You are on page 1of 4

ชื่อเรื่อง บานไม่รู้โรยดินไทย

โดยนางจิราพรรณ ไชยหาญ

บานไม่รู้โรยดินไทย เป็นการนาดินไทยที่หาซื้อได้ง่ายในท้องตลาด และราคาไม่แพง


สามารถนาไปสร้างสรรค์งานจากดินไทยให้เป็นศิลปะ ที่มีความสวยงาม ประกอบกับความพยายาม
ประดิดประดอยให้มีความเป็นธรรมชาติเหมือนจริง ทั้งสีสัน และรูปทรง เหมาะสาหรับผู้ที่มีใจรัก และ
มีเวลาว่าง ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติไม่นาน การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ไม่ยุ่งยากมาก

ประวัติของดินญี่ปุ่น – ดินไทย

เริ่มจากชาวยุโรปที่นาขนมปังที่เหลือจากการรับประทานเอามาปั้นเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ
และดอกไม้ได้มีการพัฒนาใส่สีสันลงไป แต่ยังมีข้อเสียคือ แมลงชอบกัดกิน และอาจเกิดเชื้อราได้
ต่อมาประเทศญี่ปุ่นได้คิดประดิษฐ์งานปั้นบ้าง แต่ก็ยังพบปัญหาเช่นเดียวกันกับยุโรป
จนกระทั่งพัฒนาจากการนาแป้งมาปั้นเป็นดินญี่ปุ่น (Clay) ซึ่งประส่วนผสมครั้งแรกก็ยังมีแป้งผสมอยู่
ต่อมาได้พัฒนาเป็นแป้งทางเคมี ซึ่งดินของญี่ปุ่นเริ่มเข้ามานิยมในประเทศไทยราวปี 2530 มีอาจารย์
ชาวญี่ปุ่นเปิดสอนการปั้นตุ๊กตาและดอกไม้ ต่อมาคนไทยที่รักงานปั้นก็คิดส่วยผสมขึ้นมา
ดินไทย (Thai Clay) เป็นดินสาเร็จรูปสาหรับปั้นดอกไม้หรือของจิ๋ว ขึ้นอยู่กับ
คุณสมบัติของสูตรดิน ส่วนใหญ่สูตรดินจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือดินที่มีส่วนผสมของแป้งและกาวลา
เท็กซ์ซึ่งจะมีลักษณะใส เมื่อชิ้นงานแป้ง และสูตรที่ 2 คือดินที่มีข้าวเป็นส่วนผสม เพื่อป้องกันแมลง
รบกวน และไม่ขึ้นรา เช่นดินไทยเจ้าพระยา

อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทา

1. ดินไทย
2. กรรไกร
3. สีน้ามัน
4. ไม้จิ้มฟัน
5. ลวด
ภาพแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน

อุปกรณ์

นากรรไกรตัดให้เป็นกลีบทีละกลีบ
เมื่อเสร็จแล้วเสียบไม้จิ้มฟันปักโฟมไว้รอจนแข็ง

นาประกอบเข้าช่อเป็นต้น
รูปสาเร็จ
สรุป

การฝึกปฏิบัติงานปั้น บานไม่รู้โรยดินไทยเป็นการสร้างสรรค์ดินไทยให้มีคุณค่า ใช้เวลาว่างให้


เกิดประโยชน์ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการสร้างรายได้เสริมได้ เนื่องจากดินไทยหาซื้อได้ง่ายจาก
ร้านค้างานประดิษฐ์ต่าง ๆ ราคาไม่แพง หากท่านใดสนใจสามารถพัฒนาฝีมือให้ดีขึ้นได้

วิทยากรให้ความรู้
บ้านดินหอมจังหวัดสมุทรสงคราม เบอร์โทรศัพท์ 081 – 3983171

You might also like