ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค การลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น เพื่อ ให้ได้ความหมายของคาร้อ งที่ชดั เจน
และถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย ทีส่ าคัญๆ ดังนี้


1) ฝนั
คาว่า...ฝนั ...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย น
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

2) บันเทิง
คาว่า...บันเทิง...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกด
ด้ว ย น ซึ่งเป็ นตัว สะกดในแม่ กน ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้เ ทคนิค การหยุดเสียงค าร้อ งให้ส นั ้
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
128

3) จีรงั
คาว่า...จีรงั ...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) ทรัพย์สนิ
คาว่า...ทรัพย์สนิ ...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกด
ด้วย พ ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

5) จริงใจ
คาว่า...จริง ใจ...เป็ นค าเป็ นที่ผ สมด้ว ยสระเสียงสัน้ คือ สระ อิ และสะกด
ด้วย ง ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
129

6) หมันเพี
่ ยร
คาว่า...หมันเพี
่ ยร...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกด
ด้วย น ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

7) ศักดิ ์ศรี
คาว่า...ศักดิ ์ศรี...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกด
ด้วย ก ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

สรุปในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย


คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ใน
การขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียง
สัน้ และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้
ได้ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลง
ในโลกบันเทิง มีคาร้องทีเ่ ป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ น
และคาตายทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
คาว่า...เกิด... สระ เออ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า เกิด
ค าว่ า...ฟ้ า ... สระ อา ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้เ ทคนิ ค การลากเสียงค าร้อ งให้
ยาวขึน้ เป็ นคาว่า ฟ้า
คาว่า...โลก... สระ โอ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า โลก
130

คาว่า...เครื่องหมาย... สระ อาและสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง


ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เครือ่ งหมาย
คาว่า...บันเทิง... สระ เออและสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า บันเทิง
คาว่า...เจริญ... สระ เออและสะกดด้วย ญ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า เจริญ
คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย
คาว่า...ฝนั ... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็ นคาว่า ฝนั
คาว่า...บันเทิง... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า บันเทิง
คาว่า...จีรงั ... สระ อะ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า จีรงั
คาว่า...ทรัพย์ส ิน... สระ อะ และสะกดด้ว ย พ ใช้เทคนิค การลากเสียงคาร้อ ง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ทรัพย์
คาว่า...จริงใจ... สระ อิ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็นคาว่า จริง
คาว่า...หมันเพี
่ ยร... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เ ทคนิคการลากเสียงคาร้อ ง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า หมัน่
คาว่า...ศักดิ ์ศรี... สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เป็ นคาว่า ศักดิ ์
3.3 กำรสื่อควำมหมำย (Interpretation)
ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมายในบทเพลง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออก
ถึงความประทับใจและความซาบซึง้ ในบทเพลง ซึง่ เป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอื้ออาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึ่งผู้ขบั ร้อง
ใช้น้ าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงในโลกบันเทิงมีคาร้องที่สาคัญๆที่ผขู้ บั
ร้องได้ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า...เกิดมาร่วมฟ้า...เดียวกัน...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงในโลกบันเทิง
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงมนุ ษย์เราทีเ่ กิดร่วมโลกเดียวกัน วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอด
131

อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงและทาเสียงเบาและดังขึน้ เป็ นการ


แสดงถึงการทีม่ นุ ษย์เกิดมาร่วมโลกเดียวกัน ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

2) ค าว่ า ...ใฝ่ ป องเครื่อ งหมาย...ดารา...จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ บ ทเพลง


ในโลกบันเทิง พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงการที่คนเราต้องการที่จะเป็ นดาราดวงเด่น วลีน้ี
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้ นเสียง
และทอดเสียงขึ้นเป็ นการแสดงออกถึงความต้องการที่อยากจะเป็ นดารา ทาให้ผู้ฟงั เกิดความรู้ส ึก
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3) คาว่า...ต่างเพียร...ไขว่คว้า...มาครอง...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงในโลก
บันเทิง พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงทุกคนต่างต้องการที่จะทีจะครอบครองมัน วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์
ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งกิเลสความต้องการ โดยการเน้นเสียงและ
มีก ารพลิ้ว เสีย งโดยมีก ารสันของเสี
่ ยง (Vibrato)ทาให้รู้ส ึก ถึงความต้อ งการที่ทุก คนต่ างพยายาม
ครอบครองมันจริงๆ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

4) โลกนี้...เจริญยืนนาน...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงในโลกบันเทิง พบว่า
วลีน้ีมคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงความเจริญทีย่ นื นานจริงๆ วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์
โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการทอดเสียงและผ่อนเสียงดังขึน้ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
132

3.2.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ การ
ทาหน่วยเสียง 2เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆ ทีเ่ รียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ตสากล ตอนบนของบรรทัด
5 เส้น มีสญ ั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั หิ รือขับร้องต้องเล่นโน้ต 2 ตัวสลับกัน
อย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ต2 ตัวนี้ ตัวทีท่ าหน้าทีใ่ ห้เสียงหลักคือโน้ตตัวล่าง การตกแต่งเสียงเป็ น
หน้าทีข่ องโน้ตตัวบน หน่วยเสียงทีเ่ รียบเรียงอย่างสมบูรณ์น้แี สดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง ความ
คึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของบทเพลง ในบทเพลงในโลกบันเทิง
มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) คาว่า...ไขว่คว้า...
คาว่า...คว้า...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

2) คาว่า...หลงลืม...
คาว่า...หลง...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
133

3) คาว่า...ตอบสนอง...
คาว่า...สนอง...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

4) คาว่า...สดใส...
คาว่า...ใส...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

5) คาว่า...แข่งขัน...
คาว่า...ขัน...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
134

6) คาว่า...เจริญยืนนาน...
คาว่า...เจริญ...ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ ว ยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็ว ๆซึ่งมีเสียงโน้ ต ตัว ล่ างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E
ลัก ษณะการขับร้องเช่ นนี้ ท าให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ คล้อยตามไปกับผู้ข ับร้องเรียกอารมณ์ แ บบนี้ ว่ า
“ ภวารมณียะ ”

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคระห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงในโลกบันเทิง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออก
ถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการใช้
สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือ คาว่า...เกิดมาร่วมฟ้า...เดียวกัน...
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงและทาเสียงเบาและดังขึน้ )
ค าว่ า ...ใฝ่ปองเครื่อ งหมาย...ดารา...ได้ถ่ ายทอดอารมณ์ โ ดยใช้สุ น ทรียรส คือ รสค าหรือ รสถ้อ ย
โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงขึน้ คาว่า...ต่างเพียร...ไขว่คว้า...มาครอง...โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่ง
กิเลสความต้องการ โดยการเน้นเสียงและมีการพลิ้วเสียงโดยมีการสันของเสี ่ ยง (Vibrato)ทาให้รสู้ กึ ถึง
ความต้องการที่ทุกคนต่างพยายามครอบครองมันจริงๆ คาว่าโลกนี้...เจริญยืนนาน...ได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเมตตากรุณา โดยการทอดเสียงและผ่อนเสียงดังขึน้ เป็ น
การแสดงถึงความเจริญของโลกมนุษย์
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงในโลกบัน เทิง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าลมีล ัก ษณะการขับ ร้อ งที่
ก่อให้เกิด ภวารมณียะ คือ คาว่า...ไขว่คว้า...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...หลงลืม...โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ตอบสนอง...โน้ตตัว
A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้องคาว่า...สดใส...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบน
ใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์
135

คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้อง คาว่า...แข่งขัน...โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด


ความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...เจริญ...โน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ ตตัว E
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
136

คำร้อง เพลงน้ำเซำะทรำย
วิง่ หารักมาอ่อนใจ เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น
ชื่นฉ่ าเย็น อยากเป็นน้า เซาะทราย
โลกของฉันมีแต่เธอ เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
อยากบอกทราย กับสายน้า จานรรจา
*ว่ารัก ฉันสร้างจากทราย อาจสลาย เพียงในพริบตา
คลื่นรัก ทยอยสาดมา เซาะอุรา น้ าตา กระเซ็น
แอ่งน้ านัน้ ปลาใฝป่ อง แต่รกั ของทรายจะเย็น
ไม่วายเว้น ต้องการน้ า เซาะทราย
โลกของฉันมีแต่เธอ เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
อยากบอกทราย กับสายน้า ในความจริง
( ซ้า )
137

2. วิ เครำะห์ข้อมูลด้ำนบทเพลง
ในการวิเ คราะห์ข้อ มูล ด้า นบทเพลงของเพลงน้ า เซาะทราย ผู้ว ิจ ยั ได้แ บ่ ง หัว ข้อ
ในการวิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ควำมเป็ นมำของบทเพลง (Historical Background)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล กล่าวถึงความเป็ นมาของเพลงน้ าเซาะทรายว่า
ในปี พุทธศักราช 2548 ได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทองพระราชทาน ประเภทขับร้องหญิงยอดเยีย่ ม
และเพลงอมตะ เพลงนี้แต่ งทานองโดยคุ ณจารัส เศวตาภรณ์ คาร้องโดยครูชาลี อิน ทรวิจติ ร
ศิล ปิ นแห่ ง ชาติ ทิพ ย์ว ลั ย์ไ ด้ขอลิขสิทธิ ์มาบันทึกเสียงใหม่ โดยร่ว มกับมูล นิ ธ ิบางกอกซิมโฟนี
(B.S.O.) จัดทาอัลบัม้ ชื่อ ทะเลจันทร์ โดยนาเพลงที่ตวั เองได้รบั รางวัล เพลงที่ได้รบั ความนิยม
และเพลงทีช่ อบมาเรียบเรียงดนตรีใหม่ โดยใช้ดนตรีประเภทอคูสติค (ACUSTIC) ซึง่ ไม่ใช้เสียงจาก
เครือ่ งไฟฟ้าและขับร้องใหม่ ในอัล้ บัม้ เดียวกันนี้
2.2 ควำมหมำยของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (สัมภาษณ์. 2553) กล่าวถึงเนื้อหาของบทเพลง
น้ าเซาะทราย ผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงเรื่องความรักกับธรรมชาติของหาดทราย คือ ผู้ท่ยี งั ไม่เคยมี
ความรัก มักจะวิง่ หาจนเหนื่อยล้าเปรียบเปรยเหมือนน้ าที่ค่อยๆไหลไปซบกับหาดทราย ทาให้ม ี
ความชุ่มชื่นในจิตใจ อยากเป็ นเหมือนน้ าที่กาลังเซาะทราย โลกนี้มแี ต่เธอคนเดียวเมื่อมีความรัก
จะเพ้อฝนั ถึงเธอผู้เดียว อยากบอกทรายและสายน้ าถึงความจริง ว่าความรักที่สร้างจากผืนทราย
อาจพังลงได้ในพริบตาเพราะคลื่นของความรักทีส่ าดเข้ามา ทาให้จติ ใจมีความเศร้าหมองและเสียใจ
แอ่งน้ านัน้ มักเป็ นที่อยู่ของปลาแต่ความรักนัน้ เหมือนทรายที่เยือกเย็น ไม่ละเว้นต้องการน้ าเซาะทราย
เพราะโลกของฉันมีแต่เธอและเพ้อฝนั ถึงเธอผูเ้ ดียว อยากบอกทรายกับสายน้าถึงความเป็นจริงนี้
2.3 โครงสร้ำงและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
บทเพลงน้ าเซาะทราย มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ นลักษณะแบบ Round Binary
Form คือ A A’ B A” A’ โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน A’ แล้วร้องท่อน B หลังจากนัน้
จะร้องท่อน A” และร้องซ้าท่อน A’ อีกครัง้ แล้วจึงจบเพลง ดังนี้
138
139

3. ข้อมูลด้ำนเทคนิ ควิ ธีกำรขับร้อง


ในการศึก ษาข้อ มูล ด้านเทคนิค วิธ ีการขับร้อ งของ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยตรง มีเพลงที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
140
141

คำร้อง เพลงน้ำเซำะทรำย
วิง่ หารักมาอ่อนใจ เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น
ชื่นฉ่ าเย็น อยากเป็นน้า เซาะทราย
โลกของฉันมีแต่เธอ เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
อยากบอกทราย กับสายน้า จานรรจา
*ว่ารัก ฉันสร้างจากทราย อาจสลาย เพียงในพริบตา
คลื่นรัก ทยอยสาดมา เซาะอุรา น้ าตา กระเซ็น
แอ่งน้านัน้ ปลาใฝป่ อง แต่รกั ของทรายจะเย็น
ไม่วายเว้น ต้องการน้ า เซาะทราย
โลกของฉันมีแต่เธอ เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
อยากบอกทราย กับสายน้า ในความจริง
( ซ้า * )

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงน้ าเซาะทราย ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อ


ในการวิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 กำรบังคับควบคุมลมหำยใจ
ในการศึก ษาวิเคราะห์การบังคับควบคุมลมหายใจ ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมาย
ของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน
ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้
142

ตัวอย่ำง กำรแบ่งวลีในกำรหำยใจของ เพลงน้ำเซำะทรำย

ในกำรแบ่งวลี เพื่อกำรหำยใจ ใช้สญ


ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดกำรหำยใจ

การหายใจวลีท่ี 1 วิง่ หารักมาอ่อนใจ


การหายใจวลีท่ี 2 เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น
การหายใจวลีท่ี 3 ชื่นฉ่ าเย็น
การหายใจวลีท่ี 4 อยากเป็นน้า เซาะทราย
143

การหายใจวลีท่ี 5 โลกของฉันมีแต่เธอ
การหายใจวลีท่ี 6 เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
การหายใจวลีท่ี 7 อยากบอกทราย
การหายใจวลีท่ี 8 กับสายน้า
การหายใจวลีท่ี 9 จานรรจา
การหายใจวลีท่ี 10 *ว่ารัก ฉันสร้างจากทราย
การหายใจวลีท่ี 11 อาจสลายเพียงในพริบตา
การหายใจวลีท่ี 12 คลื่นรัก ทยอยสาดมา
การหายใจวลีท่ี 13 เซาะอุราน้าตากระเซ็น
การหายใจวลีท่ี 14 แอ่งน้ านัน้ ปลาใฝป่ อง
การหายใจวลีท่ี 15 แต่รกั ของทรายจะเย็น
การหายใจวลีท่ี 16 ไม่วายเว้น
การหายใจวลีท่ี 17 ต้องการน้ าเซาะทราย
การหายใจวลีท่ี 18 โลกของฉันมีแต่เธอ
การหายใจวลีท่ี 19 เฝ้าฝนั ละเมอไม่วาย
การหายใจวลีท่ี 20 อยากบอกทราย
การหายใจวลีท่ี 21 กับสายน้า
การหายใจวลีท่ี 22 ในความจริง

สรุป ว่ า ในบทเพลงน้ า เซาะทราย ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารหายใจเพื่อ ให้
ความหมายของคาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี ี
เนื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง
จานวน 22 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
ในบทเพลงน้ า เซาะทราย ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ นภิบ าล ได้ใ ช้เ ทคนิ ค วิธ ีก ารบัง คับ ลม
เพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้
การลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...อ่อนใจ... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ใจ” โดย
ใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F# สลับกันไป หลังจากนัน้
ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ ตตัว E ลากเสียงให้ยาวขึ้นโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน
จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
144

2) ...กระเซ็น... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่ า “เซ็น”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C และ D สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Crescendo ในโน้ตตัว E ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้อง
เดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
(ยกโน้ต+ทาตาราง)

3) ...แต่ เธอ... ผู้ร้องใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ เธอ ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว E และ F# สลับกันไป
ในโน้ตตัว E ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว E โดยมีวธิ บี งั คับ
ควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

4) ...ไม่วาย... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ วาย ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C และ D สลับกันไป
ในโน้ตตัว C ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว C โดยมีวธิ ี
บังคับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
145

5) ...จานรรจา... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่ า “ จา ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A สลับกันไป
หลัง จากนัน้ ใช้เ ทคนิค Decrscendo ในโน้ ต ตัว G ลากเสีย งให้ยาวขึ้น โดยใช้ล มใน
การขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ

6) ...จะเย็น... ผู้ร้องใช้เทคนิค การบังคับลมเพื่อ ลากเสียงคาร้อง คาว่า “ เธอ ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว A และ B สลับกันไป ใน
โน้ตตัว A ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A โดยมีวธิ บี งั คับ
ควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

7) ...เซาะทราย... ผู้ร้อ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “


ทราย ” โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D และ E
สลับกันไป หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค Decrscendo ในโน้ตตัว D ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลม
ในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว D โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ

8) ...ไม่วาย... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ วาย ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C และ D สลับกันไป
146

ในโน้ตตัว C ลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว D โดยมีวธิ ี


บังคับควบคุมลมหายหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

9) ...ความจริง... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ จริง ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A สลับกันไป
หลัง จากนัน้ ใช้เ ทคนิค Decrscendo ในโน้ ต ตัว G ลากเสีย งให้ยาวขึ้น โดยใช้ล มใน
การขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ

สรุปในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลม


เพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้
การลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 9 วลี คือ คาว่า...อ่อนใจ...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า กระเซ็น...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...แต่เธอ...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่วาย... ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...จานรรจา...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...จะเย็น...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เซาะทราย...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่วาย...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4จังหวะคาว่า...ความจริง...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 4 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงน้ าซ้าทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับ
การเอือ้ นเสียง ซึง่ ทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการปล่อยเสียง
ให้ถูกต้องตามโน้ต ตามจังหวะ ซึง่ จะทาให้การเอื้อนเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความไพเราะ
น่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
147

ว่ารักฉันสร้าง(...........)จากทราย

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 3 ตัว คือ เริม่ ต้นด้วย


โน้ตตัว G และเอื้อนเสียงให้ต่ าลงโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตตัว G F E
จบลงด้วยโน้ตตัว G
สรุปในบทเพลงน้ าเซาะทรายนัน้ เนื่องจากเป็ นบทเพลงไทยสากล จึงมีการเอื้อน
ในระหว่างคาร้องผู้วจิ ยั พบการเอื้อนที่เด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า ว่ารักฉันสร้าง(.........)
จากทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อนเสียง
ให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง G F E จบลงด้วย
โน้ตตัว G ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.2 กำรออกอักขระ (Pronunciation)
ในการศึก ษาวิเ คราะห์การออกอักขระของค าในบทเพลง ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อ ย
ในการวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
ตัวอย่างที่ 1 คาว่า...วิง่ หา...เอื่อยไหล...

จากโน้ ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่าวิง่ หา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียงโน้ตตัว B
ไปยังอีกเสียงหนึ่งคือโน้ตตัวโน้ตตัว G โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไป
หาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่าวิง่ หาให้มคี วามชัดเจนยิง่ ขึน้ คาว่าเอื่อยไหล โน้ตตัว B G
เสีย งห่ า งกัน เป็ น 6 เสียง เพื่อ เน้ นค าว่า เอื่อ ยไหลให้มคี วามหมายชัด เจนยิง่ ขึ้น เพื่อ ท าให้ผู้ฟ งั
เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
148

ตัวอย่างที่ 2 คาว่า...รักมาอ่อนใจ...ปลาใฝป่ อง...รักของทราย...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...รักมาอ่อนใจ...โน้ตตัว F# E D# โดยใช้เทคนิค
การผ่อนเสียง คือเป็ นการใช้เสียงจากเสียงสูงแล้วผ่อนเสียงมาคล้ายการผ่อนลมหายใจ เพื่อสื่อถึง
การทีผ่ หู้ ญิงคนหนึ่งวิง่ หาความรักมาจนอ่อนใจ คาว่า …ปลาใฝ่ปอง…โน้ตตัว E D# E เพื่อสื่อถึง
แอ่งน้าทีเ่ ป็นแหล่งทีป่ ลาต้องการไปอยู่ คาว่า… รักของทราย…โน้ตตัว G F# E เพื่อเน้นคาว่าทราย
เป็ นการเปรียบเปรยถึงความรักกับทรายทีม่ แี ต่ความเยือกเย็นเพื่อทาให้ผู้ฟงั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตาม
ไปกับผูข้ บั ร้อง
ตัวอย่างที่ 3 คาว่า...เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า... ...เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น...โน้ตตัว B G F# E D C
โดยใช้เทคนิคการทอดเสียงในคา คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง
เพื่อเน้นคาว่า “ทราย” ให้ชดั เจนขึน้ เป็นการแสดงถึงสายน้าทีค่ ่อยๆไหลมาซบทีผ่ นื ทราย เพื่อทาให้
ผูฟ้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
149

ตัวอย่างที่ 4 คาว่า...ฝนั ละเมอ...ไม่วาย

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...ฝนั ละเมอ...ไม่วาย โน้ตตัว G F# E D C โดยใช้
เทคนิคการทอดเสียงลงคือเป็ นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง พร้อมทัง้ คา เพื่อ
เน้นคาว่าฝนั ละเมอแสดงให้เห็นว่าความรักนัน้ ทาให้คนเรานัน้ ฝนั อยู่ตลอดเวลา เพื่อทาให้ผฟู้ งั เกิด
ความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
สรุปในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคา
ในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจน
เป็ นพิเศษ ซึง่ มีคาร้องที่ผวู้ จิ ยั พบจานวน 4 วลี คือคาว่า...วิง่ หา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียง
จากเสียงโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตอีกตัวหนึ่ง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่า...วิง่ หา...ให้มคี วามชัดเจน
ยิง่ ขึน้ คาว่า...เอื่อยไหล... เสียงห่างกันเป็ น 6 เสียง เพื่อเน้นคาว่า...เอื่อยไหล...ให้มคี วามหมายชัดเจน
ยิง่ ขึน้ คาว่า...รักมาอ่อนใจ...ใช้เทคนิคการผ่อนเสียง คือเป็นการใช้เสียงจากเสียงสูงแล้วผ่อนเสียงมา
คล้ายการผ่อนลมหายใจ คาว่า…ปลาใฝ่ปอง….ใช้เทคนิคการผ่อนให้เบาลง คาว่า… แต่รกั ของ
ทราย…เพื่อเน้นคาว่า...ทราย...เป็ นการเปรียบเปรยถึงความรักกับทรายทีม่ แี ต่ความเยือกเย็นเพื่อ
ทาให้ ผู้ฟงั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องคือ คาว่า...เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น...โดยใช้
เทคนิคการทอดเสียงในคา คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง เพื่อเน้น
คาว่า ทรายให้ชดั เจนขึน้ คาว่า...ฝนั ละเมอ...ไม่วาย ใช้เทคนิคการทอดเสียงลงคือเป็ นการใช้เสียงใน
การขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง พร้อมทัง้ คา เพื่อเน้นคาว่า...ฝนั ละเมอ...
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้วธิ ีการร้องด้วยเทคนิควิธ ี
การผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่ง
เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
1) คาว่า…วิง่ หา...
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้อ งด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฮา โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษร
สูงพยัญชนะ ห ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
150

2) คาว่า…เอื่อยไหล...
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้อ งด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ไล โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นการผันอักษร
โดยใช้เสียง ห นา ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียง
ขึน้ นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

3) คาว่า…ของฉัน...
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้อ งด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า คอง โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญชนะ ข ซึ่งต้อ งใช้ การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่ว มกันและจบลงด้ว ยการร้อ งด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

4) คาว่า…เฝ้าฝนั ...
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้อ งด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟนั โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษร
สูงพยัญชนะ ฝ ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
151

5) คาว่า…สายน้า...
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้อ งด้วยเทคนิค
วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย โน้ตตัว C ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญ ชนะ สุ ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้อ งด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว D ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานอง

สรุปในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิค


วิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่ง
เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลี่ยนไปตามทานองเพลง ผู้วจิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีท่สี าคัญๆ
คือ คาว่า…วิง่ หา...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฮา ซึง่ เป็นอักษรต่าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห ซึง่
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิ กเป็ นคาว่า...
หา... คาว่า…เอื่อยไหล... โดยเริม่ ต้นการร้องด้วยคาว่า ไล ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียง ห นา
ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคา
ว่า ...ไหล...ค าว่ า…ของฉัน...โดยเริ่มต้นการร้อง ด้วยค าว่า คอง ซึ่งเป็ นอักษรต่ าคู่กับอักษรสูง
พยัญชนะ ข ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้
นาสิก เป็นคาว่า...ของ...คาว่า…เฝ้าฝนั ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟนั ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่
กับอักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วย
หางเสียงขึ้นนาสิกเป็ นคาว่า...ฝนั ...คาว่า…สายน้ า...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย ซึ่งเป็ น
อักษรต่าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการ
ร้องด้วย หางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...สาย...
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ
การขับร้องคาเป็ นคือคาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ใน
การขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้
และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงไฟ มีคาร้อง
ทีเ่ ป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ัยขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตายที่สาคัญๆ
ในบทเพลง ดังนี้
152

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็ น คำเป็ น ในเพลงน้ าเซาะทราย มีอยู่ในบทร้องเป็ นจานวนมาก


บางค าผู้วจิ ยั นามาใช้ใ นการวิเคราะห์ใ นหัวข้อการลากเสียงยาว เพื่อให้การยกตัวอย่างไม่ซ้ากัน
จึงได้ยกตัวอย่างบางคาทีส่ าคัญๆ ดังนี้
1) วิง่ หา
คาว่า...หา...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของ
ลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

2) อ่อนใจ
คาว่า...อ่อน…เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ออ และสะกดด้วย น
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

3) เอื่อยไหล
คาว่า...เอื่อย…เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อือ และสะกดด้วย ย
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) เซาะทราย
คาว่า...ทราย…เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกด
ด้วย ย ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
153

5) ใฝป่ อง
คาว่า...ปอง…เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ ออ และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

6) สายน้า
คาว่า...สาย…เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย ย
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ เกย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย


1) กระเซ็น
คาว่า...เซ็น...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ เอะ และสะกดด้วย น
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย
154

2) พริบตา
คาว่า...พริบ...เป็นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อิ และสะกดด้วย บ
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

3) ว่ารัก
คาว่า...รัก...เป็นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ และสะกดด้วย ก
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

4) จะเย็น
คาว่า...จะ...เป็ นคาตายที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ อะ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ค วามหมายของค าร้อ งที่ชดั เจนและถู กต้อ ง
ของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย

5) เซาะทราย
คาว่า...เซาะ...เป็ นคาตายทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ คือ สระ เอาะ และสะกด
ด้วย ซ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของ
คาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาตาย
155

สรุปในบทเพลงน้าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย


คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว
ในการขับร้อ งจะต้อ งลากค าร้อ งให้ยาวตามความหมายของค า ส่ว นคาตายจะเป็ นคาที่ผ สมด้ว ย
สระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนใน
เพลงน้าเซาะทราย มีคาร้องทีเ่ ป็นคาเป็นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ น
และคาตายทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
คาว่า...วิง่ หา... สระ ฮา และสะกดด้วย ห ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ย าวขึน้
เป็นคาว่า วิง่ หา
คาว่า...อ่อนใจ… สระ ออ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็ นคาว่า อ่อนใจ คาว่า... เอื่อยไหล...สระ อือ และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เอื่อย
คาว่า...เซาะทราย สระ อา และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็ นคาว่า เซาะทราย คาว่า...ใฝ่ปอง… สระ ออ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า ใฝ่ปอง คาว่า...สายน้ า… สระ อา และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า สายน้า
คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย
คาว่า...กระเซ็น…สระ เอะ และสะกดด้วย น ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้
สัน้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า เซ็น
คาว่า...พริบตา...สระ อิ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องเป็นคาว่า พริบตา
คาว่า...ว่ารัก...สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า รัก
คาว่าจะเย็น...สระ อะ และได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องเป็น คาว่า จะเย็น
คาว่า...เซาะทราย... สระ เอาะ และสะกดด้วย ซ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า เซาะทราย
156

3.3 กำรสื่อควำมหมำย (Interpretation)


ในการศึก ษาวิเ คราะห์การสื่อ ความหมายในบทเพลง ผู้ว ิจ ยั ได้แบ่ งหัว ข้อ ย่อ ยใน
การวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงน้าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอือ้ อาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึง่ ผูข้ บั ร้องใช้
น้ าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงน้ าเซาะทราย มีคาร้องทีส่ าคัญๆทีผ่ ขู้ บั ร้อง
ได้ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า...วิง่ หา...รักมาอ่อนใจ...
…วิง่ หา...รักมาอ่อ นใจ...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลน้ าเซาะทราย พบว่า
วลีน้ีมคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงน้ าที่ค่อยๆไหลไปซบกับทราย วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์
โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและ
ทาเสียงให้เบาลงเป็นการแสดงถึงการทีว่ งิ่ หาแต่ความรักมาจนอ่อนใจจริงๆ เพื่อสื่อถึงความหมายของ
คาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

2) คาว่า…ชื่นฉ่ าเย็น...อยากเป็นน้าเซาะทราย...
…ชื่น ฉ่ า เย็น ...อยากเป็ น น้ า เซาะทราย... จากการศึก ษาวิเ คราะห์บ ทเพลง
น้ าเซาะทราย พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงความชุ่มชื่นเยือกเย็นของน้ าซึ่งทาให้อยากเป็ น
น้ าเซาะทราย วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือ
นารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและมีการแผ่วเสียง เป็ นการแสดงถึงความชุ่มชื่น
ทาให้อยากเป็ นน้ าที่กาลังจะเซาะทราย เพื่อสื่อถึงความหมายของคาร้อง ทาให้ผู้ฟงั เกิดความรู้สกึ
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
157

3) คาว่า…ว่ารัก...ฉันสร้างจากทราย...
ว่ารัก...ฉันสร้างจากทราย... จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงน้ าเซาะทราย
พบว่า วลีน้ีทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือ
นารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไ ทย โดยการเน้ นเสียงและพลิ้วเสียง คือ เป็ นการเน้ นเสียงและ
พลิว้ เสียงและมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) ซึ่งแสดงออกถึงความรักทีฉ่ ันสร้างจากผืนทราย เพื่อสื่อถึง
ความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

4) คาว่า...แต่รกั ของทราย...จะเย็น...
แต่รกั ของทราย...จะเย็น...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงน้ าเซาะทราย พบว่า
วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงความรักที่เปรียบเหมือนทรายที่เยือกเย็น วลี น้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย
โดยการเน้ นเสียงแล้วลากเสียง เป็ นการกล่าวถึงความรักของทรายที่มคี วามเยือกเย็นเพื่อสื่อถึง
ความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

5) คาว่า...เซาะอุรา...น้าตากระเซ็น...
เซาะอุรา...น้ าตากระเซ็น... จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงน้ าเซาะทราย
พบว่า วลีน้มี คี วามหมายทีก่ ล่าวถึงคลื่นทีเ่ ซาะจิตใจคนทาให้คนต้องเสียใจ วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
158

ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้า เสียใจหรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของ


วรรณคดีไทย โดยการเน้ นเสียงและทอดเสียงลงคือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
และกล่าวถึงน้ าที่เซาะจิตใจคนทาให้ถงึ กับน้ าตาไหล เพื่อสื่อถึงความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั
เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ
การทาหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆ ที่เรียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ ตสากล ตอนบน
ของบรรทัด 5 เส้น มีสญ ั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั หิ รือขับร้องต้องเล่นโน้ต
2 ตัวสลับกันอย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ ต2 ตัวนี้ ตัวที่ทาหน้าที่ให้เสียงหลักคือโน้ตตัวล่าง
การตกแต่ ง เสีย งเป็ น หน้ า ที่ข องโน้ ต ตัว บน หน่ ว ยเสีย งที่เ รีย บเรีย งอย่ า งสมบู ร ณ์ น้ี แ สดงถึง
ความบันเทิง ความร่าเริง ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของ
บทเพลง ในบทเพลงสุดเหงามีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) คาว่า...กระเซ็น...
คาว่า...เซ็น...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆ ซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว C และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ

2) คาว่า...แต่เธอ...
คาว่า...เธอ...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ

159

3) คาว่า...ไม่วาย...
คาว่า...ไม่วาย...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณี
ยะ คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว
C และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

4) คาว่า...บอกทราย...
คาว่า...บอกทราย...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้
เทคนิค ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึ่งมีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ น
เสียงหลัก คือโน้ตตัว C และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D
ลักษณะ การขับร้องเช่ นนี้ทาให้ผู้ฟ งั เกิดอารมณ์ คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้องเรียกอารมณ์ แบบนี้ว่า “
ภวารมณียะ ”

5) คาว่า...จานรรจา...
คาว่า..จานรรจา...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใ ช้
เทคนิคภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึ่งมีเสียงโน้ตตัวล่าง
เป็นเสียงหลัก คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แบบนี้ว่า
“ ภวารมณียะ ”
160

6) คาว่า...ว่ารัก...
คาว่า...รัก...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
คือโน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ

7) คาว่า...เซาะทราย...
คาว่า…เซาะทราย...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ น ภิบาล ได้ใช้
เทคนิคภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั ั ่ บกันเร็วๆซึ่งมีเสียงโน้ตตัวล่าง
เป็นเสียงหลัก คือโน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E
ลัก ษณะการขับร้อ งเช่ นนี้ ทาให้ผู้ฟ งั เกิด อารมณ์ ค ล้อ ยตามไปกับผู้ขบั ร้อ งเรียกอารมณ์ แบบนี้ว่า
“ ภวารมณียะ ”

8) คาว่า...ความจริง...
คาว่า…จริง...ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิค
ภวารมณียะ คือการใช้เสียงหน่ วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก
161

คือโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะ


การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึง้ ในบทเพลง ซึง่ เป็นสุนทรียรสต่างๆ ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรี
ยรสที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้สกึ ที่สาคัญๆ ในบทเพลง คือคาว่า...วิง่ หา...รักมาอ่อนใจ... ได้
ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดย
การเน้นเสียงและทาเสียงให้เบาลง คาว่า…ชื่นฉ่ าเย็น...อยากเป็ นน้ าเซาะทราย... ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดย
ใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและมี
การแผ่วเสียง คาว่าว่ารัก...ฉันสร้างจากทราย... ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่ง ความ
รัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและพลิ้วเสียง คือเป็ นการเน้นเสียงและ
พลิว้ เสียงและมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) คาว่า... แต่รกั ของทราย...จะเย็น...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดย
ใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงแล้วลาก
เสียง ค าว่า...เซาะอุรา...น้ าตากระเซ็น...ได้ถ่ ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้า
เสียใจหรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงลงคือ เป็ นการใช้เสียง
ในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงน้ าเซาะทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด
ภวารมณียะ คือ คาว่า...กระเซ็น...โน้ ตตัว C และมีเสียงโน้ ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...แต่เธอ...โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F#
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ไม่วาย...โน้ตตัว C
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...บอกทราย...โน้ตตัว C และมีเสียงโน้ตตัวบน
ใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์
162

คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า..จานรรจา...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด


ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...ว่ารัก...โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า…เซาะทราย...โน้ตตัว D
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า…ความจริง...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบน
ใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
163

คำร้อง เพลงอัสดง
นับนานผ่านวันคืนอันอ้างว้าง ดังคนหลงทางอยูก่ ลางสายชล
คลื่นลมสาดซ้าลาเค็ญเจียนทน ว่ายวนสับสนร้าวรานจนเหลือพรรณา
หวังใดไม่เคยเป็นดังวาดหวัง เพียงพอหรือยังทีล่ อยลับตา
อาจมีสกั หนทนทรมาดิน้ รนไขว่คว้า ฟ้ามิอาจสมปองสักวัน
*ชีวติ อื่นหมืน่ พัน สุขสันต์และสมปอง
ดังแสงทองส่องคลุมนภาฟ้าผ่าน กระจ่างเรืองรอง
เหมือนดังตะวันฉานลอยผ่าน จวบจนลับจาง
ชะตาขีดเกณฑ์ให้เป็นเช่นนี้ เลือนรางริบหรี่
ขาดไฟชีท้ าง มืดมนมัวแสง
เงาดาอาพราง บัน้ ปลายอ้างว้าง ชีวติ ดังเหมือนอัสดง
(ซ้า *)
164

2. วิ เครำะห์ข้อมูลด้ำนบทเพลง
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านบทเพลงของเพลงอัสดง ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการวิเคราะห์
3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
2.1 ควำมเป็ นมำของบทเพลง (Historical Background)
ในปีพุทธศักราช 2548 บทเพลงอัสดงได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทย
สากลหญิงยอดเยีย่ มหญิง แต่งโดยคุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ซึ่งเป็ นนักแต่งเพลงและ
นักดนตรี พงศ์พรหม เริม่ อาชีพนักแต่งเพลง และนักดนตรี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2528 โดยการแต่งดนตรี
ประกอบละครเวที "หัวเราะกับน้ าตา" (กากับการแสดงโดย ภาสุ ร ี ภาวิไล) และเข้าทางานเป็ น
นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ และนักดนตรีบนั ทึกเสียง กับบริษทั บัตเตอร์ฟลาย มีผลงานเพลงเบื้องหลัง
ศิลปินต่างๆ รวมทัง้ แต่งเพลงโฆษณา เพลงประกอบละคร สารคดี และดนตรีประกอบภาพยนตร์
2.2 ควำมหมำยของบทเพลง (Meaning)
จากการสัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล (สัมภาษณ์. 2553) กล่าวถึง เนื้อหาของ
บทเพลงอัสดง ผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงเรื่องกาลเวลากับความอ้างว้างซึ่งเปรียบเหมือนคนที่หลงทาง
อยูก่ ลางสายน้า ถูกคลื่นลมพัดกระหน่ าทาให้เกิดความลาเค็ญ เจ็บปวดจนเหลือเกิน และเมื่อหวังสิง่ ใด
ไม่เคยได้สมหวัง ความผิดหวังนี้พอเพียงหรือยัง อาจจะมีสกั ครัง้ ที่ต้องทนทรมาน ดิ้นรนไขว่คว้า
ฟ้าก็ไม่อาจให้ความสมหวังนี้ได้ ในชีวติ คนเป็ นหมื่นเป็ นพันมีแต่ความสุขสมหวังเปรียบดังแสงอาทิ
่ ตย์
คลุมท้องฟ้า มีความกระจ่างสดใส เหมือนดังพระอาทิ
่ ตย์ทฉ่ี ายส่องแสงสว่าง จวบจนเลือนรางหายไป
ชะตาชีวติ ขีดเส้นให้เป็ นเช่นนี้ เลือนรางแทบมองไม่เห็นเพราะขาดไฟที่ จะนาทาง มืดมนแทบมอง
ั้
ไม่เห็น มีแต่เงาดาอาพราง ปนปลายมี แตความอ้างว้างชีวติ เปรียบเหมือนพระอาทิตย์ทก่ี าลังจะตกดิน
2.3 โครงสร้ำงและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
บทเพลงอัสดง มีโครงสร้างของบทเพลง เป็นลักษณะแบบ Ternary Form คือ
A A’ B A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B แล้วจึงย้อนกลับมาร้องท่อน A
ซ้าอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากนัน้ จะร้องท่อน C และย้อนกลับมาร้องซ้าท่อน A อีกครัง้ ดังนี้
165

3. ข้อมูลด้ำนเทคนิ ควิ ธีกำรขับร้อง


ในการศึก ษาข้อ มูล ด้านเทคนิค วิธ ีการขับร้อ งของ ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อ มูล
มาจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยตรง มีเพลงที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา
ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทรายและอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
3.1.2 การลากเสียงยาว
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
166
167

คำร้อง เพลงอัสดง

นับนานผ่านวันคืนอันอ้างว้าง ดังคนหลงทางอยูก่ ลางสายชล


คลื่นลมสาดซ้าลาเค็ญเจียนทน ว่ายวนสับสนร้าวรานจนเหลือพรรณา
หวังใดไม่เคยเป็นดังวาดหวัง เพียงพอหรือยังทีล่ อยลับตา
อาจมีสกั หนทนทรมาดิน้ รนไขว่คว้า ฟ้ามิอาจสมปองสักวัน
*ชีวติ อื่นหมืน่ พัน สุขสันต์และสมปอง
ดังแสงทองส่องคลุมนภาฟ้าผ่าน กระจ่างเรืองรอง
เหมือนดังตะวันฉานลอยผ่าน จวบจนลับจาง
ชะตาขีดเกณฑ์ให้เป็นเช่นนี้ เลือนรางริบหรี่
ขาดไฟชีท้ าง มืดมนมัวแสง
เงาดาอาพราง บัน้ ปลายอ้างว้าง ชีวติ ดังเหมือนอัสดง
(ซ้า *)

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านเทคนิควิธกี ารขับร้องของเพลงอัสดง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อในการ


วิเคราะห์ 3 ประเด็นทีส่ าคัญ ประกอบด้วย
3.1 กำรบังคับควบคุมลมหำยใจ
ในการศึก ษาวิเคราะห์การบังคับควบคุมลมหายใจ ผู้วจิ ยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อยในการ
วิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของ
คาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี เี นื้อหาเดียวกัน
ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง ดังนี้
168

ตัวอย่ำง กำรแบ่งวลีในกำรหำยใจของ เพลงในโลกบันเทิ ง

ในกำรแบ่งวลี เพื่อกำรหำยใจ ใช้สญ


ั ลักษณ์ ลูกศร หลังตัวโน้ ตที่หยุดกำรหำยใจ

6.
6
6

การหายใจวลีท่ี 1 นับนานผ่านวันคืนอันอ้างว้าง
การหายใจวลีท่ี 2 ดังคนหลงทาง
การหายใจวลีท่ี 3 อยูก่ ลางสายชล
การหายใจวลีท่ี 4 คลื่นลมสาดซ้า
169

การหายใจวลีท่ี 5 ลาเค็ญเจียนทนว่ายวนสับสน
การหายใจวลีท่ี 6 ร้าวรานจนเหลือพรรณนา
การหายใจวลีท่ี 7 หวังใดไม่เคยเป็นดังวาดหวัง
การหายใจวลีท่ี 8 เพียงพอหรือยังทีล่ อยลับตา
การหายใจวลีท่ี 9 อาจมีสกั หน
การหายใจวลีท่ี 10 ทนทรมานดิน้ รนไขว่คว้า
การหายใจวลีท่ี 11 ฟ้ามิอาจสมปองสักวัน
การหายใจวลีท่ี 12 ชีวติ อื่นหมืน่ พันสุขสันต์และสมปอง
การหายใจวลีท่ี 13 ดังแสงทองส่องคลุมนภาฟ้าผ่าน
การหายใจวลีท่ี 14 กระจ่างเรืองรอง
การหายใจวลีท่ี 15 เหมือนดังตะวันฉาน
การหายใจวลีท่ี 16 ลอยผ่านจวบจนลับจาง
การหายใจวลีท่ี 17 ชะตาขีดเกณฑ์ให้เป็นเช่นนี้
การหายใจวลีท่ี 18 เลือนลางริบหรี่
การหายใจวลีท่ี 19 ขาดไฟชีท้ าง
การหายใจวลีท่ี 20 มืดมนมัวแสง
การหายใจวลีท่ี 21 เงาดาอาพรางบัน้ ปลายอ้างว้าง
การหายใจวลีท่ี 22 ชีวติ ดังเหมือนอัสดง

สรุปในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของ


คาร้องและทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี เี นื้อหาเดียวกัน
ใช้ลมในการขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 22 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียง
ให้ยาวขึน้ โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียง
สูงขึน้ และต่าลง ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
1) ...อ้างว้าง... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ว้าง”
โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว A และ Bb สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
170

2) ...หลงทาง... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ทาง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

3) ...สาดซ้า... ผู้ร้องใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ซ้า ”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว G
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

4) ...พรรณนา... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “นา”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว A และ Bb สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

5) ...ลับตา... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ตา” โดย


ใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว C และ D สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว C
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
171

6) ...ไขว่คว้า... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “คว้า”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D และ E สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว D
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

7) ...สมปอง... ผู้รอ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “ปอง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว F และ G A Bb สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว F
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

8) ...มัวแสง... ผู้ร้องใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “แสง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว G และ A สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ

9) ...ดังเหมือน... ผูร้ อ้ งใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อลากเสียงคาร้อง คาว่า “แสง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว D และ E สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว A
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
172

10) ...อัส ดง... ผู้ร้องใช้เทคนิคการบังคับลมเพื่อ ลากเสียงค าร้อ ง คาว่า “ดง”


โดยใช้เทคนิค Vibrato คือร้องโน้ต 2 เสียง โดยเริม่ ต้นด้วยโน้ตตัว Bb และ C สลับกันไป
หลังจากนัน้ ใช้เทคนิค การลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน จบลงด้วยโน้ตตัว Bb
โดยมีวธิ บี งั คับควบคุมลมหายใจในการลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ

สรุป ในบทเพลงอัส ดง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้เ ทคนิค วิธ ีก ารบัง คับ ลมเพื่อ
ลากเสียงให้ยาวขึ้นโดยการทาให้เสียงของค าร้องยาวขึ้นเพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึ่งมีทงั ้
การลากเสียงสูงขึน้ และต่าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 10 วลี คือ คาว่า...อ้างว้าง
...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...หลงทาง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...สาดซ้า...
ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...พรรณนา...การลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...ลับ
ตา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...ไขว่คว้า...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...
สมปอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...มัวแสง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...
ดังเหมือน...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...อัสดง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
ในบทเพลงอัส ดง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้เ ทคนิ ค วิธ ีก ารบัง คับ ลมส าหรับ
การเอื้อนเสียง ซึง่ ทาให้การออกเสียงคาหนึ่งคามีเสียงโน้ตมากกว่าหนึ่งตัวโน้ต โดยการปล่อยเสียง
ให้ถูกต้องตามโน้ต ตามจังหวะ ซึง่ จะทาให้การเอื้อนเสียงร้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความไพเราะ
น่ าฟงั ดังตัวอย่างทีจ่ ะวิเคราะห์ ต่อไปนี้
173

ชีวติ อื่นหมืน่ พัน...สุขสันต์และสมปอง(.............)

ผูร้ อ้ งได้ใช้เทคนิคการเอื้อนเสียงคาร้องหนึ่งคา โดยใช้โน้ต 4 ตัว คือ เริม่ ต้นด้วย


โน้ตตัว F และเอือ้ นเสียงให้สงู ขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตตัว F G
A Bb จบลงด้วยโน้ตตัว F
สรุป ในบทเพลงอัส ดงนัน้ เนื่ อ งจากเป็ น บทเพลงไทยสากล จึง มีก ารเอื้อ นใน
ระหว่างคาร้องผูว้ จิ ยั พบการเอื้อนทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า ชีวติ อื่นหมื่นพัน...สุขสันต์
และสมปอง(............)ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อนเสียง โดย
เอือ้ นเสียงให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง F G A Bb จบลง
ด้วยโน้ตตัว F ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.2 กำรออกอักขระ ( Pronunciation)
ในการศึก ษาวิเ คราะห์การออกอักขระของค าในบทเพลง ผู้ว ิจยั ได้แบ่งหัว ข้อย่อ ย
ในการวิเคราะห์ 3 หัวข้อ ดังนี้
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ น ภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลง
เพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
ดังนี้
1) คาว่า...หมื่นพัน...ฉาน...ลับจาง...

จากโน้ตเพลงทีย่ กตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้น


คาให้ได้ความหมายที่เด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า ...หมื่นพัน...โน้ตตัว B โดยใช้เทคนิคการลากเสียง คือ
การทาให้เสียงยาวขึน้ ตามอารมณ์เพลง เป็ นการแสดงถึงชีวติ นับหมื่อนับพันที่มคี วามสุขและสมหวัง
174

เพื่อเน้นคาให้ได้ความหมายตามคาร้อง คาว่า...ฉาน...โน้ตตัว B เป็ นการเน้นคาว่า ตะวันให้ชดั ขึน้


คาว่า ลับจางโน้ตตัว C เป็นการแสดงถึงดวงอาทิตย์ทก่ี าลังจะตกดิน เพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมาย
ของคาร้อง
ตัวอย่างที่ 2 คาว่า...อ้างว้าง...กลางสายชล...วาดหวัง...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...อ้างว้าง...โน้ตตัว C A โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียง
คือการกระโดดเสียงจากเสียงหนึ่งไปยังอีกเสียงหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่นเป็ นการกระโดดเสียงร้อง
มากกว่าคู่ 4 เปอร์เฟค เพื่อแสดงถึงความอ้างว้างเหมือนคนหลงทาง คาว่า...กลางสายชล...โน้ตตัว
B G C เพื่อเน้นว่าอยู่กลางสายชล คาว่า...วาดหวัง...โน้ตตัว C A เพื่อแสดงถึงความทีห่ วังสิง่ ใด
ไม่เคยได้ดงวาดหวั
ั่ งไว้ เพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง
ตัวอย่างที่ 3 คาว่า...เงาดาอาพรางบัน้ ปลายอ้างว้าง...

จากโน้ตเพลงที่ยกตัวอย่างมานี้ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้วธิ กี ารขับร้องเพื่อเน้นคา


ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คือคาว่า...เงาดาอาพราง...บัน้ ปลายอ้างว้าง....โน้ตตัว F E B G
โดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงลงพร้อมทัง้ คา
เพื่อแสดงถึงเงาดาอาพรางของบัน้ ปลายชีวติ ทีอ่ า้ งว้างซึง่ เปรียบเหมือนพระอาทิตย์ทต่ี กดิน เพื่อเน้น
คาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง
175

สรุปในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลง


เพื่อให้ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ
ซึ่งมีคาร้องที่ผู้วจิ ยั พบ จานวน 3 คา คือ คาว่า...หมื่นพัน...ใช้เทคนิคการเน้ นเสียงคาว่า...พัน...
เป็ นการเน้นเสียงตามอารมณ์เพลง คาว่า...ฉาน... ใช้เทคนิคการเน้นคาว่า ตะวันให้ชดั ขึน้ คาว่า
ลับจาง เป็ นการเน้นคาว่า...จาง..ให้ชดั เจนขึน้ คาว่า...อ้างว้าง...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงและ
เน้นคา คาว่า...กลางสายชล... ใช้เทคนิคการกระโดดเสียงและเน้นคาว่า...อยู่กลางสายชล... คาว่า...
วาดหวัง...ใช้เทคนิคการกระโดดเสียงเพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง คือคาว่า...เงาดา
อาพราง...บัน้ ปลายอ้างว้าง.... โดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคา
ให้เรียงเสียงลงพร้อมทัง้ คา เพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษร
ตามทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึ่งเสียงวรรณยุกต์
ในการขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง
1) คาว่า…หลงทาง...
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษร
ตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ลง โน้ตตัว A ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ล ซึง่
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว B
ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

2) คาว่า…สายชล...
ในบทเพลงอัส ดง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ ใ ช้ว ิธ ีก ารร้อ งด้ว ยเทคนิ ค วิธ ี
การผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย โน้ตตัว G ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั
อัก ษรสูงพยัญ ชนะ ส ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่ วมกันและจบลงด้วยการร้องด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว A ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง
176

3) คาว่า…หวังใด...
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้ว ยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า วัง โน้ตตัว F ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ว
ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ตตัว G
ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

4) คาว่า…ดังเหมือน...
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้ว ยเทคนิควิธกี าร
ผันอักษรตามทานอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เมือน โน้ตตัว D ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห
นา ม ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกโน้ต
ตัว E ซึง่ ทาให้การขับร้องได้ตรงกับความหมายของคาและทานองเพลง

สรุปการขับร้องโดยการผันอักษรตามทานองในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล


ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารร้อ งด้ว ยเทคนิ ค วิธ ีก ารผัน อัก ษรตามท านอง โดยการร้อ งเสีย งพยางค์ท่ีผ สมด้ว ย
พยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลี่ยนไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั
ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือ
คาว่า…หลงทาง...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ลง โน้ตตัว A ซึ่งเป็ นการ
ผันอักษรแบบ ห นา ล ซึ่งต้องใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่าหลง คาว่ า…สายชล...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย โน้ตตัว G
ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ส ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลง
ด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า สายชล คาว่า…หวังใด...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า
วัง โน้ตตัว F ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ว ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและ
จบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า หวังใด คาว่า…ดังเหมือน...โดยเริม่ ต้นการร้อง
ด้วยคาว่า เมือน โน้ตตัว D ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ม ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและ
วรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า ดังเหมือน
177

3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้อง
คาเป็ นคือคาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้อง
จะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ และ
มีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้ว ยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงอัสดง
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง ดังนี้
ตัวอย่าง คาร้องที่เป็ น คำเป็ น ในเพลงอัสดง มีอยู่ในบทร้องเป็ นจานวนมาก
บางค าผู้วจิ ยั นามาใช้ใ นการวิเคราะห์ใ นหัวข้อการลากเสียงยาว เพื่อให้ก ารยกตัวอย่างไม่ซ้ากัน
จึงได้ยกตัวอย่างบางคาทีส่ าคัญๆ ดังนี้
1) นาน
คาว่า...นาน...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย น
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

2) อ้างว้าง
คาว่า...ว้าง...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

3) สายชล
ค าว่า...สายชล...เป็ นค าเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ โอะ และสะกด
ด้วย ล ซึ่งเป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
178

4) หลงทาง
คาว่า...ทาง...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อ ให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

5) เรืองรอง
คาว่า...เรือง...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อือ และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

6) เลือนราง
คาว่า...เลือน...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อือ และสะกดด้วย น
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กน ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
179

7) ชีท้ าง
คาว่า...ทาง...เป็ นคาเป็ นที่ผสมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย ง
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

8) เงาดา
คาว่า...เงา...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ เอา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องที่ชดั เจนและถูกต้อง
ของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็น

9) อาพราง
คาว่า...พราง...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อา และสะกดด้วย
ง ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้
ได้ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียง

ตัวอย่าง คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย


1) นับนาน
คาว่า...นับ...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อะ และสะกดด้วย บ
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
180

2) ลับตา
คาว่า...ลับ...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อะ และสะกดด้วย บ
ซึง่ เป็นตัวสะกดในแม่ กบ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

3) สักวัน
คาว่า...สัก...เป็นคาเป็นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อะ และสะกดด้วย ก
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

4) สุขสันต์
คาว่า...สุข...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อุ และสะกดด้วย ข
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กก ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น
181

5) ขีดเกณฑ์
คาว่า...ขีด...เป็ นคาเป็ นทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว คือ สระ อิ และสะกดด้วย ด
ซึง่ เป็ นตัวสะกดในแม่ กด ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เพื่อให้ได้
ความหมายของคาร้องทีช่ ดั เจนและถูกต้องของลักษณะการเปล่งเสียงคาเป็ น

สรุปในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้วธิ ีการร้องค าเป็ นคาตาย คือ


การขับ ร้อ งค าเป็ น คือ ค าที่ผ สมด้ว ยสระเสีย งยาว และมีต ัว สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว
ในการขับร้อ งจะต้อ งลากค าร้อ งให้ยาวตามความหมายของค า ส่ว นคาตายจะเป็ นคาที่ผ สมด้ว ย
สระเสีย งสัน้ และมีต ัว สะกดในแม่ก ก กด กบ ในการขับร้อ งจะต้อ งขับร้อ งเสีย งสัน้ ด้ว ยวิธ ีหยุด
หางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจัง หวะของเพลง
ส่วนในเพลงอัสดง มีคาร้องทีเ่ ป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ น
และคาตายทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คำเป็ น
คาว่า...นาน... สระ อา และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า นาน
คาว่า...อ้างว้าง... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า อ้างว้าง
คาว่า...สายชล... สระ โอะ และสะกดด้วย ล ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า สายชล
คาว่า...หลงทาง... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า หลงทาง
คาว่า...เรืองรอง... สระ อือ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า เรืองรอง
คาว่า...เลือนราง... สระ อือ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้นเป็ นคาว่า
เลือนราง
คาว่า...ชีท้ าง ... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า ชีท้ าง
คาว่า...เงาดา... สระ เอา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เงาดา
182

คาว่า...อาพราง... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้


เป็นคาว่า อาพราง
คาร้องทีเ่ ป็น คำตำย
คาว่า...นับนาน... สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า นับนาน
คาว่า...ลับตา... สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึ้น
ลับตา
คาว่า...สักวัน... สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาว
เป็นคาว่า สักวัน
คาว่า...สุขสันต์... สระ อุ และสะกดด้วย ข ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า สุขสันต์
คาว่า...ขีดเกณฑ์... สระ อิ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้
เป็นคาว่า ขีดเกณฑ์
3.3 กำรสื่อควำมหมำย (Interpretation)
ในการศึก ษาวิเ คราะห์ ก ารสื่อ ความหมายในบทเพลง ผู้ว ิจ ัย ได้ แ บ่ ง หัว ข้อ ย่ อ ย
ในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงอัส ดง ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ได้ใ ช้สุ น ทรีย รสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆเช่น รสแห่งความรัก รสแห่ง
ความเมตตากรุณา รสแห่งความเมตตาเอื้ออาทร รสแห่งกาลังใจและรสคาหรือรสถ้อย ซึ่งผู้ขบั ร้อง
ใช้น้ าเสียงให้สอดคล้องกับสุนทรียรสเหล่านัน้ ส่วนในเพลงสุดเหงามีคาร้องที่สาคัญๆที่ผู้ขบั ร้อง
ได้ถ่ายทอดอารมณ์ทางสุนทรียรส ดังนี้
1) คาว่า...นับนานผ่านวัน...คืนวันอ้างว้าง...
...นับ นานผ่ า นวัน...คืนวัน อ้า งว้าง...จากการศึกษาวิเ คราะห์บทเพลงอัส ดง
พบว่า วลีน้ีมคี วามหมายที่กล่าวถึงกาลเวลากับความอ้างว้างของจิตใจคน วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือรสแห่งความเศร้าโศก หรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี
โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงขึน้ เป็ นการกล่าวถึงการเวลากับความอ้างว้างในจิตใจคน เพื่อสื่อถึง
ความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
183

2) คาว่า ว่ายวนสับสน...ร้าวรานจนเหลือ...พรรณนา...
ว่ายวนสับสน...ร้าวรานจนเหลือ...พรรณา...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลง
อัสดง พบว่า วลีน้มี คี วามหมายทีก่ ล่าวถึงการสับสนในจิตใจของคน ทาให้เกิดความเกิดความลาเค็ญ
วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้ถ่ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก หรือ
สัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี โดยการเน้นเสียงและผ่อนเสียง เป็ นกล่าวถึงการสับสนในจิตใจ
ของคน ทาให้เกิดความเกิดความลาเค็ญ เพื่อสื่อถึงความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3) คาว่า...ดังแสงทองส่องคลุม...นภาฟ้าผ่าน...
ดังแสงทองส่องคลุม...นภาฟ้าผ่าน...จากการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงอัสดง
พบว่ า วลีน้ี มคี วามหมายที่ก ล่ าวถึง แสงอาทิตย์ท่สี ่ อ งคลุ มท้องฟ้ าวลีน้ี ทิพ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลได้
ถ่ า ยทอดอารมณ์ โ ดยใช้สุ นทรีย รส คือ รสค าหรือ รสถ้อ ย โดยการเน้ นเสียงและการท าเสียงดัง
เป็ นการกล่ าวถึง แสงทองที่ส่ อ งครอบคลุ มท้อ งฟ้ า เพื่อ สื่อ ถึงความหมายของค าร้อ ง ทาให้ผู้ฟ งั
เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

4) คาว่า...ชีวติ ...อื่นหมืน่ พัน...สุขสันต์และสมปอง


ชีวติ ...อื่นหมืน่ พัน...สุขสันต์และสมปอง จากการศึกษาบทเพลงอัสดง พบว่า วลี
นี้มคี วามหมายทีก่ ล่าวถึงชีวติ นับหมื่นนับพันทีม่ แี ต่ความสุขและสมหวัง วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้
ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความสุข โดยการเน้นเสียงแล้วลากเสียง เป็ นการกล่าวถึง
ชีวติ นับหมื่นนับพันที่มที งั ้ ความสุขสมหวังเพื่อสื่อถึงความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
184

5) คาว่า ...ชีวติ ดังเหมือน...อัสดง...


ชีว ิต ดังเหมือ น...อัส ดง จากการศึก ษาวิเ คราะห์บ ทเพลงอัส ดง พบว่า วลีน้ี
มีความหมายที่กล่าวถึง ชีวติ ของคนเราที่เปรียบเหมือนพระอาทิตย์ท่กี าลังจะตกดิน วลีน้ีทพิ ย์วลั ย์
ปิ่นภิบาล ได้ถ่ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงและผ่อนเสียง
เป็ นการใช้เ สียงในการขับร้อ งให้เรียงเสียงลงและกล่าวถึงชีวติ ของคนเราที่เหมือนกับพระอาทิต ย์
ซึง่ กาลังจะตกดิน เพื่อสื่อถึงความหมายของคาร้อง ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ คือ การทา
หน่ วยเสียง 2เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆ ทีเ่ รียกกันว่า Trill เขียนเป็ นโน้ตสากล ตอนบนของบรรทัด
5 เส้น มีสญ ั ลักษณะใช้ว่า tr...เป็ นการบอกว่าระหว่างปฏิบตั หิ รือขับร้องต้องเล่นโน้ต 2 ตัวสลับกัน
อย่างเร็ว เสียง2 เสียงหรือโน้ต2 ตัวนี้ ตัวที่ทาหน้าทีใ่ ห้เสียงหลักคือ โน้ตตัวล่าง การตกแต่งเสียง
เป็ นหน้าที่ของโน้ตตัวบน หน่ วยเสียงที่เรียบเรียงอย่างสมบูรณ์น้ีแสดงถึงความบันเทิง ความร่าเริง
ความคึกคัก รวมถึงอารมณ์โศกเศร้า วังเวง เรียกว่า ภวารมณียะของบทเพลง ในบทเพลงสุดเหงา
มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ ดังนี้
1) คาว่า...อ้างว้าง...
คาว่า...ว้าง...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลัั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว A
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
185

2) คาว่า...สาดซ้า
คาว่า...ซ้า...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณีย ”

3) คาว่า...วาดหวัง…
คาว่า...หวัง...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว A
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

4) คาว่า...สักหน…
คาว่า...หน...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
186

5) คาว่า...เรืองรอง…
คาว่า...รอง...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

6) คาว่า...มัวแสง…
คาว่า...แสง...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”

7) คาว่า...ดังเหมือน…
คาว่า...เหมือน...ในบทเพลงอัสดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ
คือการใช้เสียงหน่วยเสียง 2 เสียง ให้สนสลั
ั ่ บกันเร็วๆซึง่ มีเสียงโน้ตตัวล่างเป็ นเสียงหลัก คือโน้ตตัว D
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้
ผูฟ้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้องเรียกอารมณ์แบบนี้ว่า “ ภวารมณียะ ”
187

สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อความหมาย


ในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
ในบทเพลงอัสดง ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้สุนทรียรสในการแสดงออกถึง
ความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการใช้
สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือ คาว่า ...นับนานผ่านวัน...คืนวัน
อ้างว้าง ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือรสแห่งความเศร้าโศก หรือสัลลาปงั คพิไสยในรส
ของวรรณคดี โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงขึน้
คาว่า...ว่ายวนสับสน...ร้าวรานจนเหลือ...พรรณา...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้
สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก หรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี โดยการเน้ นเสียงและ
ผ่อนเสียง คาว่า...ดังแสงทองส่องคลุม...นภาฟ้าผ่าน...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคา
หรือ รสถ้อย โดยการเน้ นเสียงและการทาเสียงให้ดงั ขึ้น คาว่า...ชีวติ ...อื่นหมื่นพัน...สุขสันต์และ
สมปอง ได้ถ่ า ยทอดอารมณ์ โดยใช้สุ นทรียรส คือ รสแห่งความสุ ข โดยการเน้ นเสียงแล้วลากเสียง
คาว่า...ชีว ิตดังเหมือน...อัส ดง...ได้ถ่ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุ นทรียรส คือ รสค าหรือ รสถ้อ ย โดย
การเน้นเสียงและผ่อนเสียง เป็นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ
ในบทเพลงอัส ดง ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล มีล กั ษณะการขับร้องที่ก่ อให้เ กิด
ภวารมณีย ะ คือ ค าว่า ...อ้า งว้าง...โน้ ต ตัว A และมีเ สียงโน้ ต ตัว บนใช้ต กแต่ งเสียงให้เ กิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...สาดซ้าโน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...วาดหวัง…โน้ตตัว A
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...สักหน…โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบน
ใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...เรืองรอง…โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...มัวแสง…โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ดังเหมือน…โน้ตตัว D
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การศึกษาชีวประวัติ ผลงานและวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการ


วิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล นักประพันธ์เพลง ผูเ้ รียบเรียงเสียงประสาน
ศิลปิ นเพลงไทยสากลและเก็บรวบรวมข้อมูลบทเพลงที่ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน
จานวน 6 บทเพลง ซึง่ ได้รบั การแนะนาจากคุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยมีจุดมุ่งหมายในการศึกษา
ค้นคว้าและวิธดี าเนินการวิจยั ดังนี้

ความมุ่งหมายของการวิ จยั
1. เพื่อศึกษาชีวประวัตแิ ละผลงานของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
2. เพื่อศึกษาเทคนิควิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

วิ ธีการดาเนิ นการวิ จยั


ในการทาวิจยั ครัง้ นี้ มีขนั ้ ตอนในการดาเนินการดังต่อไปนี้
1. ขัน้ รวบรวมข้อมูล
2. ขัน้ ศึกษาข้อมูล
3. ขัน้ วิเคราะห์ขอ้ มูล
4. ขัน้ สรุปข้อมูลและรายงานผล

สรุปผลการศึกษาและวิ เคราะห์
จากการศึก ษาวิเ คราะห์เ รื่อ ง ศึกษาวิธ ีการขับร้อ งของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ซึ่ง
ประกอบด้วยบทเพลงไทยสากล ทีไ่ ด้รบั รางวัลพระราชทาน จานวน 6 เพลง คือ เพลงสุดเหงา ดอกไม้
ช่อนี้ ในโลกบันเทิง น้าเซาะทราย ไฟ และ อัสดง สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ ได้ดงั นี้
1. ชีวประวัติและผลงาน
1.1 ชีวประวัติ
ทิพ ย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลเป็ นนักร้อ งเพลงไทยสากลที่มคี วามสามารถ ขับร้อ งเพลง
ไทยสากลและบันทึกเสียงเผยแพร่สู่สาธารณชนไว้เป็ นจานวนมาก ในงานวิจยั ครัง้ นี้ผู้วจิ ยั ขอนาเสนอ
ชีว ประวัติแ ละผลงานของท่ า น โดยใช้ ห ัว ข้อ ในการน าเสนอคือ ชีว ิต ก่ อ นเข้า สู่ อ าชีพ นั ก ร้อ ง
ชีว ิต อาชีพ นัก ร้อ ง ผลงานการขับ ร้อ งและชีว ิต ในป จั จุบ ัน ดัง ต่ อ ไปนี้ ทิพ ย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบ าล
เกิดในอาเภอเมือง จังหวัดจันทบุร ี วันพุธที่ 14 ตุลาคม 2497 ปจั จุบนั อายุ 57 ปี บิดาชื่อ
ทองอยู่ ปิ่ น ภิบ าล อายุ 85 ปี อดีต ผู้อ านวยการสถานี ท ดลองพืช สวนพลิ้ว จัง หวัด จัน ทบุ ร ี
189

ปจั จุบนั เกษียณอายุราชการและได้เสียชีวติ แล้ว มารดาชื่อนางวรรณะ ปิ่ นภิบาล บ้านเดิมอยู่


ตรงข้ามทางเข้าน้ าตกพลิ้ว อาเภอขลุง จังหวัดจันทบุร ี ปจั จุบนั อยู่บ้านเลขที่ 16 ซอยอุดมเกียรติ ์
ถนนสุทธิสาร แขวงห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ทิพย์วลั ย์ เป็ นลูกสาวคนโต ในจานวนพี่น้อง
ทัง้ หมด 7 คน คือ
1. ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล (โพธิ ์ทองนาค)
2. พวงพร ปิ่นภิบาล (เลิศกิจจา)
3. ศิรเิ พ็ญ ปิ่นภิบาล
4. รัดเกล้า ปิ่นภิบาล
5. กรกนก ปิ่นภิบาล
6. พิจาริณี ปิ่นภิบาล
7. จักรทอง ปิ่นภิบาล
ปจั จุบนั ยังมีชวี ติ อยูค่ รบทุกคน
1.1.1 ครอบครัว
ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล สมรสกับ พลโท ศุ ภ ชัย โพธิท์ องนาค ป จั จุ บ ัน
เกษียณอายุราชการแล้ว มีบุตรธิดา 2 คน คือ นายณัฏฐธชัย โพธิ ์ทองนาค อายุ 31 ปี ปจั จุบนั
ท างานที่บ ริษัท ทรู (True) นางสาวกุ ล กรณ์ พ ัช ร โพธิท์ องนาค อายุ 21 ปี ป จั จุ บ ัน ศึก ษาอยู่
คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาดุรยิ างค์ตะวันตก วิชาเอกขับร้อง (Voice) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.1.2 การศึกษา
ประถมศึก ษา โรงเรียนสฤษดิเ ดช จังหวัดจันทบุร ี มัธ ยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนสตรีศรียานุ สรณ์ จังหวัดจันทบุร ี มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเบญจมราชูทศิ จังหวัด
จันทบุร ี จบมัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 5โรงเรียนอัมพรไพศาล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ระดับ อุดมศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ เอกสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยรามค าแหง รุ่นที่ 2 และประกาศนียบัตรชัน้ สูง
หลักสูตรเสริมสร้างสังคมสันติสุข (สสสส.1) สถาบันพระปกเกล้า
ทิพย์วลั ย์ ชอบร้องเพลงมาตัง้ แต่สมัยเป็นเด็ก เมือ่ เข้าโรงเรียน ในวิชาขับร้อง
เธอทาได้ดีเป็ นพิเ ศษ จึงได้รบั หน้ าที่เ ป็ นตัวแทนโรงเรียน ประกวดร้องเพลง ตั ้งแต่ชนั ้ ประถม
เรื่อยมาจนถึงระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็ นงานในโรงเรียนหรือระดับจังหวัด งานศิลปะหัตกรรม
นักเรียน เป็นต้น เพลงทีใ่ ช้ประกวดส่วนใหญ่ เป็นเพลงไทยสากลและเพลงพระราชนิพนธ์
นอกจากนัน้ เธอยังสนใจภาษาอังกฤษและชอบร้องเพลงสากล เช่น เพลงทีไ่ ด้รบั
ความนิยม เก่า ๆ เพลงจากภาพยนตร์ ฉะนัน้ จึงมีความชานาญทัง้ เพลงไทยและสากล
สมัยเป็ นนักเรียน ตอนเช้าตื่นขึน้ มาทางานบ้าน ก็รอ้ งเพลงไปด้วยโดยเปิ ด
แผ่นเสียงเพลงเก่าๆ แล้วร้องตาม บางเพลงมีแต่ทานองเพราะเป็ นเพลงบรรเลงก็อุตส่าห์ไปหา
เนื้อเพลงมาร้องตามทานองเพลงนัน้ ๆและขอความรู้ ความถูกต้องจากนักดนตรีภายหลังจนเกิด
ความชานาญ ครูท่เี ห็น ทิพ ย์ว ลั ย์ ตัง้ แต่ ประถมคือครูบรรจง โรงเรียนสฤษดิเ ดชได้ส่ งทิพย์ว ลั ย์
ไปประกวดร้องเพลงในรายการวิทยุ (07 วิทยุทหารอากาศ ) และต่อมาชัน้ มัธยมครูบวั ศรี โกศล
190

ท่านสอนร้องเพลงไทย ทิพย์วลั ย์กไ็ ม่ทาให้ครูผดิ หวัง นารางวัลมาให้โรงเรียนเสมอ รวมทัง้ ครูกัณหา


วรรณทอง โรงเรียนศรียานุ สรณ์และครูมาลัย โรงเรียนเบญจมราชูทศิ ได้ขอให้ทพิ ย์วลั ย์รอ้ งเพลง
ให้กบั วงดนตรีสากลของโรงเรียนด้วย
เมื่อทิพย์วลั ย์เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้รบั เลือกให้เป็ นนักร้อง
ประจาวงดนตรีสากล ชื่อวง R.U. BAND ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง เธอเล่าให้ฟงั ว่า “ เมื่อวันไป
สมัค รคัด ตัว นัก ร้อ ง เขาได้ปิด รับสมัค รไปแล้ว แต่ คุ ณเจนกิจ คุ ณฑีว งศ์ ประธานแผนกดนตรี
ขณะนัน้ ยังเล่นเปียโนอยู่ บอกให้รอ้ งเพลงให้ฟงั เธอจึงเลือกเพลง Till และ Too Young พอเริม่ ร้อง
นักศึกษาทีฟ่ งั อยู่ใกล้ๆ แผนกดนตรีและร้านอาหารบริเวณนัน้ ก็วงิ่ มาดู” คุณเจนกิจจึงรับเป็ นนักร้อง
ประจาวง R.U. BAND ทันที
พ.ศ. 2519 ไทยทีวสี ชี ่อง 3 จัดประกวดนักร้องสมัครเล่น คุณพ่อของสามีและ
สามี เป็ นผูน้ าข่าวการประกวดนักร้องสมัครเล่นและสนับสนุ นให้เข้าประกวดจนได้รบั รางวัลชนะเลิศ
ทาให้ประสบผลสาเร็จเป็นทีร่ จู้ กั และมีช่อื เสียงตัง้ แต่นนั ้ เป็นต้นมา
ปจั จุบนั เป็ นกรรมการผู้จดั การ บริษทั แฟร์โอเปอร์เรชัน่ จากัด ผลิตรายการ
วิทยุ โทรทัศน์ โดยมีรายการทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั และเคยได้รบั รางวัลโทรทัศน์ทองคา ดังนี้
ผลิ ตรายการโทรทัศน์
1. รายการ ร้อ ยอาชีพ ได้ ร ับ รางวัล โทรทัศ น์ ท องค าเช่ น เดีย วกัน โดย
สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
2. ผลิตรายการ The Royal music เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ทรงครองราชย์ ครบ 60 ปี ในปีพุทธศักราช 2539 ได้รบั รางวัลโทรทัศน์ทองคา และ
รางวัลจากสื่อมวลชนแคทอลิค สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
3. ผลิตรายการ อร่อย 100 เส้นทาง สถานีโทรทัศน์ช่อง 5
รายการวิ ทยุ
1. รายการเพลงผลิใบ ออกอากาศวันเสาร์ เวลา 16.00 – 17.00 น. 92.5 F.M
2. รายการเมล็ดพันธ์เพลง ออกอากาศวันอาทิตย์ เวลา 13.00 น. – 15.00 น.
93.5 F.M.
3. รายการวิทยุทงั ้ 2 รายการเป็ นรายการเพลงไทยสากลและเรื่องราวที่เป็ น
ประโยชน์ ต่ อ ผู้ฟ งั ทัง้ เศรษฐกิจ สัง คม สุ ข ภาวะทางอารมณ์ ตัว อย่ างของการใช้ชีว ิต ความมี
วัฒนธรรมและการพูด คุ ย รวมทัง้ สอนให้ผู้ฟ งั รัก และมีค วามรู้เ กี่ยวกับเพลงไทยสากล (ลูก กรุง )
และวิวฒ ั นาการต่างๆในวงการเพลงไทยสากลด้วย
1.1.3 งานอาสาสมัครและงานองค์กรการกุศล
1) เป็นกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
2) เป็นกรรมการสมาคมนักร้องแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ
191

3) เป็นกรรมการสภาสตรีแห่งชาติ
4) ให้ความรูเ้ รือ่ งการร้องเพลงไทยสากล การใช้เสียงแก่ประชาชนและองค์กร
ต่างๆ รวมทัง้ อาสาสมัคร การสอนในฑัณฑสถานร่วมกับกรมราชฑัณฑ์ดว้ ย
นอกจากนี้ทิพย์ว ลั ย์ยงั ได้รบั เชิญเป็ นกรรมการตัดสินการประกวดร้องเพลง
ให้กบั องค์กรต่าง ๆ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อยูเ่ ป็นนิจ
1.2 ผลงาน
เริม่ มีช่อื เสียงเมื่อ ได้รบั ต าแหน่ ง นักร้อ งสมัค รเล่ นแห่งประเทศไทย (Amateur
singing contest 1976) เมือ่ พ.ศ. 2519 ร่วมกับคุณเกวลิน บุญศิรธิ รรม เมื่อกลับจากการประกวด
ได้เซ็นสัญญากับทางช่อง 3 เป็ นเวลา 4 ปี โดยร้องเพลงให้กบั รายการชื่อ All star Variety Show
ทุกสัปดาห์ โดยมีนกั ร้องอาชีพ นักร้องสมัครเล่นมาร่วมรายการด้วย นักร้องสมัครเล่นของทางช่อง 3
จะได้รบั การฝึ กฝน ให้มคี วามสามารถขับร้องเพลงได้หลายแนว เมื่อได้ออกสื่อบ่อยครัง้ ทาให้ม ี
บริษทั แผ่นเสียงหลายแห่งมาติดต่อ ทิพย์วลั ย์ได้รบั การติดต่อจากบริษทั อโซน่ า โปรโมชัน่ จากัด
ให้มาเซ็นสัญญาร้องเพลง หลังจากหมดสัญญากับไทยทีวสี ี ช่อง 3 แล้ว
ในระหว่างนัน้ ทิพย์วลั ย์ได้ทางานอยู่ฝ่ายจัดรายการของไทยทีวสี ชี ่อง 3 ด้วยและ
มีงานพิเศษ คือ งานเพลงโฆษณา เช่น โอวัลติน บริษัทประกันภัย เพลงประกอบภาพยนตร์
ละครหลายเรื่อ ง เช่ น แสนรัก ภูชิต นริศ รา สายเลือ ดเดียวกัน พิศ วาส ร่มฉัต ร เป็ นต้น
หลังจากหมดสัญญากับไทยทีวสี ชี ่อง 3 ทิพย์วลั ย์หนั มาเป็นนักร้องอาชีพเต็มตัว โดยเซ็นสัญญากับ
บริษทั อโซน่าจากัดและออกอัลบัม้ เป็นของต้นเองเรือ่ ยมา
อัลบัม้ ชุดแรกคือชุด ฉันรักรถเมล์ ทาให้ผู้คนรูจ้ กั ทิพย์วลั ย์มากขึน้ แต่เธอรูว้ ่า
แนวเพลงสไตล์แบบนี้ไม่เป็ นตัวเธอ จึงเปลีย่ นแนวเพลงใหม่และได้ออกอัลบัม้ ชุดใหม่ คือ ชุดสุดเหงา
ซึง่ แต่งโดย วราห์ วรเวช (นายแพทย์ วราวุฒ ิ สุมาวงศ์) เพลงนี้ ได้ รบั รางวัลแผ่นเสี ยงทองคา
พระราชทาน ในปี 2525 หลัง จากได้ร บั รางวัล แผ่ น เสีย งทองค า กรมประชาสัม พัน ธ์ไ ด้เ ชิญ
ทิพย์วลั ย์เป็ นตัวแทนนักร้องไทยไปร่วมงาน มหกรรมอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
โดยมีคุณ อ้อ ยทิพย์ ปญั ญาธร เป็ นตัวแทนนัก ร้อ งประเภทเพลงพื้นบ้าน (ลูก ทุ่ง ) ขับร้อ งเพลง
สาวทรานซิสเตอร์
ในปี 2527 ทิพย์วลั ย์ ได้รบั เชิญอีกครัง้ จากกรมประชาสัมพันธ์ ให้เป็ นตัวแทน
นักร้องไทยร่วมงานมหกรรมอาเซียน ครัง้ ที่ 3 ทีป่ ระเทศสิงคโปร์ ในครัง้ นี้เธอได้นาบทเพลง ไฟ ทีไ่ ด้รบั
รางวัลกรังด์ปรีซ์ (Grand Prix) จากการประกวดเพลงไทยป๊อป ของสยามกลการมิวสิคฟาวเดชัน่
ไปขับร้องโชว์ และครัง้ นี้คุณเทียรี่ เมฆวัฒนาและกลุ่มวงดนตรีคาราบาว เป็ นตัวแทนประเภทเพลง
พืน้ บ้านขับร้องเพลงเพื่อชีวติ
ในช่ ว งเวลาที่ ก าลั ง มี ช่ื อ เสี ย ง ทิ พ ย์ ว ั ล ย์ ได้ ร ั บ การติ ด ต่ อ และรั บ เชิ ญ
หลายครัง้ ให้ข บั ร้อ งเพลงในงานกาชาดคอนเสริต์แ ละบัน ทึก เสีย งในบทเพลง พระราชนิ พ นธ์
ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โดย พลเรือตรีปรีชา ศิษยนันท์ เป็ นผูแ้ ต่งทานองเพลงคล้องกับ
บทพระราชนิพนธ์ คือ บทเพลง เดิ นตามรอยเท้าพ่อ ณ โรงละครแห่งชาติ
192

ในปี เดียวกันนัน้ ได้รบั เชิญให้ขบั ร้องเพลงเพื่อประกวดเพลงไทยสากล ธนาคาร


กสิก รไทย จัด ขึ้น เนื่ อ งในวาระครบรอบ 36 ปี ทิพ ย์ว ัล ย์ไ ด้ข ับ ร้อ งบทเพลง ในโลกบัน เทิ ง
ที่แต่งทานอง โดย อาจารย์ยงยศ แสงไพบูลย์ คาร้องโดย อาจารย์วมิ ล จงวิไล เรียบเรียงโดย
อาจารย์ปราจีน ทรงเผ่า เพลงนี้ได้รบั รางวัล พิณทอง (ชนะเลิศ) ประเภทเพลงไทยสากล
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล มีงานเพลงที่ได้รบั การบันทึกเสียงให้กบั สถาบันการศึกษา
อาทิ โรงเรียนบดินทรเดชา โรงเรียนสตรีภูเ ก็ต ฯลฯ เหล่ า ทัพ ต่ า ง ๆ เช่ น กองทัพอากาศ
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ฯลฯ มูลนิธติ ่าง ๆ เป็นต้น
1.2.1 ผลงานเพลงทีไ่ ด้รบั รางวัล
1) สุดเหงา เป็ นเพลงแรกทีส่ ร้างชื่อเสียงและเกียรติยศให้แก่ทพิ ย์วลั ย์ จาก
รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน ที่จดั โดย สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย เมื่อปี พุทธศักราช
2524 โดยเพลงสุดเหงา ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา ประเภทขับร้องยอดเยีย่ มหญิงและรางวัล
เพลงยอดเยีย่ ม (ทานองเรียบเรียงเสียงประสาน) อีกด้วย แต่งคาร้องและทานองโดย วราห์ วรเวช
หรือ นายแพทย์ว ราวุฒ ิ สุ มาวงศ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย ครูพิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิต ต์
หลังจากเพลงนี้ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองค า กรมประชาสัมพันธ์ ได้เ ชิญทิพย์วลั ย์เป็ นตัว แทน
นักร้องไทย ไปร่วมงานมหกรรมเพลงอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อ ปี
พุทธศักราช 2525
2) ดอกไม้ช่อนี้ ปี พุทธศักราช 2525 ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา ประเภท
เพลงยอดนิยมและยังได้รบั รางวัล ตุ๊ กตาทองทีว ีมหาชน ในปี เ ดียวกันด้วย เนื้อ ร้อ งและทานอง
แต่งโดยคุณโอฬาร เพียรธรรม ซึง่ ในขณะนัน้ คุณโอฬารเป็ นวิศวกร องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
3) ไฟ ปี พุทธศักราช 2526 สยามกลการมิวสิคฟาวเดชัน่ โดย ดร.ถาวร
พรประภา ได้จดั ประกวดเพลงไทยสากล ชื่อรายการ ไทยป๊อปปูล่าซองเฟสติวลั THAI POPULAR
SONG PESTIVAL 2526 เพลงไฟ ซึ่งแต่งโดยคุณชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร ทัง้ คาร้องและ
ทานองเรียบเรียงโดยคุณทรงวุฒ ิ จรู ญเรืองฤทธิ ์ ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้รบั รางวัล
ยอดเยีย่ มรางวัลกรังค์ปรีซ์และทิพย์วลั ย์ได้รบั เชิญจากกรมประชาสัมพันธ์ ให้เดินทางไปร่วมงาน
มหกรรมอาเซียนอีกครัง้ (ครัง้ ที่ 3) ณ ประเทศสิงคโปร์ ในปีพุทธศักราช 2527
4) ในโลกบันเทิง ปีพุทธศักราช 2527 ธนาคารกสิกรไทย ครบรอบ 36 ปี
ได้จ ดั ประกวดเพลงไทยสากลขึ้น มีผู้ส่ ง ผลงานเข้า ประกวดมากมายและเพลงในโลกบัน เทิง
ทีแ่ ต่งทานองโดยอาจารย์ยงยศ แสงไพบูลย์ คาร้องโดยอาจารย์วมิ ล จงวิไล ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์
ปิ่นภิบาล ได้รบั รางวัลชนะเลิศรางวัลพิณทอง
5) น้ าเซาะทราย ปี พุทธศักราช 2548 ได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทอง
พระราชทาน ประเภทขับร้อ งหญิงยอดเยี่ยมและเพลงอมตะ เพลงนี้แต่ งทานองโดยคุ ณจารัส
เศวตาภรณ์ คาร้องโดยครูชาลี อินทรวิจติ ร ศิลปิ นแห่งชาติ ทิพย์วลั ย์ได้ขอลิขสิทธิ ์มาบันทึกเสียง
ใหม่ โดยร่วมกับมูลนิธบิ างกอกซิมโฟนี (B.S.O.) จัดทาอัลบัม้ ชื่อ ทะเลจันทร์ โดยนาเพลงทีต่ วั เอง
193

ได้รบั รางวัล เพลงทีไ่ ด้รบั ความนิยมและเพลงทีช่ อบมาเรียบเรียงดนตรีใหม่ โดยใช้ดนตรีประเภท


อคูสติค (ACUSTIC) ซึง่ ไม่ใช้เสียงจากเครือ่ งไฟฟ้าและขับร้องใหม่ ในอัล้ บัม้ เดียวกันนี้
6) อัส ดง ปี พุทธศักราช 2548 ได้รบั รางวัล พระพิฆเนศทอง ประเภท
เพลงไทยสากลหญิงยอดเยีย่ มหญิง แต่งโดยคุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
จากการสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล (สัมภาษณ์ . 2553) กล่าวว่าได้
บันทึกเสียงการขับร้องบทเพลงไทยสากลไว้จานวนมาก และได้บนั ทึกเสียงไว้กบั หลายบริษทั บาง
บริษทั ได้ปิดกิจการลง จึงขอนาเสนอผลงานทีส่ ามารถสืบค้นได้ ดังนี้
 ฉันรักรถเมล์
 สุดเหงา
 อยูค่ นเดียวทุกที
 มาซิขยับมาซิ
 ธารสวาท
 ดอกไม้ช่อนี้
 สายเลือดเดียวกัน
 คิดถึง
 จงรัก
 รักคุณเข้าแล้ว
 เสีย่ งรัก
 พรหมลิขติ
 ข้องจิต (ร้องคู่กบั คุณวินยั พันธุรกั ษ์) ทีร่ ะลึกครบรอบ 60 ปี สุนทราภรณ์
 อัลบัม้ สองเสียงสวรรค์ (เพลงแนวใหม่ทร่ี ว่ มกับ BUtterfly)
 ดอกจัน 1
 ดอกจัน 2
 ดอกจัน 3
 Once Upon Time
 วันวาน
 ทะเลจันทร์ (B.S.O)

สรุป ได้ว่ า ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล เป็ น ศิล ปิ น นั ก ร้อ งที่ม ีคุ ณ ภาพคนหนึ่ ง ของ
สังคมไทย มีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อวงการเพลง ด้วยผลงานและแนวทางการขับร้อง เพลงลูกกรุงที่
ยังคงอยู่ในสังคมไทย ซึง่ มีเอกลักษณ์ ทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ทางอารมณ์และภาษาแห่งศิลปะการขับ
194

ร้อง เพลงลูกกรุง ด้วยเป็ นเพชรน้ าหนึ่งทีส่ ร้างชื่อเสียงให้กบั วงการเพลงของประเทศ จากรางวัล


แผ่นเสียงทองคาพระราชทาน รางวัลพระพิฆเนศทองและรางวัลตุ๊กตาทองทีวมี หาชน รวมถึงผลงาน
อื่น ๆ จึงเป็นเครือ่ งชีว้ ดั ได้ถงึ คุณภาพผลงานการขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล
2. ข้อมูลด้านบทเพลง
ในการศึกษาข้อมูลด้านบทเพลงของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ครัง้ นี้ได้ข้อมูลมาจากการ
สัมภาษณ์ทพิ ย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โดยตรงและรวบรวมบทสัมภาษณ์ของนักประพันธ์เพลงในแนวเพลง
ไทยสากล มีเพลงทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ เพลงสุดเหงา ดอกไม้ช่อนี้ ไฟ ในโลกบันเทิง น้ าเซาะทราย
และอัสดง โดยมีหวั ข้อในการวิเคราะห์ ดังนี้
2.1 ความเป็นมาของบทเพลง (Historical Background)
2.1.1 เพลงสุดเหงา เป็ นเพลงทีป่ ระพันธ์คาร้องและทานองโดยวรา วรเวช หรือ
นายแพทย์วราวุ ฒ ิ สุมาวงศ์ โดยมีครูพมิ พ์ ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์ เป็ นผู้เรียบเรียงเสียงประสาน
เป็ น เพลงแรกที่ส ร้า งชื่อ เสีย งและเกีย รติย ศให้แ ก่ ทิพ ย์ว ัล ย์ ปิ่ น ภิบ าล ที่จ ัด โดยสมาคมดนตรี
แห่งประเทศไทย เมื่อปีพุทธศักราช 2524 โดยเพลงสุดเหงาได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา ประเภท
ขับร้องยอดเยีย่ มหญิงและรางวัลเพลงยอดเยีย่ ม(ทานองเรียบเรียงเสียงประสาน) หลังจากเพลงนี้
ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคา กรมประชาสัมพันธ์ได้เชิญทิพย์วลั ย์ เป็ นตัวแทนนักร้องไทยไปร่วมงาน
มหกรรมเพลงอาเซียน ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมือ่ ปีพุทธศักราช 2525
2.1.2 เพลงดอกไม้ช่อนี้ ความเป็ นมาของเพลงดอกไม้ช่อนี้ เป็ นเพลงทีป่ ระพันธ์
คาร้องและทานองโดย คุณโอฬาร เพียรธรรม ในปี พุทธศักราช 2525 ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองค า
ประเภทเพลงยอดนิยมและยังได้รบั รางวัลตุ๊กตาทองทีวมี หาชน ในปีเดียวกันด้วย
2.1.3 เพลงไฟ ความเป็นมาของเพลงไฟ ว่าในปีพุทธศักราช 2526 สยามกลการ
มิวสิคฟาวเดชัน่ โดย ดร.ถาวร พรประภา ได้จดั ประกวดเพลงไทยสากล ชื่อรายการ ไทยป๊อปปูล่า
ซองเฟสติวลั THAI POPULAR SONG PESTIVAL 2526 เพลงไฟ ซึง่ แต่งโดยคุณชัยรัตน์
วงศ์เกียรติขจร ทัง้ คาร้องและทานองเรียบเรียงโดยคุณทรงวุฒ ิ จรูญเรืองฤทธิ ์ ขับร้องโดยทิพย์วลั ย์
ปิ่นภิบาล ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ มรางวัลกรังค์ปรีซแ์ ละทิพย์วลั ย์ได้รบั เชิญจากกรมประชาสัมพันธ์ ให้
เดินทางไปร่วมงานมหกรรมอาเซียนอีกครัง้ (ครัง้ ที่ 3) ณ ประเทศสิงคโปร์ ในปีพุทธศักราช 2527
2.1.4 เพลงในโลกบันเทิง ความเป็ นมาในปีพุทธศักราช 2527 ธนาคารกสิกรไทย
ครบรอบ 36 ปี ได้จดั ประกวดเพลงไทยสากลขึ้น มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดมากมายและเพลง
ในโลกบันเทิงทีแ่ ต่งทานองโดยอาจารย์ยงยศ แสงไพบูลย์ คาร้องโดยอาจารย์วมิ ล จงวิไล ขับร้ อง
โดยทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้รบั รางวัลชนะเลิศรางวัลพิณทอง
2.1.5 เพลงน้ า เซาะทราย ความเป็ น มาของเพลงน้ า เซาะทรายว่ า ในปี
พุทธศักราช 2548 ได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทองพระราชทาน ประเภทขับร้องหญิงยอดเยี่ยมและ
เพลงอมตะ เพลงนี้แต่งทานองโดยคุณจารัส เศวตาภรณ์ คาร้องโดยครูชาลี อินทรวิจติ ร ศิลปิ น
แห่งชาติ ทิพย์วลั ย์ได้ขอลิขสิทธิ ์มาบันทึกเสียงใหม่ โดยร่วมกับมูลนิธบิ างกอกซิมโฟนี (B.S.O.)
195

จัดทาอัลบัม้ ชื่อ ทะเลจันทร์ โดยนาเพลงทีต่ วั เองได้รบั รางวัล เพลงทีไ่ ด้รบั ความนิยมและเพลงที่


ชอบมา เรียบเรียงดนตรีใหม่ โดยใช้ดนตรีประเภทอคูสติค (ACUSTIC) ซึง่ ไม่ใช้เสียงจากเครื่อง
ไฟฟ้าและขับร้องใหม่ ในอัลบัมเดียวกันนี้
2.1.6 เพลงอัสดง ในปีพุทธศักราช 2548 บทเพลงอัสดงได้รบั รางวัลพระพิฆเนศ
ทอง ประเภทเพลงไทยสากลหญิงยอดเยีย่ มหญิง แต่งโดยคุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ซึง่
เป็นนักแต่งเพลงและนักดนตรี พงศ์พรหม เริม่ อาชีพนักแต่งเพลง และนักดนตรี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2528
โดยการแต่งดนตรีประกอบละครเวที "หัวเราะกับน้ าตา" (กากับการแสดงโดย ภาสุร ี ภาวิไล) และ
เข้าทางานเป็ นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ และนักดนตรีบนั ทึกเสียง กับบริษทั บัตเตอร์ฟลาย มีผลงาน
เพลงเบือ้ งหลังศิลปินต่างๆ รวมทัง้ แต่งเพลงโฆษณา เพลงประกอบละคร สารคดี และดนตรีประกอบ
ภาพยนตร์
2.2 ความหมายของบทเพลง (Meaning)
2.2.1 เพลงสุดเหงา เนื้อหาของบทเพลง สุดเหงา ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึงเรื่องราว
ของผูห้ ญิงคนหนึ่งซึง่ เธอมีความเหงาอยูใ่ นหัวใจ เพราะว่าขาดคนรักทีค่ อยดูแลและสร้างความอบอุ่น
ทัง้ กายและใจให้แก่เธอ จากความรูส้ กึ เหงานี้ เธอได้ถ่ายทอดความรูส้ กึ เชิงอุปมาอุปมัยว่า ความรูส้ กึ
ของคนเราทีเ่ กิดจากความเหงาและอ้างว้าง ถ้ารูส้ กึ ว่ าร้อนก็จะร้อนทีส่ ุด ถ้ารูส้ กึ ว่าหนาวความหนาว
ก็จะไม่จางหายไปจากความรู้สกึ ยิง่ เมื่อต้องอยู่เดียวดายและขาดคนที่จะคอยดูแล ยิง่ ทาให้ความ
ร้อนและความหนาวเพิม่ ยิง่ ขึน้ ความเหงาของผูห้ ญิงคนนี้ เป็ นสิง่ ทีเ่ ธอไม่อยากให้เกิดแต่เป็ นเรื่องที่
เธอไม่สามารถหยุดยัง้ มันได้ เพราะว่าความรักของเธอทีม่ ตี ่อคนรักนัน้ มากมาย แต่บดั นี้คนรักของ
เธอได้มผี หู้ ญิงคนใหม่ จึงทาให้เธอต้องยอมรับความเหงาเศร้าตรมอยู่ในหัวใจเพียงผูเ้ ดียวโดยปล่อย
ให้กาลเวลาเป็นผูร้ กั ษาอารมณ์และความระทมให้ผ่อนคลาย เพื่อให้ความเหงาได้จางหายไปจากกาย
และใจของเธอ
2.2.2 เพลงดอกไม้ช่อนี้ เนื้อหาของบทเพลง ดอกไม้ช่อนี้ ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึง
เรื่องราวของผู้หญิงคนหนึ่งซึ่งเธอเคยได้รบั ดอกไม้จากชายคนรักซึ่งเป็ นสัญลักษณ์แทนความรัก
ทีช่ ายผูน้ นั ้ มีให้แก่เธอตลอดไป ดอกไม้ทม่ี อบให้แด่เธอ ถึงแม้ว่าจะเป็ นดอกไม้ทป่ี ระดิษฐ์ขน้ึ แต่ ก็ม ี
ความสวยสดงดงาม จนทาให้จติ ใจของเธอมีความสุข เหมือนดังความฝนั ในจินตนาการ แต่เมื่อเวลา
ผ่านไปนาน... ความรักนัน้ ก็หมดความหวาน ความชุ่มฉ่ า เธอจึงรูว้ ่าความรักทีผ่ ู้ชายคนนัน้ มอบให้
เป็ นความรักทีห่ ลอกลวง เป็ นการอุปมาอุปมัยเปรียบเปรยเรื่องของความรักทีจ่ อมปลอมกั บดอกไม้
ทีป่ ลอมๆ สุดท้ายเธอจึงมอบดอกไม้ปลอมๆช่อนัน้ คืนแก่เขา เพราะเป็นสิง่ ปลอมๆทีเ่ ธอไม่ตอ้ งการ
2.2.3 เพลงไฟ เนื้อหาของบทเพลงไฟ ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึง ความร้อนของเปลว
ไฟ ทีส่ ามารถทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างโดยไม่หยุดยัง้ ซึ่งเปลวไฟนี้มคี วามร้อนจนสุดทีจ่ ะทนได้ ทาให้
ทัง้ มนุ ษย์และสัตว์ต้องตายลง เหลือเพียงเถ้าธุล ี เปรียบเหมือนคนที่มคี วามรุ่มร้อนและมีตวั กิเลส
อยูใ่ นใจ จะทาให้ใจมีแต่ความเศร้าหมอง ถ้าดับไฟในใจคนได้ จะทาให้โลกมนุ ษย์มแี ต่ความสุขและ
สดชื่น ความร้อ นก็มองไม่เ ห็น ความเย็นก็ไม่ม ี เพราะขึ้น ชื่อ ว่า ไฟนัน้ ไม่ มกี ารปราณีต่ อ ทุก คน
196

มีเพียงน้ าเท่านัน้ ที่จะหยุดยัง้ การเผาผลาญของของเปลวไฟได้ แต่ความร้อนเร่าในจิตใจคนนัน้ ไม่มใี คร


สามารถหยุดมันได้ การเปรียบเทียบไฟเหมือนเป็ นผูท้ ท่ี าให้โลกสว่างขึน้ และไฟเป็ นผูส้ ร้างชีวติ ของ
คนเราทุกคนและถ้าคนเรายังมีกิเลส ความร้อนเร่าอยู่ ในตัว ไม่สามารถดับมันลงได้ เปลวไฟนัน้
เปรียบเหมือนจิตใจคนทีย่ งั มีกเิ ลสอยูต่ ลอดเวลา
2.2.4 เพลงในโลกบันเทิง เนื้อหาของบทเพลงในโลกบันเทิง ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึง
มนุ ษย์ท่เี กิดมาในโลกเดียวกันซึ่งอยู่ในความฝนั ของโลกมายา ต่ างต้องการที่จะเป็ นดาวดวงเด่น
พยายามที่จะไขว่คว้ามาครองให้ได้ เพื่อความมีเกียรติยศชื่อเสียงที่มนคงและมีั่ ทรัพย์สนิ เงินทอง
มากมาย แต่เมื่อได้มาแล้วก็ไม่หลงลืมตัวพร้อมทัง้ ทาหน้าทีข่ องตัวเองด้วยความจริงใจ พร้อมทัง้
สร้างความเป็ นมิตรไมตรีแก่คนทัวไป ่ มีความรักในเกียรติและศักดิ ์ศรีตลอดไป เปรียบเหมือนดังเป็ ่ น
การช่ว ยผ่ อ นคลายให้โลกที่ร้อ นดังไฟ นาไปสู่ชีว ิต ที่มคี วามสดชื่น สดใสและมุ่งที่จะสร้างความ
บันเทิงให้กบั ทุกคนอย่างบริสุทธิ ์ใจพร้อมทัง้ ให้ช่วยกันแข่งขันทาความดี เพื่อโลกของเราจะมีความ
เจริญตลอดไป
2.2.5 เพลงน้ าเซาะทราย เนื้อหาของบทเพลงน้ าเซาะทราย ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึง
เรื่อ งความรัก กับธรรมชาติของหาดทราย คือ ผู้ท่ยี งั ไม่เ คยมีค วามรัก มัก จะวิ่งหาจนเหนื่ อ ยล้า
เปรียบเปรยเหมือนน้าทีค่ ่อยๆไหลไปซบกับหาดทราย ทาให้มคี วามชุ่มชื่นในจิตใจ อยากเป็ นเหมือน
น้าทีก่ าลังเซาะทราย โลกนี้มแี ต่เธอคนเดียวเมื่อมีความรักจะเพ้ อฝนั ถึงเธอผูเ้ ดียว อยากบอกทราย
และสายน้าถึงความจริง ว่าความรักทีส่ ร้างจากผืนทราย อาจพังลงได้ในพริบตาเพราะคลื่นของความรัก
ทีส่ าดเข้ามา ทาให้จติ ใจมีความเศร้าหมองและเสียใจ แอ่งน้ านัน้ มักเป็ นทีอ่ ยู่ของปลาแต่ความรักนัน้
เหมือนทรายที่เยือกเย็น ไม่ละเว้นต้องการน้ าเซาะทราย เพราะโลกของฉันมีแต่เธอและเพ้อฝนั ถึง
เธอผูเ้ ดียว อยากบอกทรายกับสายน้าถึงความเป็นจริงนี้
2.2.6 เพลงอัสดง เนื้อหาของบทเพลงอัสดง ผูป้ ระพันธ์ได้กล่าวถึงเรื่องกาลเวลา
กับความอ้างว้างซึ่งเปรียบเหมือนคนที่หลงทางอยู่กลางสายน้ า ถูกคลื่นลมพัดกระหน่ าทาให้เกิ ด
ความลาเค็ญ เจ็บปวดจนเหลือเกิน และเมื่อหวังสิง่ ใดไม่เคยได้สมหวัง ความผิดหวังนี้พอเพียงหรือยัง
อาจจะมีสกั ครัง้ ที่ต้องทนทรมาน ดิ้นรนไขว่คว้า ฟ้าก็ไม่อาจให้ความสมหวังนี้ได้ ในชีวติ คนเป็ น
หมืน่ เป็ นพันมีแต่ความสุขสมหวังเปรียบดังแสงอาทิ
่ ตย์คลุมท้องฟ้า มีความกระจ่างสดใส เหมือนดัง่
พระอาทิตย์ท่ฉี ายส่องแสงสว่าง จวบจนเลือนรางหายไป ชะตาชีวติ ขีดเส้นให้เป็ นเช่นนี้ เลือนราง
แทบมองไม่เห็นเพราะขาดไฟที่จะนาทาง มืดมนแทบมองไม่เห็น มีแต่เงาดาอาพราง ปนปลายมี ั้ แต่
ความอ้างว้างชีวติ เปรียบเหมือนพระอาทิตย์ทก่ี าลังจะตกดิน
2.3 โครงสร้างและรูปแบบของบทเพลง (Structure and Form)
2.3.1 บทเพลงสุดเหงา มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ นลักษณะแบบ Ternary
Form คือ A B A C A โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B แล้วจึงย้อนกลับมาร้อง
ท่อน A ซ้าอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากนัน้ จะร้องท่อน C และย้อนกลับมาร้องซ้าท่อน A อีกครัง้
197

2.3.2 บทเพลงดอกไม้ช่อนี้ บทเพลงดอกไม้ช่อนี้ มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ น


ลักษณะแบบ Ternary Form คือ A A’ B A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ตามด้วยท่อน A’
และร้องท่อน B ตามด้วยท่อน A” แล้วจึงย้อนกลับไปร้องท่อน B ซ้าอีกครัง้ และจบลงด้วยท่อน A”
2.3.3 บทเพลงไฟ บทเพลงไฟ มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ นลักษณะแบบ
Ternary Form คือA A’ B A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ตามด้วยท่อน A’ และร้องท่อน
B ตามด้วยท่อน A” แล้วจึงย้อนกลับไปร้องท่อน B ซ้าอีกครัง้ และจบลงด้วยท่อน A”
2.3.4 บทเพลงในโลกบันเทิง บทเพลงในโลกบันเทิง มีโครงสร้างของบทเพลง
เป็ นลักษณะแบบ Binary Form คือ A B A B โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B
แล้วจึงย้อนกลับมาร้องท่อน A ซ้าอีกครัง้ หนึ่ง และจบลงทีท่ ่อน B
2.3.5 บทเพลงน้ าเซาะทราย บทเพลงน้ าเซาะทราย มีโครงสร้างของบทเพลง
เป็นลักษณะแบบ Round Binary Form คือ A A’ B A” A’ โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วย
ท่อน A’ แล้วร้องท่อน B หลังจากนัน้ จะร้องท่อน A” และร้องซ้าท่อน A’ อีกครัง้ แล้วจึงจบเพลง
2.3.6 บทเพลงอัสดง บทเพลงอัสดง มีโครงสร้างของบทเพลง เป็ นลักษณะแบบ
Ternary Form คือ A A’ B A” B A” โดยผูข้ บั ร้องจะร้องท่อน A ต่อด้วยท่อน B แล้วจึง
ย้อนกลับมาร้องท่อน A ซ้าอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากนัน้ จะร้องท่อน C และย้อนกลับมาร้องซ้าท่อน A
อีกครัง้
3. วิ เคราะห์ข้อมูลด้านเทคนิ ควิ ธีการขับร้อง ประกอบไปด้วย
3.1 การบังคับควบคุมลมหายใจ
3.1.1 การแบ่งวรรคลมหายใจ
1) เพลงสุดเหงา ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของคาร้องและทานอง
เพลงได้ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้อ ง
เดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 18 วลี
2) เพลงดอกไม้ช่อ นี้ ใช้ว ิธ ีก ารหายใจเพื่อ ให้ค วามหมายของค าร้อ งและ
ทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการ
ขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 16 วลี
3) เพลงไฟ ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของคาร้องและทานองเพลงได้
ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน
เพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 31 วลี
4) เพลงในโลกบันเทิง ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของคาร้องและ
ทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการ
ขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 16 วลี
5) เพลงน้ าเซาะทราย ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของคาร้องและ
ทานองเพลงได้ตรงกับจินตนาการของผูป้ ระพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกัน ใช้ลมในการ
ขับร้องเดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 22 วลี
198

6) เพลงอัสดง ใช้วธิ กี ารหายใจเพื่อให้ความหมายของคาร้องและทานองเพลง


ได้ต รงกับจินตนาการของผู้ประพันธ์ โดยใช้การแบ่งวลีท่มี เี นื้อ หาเดียวกัน ใช้ล มในการขับร้อ ง
เดียวกันเพื่อให้เนื้อหามีความต่อเนื่องในแต่ละวลีของบทเพลง จานวน 22 วลี
3.1.2 การลากเสียงยาว
1) เพลงสุดเหงา ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการ
ทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึ่งมีทงั ้ การลากเสียงสูงขึ้นและต่ าลง
โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 5 วลี คือ คาว่า...ขาดเธอ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
คาว่า...จากเธอไป...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่ได้...ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
คาว่า…อารมณ์...การลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ...ผ่อนคลาย...การลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
2) เพลงดอกไม้ช่อนี้ ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดย
การทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง
โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 12 วลี คือ คาว่า...ช่อนี้... ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า...มอบให้...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ในใจ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า)...นิรนั ดร์...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เรื่อยมา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า...เทียมนัน่ ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ลาวัลย์...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า...เฟื่องฟู...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ชื่นชู...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
คาว่า...จึงรู.้ ..ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะคาว่า...คุณให้...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...
ต้องการ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 6 จังหวะ
3) เพลงไฟ ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้
เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง โดยมีวลี
ทีใ่ ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 5 วลี คือ คาว่า...ไฟ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...
ธุล.ี ..ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะคาว่า...ใครเล่า...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...
ดับมัน...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...นิ่งเลย...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
4) ในโลกบันเทิง ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการ
ทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึ่งมีทงั ้ การลากเสียงสูงขึ้นและต่ าลง
โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 7 วลี คือ คาว่า...นานา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ
คาว่า...ดารา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...ไขว่คว้า...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
คาว่า...มาครอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 3 จังหวะ คาว่า...เนืองนอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2
จังหวะคาว่า...ตอบสนอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...เจริญ...ยืนนาน...ลากเสียงยาว
เท่ากับ 2 จังหวะ
5) เพลงน้ าเซาะทราย ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้
โดยการทาให้เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียงสูงขึน้ และ
ต่าลง โดยมีวลีทใ่ี ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 9 วลี คือ คาว่า...อ่อนใจ...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4
จังหวะ
199

คาว่า กระเซ็น...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...แต่เธอ...ลากเสียงยาว


เท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่วาย... ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...จานรรจา...ลากเสียง
ยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...จะเย็น...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...เซาะทราย...ลากเสียง
ยาวเท่ากับ 4 จังหวะ คาว่า...ไม่วาย...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4จังหวะคาว่า...ความจริง...ลากเสียง
ยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
6) เพลงอัสดง ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมเพื่อลากเสียงให้ยาวขึน้ โดยการทาให้
เสียงของคาร้องยาวขึน้ เพื่อให้ได้อารมณ์ตามบทเพลง ซึง่ มีทงั ้ การลากเสียงสูงขึน้ และต่ าลง โดยมีวลี
ทีใ่ ช้ในการบังคับควบคุมลมหายใจ 10 วลี คือ คาว่า...อ้างว้าง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
คาว่า...หลงทาง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ คาว่า...สาดซ้า...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
คาว่า...พรรณนา...การลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...ลับตา...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2
จังหวะ คาว่า...ไขว่คว้า...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...สมปอง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2
จังหวะ คาว่า...มัวแสง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะคาว่า...ดังเหมือน...ลากเสียงยาวเท่ากับ 2
จังหวะ คาว่า...อัสดง...ลากเสียงยาวเท่ากับ 4 จังหวะ
3.1.3 การเอือ้ นเสียง
1) เพลงสุดเหงา ผู้วจิ ยั พบการเอื้อนที่เด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้อง
คาว่า ปล่อยเวลารักษาอารมณ์(.........)จนกว่าความระทมผ่อนคลาย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้
เทคนิ ค วิธ ีก ารบังคับ ลมส าหรับการเอื้อ นเสีย ง โดยเอื้อ นเสีย งให้สูง ขึ้น โดยใช้ล มในการขับร้อ ง
เดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง D # E A G# จบลงด้วยโน้ตตัว C# ด้วยการเอื้อนเสียง
ยาว เท่ากับ 4 จังหวะ
2) เพลงดอกไม้ช่อนี้ ผูว้ จิ ยั พบการเอือ้ นทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้อง
คาว่า ก็จงึ รู.้ .......รักปลอมคุณ อยู่(........)ข้างใน.........ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับ
ลมสาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อนเสียงให้ต่ าลงโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียง
ตัวโน้ตเสียง D # จบลงด้วยโน้ตตัว C# ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2จังหวะ
3) เพลงไฟ ผูว้ จิ ยั พบการเอื้อนทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่ งช่วงคือระหว่างคาร้องคาว่า...
โอ้เปลวไฟนัน้ ...เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย... ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับ
การเอือ้ นเสียง โดยเอือ้ นเสียงให้ต่าลง โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง
G F# E แล้วโหนเสียงกลับมาทีโ่ น้ตตัว G ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
4) ในโลกบันเทิง ผู้วจิ ยั พบการเอื้อนที่เด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่างคาร้อง
คาว่า ตอบสนอง....มวลชนจริงใจ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลมสาหรับการเอื้อน
เสียง โดยเอื้อนเสียงให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัวโน้ตเสียง B C
D แล้วผ่อนเสียงลงมาทีโ่ น้ตตัว A ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
5) เพลงน้ าเซาะทราย ผู้วจิ ยั พบการเอื้อนทีเ่ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่วงคือระหว่าง
คาร้องคาว่า ว่ารักฉันสร้าง(.........)จากทราย ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลม
200

สาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อนเสียงให้สูงขึ้นโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่ เสียง


ตัวโน้ตเสียง G F E จบลงด้วยโน้ตตัว G ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
6) เพลงอัสดง ผู้ว ิจยั พบการเอื้อ นที่เ ด่นๆ อยู่หนึ่งช่ว งคือระหว่างค าร้อ ง
คาว่า ชีวติ อื่นหมื่นพัน...สุขสันต์และสมปอง(..........)ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิควิธกี ารบังคับลม
สาหรับการเอื้อนเสียง โดยเอื้อนเสียงให้สูงขึน้ โดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกันพร้อมทัง้ ไล่เสียงตัว
โน้ตเสียง F G A Bb จบลงด้วยโน้ตตัว F ด้วยการเอือ้ นเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ
3.2 การออกอักขระ ( Pronunciation)
3.2.1 การเน้นเสียงการเน้นคา
1) เพลงสุดเหงา ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับ
เสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึ่งมีคาร้องทีผ่ ู้วจิ ยั พบ
จานวน 6 วลี คือ คาว่า...ร้อนสุดร้อน...หนาวเหน็บหนาว...ใช้เทคนิคพิเศษการเน้นเสียงให้ดงั ขึน้ เพื่อ
เน้ นความหมายของคาว่า ร้อน ส่วนคาว่า หนาวเหน็ บหนาว ก็ใช้เ ทคนิคพิเศษการเน้ นเสียงให้
ดังขึน้ เพื่อเน้นความหมายของคาว่า หนาว คาว่า ...เดียวดาย...ใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมาย
ของคาว่า เดียว ด้วยน้ าเสียงทีห่ นักแน่ นส่วนคาว่า ดาย ใช้เทคนิคการใช้เสียงทีก่ ารแผ่วเสียงเบาลง
ในตอนท้ายของคา เพื่อให้เกิดความรูส้ กึ ว่า เดียวดายจริงๆ ส่วนคาว่า ขาดเธอ ก็ใช้เทคนิคพิเศษ
การเน้ นเสียงในคาว่า...ขาด...ให้หนักแน่ นและพลิ้วเสียง คือการสันของเสี ่ ยงให้เป็ นลักษณะคลื่น
ในตอนท้ายคาว่า... เธอ... คาว่า ...เธอ..โดยใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเน้นความหมายของคาว่า เธอ ด้วย
เทคนิคการลากเสียง เพื่อเน้นถึงอารมณ์เศร้า ส่วนคาว่า..เขา.. เพื่อเน้นความหมายของคาว่า..เขา...
ใช้เทคนิคการลากเสียง เพื่อเน้นความหมายของคาว่า...เขา...ซึง่ เป็ นผู้หญิงคนใหม่ของเธอที่ทาให้
เธอไม่สามารถหวนกลับคืนมาหาได้ คาว่า ...เหงา..เศร้า...ตรม ใช้เทคนิคการใช้เสียงครวญ คือการ
ร้องน้ าเสียงแผ่วเบาคล้ายกับการสะอื้นไปในตัว ซึง่ เป็ นเสียงที่แสดงอารมณ์ของการเหงา เศร้าโศก
ไปตามบทเพลง คาว่า ...เวลา...รักษา... โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง
ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นคาให้ได้อารมณ์ชดั เจนตามความหมายของคาร้อง คาว่า...ผ่อนคลาย..โดย
ใช้เทคนิคการกระโดดเสียง จากเสียงต่าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 5 เสียง ซึง่ เป็ นการร้องทีแ่ สดงอารมณ์
ของคาว่า...ผ่อนคลาย...ให้รสู้ กึ ว่าผ่อนคลายจริงๆได้ตามความหมายของคาอย่างชัดเจน
2) เพลงดอกไม้ ช่ อ นี้ ได้ ใ ช้ ว ิธ ีก ารเน้ น เสีย งเน้ น ค าในบทเพลงเพื่อ ให้
ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึง่ มีคา
ร้องที่ ผูว้ จิ ยั พบจานวน 4 วลี คือ คือคาว่า...และบอกว่าแทน..ความรักในใจ โดยใช้เทคนิคพิเศษ
การทอดเสียงขึน้ คือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ พร้อมทัง้ เน้นคาว่า...แทน…คาว่า รัก
ปลอมคุณอยู่...ข้างในโดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือการใช้เ สียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
พร้อมทัง้ เน้นคาให้โดยเฉพาะคาว่า...อยู.่ ..คาว่า ดอกสวย...เรือ่ ยมา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียง
จากเสียงโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตอีกตัวหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ า
ไปหาเสียงสูงและเน้นคาว่า...ดอกสวย...ให้ได้ความหมายทีเ่ ด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...รับไป...ฉันไม่...โดย
201

ใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากโน้ตตัวหนึ่งไปโน้ตตัวหนึ่ง โดยไม่ผ่านเสียงอื่น เป็ นการกระโดดเสียง


ร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูงห่างกัน 7 เสียงและเน้นคาว่า...ฉันไม่ต้องการ...ให้ได้ความหมายที่
เด่นชัดยิง่ ขึน้
3) เพลงไฟ ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับ
เสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึง่ มีคาร้องทีผ่ วู้ จิ ยั พบ
จานวน 5วลี คือ คาว่า...ไฟ...ใช้เทคนิคพิเศษการพลิว้ เสียง คือการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้
และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) คาว่า...ผลาญ...ใช้เทคนิคการเน้นคาเพื่อเพื่อแสดงถึงความไม่สนใจ
ทีจ่ ะหยุดเผาผลาญลาลายและคาว่า...ท้าย...ใช้เทคนิคการเน้นคาเพื่อแสดงถึงการเหลือเพียงเถ้าธุล ี
ทาลายทุกสิง่ ให้หมดสิน้ ไป คาว่า...เผา...โดยใช้เทคนิคพิเศษการลากเสียง คือการเน้นเสียงแล้วลาก
เสียงให้ยาว คาว่า...ทาลาย...ใช้เทคนิคการเน้นถึงเปลวไฟทีไ่ ม่สนใจและพร้อมทีจ่ ะทาลายทุกสิง่ ทุก
อย่างและคาว่า...ธุล.ี ..ใช้เทคนิคการเน้นเสียงแล้วลากเสียงยาวเพื่อเป็ นการแสดงถึงการทีเ่ หลือเพียง
เถ้าธุลจี ริงๆ คาว่า...หมองหม่นมานานปี...ใช้เทคนิ คการทอดเสียงขึน้ คือการใช้เสียงในการขับร้อง
ให้เรียงเสียงขึน้ พร้อมทัง้ เน้นคาว่า...หมองหม่น... คาว่า...แต่ความร้อนเร่า…ใช้เทคนิคการเน้นเสียง
คาว่า...ร้อนเร่า...เพื่อแสดงถึงความร้อนเร่าในจิตใจของมนุ ษย์ คาว่า...โลกคงมีสุข...ใช้เทคนิค การ
ทอดเสียงลงคือการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง พร้อมทัง้ เน้นคาเพื่อแสดงถึงการทีโ่ ลกมีแต่
ความสุขและไม่เงียบเหงา คาว่า...เหมือนใจไม่หยุดนิ่งเลย...ใช้เทคนิคการเน้นคาว่า...ใจ...ว่าไม่เคย
หยุดนิ่งเลย คาว่า...คนและสัตว์ต้องวางวาย...ใช้เทคนิคการเน้นเสียงและทอดเสียงในคา เป็ นการใช้
เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง คาว่า...ชื่อว่าไฟ...หรือปราณีใครเล่า... ใช้เทคนิค
การเน้นคาว่า...ปราณี...เพื่อเป็นการแสดงถึงเปลวไฟทีไ่ ม่เคยมีความปราณีต่อผูใ้ ด
4) ในโลกบันเทิง ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญ
กับเสียงเอือ้ นหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึง่ มีคาร้องผูว้ จิ ยั พบ
จานวน 4 วลี คือ คาว่า...คว้า...มาครอง...ใช้เทคนิคการพลิว้ เสียง คือ การเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้
ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato)โดยเน้นคาว่า...คว้า...เพื่อแสดงถึงการไขว่คว้ามาครอบครอง
ให้ได้ คาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...ใช้เทคนิคการทอดเสียงขึน้ คือ เป็ นการทอดเสียงในการขับร้อง
ให้เรียงเสียงขึน้ เพื่อแสดงความมีเกียรติทย่ี งยื ั ่ น คาว่า...ตอบสนอง...ใช้เทคนิคการเน้นคาว่าสนองให้
เด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...เพื่อเกียรติ ์สรรเสริญ...ใช้เทคนิคการทอดเสียงขึน้ คือ เป็ นการทอดเสียงในการ
ขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ เพื่อแสดงความมีเกียรติท่ยี งยื ั ่ น คาว่า...ตอบสนอง...เป็ นการเน้นคาว่า...
สนอง...ให้เด่นชัดยิง่ ขึน้ คาว่า...เกิดมา...ใช้เทคนิคการกระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง
ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่า...เกิดมา...ให้มคี วามชัดเจนยิง่ ขึน้ คาว่า ...ต่างเพียร... เป็ นการ
กระโดดเสียงร้องจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นคาว่า...ต่างเพียร...ให้มคี วามชัดเจน
ยิง่ ขึน้
5) เพลงน้ าเซาะทราย ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้ นคาในบทเพลงเพื่อให้
ความสาคัญกับเสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึง่ มีคา
202

ร้อง ที่ผู้วจิ ยั พบจานวน 4 วลี คือคาว่า...วิง่ หา...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงจากเสียงโน้ตตัว


หนึ่งไปยังโน้ตอีกตัวหนึ่ง ห่างกัน 6 เสียง เพื่อเน้นเสียงคาว่า...วิง่ หา...ให้มคี วามชัดเจนยิง่ ขึน้ คาว่า
...เอื่อยไหล... เสียงห่างกันเป็น 6 เสียง เพื่อเน้นคาว่า...เอื่อยไหล...ให้มคี วามหมายชัดเจนยิง่ ขึน้ คา
ว่า...รักมาอ่อนใจ...ใช้เทคนิคการผ่อนเสียง คือเป็ นการใช้เสียงจากเสียงสูงแล้วผ่อนเสียงมาคล้าย
การผ่อนลมหายใจ คาว่า…ปลาใฝ่ปอง….ใช้เทคนิคการผ่อนให้เบาลง คาว่า … แต่รกั ของทราย…
เพื่อเน้น คาว่า...ทราย...เป็ นการเปรียบเปรยถึงความรักกับทรายที่มแี ต่ความเยือกเย็นเพื่อทาให้
ผูฟ้ งั เกิดความรูส้ กึ คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้องคือ คาว่า...เอื่อยไหลซบทรายกระเซ็น...โดยใช้เทคนิค
การทอดเสียงในคา คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง เพื่อเน้นคาว่า
ทราย ให้ชดั เจนขึน้ คาว่า...ฝนั ละเมอ...ไม่วาย ใช้เทคนิคการทอดเสียงลงคือเป็ นการใช้เสียงใน
การขับร้องให้เรียงเสียงขึน้ หรือลง พร้อมทัง้ คา เพื่อเน้นคาว่า...ฝนั ละเมอ...
6) เพลงอัสดง ได้ใช้วธิ กี ารเน้นเสียงเน้นคาในบทเพลงเพื่อให้ความสาคัญกับ
เสียงเอื้อนหรือคาร้อง โดยเพิม่ น้ าหนักเสียงหรือเน้นคาให้ชดั เจนเป็ นพิเศษ ซึง่ มีคาร้องทีผ่ วู้ จิ ยั พบ
จานวน 3 ค า คือ ค าว่า ...หมื่นพัน...ใช้เ ทคนิค การเน้ นเสียงค าว่า...พัน... เป็ นการเน้ นเสีย ง
ตามอารมณ์เพลง คาว่า...ฉาน... ใช้เทคนิคการเน้นคาว่า ตะวันให้ชดั ขึน้ คาว่า ลับจาง เป็ นการเน้น
คาว่า...จาง..ให้ชดั เจนขึน้ คาว่า...อ้างว้าง...โดยใช้เทคนิคการกระโดดเสียงและเน้นคา คาว่า...กลาง
สายชล... ใช้เทคนิคการกระโดดเสียงและเน้นคาว่า...อยู่กลางสายชล... คาว่า...วาดหวัง...ใช้เทคนิ ค
การกระโดดเสียงเพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง คือคาว่า...เงาดาอาพราง...บัน้ ปลาย
อ้างว้าง.... โดยใช้เทคนิคการทอดเสียงลง คือ เป็ นการใช้เสียงในการขับร้องของคาให้เรียงเสียงลง
พร้อมทัง้ คา เพื่อเน้นคาให้ได้ตามความหมายของคาร้อง
3.2.2 การผันอักษรตามทานอง
1) เพลงสุดเหงา ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษรตามทานอง
โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้อง
เพื่อให้เปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือคาว่า ….หาย...เริม่ ต้น
การร้อง ด้วยคาว่า ฮาย ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกัน
และจบลงด้ว ยการร้องด้วยหางเสียงขึ้นนาสิก เป็ นคาว่า...หาย... คาว่า …เหงา…เริม่ ต้นการร้อ ง
ด้วยคาว่า...เงา…ใช้เทคนิคการออกเสียงคาที่ม.ี ..ห...นา..ง...เสียงของคาจะเป็ นเสียงจัตวา ซึง่ ผูข้ บั ร้อง
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันจบลงเป็ นคาว่า...เหงา....คาว่า...รัก ษา...เริม่ ต้นการร้อง
ด้วยคาว่า ซา เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ษ ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลง
ด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิก จบลงเป็ นคาว่า...รัก ษา... คาว่า...ผ่อนคลาย...เริม่ ต้นการร้อง
ด้วยคาว่า พอ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ผ ซึง่ ใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันให้
เสียงต่ า และเปล่งเสียงด้วยคาว่า ห่อนซึง่ เมื่อรวมคาว่า …พอ… ผสม กับคาว่า…ห่อน…จะได้เสียง
ขับร้องเป็นคาว่า ผ่อน
2) เพลงดอกไม้ช่อนี้ ได้ใช้เทคนิควิธกี ารผันอักษรตามทานองโดยการร้อง
เสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไป
203

ตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือคาว่า …ของฉัน...เริม่ ต้นการร้อง ด้วย


คาว่า ชาน ซึง่ เป็นอักษรต่าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฉ ผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วย
การร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า …ฉัน...คาว่า…ดอกสวย...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซ่วย
ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ส ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลง
ด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...สวย...คาว่า...ให้ฝนั ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า
ฟาน ซึ่งเป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและ
จบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ฝนั ...
3) เพลงไฟ ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษรตามทานอง โดยการร้อง
เสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้องมักเปลีย่ นไป
ตามทานองเพลง ผู้วจิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีท่สี าคัญๆ คือคาว่า …ผลาญ...เริม่ ต้นการร้อง ด้วย
คาว่า พาน ซึ่งเป็ นอัก ษรต่ าคู่ก ับอักษรสูงพยัญ ชนะ ญ ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์
ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ผลาญ…คาว่าเหลือเพียง...เริม่ ต้น
การร้อง ด้วยคาว่า เลือ ซึ่งเป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียงของ ห นา ล ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและ
วรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...เหลือ...คาว่า…หมองหม่น...
เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มอง ซึ่งเป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียงของ ห นา ม ซึ่งต้องใช้การผัน
อักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...หมอง... คา
ว่า…เหมือนใจ...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เมือน ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียงของ ห นา ล ซึง่
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า
...เหมือน...คาว่า…ไม่เห็น...เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า เฮน ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห
ซึ่งต้อ งใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุก ต์ร่ว มกันและจบลงด้วยการร้อ งด้ว ยหางเสียงขึ้นนาสิกเป็ น
คาว่า...เห็น...
4) ในโลกบันเทิง ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษรตามทานอง
โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้อง
มักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผู้วจิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือ คาว่า …โลกฝนั ...เริม่ ต้น
การร้อง ด้วยคาว่า ฝาน ซึ่งเป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและ
วรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ฝนั ...คาว่า…เครื่องหมาย
...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า มาย ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ห นา ม ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ห ซึง่
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ น คา
ว่า...หมาย...คาว่า…ทรัพย์สนิ ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซิน ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส นา ม ไป
หาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า...สิน...คาว่า…ไม่หลง...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ลง โน้ตตัว A ซึง่ ใช้
เสียงของอักษร ห นา ล ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ ร่วมกัน
และจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...หลง...คาว่า…สร้างเสริม...โดยเริม่ ต้นการร้อง
ด้วยคาว่า เออ ซึ่งใช้เสียงของอักษร ส นา ม ไปหาเสียงอักษรสูง คือ ส ซึ่งต้องใช้ การผั น
204

อักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...เสริม...คาว่า


ตอบสนอง โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า นอง ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ส นา น ไปหาเสียงอักษรสูง คือ
ส ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคา
ว่า…สนอง... คาว่า…แข่งขัน...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า คัน ซึง่ ใช้เสียงของอักษร ข นา ไป
หาเสียงอักษรสูง คือ ข ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหาง
เสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า...ขัน...
5) เพลงน้ าเซาะทราย ได้ใช้วธิ กี ารร้องด้วยเทคนิควิธกี ารผันอักษรตาม
ทานอง โดยการร้องเสียงพยางค์ทผ่ี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการ
ขับร้องมักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือ คาว่า …วิง่ หา...โดย
เริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฮา ซึง่ เป็ นอักษรต่าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ห ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและ
วรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...หา... คาว่า …เอื่อยไหล...
โดยเริม่ ต้นการร้องด้วยคาว่า ไล ซึง่ เป็ นการผันอักษรโดยใช้เสียง ห นา ล ซึง่ ต้องใช้การผันอักษร
และวรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ไหล...คาว่า …ของฉัน
...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า คอง ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ข ซึ่งต้องใช้การผัน
อักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ของ...คาว่ า…
เฝ้าฝนั ...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ฟนั ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ฝ ซึง่ ต้องใช้การ
ผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า...ฝนั ... คา
ว่า…สายน้ า...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กับอักษรสูงพยัญชนะ ส ซึ่ง
ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิก เป็ น
คาว่า...สาย..
6) เพลงอัส ดง ได้ใ ช้ว ิธ ีก ารร้อ งด้ว ยเทคนิ ค วิธ ีก ารผัน อัก ษรตามท านอง
โดยการร้องเสียงพยางค์ท่ผี สมด้วยพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ ซึง่ เสียงวรรณยุกต์ในการขับร้อง
มักเปลีย่ นไปตามทานองเพลง ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์คาหรือวลีทส่ี าคัญๆ คือ
คาว่า…หลงทาง...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ลง โน้ตตัว A ซึง่ เป็ นการ
ผันอักษรแบบ ห นา ล ซึ่งต้องใช้ก ารผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลงด้วยการร้องด้ ว ย
หางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่าหลง คาว่า …สายชล...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า ซาย โน้ตตัว G
ซึง่ เป็ นอักษรต่ าคู่กบั อักษรสูงพยัญชนะ ส ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและจบลง
ด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า สายชล คาว่า…หวังใด...โดยเริม่ ต้นการร้อง ด้วยคาว่า
วัง โน้ตตัว F ซึง่ เป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ว ซึง่ ต้องใช้การผันอักษรและวรรณยุกต์ร่วมกันและ
จบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็ นคาว่า หวังใด คาว่า…ดังเหมือน...โดยเริม่ ต้นการร้อง
ด้วยคาว่า เมือน โน้ ตตัว D ซึ่งเป็ นการผันอักษรแบบ ห นา ม ซึ่งต้องใช้การผันอักษรและ
วรรณยุกต์รว่ มกันและจบลงด้วยการร้องด้วยหางเสียงขึน้ นาสิกเป็นคาว่า ดังเหมือน
3.2.3 การร้องคาเป็นคาตาย
205

1) เพลงสุดเหงา ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาที่


ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้องจะต้องลากคาร้อง
ให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดในแม่กก
กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อน
แล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงสุดเหงามีคาร้องทีเ่ ป็ นคาเป็ น
และคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตายที่สาคัญๆ ในบทเพลง
คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็น
คาว่า...ร้อ น...สระ ออและสะกดด้วย น ใช้เ ทคนิค การลากเสียงคาร้อ ง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ร้อน
คาว่า...คลาย…สระ อา และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า คลาย
คาว่า...ปล่อย… สระ ออ และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่าปล่อย
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...เหน็บ... สระ เอะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลง เป็นคาว่า เหน็บ
คาว่า...สุดหัก...คาว่า...สุด...สระ อุ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการหยุด
เสียงคาร้องให้สนั ้ ลงเป็ นคาว่า สุด ส่วนคาว่า...หัก...สระ อะและสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุด
เสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เป็นคาว่า...หัก...
คาว่า...ความรัก...คาว่า...รัก...สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการ
หยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลง เป็นคาว่า ความรัก
2) เพลงดอกไม้ช่อนี้ ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้องคาเป็ นคือ
คาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้องจะต้ องลาก
คาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดใน
แม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคา
ก่อนแล้วจึงปล่อ ยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงดอกไม้ช่อนี้ มี ค าร้อ ง
ที่เ ป็ นค าเป็ นและค าตายหลายค าด้วยกัน ผู้ว ิจยั ขอยกตัวอย่างการร้องค าเป็ นและค าตายที่สาคัญๆ
ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
คาว่า...ดอกไม้...สระ ไอ ได้ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็ น
คาว่า ดอกไม้
คาว่า...มานาน…สระ อา และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า นาน
206

ค าว่ า ...ในใจ…สระ ใอ ใช้เ ทคนิ ค การลากเสีย งค าร้อ งให้ย าวขึ้น เป็ น


คาว่า ใจ
ค าว่า ...ต้อ งการ…สระ อา และสะกดด้ว ย ร ใช้เ ทคนิ ค การลากเสีย ง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า การ
ค าว่ า...คุ ณ ให้…สระ ไอ ใช้เ ทคนิค การลากเสียงค าร้อ งให้ย าวขึ้นเป็ น
คาว่า ให้
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...นึกดู... สระ อึ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้
สัน้ ลงเป็นคาว่า นึก
คาว่า...ดิษฐ์... สระ อี และสะกดด้วย ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสีย งคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ดิษฐ์
คาว่า...รักปลอม... สระ อะ และสะกดด้วย ก ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า รัก
คาว่า...รับไป...สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า รับ
3) เพลงไฟ ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาที่ผสม
ด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้องจะต้องลากคาร้องให้ยาว
ตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดในแม่กก กด กบ
ในการขับร้องจะต้องขับ ร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อนแล้วจึง
ปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงไฟ มีคาร้องทีเ่ ป็ นคาเป็ นและคาตาย
หลายคาด้วยกัน ผูว้ จิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็นและคาตายทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
คาว่า...ร้อน...สระออและสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้
ยาวขึน้ เป็นคาว่า ร้อน
คาว่า...ไฟ...สระ ไอ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า...ไฟ...
คาว่า...วางวาย...สระ อา และสะกดด้วย ย ได้ใ ช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า วาย
คาว่า...ชีว.ี ..สระ อี ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวเป็นคาว่า ชีว ี
คาว่า...ไฟนี้... สระ อี ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า
ไฟนี้
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...หยุด...สระ อุ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า หยุด
207

คาว่า...ทานทน... คือ สระ โอะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการหยุดเสียง


คาร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ทน
คาว่า...ดับไฟ...สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ดับ
คาว่า...มีสุข...สระ อุ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า สุข
คาว่า...ชีวติ ...สระ อิ และสะกดด้วย ต ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้องให้
สัน้ ลงเป็นคาว่า ชีวติ
4) ในโลกบันเทิง ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้องคาเป็ นคือคาที่
ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้องจะต้องลากคาร้อง
ให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดในแม่กก
กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคาก่อน
แล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงในโลกบันเทิง มีคาร้องที่เป็ น
ค าเป็ น และค าตายหลายค าด้ว ยกัน ผู้ว ิจ ยั ขอยกตัว อย่ า งการร้อ งค าเป็ น และค าตายที่ส าคัญ ๆ
ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
คาว่า...เกิด... สระ เออ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เกิด
คาว่า...ฟ้า... สระ อา ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า ฟ้า
คาว่า...โลก... สระ โอ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า โลก
คาว่า...เครื่องหมาย... สระ อาและสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เครือ่ งหมาย
คาว่า...บันเทิง... สระ เออและสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า บันเทิง
คาว่า...เจริญ... สระ เออและสะกดด้วย ญ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เจริญ
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...ฝนั ... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็ นคาว่า ฝนั
คาว่า...บันเทิง... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า บันเทิง
คาว่า...จีรงั ... สระ อะ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า จีรงั
208

คาว่า...ทรัพย์สนิ ... สระ อะ และสะกดด้วย พ ใช้เทคนิคการลากเสียงคา


ร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า ทรัพย์
คาว่า...จริงใจ... สระ อิ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า จริง
คาว่า...หมันเพี
่ ยร... สระ อะ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลงเป็นคาว่า หมัน่
ค าว่ า...ศัก ดิศ์ รี... สระ อะ และสะกดด้ว ย ก ใช้เ ทคนิค การลากเสีย ง
คาร้องให้สนั ้ ลงเป็ นคาว่า ศักดิ ์
5) เพลงน้ าเซาะทราย ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็ นคาตาย คือ การขับร้องคาเป็ นคือ
คาที่ผสมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้องจะต้องลาก
คาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงสัน้ และมีตวั สะกดใน
แม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้วยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้ความหมายของคา
ก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงน้ าเซาะทราย มีคาร้อง
ทีเ่ ป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตายที่สาคัญๆ
ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
คาว่า...วิง่ หา... สระ ฮา และสะกดด้วย ห ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า วิง่ หา
คาว่า...อ่อนใจ… สระ ออ และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่าอ่อนใจ
คาว่า... เอื่อยไหล...สระ อือ และสะกดด้วย ย ใช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า เอื่อย
คาว่า...เซาะทราย สระ อา และสะกดด้ว ย ย ใช้เ ทคนิค การลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่าเซาะทราย
คาว่า...ใฝป่ อง… สระ ออ และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็ นคาว่า ใฝป่ อง
ค าว่ า...สายน้ า … สระ อา และสะกดด้ว ย ย ใช้เ ทคนิ ค การลากเสีย ง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า สายน้า
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
คาว่า...กระเซ็น…สระ เอะ และสะกดด้วย น ได้ใช้เทคนิคการหยุดเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า เซ็น
คาว่า...พริบตา...สระ อิ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง
ให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องเป็นคาว่า พริบตา
209

คาว่า...ว่ารัก...สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการหยุดเสียงคาร้อง


ให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า รัก
คาว่าจะเย็น...สระ อะ และได้ใ ช้เ ทคนิค การหยุดเสียงค าร้อ งให้สนั ้ ลง
เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้องเป็น คาว่า จะเย็น
คาว่า...เซาะทราย... สระ เอาะ และสะกดด้วย ซ ใช้เทคนิคการหยุดเสียง
คาร้องให้สนั ้ ลง เพื่อให้ได้ความหมายของคาร้อง เป็นคาว่า เซาะทราย
6) เพลงอัสดง สรุปในบทเพลงอัสดง ใช้วธิ กี ารร้องคาเป็นคาตาย คือ การขับ
ร้องคาเป็นคือคาทีผ่ สมด้วยสระเสียงยาว และมีตวั สะกดในแม่กง กน กลม เกย เกอว ในการขับร้อง
จะต้องลากคาร้องให้ยาวตามความหมายของคา ส่วนคาตายจะเป็ นคาที่ผสมด้วยสระเสียงสัน้ และ
มีตวั สะกดในแม่กก กด กบ ในการขับร้องจะต้องขับร้องเสียงสัน้ ด้ว ยวิธหี ยุดหางเสียงเพื่อให้ได้
ความหมายของคาก่อนแล้วจึงปล่อยหางเสียงให้ยาวต่อไปตามจังหวะของเพลง ส่วนในเพลงอัสดง
มีคาร้องที่เป็ นคาเป็ นและคาตายหลายคาด้วยกัน ผู้วจิ ยั ขอยกตัวอย่างการร้องคาเป็ นและคาตาย
ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ
คาร้องทีเ่ ป็น คาเป็ น
คาว่า...นาน... สระ อา และสะกดด้วย น ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า นาน
คาว่า...อ้างว้าง... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า อ้างว้าง
ค าว่า ...สายชล... สระ โอะ และสะกดด้ว ย ล ใช้เ ทคนิ ค การลากเสีย ง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า สายชล
ค าว่า ...หลงทาง... สระ อา และสะกดด้ว ย ง ใช้เ ทคนิค การลากเสีย ง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า หลงทาง
คาว่า...เรืองรอง... สระ อือ และสะกดด้ว ย ง ใช้เ ทคนิค การลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เรืองรอง
คาว่า...เลือนราง... สระ อือ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้องให้ยาวขึน้ เป็ น
คาว่า เลือนราง
คาว่า...ชีท้ าง ... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ชีท้ าง
คาว่า...เงาดา... สระ เอา ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้ใช้เทคนิคการลากเสียง
คาร้องให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า เงาดา
คาว่า...อาพราง... สระ อา และสะกดด้วย ง ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า อาพราง
คาร้องทีเ่ ป็น คาตาย
210

คาว่า...นับนาน... สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง


ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า นับนาน
คาว่า...ลับตา... สระ อะ และสะกดด้วย บ ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ ลับตา
คาว่า...สักวัน... สระ อะ และสะกดด้วย ก ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวเป็นคาว่า สักวัน
คาว่า...สุขสันต์... สระ อุ และสะกดด้วย ข ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า สุขสันต์
คาว่า...ขีดเกณฑ์... สระ อิ และสะกดด้วย ด ใช้เทคนิคการลากเสียงคาร้อง
ให้ยาวขึน้ เป็นคาว่า ขีดเกณฑ์
3.3 การสื่อความหมาย (Interpretation)
3.3.1 การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ
3.3.2 การใช้เทคนิคภวารมณียะ
1) เพลงสุดแหงา
สรุปการสื่อความหมาย (Interpretation) ในการศึกษาวิเคราะห์การสื่อ
ความหมายในบทเพลง ผูว้ จิ ยั ได้แบ่งหัวข้อย่อยในการวิเคราะห์ 2 หัวข้อ ดังนี้
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ ได้ใช้สุนทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั
ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือ คาว่า..ร้อน
สุ ดร้อนได้ถ่ ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุ นทรียรส คือ รสค าหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้ นค าด้ว ย
น้ าเสียงที่ดงั แสดงถึงความรุ่มร้อนทีถ่ งึ ที่สุด คาว่า...หนาวเหน็บหนาว...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้
สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วยการเน้นคาด้วยน้ าเสียงที่ดงั แสดงถึงความเหน็บหนาว
ในอารมณ์ทถ่ี งึ ทีส่ ุด คาว่า...ยามฉันอยูเ่ ดียวดาย...ขาดเธอ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ
รสแห่งความเศร้า เหงา เดียวดายหรือสัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย โดยการขับร้องแบบ
พลิ้วเสียง ซึ่งเป็ นการเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะ
คาว่า...ขาดเธอ…คาว่า...ฉันยอมรับความเหงา...เศร้าตรม...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ
รสแห่งความเศร้าหรือสัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย โดยใช้เสียงครวญ... เศร้าสร้อย...ซึง่ มี
ลักษณะ...แผ่วเบาผสมความสะอืน้ ..ในน้าเสียง คาว่า...จนกว่าความระทม...ผ่อนคลาย...ได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความทุกข์หรือสัลลาปงั คพิสยั ในรสของวรรณคดีไทย ใช้การ
แผ่วเสียงที.่ ..แผ่วเบา...ซึง่ มีลกั ษณะแสดงออกถึงความหลุดพ้นจากความทุกข์ ความเหงาในน้ าเสียง
ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ...ผ่อนคลาย...คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ มีลกั ษณะการขับร้องก่อให้เกิด ภวารมณียะ
คือ คาว่า...ขาดเธอ...โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว
211

C# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...จากเธอไป...


โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว C# ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...อารมณ์...โน้ตตัว C# และมีเสียงโน้ต
ตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิด
อารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ผ่อนคลาย...โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียง
ให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับ
ผูข้ บั ร้อง
2) เพลงดอกไม้ช่อนี้
(1) การใช้สุ นทรียรสในการถ่ ายทอดอารมณ์ ความรู้ส ึก ได้ใช้สุ นทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั
ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสที่ใช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ที่สาคัญๆในบทเพลง คือคาว่า...และ
บอกว่าแทน...ความรักในใจ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก โดยการเน้น
เสียงแล้วลากเสียงยาวขึน้ คาว่า...ยัวใจของ...ฉั
่ น...ให้ฝนั ฟื่ องฟู...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส
คือ รสแห่งความรักหรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยเฉพาะคาว่า...ฉัน... คาว่า...หมด
ความฉ่ าหวาน...ชื่นชู...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรักหรือนารีปราโมทย์
ในรสของวรรณคดีไทย การขับร้องแบบพลิว้ เสียง ซึง่ เป็ นการเน้ นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมี
การสันของเสี
่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ชื่นชู...คาว่า...รักปลอมคุณ...อยู่...ข้างใน..ได้ถ่ายทอด
อารมณ์ โ ดยใช้สุ นทรีย รส คือ รสแห่ ง ความผิด หวัง หรือ สัล ลาป งั คพิไ สยในรสของวรรณคดีไ ทย
โดยการทอดเสีย งลงและลากเสีย งโดยเฉพาะค าว่ า ...อยู่. ..ข้า งใน... ค าว่ า โปรดจง...รับ ไป...
ฉันไม่ต้องการ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความผิดหวัง หรือสัลลาปงั คพิไสย
ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงพร้อมทัง้ ลากเสียงโดยเฉพาะคาว่า...ฉันไม่ตอ้ งการ...
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิด ภวารมณียะ
คือ คาว่า...ช่อนี้...โน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว
A# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...เรื่อยมา...โน้ต
ตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะการขับ
ร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้อง คาว่า...ลาวัณย์...ในบทเพลงดอกไม้ช่อนี้
ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล โน้ตตัว C# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ต
ตัว D# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ชื่นชู...
โน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้องคาว่า...จึงรู.้ .. โน้ตตัว A# และ
มีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้
ผูฟ้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ต้องการ...โน้ตตัว G# และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้
212

ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A# ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์


คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
3) เพลงไฟ
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้ส ึ ก ได้ใช้สุนทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั
ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือ คาว่า...ไฟ...
ทีแ่ ผดและเผา...ทุกสิง่ ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือรสคาหรือรสถ้อย โดยขับร้องด้วย
การเน้นเสียงแล้วลากเสียงให้ยาวขึน้ และมีการสันของเสี่ ยง (Vibrato) โดยเฉพาะคาว่า...ไฟ...และ
คาว่า...เผา...ทุกสิง่ เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทยซึง่ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่า
ไฟนัน้ ร้อนแรงจริงๆและทาลายทุกสิง่ ทุกอย่างให้หมด คาว่าร้อน...จนสุดจะทานทน...ได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการการเน้นเสียงแล้วทาเสียงให้เบาลงเปรียบเทียบ
ได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทย ซึง่ ทาให้รสู้ กึ ร้อนมากแทบทนไม่ไหว คาว่า...และสิง่ สุดท้าย...
เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก โดยการแผ่วเสียง
ให้เบาลง รูส้ กึ ถึงการหมดสิน้ เหลือเพียงเถ้าธุลโี ดยเฉพะคาว่า...ไฟ...เหมือนดังนรก...หมกสุ
่ มชีว.ี ..ได้
ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรยรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงให้ดงั แรงขึน้ เปรียบเทียบ
ได้กบั พิโรธวาทังในรสของวรรณดีไทย เป็ นการเปรียบเทียบไฟเหมือนนรกทีอ่ ยู่ในใจคน โดยเฉพาะ
คาว่า...นรก... คาว่าโอ้เปลวไฟนัน้ ...เหมือนใจไม่หยุดนิ่ง...เลย ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส
คือ รสค าหรือรสถ้อ ย โดยการทอดเสียงและทาเสียงเบาลง เปรียบเทียบได้กบั พิโรธวาทังในรส
ของวรรณดีไทย ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ว่าเปลวไฟนัน้ ไม่มวี นั ทีจ่ ะหยุดนิ่งเหมือนจิตใจคน
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ ได้ใช้เทคนิคภวารมณียะ ในบทเพลงไฟ
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล มีลกั ษณะการขับร้องที่ก่อให้เกิด ภวารมณียะ คือ คาว่า ไฟ...ผู้ไม่ประวิงหยุด
ผลาญ...ทาลาย…โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือ โน้ตตัว F#
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์ คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้อง คาว่า...และสิง่ สุดท้าย...
เหลือเพียงเถ้าธุล.ี ..คาว่า...สุด ท้าย...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความ
ไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า
...ถ้าดับไฟนี้...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...โอ้เปลวไฟนัน้ ...โน้ต
ตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
4) ในโลกบันเทิง
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ ได้ใช้สุนทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุ นทรียรสต่ างๆ ผู้ว ิจยั
ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆในบทเพลง คือ คาว่า...เกิด
213

มาร่วมฟ้า...เดียวกัน...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียง


และทาเสียงเบาและดังขึน้ ) คาว่า...ใฝป่ องเครือ่ งหมาย...ดารา...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส
คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงขึน้ คาว่า...ต่างเพียร...ไขว่คว้า...มาครอง...โดย
ใช้สุนทรียรส คือ รสแห่ งกิเลสความต้องการ โดยการเน้ นเสียงและมีการพลิ้วเสียงโดยมีการสัน่
ของเสียง (Vibrato) ทาให้รู้สกึ ถึงความต้องการที่ทุกคนต่างพยายามครอบครองมันจริงๆ คาว่า
โลกนี้...เจริญยืนนาน...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเมตตากรุณา โดยการ
ทอดเสียงและผ่อนเสียงดังขึน้ เป็นการแสดงถึงความเจริญของโลกมนุษย์
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิดภวารมณียะ
คือ คาว่า...ไขว่คว้า...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ต
ตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...หลงลืม...
โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ตอบสนอง...โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ต
ตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิด
อารมณ์คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้องคาว่า...สดใส...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียง
ให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับ
ผูข้ บั ร้อง คาว่า...แข่งขัน...โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือ
โน้ตตัว B ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...เจริญ...
โน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้อง
เช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
5) เพลงน้าเซาะทราย
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้ส ึก ได้ใช้สุนทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั
ขอยกตัวอย่างการใช้สุนทรียรสทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรูส้ กึ ทีส่ าคัญๆ ในบทเพลง คือคาว่า...วิง่ หา...
รักมาอ่อนใจ...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของ
วรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและทาเสียงให้เบาลง คาว่า…ชื่นฉ่ าเย็น...อยากเป็ นน้ าเซาะทราย...
ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของ วรรณคดี
ไทย โดยการเน้นเสียงและมีการแผ่วเสียง คาว่าว่ารัก...ฉันสร้างจากทราย... ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดย
ใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรสของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงและ
พลิว้ เสียง คือเป็ นการเน้นเสียงและพลิว้ เสียงและมีการสันของเสี
่ ยง (Vibrato) คาว่า... แต่รกั ของ
ทราย...จะเย็น...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความรัก หรือนารีปราโมทย์ในรส
ของวรรณคดีไทย โดยการเน้นเสียงแล้วลากเสียง คาว่า...เซาะอุรา...น้ าตากระเซ็น...ได้ถ่ายทอด
อารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้า เสียใจหรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดีไทย
โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงลงคือ เป็นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
214

(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิดภวารมณียะ


คือคาว่า...กระเซ็น...โน้ตตัว C และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ ต
ตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...แต่เธอ...
โน้ตตัว E และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว F# ลักษณะ
การขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ไม่วาย...โน้ตตัว C และ
มีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้
ผูฟ้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...บอกทราย...โน้ตตัว C และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้
ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว D ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า..จานรรจา...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...ว่ารัก...โน้ตตัว B และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว C ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับ
ผูข้ บั ร้อง คาว่า…เซาะทราย...โน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ
คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า…
ความจริง...โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
6) เพลงอัสดง
(1) การใช้สุนทรียรสในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้ส ึก ได้ใช้สุนทรียรส
ในการแสดงออกถึงความประทับใจและความซาบซึ้งในบทเพลง ซึ่งเป็ นสุนทรียรสต่างๆ ผู้วจิ ยั
ขอยกตัว อย่างการใช้สุ นทรียรสที่ใ ช้ใ นการถ่ ายทอดความรู้ส ึก ที่สาคัญ ๆในบทเพลง คือ ค าว่ า
...นับนานผ่านวัน...คืนวันอ้างว้าง ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือรสแห่งความเศร้าโศก
หรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี โดยการเน้นเสียงและทอดเสียงขึน้
คาว่า...ว่ายวนสับสน...ร้าวรานจนเหลือ...พรรณา...ได้ถ่ ายทอดอารมณ์
โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความเศร้าโศก หรือสัลลาปงั คพิไสยในรสของวรรณคดี โดยการเน้นเสียง
และผ่อนเสียง คาว่า...ดังแสงทองส่องคลุม...นภาฟ้าผ่าน...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ
รสคาหรือรสถ้อย โดยการเน้นเสียงและการทาเสียงให้ดงั ขึน้ คาว่า...ชีวติ ...อื่นหมื่นพัน...สุขสันต์และ
สมปอง ได้ถ่ายทอดอารมณ์ โดยใช้สุนทรียรส คือ รสแห่งความสุข โดยการเน้ นเสียงแล้วลากเสียง
คาว่า...ชีวติ ดังเหมือน...อัสดง...ได้ถ่ายทอดอารมณ์โดยใช้สุนทรียรส คือ รสคาหรือรสถ้อย โดยการ
เน้นเสียงและผ่อนเสียง เป็นการใช้เสียงในการขับร้องให้เรียงเสียงลง
(2) การใช้เทคนิคภวารมณียะ มีลกั ษณะการขับร้องทีก่ ่อให้เกิดภวารมณียะ
คือ คาว่า...อ้างว้าง...โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว
Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...สาดซ้าโน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...วาดหวัง…โน้ตตัว A และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้
215

ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว Bb ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผู้ฟงั เกิดอารมณ์


คล้อยตามไปกับผู้ขบั ร้อง คาว่า...สักหน…โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิด
ความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง
คาว่า...เรืองรอง…โน้ตตัว G และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A
ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...มัวแสง…โน้ตตัว G
และมีเสียงโน้ตตัวบนใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว A ลักษณะการขับร้องเช่นนี้
ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง คาว่า...ดังเหมือน…โน้ตตัว D และมีเสียงโน้ตตัวบน
ใช้ตกแต่งเสียงให้เกิดความไพเราะ คือโน้ตตัว E ลักษณะการขับร้องเช่นนี้ทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์
คล้อยตามไปกับผูข้ บั ร้อง

อภิ ปรายผล
จากการวิจยั แสดงให้เห็นว่าทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลเป็ นผูม้ คี วามสามารถในการขับร้องเพลง
ไทยสากล จากความสามารถทีโ่ ดดเด็นทาให้ได้มโี อกาสสร้างผลงานการขับร้องทีไ่ ด้รบั การยอมรับ
สู่สงั คม ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้คดั เลือกบทเพลงทีส่ าคัญซึง่ ได้รบั รางวัลแผ่นเสียงทองคาพระราชทาน คือเพลง
สุดเหงา รางวัลทีวตี ุ๊กตาทองมหาชน คือเพลงดอกไม้ช่อนี้ รางวัลกรังด์ ปรีซ์ สยามกลการมิวสิค
ฟาวเดชัน่ ประเภทเพลงไทยป็ อป รางวัลพิณทอง (ชนะเลิศ) ธนาคารกสิกรไทย คือเพลงในโลก
บันเทิง รางวัลพระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทยอมตะยอดเยีย่ ม คือเพลงน้าเซาะทรายและรางวัล
พระพิฆเนศทอง ประเภทเพลงไทยสากลหญิงยอดเยี่ยม คือ เพลงอัส ดง ทิพย์ว ลั ย์ ปิ่ นภิบาล
มีเทคนิควิธกี ารขับร้องซึ่งเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตน คือ การใช้เทคนิคการบังคับควบคุมลมหายใจ
เช่น การแบ่งวรรคลมหายใจ การลากเสียงยาว สอดคล้องกับเทคนิควิธขี บั ร้องเพลงของ ดุษฎี
พนมยงค์จากหนังสือ “สานฝนั ด้วยเสียงเพลง” ของดุษฎี พนมยงค์ (2539) การเอื้อนเสียง ใช้การ
แบ่งเป็นวลีทม่ี เี นื้อหาเดียวกันโดยใช้ลมในการขับร้องเดียวกัน ซึง่ สอดคล้องกับ “ เทคนิคการขับร้อง
เพลงไทย ”ของ” กาญจนา อินทรสุนานนท์ (2540) การออกอักขระ เช่น การเน้นเสียงเน้นคา โดยใช้
เทคนิคการเน้นเสียงให้ดงั ขึน้ และเบาลง การทอดเสียงขึน้ และลง การกระโดดเสียง การพลิ้วเสียง
การผ่อนเสียง การผันอักษรตามทานอง โดยเฉพาะคาร้องทีเ่ ป็ นอักษรสูง จะใช้อกั ษรต่ าทีค่ ่กู บั อักษร
สูงผันร่ว มกันกับวรรณยุกต์และจบการผันอักษรด้วยการขึ้นนาสิกเพื่อ ให้คาชัดเจนสอดคล้องกับ
เทคนิควิธกี ารขับร้องเพลงไทยของ กาญจนา อินทรสุนานนท์ (2540) ส่วนการขับร้องคาร้องทีเ่ ป็ น
คาเป็ น จะใช้เทคนิคการลากเสียงให้ยาวขึน้ ตามความหมายของคา แต่คาร้องที่เป็ นตายใช้เทคนิค
การหยุดเสียงให้สนั ้ ลงตามความหมายของคาก่อน แล้วจึงลากเสียงให้ยาวขึน้ ตามทานองของเพลง
ซึง่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ในการขับร้องเพื่อสื่อความหมายของคา ทิพย์วลั ย์
ปิ่นภิบาล ใช้เทคนิคการถ่ายทอดสุนทรียรสของเพลง ด้วยรสคาหรือรสถ้อย สอดคล้องกับรส ใน
วรรณคดีไทยคือ รสนารีปราโมทย์ดว้ ยการใช้น้ าเสียงออดอ้อนแสดงถึงความรัก ความหวงใย รส
พิโรธวาทัง ด้วยการใช้น้ าเสียงแสดงความรุมร้อน โกรธ เกลียด เจ็บใจ รสสัลลาปงั คพิสยั ด้วยการ
216

ใช้น้ าเสียงแสดงความเศร้า เหงา ผิดหวัง เสียใจ ส่วนรสเสาวรจนี คือการบรรยายธรรมชาติ ไม่ม ี


อยู่ในบทเพลงที่นามาวิจยั และการใช้เทคนิคภวารมณียะ คือการขับร้องที่ใช้การพลิ้วเสียงท้ายคา
ด้ว ยโน้ ต สองเสียงสลับ กันเพื่อ ให้เ กิดอารมณ์ เ พลงไปตามค าร้อง ซึ่งสอดคล้อ งกับงานวิจยั ของ
ณรงค์ชยั ปิฎกรัชต์ (2554)
สรุปได้ว่าในการวิจยั วิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้พบเทคนิควิธใี นการขับร้อง
บทเพลงไทยสากลต่าง ๆ นัน้ เป็ นเทคนิควิธกี ารขับร้องทีเ่ ป็ นมาตรฐานสามารถนามาเป็ นแบบอย่าง
ในการฝึกขับร้องเพลงไทยสากลได้เป็นอย่างดี

ข้อเสนอแนะ
การวิจยั วิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ผูว้ จิ ยั ต้องการนาชีวประวัตแิ ละเทคนิค
วิธกี ารขับร้องบทเพลงไทยสากลตามแบบฉบับของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ซึง่ มีลกั ษณะเทคนิคพิเศษ
ต่างๆ ควรนามาเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์กบั การศึกษาและผู้สนใจในการขับร้องเพลงไทยสากล
โดยมีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
1. ควรนาเทคนิควิธกี ารขับร้องบทเพลงไทยสากลมาใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิขบั ร้องให้กบั
นักเรียนนักศึกษา ในสถานศึกษา และศิลปิ นเพลงไทยสากลรุ่นต่อ ๆ ไป เพื่อเป็ นการสืบสาน
การร้องเพลงไทยสากลต่อไป
2. ควรนาแนวทางการศึกษาวิธกี ารขับร้องของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล เป็ นต้นแบบใน
การศึกษาวิธกี ารขับร้องของศิลปินเพลงไทยสากลท่านอื่น ๆ อีก เพื่อจะได้มอี งค์ความรูเ้ ทคนิควิธกี าร
ขับร้องบทเพลงไทยสากลได้อย่างหลากหลาย
3. ควรทาการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างเทคนิควิธกี ารขับร้องบทเพลงไทยสากลของ
ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาลกับศิลปิ นเพลงไทยสากล ที่มชี ่อื เสียงท่านอื่น ๆ เพื่อเป็ นประโยชน์สาหรับ
นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาและศิลปินรุ่นต่อ ๆ ไป ได้นามาศึกษาและใช้เทคนิคการขับร้อง
ได้เหมาะสมกับตนเอง
บรรณานุกรม
218

บรรณานุกรม

กรมประชาสัมพันธ์, สทท.11. หน่ วยงาน. (2545). ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย, (นิตยสาร). กรุงเทพฯ:


อรุณการพิมพ์.
กาญจนา อินทรสุนานนท์. (2540). เทคนิคการขับร้องเพลงไทย. ภาควิชาดุรยิ างคศาสตร์ไทย
คณะศิลปกรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ครูบ้านนอก คอม. (2554). สุ นทรียรสในบทเพลง. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2554, จาก
http://www.kroobannok.com/blog/28489
จิระศักดิ ์ จิตตบุตร. (2542). วิเคราะห์เพลงทีป่ ระพันธ์โดย พยงค์ มุกดา. ปริญญานิพนธ์. ศป.ม.
(มานุ ษยดุรยิ างควิทยา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร
เจตนา นาควัชระ. (2540). เพราะรักจึงสมัครเข้ามาเล่น. กรุงเทพฯ: อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์พมิ พ์.
เฉลิม พล งามสุ ท ธิ . (2526). เอกสารประกอบการสอน ดุ ร ิย 102 พื้ น ฐานดนตรีต ะวัน ตก
(สังคีตนิยม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เฉลิมพล งามสุทธิ. (2538). เกิด โต แก่ ตาย สุวฒ ั น์ วรดิลก 72 ปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสาร.
ชรินทร์ นันทนาคร. (2552). ชรินทร์ นันทนาคร. สืบค้นเมือ่ 5 มีนาคม 2553, จาก
http://www.charinshow.com/
ณรงค์ชยั ปิฎกรัตน์. (2554). ภวารมณียะ ทีอ่ ยู่ในทานองเพลง. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2554,
จาก http://www.smusichome.com/index.php?
ณรงค์ ศ ั ก ดิ ์ ศรี บ รรฎาศั ก ดิ ว์ ั ช รากรณ์ . (2548). ศึ ก ษาวิ ธ ี ก ารขับ ร้ อ ง เพ็ ญ ศรี พุ่ ม ชู ศ รี .
ปริญ ญานิ พ นธ์. ศป.ม. (มานุ ษ ยดุ ร ิย างควิท ยา). กรุ ง เทพฯ: บัณ ฑิต วิท ยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ณัชชา โสคติยานุ รกั ษ์ . (2532). สังคีต ลักษณ์ และการวิเ คราะห์ . กรุงเทพฯ: จุฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ดิเรก ทัศมาลัย. (2545). ศึกษาอัตชีวประวัตแิ ละวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงของ พิมพ์
ปฏิพาณ พึง่ ธรรมจิตต์ . ปริญญานิพนธ์. ศป.ม. (มานุ ษยดุรยิ างควิทยา). กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ดุษ ฎี พนมยงค์. (2539). สานฝ นั ด้ว ยเสียงเพลง : มาฝึ กร้อ งเพลงกันเถิด . พิมพ์ค รัง้ ที่ 2.
(ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์บา้ นเพลง.
ดารงราษฎร์สงเคราะห์. (2554). รสในวรรณคดีไทย. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2553, จาก
http://www.damrong.ac.th/dslib/PDF/New/Web01/index.html.
219

นิ ต ยา อรุ ณ วงศ์ . (2547). ศึก ษาชีว ประวัติแ ละวิธ ีก ารขับ ร้อ งของ รวงทอง ทองลัน่ ธม .
ปริญ ญานิ พ นธ์. ศป.ม. (มานุ ษ ยดุ ร ิย างควิท ยา). กรุ ง เทพฯ: บัณ ฑิต วิท ยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นุ ชนาถ ศรีแดนกลาง. (2551). เพลงลูกกรุง. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2553, จาก http://bowmoonoi-
bowdangmusic.blogspot.com/2008/04/blog-post_6843.html.
เอื้อ สุ น ทรสนาน (2545). บ้า นคนรัก สุ น ทราภรณ์ . สืบ ค้น เมื่อ 5 มีน าคม 2553, จาก
http://www.websuntaraporn.com/suntaraporn/home/
ปิติ วาทยกร. (2536). “ดนตรี,” ในคอนเสริตเ์ ดีย๋ วก็ลมื ครัง้ ที ่ 1. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริน้ ติง้ กรุป๊ .
ปิ่นศิร ิ ศิรปิ ิ่น. (2551). ร้องเพลงกับครูปิ่น. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: อนิศ ดิสทริบวิ ชัน่ จากัด.
ปิ ย พัน ธ์ แสนทวีสุ ข . (2546). การประพัน ธ์เ พลง, (เอกสารประกอบการเรีย น). สาขาวิช า
ดุ ร ิย างคศิล ป์ . มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม คณะศิล ปกรรมศาสตร์ มหาวิท ยาลัย
มหาสารคาม.
พิสุทธิ ์ การบุญ. (2551). ศึกษาวิธกี ารขับร้องของ เสรี รุ่งสว่าง. ปริญญานิพนธ์. ศป.ม.
(มานุ ษยดุรยิ างควิทยา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร.
พูนพิศ อมาตยกุ ล . (2535). ภาพรวมของดนตรีใ นกลุ่ มประเทศเอเชียอาคเนย์ ดนตรีไทย
อุดมศึกษา ครัง้ ที ่ 23. (6 – 8 มกราคม 2535 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
รัฐภูม ิ ช่ างเจรจา. (2546 ). วิเ คราะห์เ พลงร้อ งของไพบูล ย์ บุ ต รขัน . ปริญ ญานิพ นธ์. ศป.ม.
(มานุ ษยดุรยิ างควิทยา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร.
วรศักดิ ์ เพียรชอบ. (2533). กิจกรรมเข้าจังหวะ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุเทพ วงศ์คาแหง. (2552). วิกิพเี ดีย สารานุ กรมเสรี. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2553, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki.
วิกิพเี ดีย สารานุ ก รมเสรี. (2554). เพลงไทยสากล. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2553, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki.
วิสา อัศเวศน์ . (2552). ความงาม, (เอกสารประกอบการสอน). จันทบุร ี: ภาควิชาศิลปกรรม,
มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี.
ส. จิต รมันคง, ่ นามแฝง. (2512). “รวมเพลงเก่ า – ใหม่ จากนัก ร้อ งคณะสุ น ทราภรณ์ ” .
พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : ทวีกจิ การพิมพ์.
สมชาย รัศมี. (2536). การเรียบเรียงเสียงประสาน. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยสารพัดช่าง.
สุกรี เจริญสุข. (2538). จะฟงั ดนตรีอย่างไรให้ไพเราะ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: Dr.Sax,
สุวฒั น์ วรดิลก. (2532). สุนทราภรณ์ครึง่ ศตวรรษ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
หนังสือทีร่ ะลึก. (2532). สุนทราภรณ์ครึง่ ศตวรรษ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เพื่อชีวติ .
220

อรรณพ วรวานิช . (2547 ). ศึกษาชีว ประวัติและวิธ ีก ารขับร้อ งของ ศรีสุ ดา รัช ตะวรรณ.
ปริญญานิพนธ์. ศป.ม. (มานุษยดุรยิ างควิทยา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เอกราช เจริญนิตย์. (2537). ความรูท้ วไปทางวรรณกรรมไทย.
ั่ กรุงเทพฯ: โอเดีย้ นสโตร์.
เอกรินทร์ สีมหาศาล และคณะ. (2544). ศิลปะ ป.3. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ภาคผนวก
222

ภาคผนวก ก.
บทสัมภาษณ์
223

บทสัมภาษณ์ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล วันที่ 31 พฤษภาคม 2553 เวลา 17.20 น.
ณ ทีบ่ า้ น ซอยอุดมเกียรติ ์ ถนนสุทธิสาร กรุงเทพมหานคร
บทสัมภาษณ์ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

โดยสรุป เทคนิค การขับร้องเพลงของ ทิพย์วลั ย์ ว่ามีเนื้อหาในบทเพลงมีอารมณ์เพลง


อย่างไร เช่น เพลงที่เกี่ยวกับความรัก เศร้า สนุ กสนานจะมองว่าเพลงนี้มคี วามรูส้ กึ และอารมณ์
อย่างไร โดยครูเพลงจะอธิบายเป็ นคาพูดและร้องตัวอย่างให้ฟงั และเล่นเปี ยโนคลอประกอบหรือมี
เด็กร้องตัวอย่างให้ฟงั
ในเรื่องบทเพลงที่ใช้ใ นการขับร้อ งนัน้ ครูเพลงจะเป็ นผู้เลือกให้เหมาะสมกับเสียงร้อ ง
ของ ทิพย์วลั ย์และนาไปร้องทีห่ อ้ งอัดเสียง เทคนิคในการขับร้อง ทิพย์วลั ย์จะใช้ความรูส้ กึ ผ่านเสียง
ใช้คาเป็ นคาตาย คาตายต้องลากเสียงให้ต่อเนื่องกับอีกประโยคหนึ่ง ซึ่งเป็ นการร้องที่ยาก เพลงที่ดี
ต้องใส่ Melody ก่อนแล้วจึงใส่เนื้อร้อง ให้ลงตัวสะกด พยัญชนะและวรรณยุกต์ ให้เข้ากับตัวโน้ต
ส่วนทีร่ อ้ งยากจะต้องมีการเปลีย่ นเนื้อร้องให้ เข้ากับเมโลดี้ (Melody)

บทสัมภาษณ์ คุณหมอวราห์ วรเวช (ทางโทรศัพท์)


ครูเพลงทีแ่ ต่งเพลงให้แก่ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล
วันที่ 25 มิถุนายน 2553 เวลา 17.00 น. ณ จังหวัดจันทบุร ี

บทสัมภาษณ์ คุณหมอวราห์ วรเวช โดยสรุป เรื่องที่มาของบทเพลงลูกกรุงที่ประพันธ์


สาหรับ ทิพ วัล ย์ ปิ่ น ภิบาล ได้ก ล่ า วถึงขัน้ ตอนการประพัน ธ์เ พลงโดยเริม่ จากการจับ แนวเสีย ง
และแต่งตามความต้องการของบริษัทหรือค่ายเพลง โดยเอาแนวเสียงเป็ นหลัก เพราะแนวเสียง
ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เสียงของ ทิพวัลย์ ปิ่ นภิบาล เป็ นเสียงสากล ร้องเสียงชัด มี Power
และมีอารมณ์เพลงดี การประพันธ์เพลงใช้เนื้อ หาของเพลงเกี่ยวกับชีวติ จริง เรื่องราว นิยามชีวติ
ความเศร้า ความสุข และความรักและมาร้อยเรียงเป็ นบทเพลง เช่น เพลงสุดเหงา ได้รบั รางวัล
แผ่นสี ยงทองคาพระราชทาน ปี พุทธสักราช 2524 ซึ่งทิพย์วลั ย์ใช้เทคนิคในการขับร้องดีและ
ถ่ายทอดอารมณ์ลงในบทเพลงได้อย่างดีเยีย่ ม
การต่ อ เพลง ครู จ ะต่ อ เพลงให้ไ ด้ท านองก่ อ นและครูเ ป็ น ผู้ร้อ งให้ฟ งั ก่ อ น พร้อ มทัง้
ใส่อารมณ์เพลงให้นักร้องได้ฟงั เพื่อจะได้ทราบถึงอารมณ์เพลงที่มใี นบทเพลง การต่อเพลงจะต่อ
หลายเทีย่ วในแต่ละเพลง
224

บทสัมภาษณ์ ครูชยั รัตน์ วงษ์เกียรติ ขจร (ทางโทรศัพท์)


ครูเพลงทีแ่ ต่งเพลงให้ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล
วันที่ 25 มิถุนายน 2553 เวลา 20.00 น. ณ จังหวัดจันทบุร ี

บทสัม ภาษณ์ ค รูช ัย รัต น์ วงษ์ เ กีย รติข จร โดยสรุป เรื่อ งที่ม าของบทเพลงลู ก กรุ ง
ที่ประพันธ์สาหรับ ทิพย์วลั ย์ ปิ่ นภิบาล ได้กล่ าวถึงขัน้ ตอนการประพันธ์เพลงโดยเริม่ จากการ
ดูความเหมาะสมของเสียง ทิพย์วลั ย์ ปินภิบาล เป็ นเสียงทีม่ ี Power มีน้ าหนักและมีพลัง ร้องเสียง
หนัก-เบา เช่น เพลงไฟ ซึง่ เป็ นเพลงทีไ่ ด้รบั รางวัลกังปิดส์ของสยามกลการ ประกอบกับการเรียบเรียง
เสียงประสานทีไ่ พเราะ ซึง่ เป็นเพลงทีส่ ่อื อารมณ์ได้อย่างชัดเจน
ขัน้ ตอนการแต่ ง เพลง โดยการสร้า งเรื่อ งจากสิ่ง ที่พ บเห็น รอบๆตัว ในชีว ิต ประจ าวัน
เหตุการณ์จริง เรือ่ งในภาพยนตร์และจากหนังสือต่างๆ เช่น เพลงไฟ รางวัลกรังปรีซ์ สยามกลการ
มิ วสิ คฟาวเดชัน่ ประเภทเพลงไทยป็ อป นามาคิดสร้างสรรค์ ว่ามีเปลวไฟทีร่ อ้ นแรง จุดประกาย
ออกมารอบๆและใช้จนิ ตนาการในการคิด ให้ออกมาเป็ นบทเพลง โดยการใส่อารมณ์เพลงลงไป
ในบทเพลง
ขัน้ ตอนการแต่บงเพลง แบ่งออกเป็น 3 ขัน้ คือ
1. การแต่งทานองก่อน จึงตามด้วยเนื้อร้อง
2. การแต่งเนื้อร้องก่อน จึงตามด้วยทานอง
3. การแต่งทัง้ เนื้อร้องและทานองควบคู่กนั ไป
การต่อเพลงให้กบั นักร้อง ครูชยั รัตน์ ใช้วธิ กี าร้องอัดเทปไว้และให้นักร้องกลับไปฟงั ทีบ่ า้ น
หรือโดยการต่อตัวต่อตัว คือ ครูรอ้ งให้ฟงั ก่อนและให้ทพิ ย์วลั ย์ ร้องตาม ทีละประโยคเพลง พร้อม
ทัง้ สอดใส่อารมณ์เพลงไปพร้อมกัน โดยครูเพลงเป็นผูแ้ นะนาให้กบั ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

บทสัมภาษณ์ คุณพงษ์พรหม สนิ ทวงศ์ (ทางโทรศัพท์)


ครูเพลงทีแ่ ต่งเพลงให้ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล
วันที่ 29 มิถุนายน 2553 เวลา 10.00 น. ณ จังหวัดจันทบุร ี

บทสัมภาษณ์คุณพงษ์พรหม สนิทวงศ์ โดยสรุป เรื่องทีม่ าของบทเพลงลูกกรุงทีป่ ระพันธ์


สาหรับ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ได้กล่าวถึงขัน้ ตอนการประพันธ์เพลงโดยเริม่ จากการเลือกนักร้องให้ม ี
ความเหมาะสมกับเพลง ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล เป็ นนักร้องทีร่ อ้ งเพลงเต็มเสียง ร้องเพลงมีพลังเสียง
และมีการใส่อารมณ์ ลงในบทเพลงได้ดี จึงเลือกให้คุณทิพย์วลั ย์เป็ นผู้ขบั ร้องเพลงนี้ เช่น เพลง
อัสดง ซึง่ เป็นเพลงทีท่ พิ ย์วลั ย์ ได้รบั รางวัลพระพิ ฆเนศทอง ปี พุทธศักราช 2548 ประเภทเพลง
ไทยสากลยอดเยี่ยมหญิ ง เป็นเพลงเกีย่ วกับการเปรียบเทียบธรรมชาติกบั เรื่องของความรักทีม่ แี ต่
ความผิด หวัง ซึ่ง ทิพ ย์ว ัล ย์ก็ส ามารถร้อ งได้ดีแ ละถ่ า ยถอดอารมณ์ ล งในเนื้ อ หาของบทเพลง
ได้อย่างดี
225

ขัน้ ตอนในการประพันธ์เพลง
1. การแต่งทานองก่อนและนาประโยคในทานองเพลงมาสัมพันธ์กนั
2. แต่งคาร้องก่อนและใส่ทานองเพลง โดยมีประโยคสัมผัสในแต่ละประโยคเพลง
การแต่งเพลงเกี่ยวกับเรื่องอะไรให้จนิ ตนาการเกี่ยวกับเรื่องนัน้ เช่น เพลงเกี่ยวกับความรัก
การอกหัก สิง่ แวดล้อมรอบ ๆ ตัว เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ เช่น เพลงร่มฉัตร ซึง่ เป็ นเพลงจาก
ละครของช่อง 3
การต่อเพลง โดยการดูเสียงของ ทิพย์วลั ย์ ว่าอยู่ในคีย์อะไร มีเสียงสูง - ต่ า มากน้ อย
แค่ ไ หน ครูเ พลงจะร้อ งท านองเป็ นหลัก ก่ อ น โดยวิธ ีก ารร้อ งอัด เสีย งให้ไ ปเปิ ด ฟ งั ก่ อ น และจึง
ให้ ม าต่ อ เพลง โดยครู เ พลงจะขัด เกลาในส่ ว นที่ย ัง ร้อ งไม่ ถู ก ต้ อ งอีก ทีห นึ่ ง ด้ ว ยวิธ ีร้อ งให้ ฟ งั
ทีละประโยคเพลง
ภาคผนวก ข
โน้ ตสากลเพลงของ ทิพย์ วลั ย์ ปิ่ นภิบาล
227
228
229
230

4.
44.
231
232
ภาคผนวก ค.
ประมวลภาพ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล

ภาพ ผลงานเพลงที่ได้รบั รางวัล


234

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาลได้รบั รางวัลพระพิฆเนศทองพระราชทานจากสมเด็จพระเทพฯ


ประเภทขับร้องหญิงยอดเยีย่ มและเพลงอมตะ จากบทเพลงน้าเซาะทราย

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล รับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพฯ


ประเภทเพลงไทยสากลยอดเยีย่ ม จากบทเพลงอัสดง
235

ภาพ ครัง้ เมือ่ รับรางวัลแผ่นเสียงทองคา กับ แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์

ภาพ นักร้องแผ่นเสียงทองคา ปี 2526 ประเภทลูกกรุงและลูกทุ่งถ่ายรูปพร้อม


พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพล ทิฆมั พร ณ โรงละครแห่งชาติ
236

ภาพ ทิพย์วลั ย์ รับรางวัลแผ่นเสียงทองคา จากบทเพลง สุดเหงา

ภาพ ทิพย์วลั ย์ เป็นตัวแทนนักร้องไทย ไปร่วมงานมหกรรมเพลงอาเซียน


ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมือ่ ปีพุทธศักราช 2526
237

ภาพ ทิพย์วลั ย์ เป็นตัวแทนนักร้องเอเชีย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย


เมือ่ ปีพุทธศักราช 2526 1 ในจานวน 11 คน

ภาพ ทิพย์วลั ย์ เป็นตัวแทนนักร้องเอเชีย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย


เมือ่ ปีพุทธศักราช 2526
238

ภาพ ทิพย์วลั ย์ รับรางวัลแผ่นเสียงทองคา กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพล ทิฆมั พร


ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

ภาพ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ถ่ายคู่กบั สุดา ชื่นบาน

อัลบัมเพลงต่
้ างๆ
239

อัลบัม้ ชุด มาซิขยับมาซิ

อัลบัม้ ชุด สายเลือดเดียวกัน


240

อัลบัม้ ชุดพรหมลิขติ

อัลบัม้ รวมของ ทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล


241

อัลบัม้ ชุด ดอกจัน 2

อัลบัม้ ชุด วันวาน


242

อัลบัม้ ชุด ทิพย์วลั ย์ 25 สองภาษา

อัลบัม้ ชุด ทะเลจันทร์ บทเพลงทีท่ พิ ย์วลั ย์ได้รบั รางวัล เช่น เพลงสุดเหงา ,อัสดง ,น้าเซาะทราย ,ไฟ
243

ภาพ ทิพย์วลั ย์ ถ่ายคู่กบั สุดา ชื่นบาน

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ไปร่วมงานเลีย้ งวันเกิด ณ บ้านคุณสุจนิ ดา คราประยูร

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ไปร่วมงานเลีย้ งวันเกิด ณ บ้านคุณสุจนิ ดา คราประยูร


244

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์รว่ มงานคอนเสิรต์ การกุศล 35 ประชาร่วมใจ บทเพลงของท่านผูห้ ญิง


พวงร้อยอภัยวงศ์และหม่อมหลวงประพันธ์ อภัยวงศ์
245

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ถ่ายคู่กบั คุณไกรวิท พุ่มสุโข ณ โรงละครแห่งชาติ

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ถ่ายคู่กบั คุณทะนงศักดิ ์ ขณะลงเรือ ไปถ่ายมิวสิควีดโี อ ทีป่ ระเทศเกาหลี

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ไปขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์


ณ วังพญาไท ถนนราชวิถี กรุงเทพฯ
246

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ไปถ่ายมิวสิควิดโี อที่ ประเทศเกาหลี

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ถ่ายคู่กบั คุณรุง่ ฤดี แพ่งผ่องใสและเกวลิน บุญศิรธิ รรม ทีป่ ระเทศฮ่องกง
247

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ขบั ร้องเพลง งานคอนเสิรต์ ทิพย์วลั ย์ ณ ศูนย์วฒ


ั นธรรมแห่งชาติ

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ค่กู บั อาจารย์ศุภชัย จันทสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ


ณ พระราชวังพญาไท ถนนราชวิถี กรุงเทพฯ
248

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล งานคอนเสิรต์ คุณวินยั พันธุรกั ษ์

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ กับ คุณเชษฐา ศิระฉายา งานคอนเสิรต์ คุณวินยั พันธุรกั ษ์


249

ภาพ ทิพย์วลั ย์ ถ่ายกับ นันทิดา แก้วบัวสายและ มณีนุช เสมรสุต


ในรายการออนสตาร์วาไรตี้ ไทยทีวสี ชี ่อง 7
250

ภาพ การแสดงคอนเสิรต์ รักเพลงไทย รัตติกาล สู่รงุ่ อรุณ


วันที่ 29 – 30 พฤศจิกายน 2551 เวลา 13.30 น.
ณ หอประชุมใหญ่ศูนย์วฒ ั นธรรมแห่งชาติ
251

ภาพ ทิ พย์วลั ย์ ปิ่ นภิ บาล กับ ผูส้ มั ภาษณ์

ภาพ สัมภาษณ์คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ณ ทีบ่ า้ นซอยอุดมเกียรติ ์ ถนนสุทธิสาร กรุงเทพฯ

ภาพ คุณทิพย์วลั ย์ ปิ่นภิบาล ณ บ้านซอยอุดมเกียรติ ์ ถนนสุทธิสาร กรุงเทพฯ


ประวัติย่อวิจยั
253

ประวัติย่อผูว้ ิ จยั

ชื่อ – นามสกุล นางวรรณี เพลินทรัพย์


วันเดือนปี เกิ ด วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2507
ที่อยู่ 1174 ถ.ท่าแฉลบ ต.ตลาด อ.เมือง จ.จันทบุร ี
สถานที่ทางาน วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุร ี อ.เมือง จ.จันทบุร ี

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2529 ประกาศนียบัตรนาฎศิลปชัน้ สูง (ปนส.)
พ.ศ. 2534 ครุศาสตร์บณ
ั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี (ค.บ.)
พ.ศ. 2554 ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศปม.) มานุษยดุรยิ างควิทยา
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

You might also like