You are on page 1of 34

ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 1

แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดการเรียนรายบุคคล ชุดที่ 1 พระไตรปิ ฎก
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบมีท้ งั หมด 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด แล้วทาเครื่ องหมาย x ลงในช่อง ก ข ค และ ง
ให้ตรงกับข้อที่นกั เรี ยนเลือกตอบ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ข้ อใดอธิบายความหมายของพระไตรปิ ฎกได้ ชัดเจนทีส่ ุ ด
ก. หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาที่มีการสังคายนาแล้ว
ข. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็ นหมวดหมู่
ค. เป็ นหนังสื อรวมพระธรรมวินยั ไว้เป็ นหมวดหมู่
ง. คัมภีร์ของพระพุทธศาสนาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
2. พระไตรปิ ฎกฉบับภาษาไทยได้ รับการจัดพิมพ์ครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ ใด
ก. รัชกาลที่ 3
ข. รัชกาลที่ 4
ค. รัชกาลที่ 5
ง. รัชกาลที่ 6
3. การศึกษาภาษาบาลีจนมีความเข้ าใจแตกฉาน มีผลดีในเรื่องใดมากทีส่ ุ ด
ก. สอบเรี ยนต่อในโรงเรี ยนปริ ยตั ิธรรมได้
ข. เป็ นการรักษาหรื ออนุรักษ์วฒั นธรรมทางด้านภาษา
ค. สามารถฟังพระสงฆ์สวดมนต์แล้วเข้าใจความหมาย
ง. เข้าใจคาสอนของพระพุทธศาสนาในพระไตรปิ ฎก ฉบับภาษาบาลี
4. วิธีการเผยแพร่ พระไตรปิ ฎกทีป่ ระสบความสาเร็จมากทีส่ ุ ด คือข้ อใด
ก. การเทศนาสัง่ สอนหรื อการบอกธรรม
ข. การพิมพ์หนังสื อพระไตรปิ ฎกจานวนมาก
ค. การจารึ กข้อความบนแผ่นศิลา และตามผนังโบสถ์
ง. การใช้เทคนิคในการอธิบายความรู้ในพระไตรปิ ฎกของพระสงฆ์
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 2

5. ข้ อความเกีย่ วกับคุณค่ า และความสาคัญของพระไตรปิ ฎก ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง


ก. เป็ นที่รวบรวมพระพุทธวจนะ
ข. เป็ นหลักฐานอ้างอิงความถูกต้องทางพระพุทธศาสนา
ค. เป็ นที่รวบรวมประวัติความเป็ นมาของพระพุทธศาสนา
ง. เป็ นเกณฑ์มาตรฐานตรวจสอบคาสอนในพระพุทธศาสนา
6. เพราะเหตุใด พระไตรปิ ฎกจึงได้ ชื่อว่า เป็ นแหล่ งความรู้
ก. เพราะมีขอ้ มูลและแนวคิดที่แตกต่างกัน
ข. เพราะมีภาษาบาลีเป็ นภาษาที่ทุกชาติให้ความสนใจศึกษา
ค. เพราะมีเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอย่างละเอียด
ง. เพราะคาสอนในพระพุทธศาสนาเชื่อมโยงหรื อครอบคลุมวิทยาการหลายสาขา
7. เพราะเหตุใด พระไตรปิ ฎกจึงได้ ชื่อว่า เป็ นคัมภีร์ชีวติ
ก. เพราะเป็ นหลักความจริ งของชีวติ คนที่มีการเวียน ว่าย ตาย เกิด
ข. เพราะมีคาสอนที่เป็ นหลักปฏิบตั ิเพื่อความสงบสุ ขในการดารงชีวติ
ค. เพราะมีเรื่ องราวชีวิตของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกอย่างละเอียด
ง. เพราะเป็ นแหล่งความรู ้ที่สามารถประมวลมาเป็ นแนวทางการดาเนิ นชีวติ
8. พระไตรปิ ฎกเป็ นบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ทใี่ ห้ ข้อมูลต่ างๆ หลายด้ าน
ยกเว้นด้ านใด
ก. ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ข. การเมืองการปกครอง
ค. การทดลอง
ง. การศึกษา
9. หากต้ องการศึกษาเกีย่ วกับข้ อปฏิบัติทดี่ ีงามของพระสงฆ์ควรเลือกศึกษาพระไตรปิ ฎก
ในหมวดใด
ก. พระวินยั ปิ ฎก
ข. พระสุ ตตันตปิ ฎก
ค. พระอภิธรรมปิ ฎก
ง. พระไตรปิ ฎก
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 3

10. การสั งคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1 เกิดขึน้ หลังจากที่พระพุทธเจ้ าปรินิพพานไปแล้ว


นานเท่าใด
ก. 2 เดือน
ข. 3 เดือน
ค. 4 เดือน
ง. 5 เดือน
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 4

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดการเรียนรายบุคคล เล่มที่ 1 พระไตรปิ ฎก

ชื่อ – สกุล...........................................................................ชั้น................เลขที่..........

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ได้....................คะแนน
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 5

ใบความรู้ที่ 1 พระไตรปิ ฎก

สวัสดีค่ะนักเรี ยนที่น่ารักทุกคน หากมีใครกล่าวคาว่า


“พระไตรปิ ฎก” ขึ้นมานักเรี ยนจะนึกถึงอะไรบ้างคะ
ชุดการเรี ยนรายบุคคลเล่มนี้ จะมีคาตอบเกี่ยวกับ
“พระไตรปิ ฎก” เพื่อให้นกั เรี ยนคลายข้อสงสัยกัน
เรามาเริ่ มต้นศึกษาไปพร้อม ๆ กันนะคะ

พระไตรปิ ฎกคืออะไร ทุกศาสนาจะมีคมั ภีร์หรื อตาราทางศาสนาเป็ นหลักในการสั่งสอน


แม้เดิ ม จะมิ ไ ด้ขี ดเขี ยนเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร แต่ เมื่ อมนุ ษ ย์รู้จกั ใช้
ตัวหนังสื อ ก็ได้มีการเขี ยน การจารึ กคาสอนในศาสนานั้น ๆ ไว้ เมื่ อโลกเจริ ญขึ้ นถึ งกับมี การพิมพ์
หนังสื อเป็ นเล่ม ๆ ได้ คัมภีร์ศาสนาเหล่านั้นก็มีผพู ้ ิมพ์เป็ นเล่มขึ้นโดยลาดับ พระไตรปิ ฎก หรื อที่เรี ยก
ในภาษาบาลี ว่า ติปิฎกหรื อเตปิ ฎกนั้น เป็ นคัมภีร์หรื อตาราทางพระพุทธศาสนา เช่ นเดี ยวกับไตรเวท
เป็ นคัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ ใบเบิลของศาสนาคริ สต์ อัลกุรอานของศาสนาอิสลาม
กล่าวโดยรู ปศัพท์ คาว่า "พระไตรปิ ฎก" แปลว่า 3 คัมภีร์ เมื่อแยกเป็ นคา พระ+ไตร+ปิ ฎก
- พระ เป็ นคาแสดงความเคารพหรื อยกย่อง
- ไตร แปลว่า 3
- ปิ ฎก แปลได้ 2 อย่าง คือแปลว่า คัมภีร์หรื อตาราอย่างหนึ่ง แปลว่า กระจาดหรื อตะกร้า
อย่างหนึ่ง

รวมแล้ วหมายความว่ า เป็ นที่รวบรวมคาสั่ งสอนของพระพุทธเจ้ าไว้ เป็ นหวดหมู่ ไม่ ให้ กระจัด
กระจาย คล้ายกระจาดหรือตะกร้ าอันเป็ นภาชนะใส่ ของนั่นเอง
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 6

เมื่อทราบแล้วว่า พระไตรปิ ฎก แปลว่า 3 คัมภีร์ หรื อ 3 ปิ ฎก จึงควรทราบต่อไปว่า 3 ปิ ฎก นั้นมี


อะไรบ้าง และแต่ละปิ ฎกนั้น มีความหมายหรื อใจความอย่างไร ปิ ฎก 3 นั้นประเทศไทยแบ่งออกเป็ น
ส่ วนต่าง ๆ ของแต่ละปิ ฎกดังนี้
1. พระวินัยปิ ฎก ว่าด้วยวินยั หรื อศีลของภิกษุ ภิกษุณี แบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน คือ
1.1 ส่ วนที่วา่ ด้วยศีลของภิกษุ
1.2 ส่ วนที่วา่ ด้วยศีลของภิกษุณี
1.3 ส่ วนที่วา่ ด้วยเรื่ องสาคัญ
1.4 ส่ วนที่วา่ ด้วยเรื่ องที่สาคัญรองลงมา
1.5 ส่ วนที่วา่ ด้วยเรื่ องเบ็ดเตล็ด
ชื่อในภาษาบาลีของ 5 ส่ วนนั้น คือ
1. ภิกขุวภิ งั ค์หรื อมหาวิภงั ค์
2. ภิกขุนีวภิ งั ค์
3. มหาวรรค
4. จุลวรรค
5. บริ วาร
กล่าวโดยลาดับเล่มทีพ่ มิ พ์ในประเทศไทย วินัยปิ ฎกมี 8 เล่ม คือ
ส่ วนที่ 1 ได้แก่ เล่ม 1-2 ส่ วนที่ 4 ได้แก่เล่ม 6-7
ส่ วนที่ 2 ได้แก่เล่ม 3 ส่ วนที่ 5 ได้แก่เล่ม 8
ส่ วนที่ 3 ได้แก่เล่ม 4 - 5
2. สุ ตตันตปิ ฎก ว่าด้วยพระธรรมเทศนาทัว่ ๆ ไป แบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน คือ
2.1 ส่ วนที่วา่ ด้วยพระสู ตรขนาดยาว เรี ยกว่า ทีฆทิกาย มี 34 สู ตร ได้แก่ เล่ม 9 – 11
2.2 ส่ วนที่วา่ ด้วยพระสู ตรขนาดกลาง เรี ยกว่า มัชฌิมนิกาย มี 154 สู ตร ได้แก่ เล่ม 12 - 14
2.3. ส่ วนที่ ว่ า ด้ ว ยพระสู ตรซึ่ งประมวลหรื อรวมค าสอนประเภทเดี ย วกั น ไว้ เ ป็ น
หมวดหมู่ เรี ยกว่า สังยุตตนิกาย มี 7,762 สู ตรได้แก่เล่ม 15-19
2.4. ส่ วนที่วา่ ด้วยธรรมะเป็ นข้อ ๆ ตั้งแต่ 1 ข้อถึง 11 ข้อและมากกว่านั้นเรี ยกว่า
อังคุตตรนิกาย มี 9,557 สู ตร ได้แก่เล่ม 20 – 24
2.5. ส่ วนที่วา่ ด้วยเรื่ องเบ็ดเตล็ด 15 หัวข้อ เรี ยกว่า ขุททกนิกาย จานวนสู ตรมีมากจนไม่มี
การนับจานวนไว้ ได้แก่เล่ม 25 - 33 รวมเป็ นพระสุ ตตันตปิ ฎก 25 เล่ม
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 7

3. อภิธัมมปิ ฎก ว่าด้วยธรรมะล้วน ๆ หรื อธรรมะที่สาคัญแบ่งออกเป็ น 7 ส่ วน คือ


3.1 ส่ วนที่วา่ ด้วยการรวมกลุ่มธรรมะเรี ยกว่า ธัมมสังคณี ได้แก่เล่ม 34
3.2 ส่ วนที่วา่ ด้วยการแยกกลุ่มธรรมะเรี ยกว่า วิภงั ค์ ได้แก่เล่ม 35
3.3 ส่ วนที่วา่ ด้วยธาตุ เรี ยกว่า ธาตุกถา ได้แก่ส่วนแรกของเล่ม 36
3.4 ส่ วนที่ว่าด้วยบัญญัติคือการนัดหมายรู ้ ทวั่ ไป เช่ น การบัญญัติบุคคล เรี ยกว่า บุคคล
บัญญัติ ได้แก่ส่วนหลังของเล่ม 36
3.5 ส่ วนที่ว่าด้วยคาถามคาตอบทางพระพุทธศาสนาที่ช้ ี ให้เห็นความเข้าใจ ผิดพลาดต่าง ๆ
เรี ยกว่า กถาวัตถุ ได้แก่เล่ม 37
3.6 ส่ วนที่วา่ ด้วยธรรมะเข้าคู่กนั เป็ น คู่ ๆ เรี ยกว่า ยมก ได้แก่ เล่ม 38 - 39
3.7 ส่ วนที่วา่ ด้วยปั จจัย คือ สิ่ งเกื้อกูลให้เกิ ดผลต่าง ๆ รวม 24 ปั จจัยเรี ยกว่า ปั ฏฐาน ได้แก่
เล่ม 40 - 45 รวม 6 เล่ม และรวมพระอภิธรรมปิ ฎกแล้วเป็ นหนังสื อ 12 เล่ม
ประเทศไทยมีการจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกจานวน 45 เล่มโดยยึดเอาจานวนปี ที่พระพุทธเจ้าทรง
ใช้สั่งสอนพุทธศาสนิกชน กล่าวโดยจานวนเล่ม
เล่ม 1 – 8 เป็ นพระวินยั ปิ ฎก
เล่ม 9 - 33 รวม 25 เล่ม เป็ นพระสุ ตตันตปิ ฎก
เล่ม 34 - 45 รวม 12 เล่ม เป็ นพระอภิธรรมปิ ฎก
สรุ ปแล้ว ประเทศไทยจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎก รวมทั้งสิ้ น 45 เล่ม
การกล่าวถึงความเป็ นมาแห่งพระไตรปิ ฎก จาเป็ นต้อง
ความเป็ นมาของพระไตรปิ ฎก กล่าวถึงเหตุการณ์ต้ งั แต่ยงั มิได้จดจารึ กเป็ นลายลักษณ์
อักษร รวมทั้งหลักฐานเรื่ องการท่องจา และข้อความที่
กระจัดกระจาย ยังมิได้จดั เป็ นหมวดหมู่ จนถึงมีการสังคายนา คือจัดระเบียบหมวดหมู่ การจารึ กเป็ น
ตัวหนังสื อการพิมพ์เป็ นเล่ม ในเบื้องแรกเห็นควรกล่าวถึงพระสาวก 4 รู ป ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับประวัติ
ความเป็ นมาแห่งพระไตรปิ ฎก คือ
1. พระอานนท์ ผูเ้ ป็ นพระอนุชา (ลูกผูพ้ ี่ผนู้ อ้ ง) และเป็ นผูอ้ ุปฐากรับใช้ใกล้ชิดของพระพุทธเจ้า
ในฐานะที่ทรงจาพระพุทธวจนะไว้ได้มาก
2. พระอุบาลี ผูเ้ ชี่ยวชาญทางวินยั ในฐานะที่ทรงจาวินยั ปิ ฎก
3. พระโสณกุฏิกณ ั ณะ ผูเ้ คยท่องจาบางส่ วนแห่งพระสุ ตตันตปิ ฎก และกล่าวข้อความนั้นด้วยปาก
เปล่าในที่เฉพาะพระพักตร์ ของพระพุทธเจ้า ได้รับสรรเสริ ญว่าทรงจาได้ดีมาก เป็ นตัวอย่างแห่งการ
ท่องจาในสมัยที่ยงั ไมมีการจารึ กพระไตรปิ ฎกเป็ นตัวหนังสื อ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 8

4. พระมหากัสสป ในฐานะเป็ นผูร้ ิ เริ่ มให้มีการสังคายนา จัดระเบียบพระพุทธวจนะให้เป็ น


หมวดหมู่ ซึ่ งเกี่ ยวโยงไปถึ งพระพุทธเจ้า พระสาริ บุตร และพระจุนทะ น้องชายพระสาริ บุตร ซึ่ งเคย
เสนอให้เห็นความสาคัญของการทาสังคายนา คือจัดระเบียบคาสอนให้เป็ นหมวดหมู่

พระอานนท์ เกีย่ วกับพระไตรปิ ฎกอย่ างไร เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จออกบรรพชาและได้ตรัสรู้


แล้วแสดงธรรมโปรดเจ้า ลัทธิ กบั ทั้ง พระราชา
และมหาชนในแว่นแคว้นต่าง ๆ ในปลายปี แรกที่ตรัสรู ้ น้ นั เอง พระพุทธบิดาก็ทรงส่ งทูตไปเชิ ญเสด็จ
พระศาสดาให้ไปแสดงธรรมโปรด ณ กรุ งกบิลพัสดุ์ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปถึงก็แสดงธรรมโปรด
พระพุทธบิดาและพระประยูรญาติแล้ว พระประยูรญาติต่างพากันเลื่อมใสให้โอรสของตนออกบวชใน
สานักของพระพุทธเจ้าเป็ นอันมาก พระอานนท์เป็ นโอรสของเจ้าชายสุ กโกทนศกายะ ผูเ้ ป็ นพระอนุชา
ของพระเจ้าสุ ทโธทนะ จึงนับเป็ นพระอนุชาหรื อลูกผูน้ อ้ งของพระพุทธเจ้า ท่านออกบวชพร้อมกับราช
กุมารอื่น ๆ อีก คือ 1. อนุรุทธะ 2. ภัคคุ 3. กิมพิละ 4. ภัททิยะ รวมเป็ น 5 ท่านในฝ่ ายศากยวงศ์ เมื่อรวม
กับเทวทัต ซึ่ งเป็ นราชกุมารในโกลิยวงศ์ 1 กับอุบาลี เป็ นพนักงานภูษามาลา มีหน้าที่เป็ นช่ างกัลบก
อีก 1 จึงรวมเป็ น 7 ท่านด้วยกัน 7 ท่านนี้ เมื่ออกบวชแล้วมีชื่อเสี ยงมากอยู่ 4 ท่าน คือ พระอานนท์ เป็ น
พุทธอุปฐาก ทรงจาพระพุทธวจนะได้มาก พระอนุ รุทธ์ ชานาญในทิพยจักษุ พระอุบาลี ทรงจาและ
ชานาญในทางพระวินยั กับพระเทวทัต มีชื่อเสี ยงในทาง ก่อเรื่ องยุ่งยากในสังฆมณฑล จะขอปกครอง
คณะสงฆ์แทนพระพุทธเจ้า
กล่าวเฉพาะพระอานนท์ เป็ นผูท้ ี่สงฆ์เลือกให้ทาหน้าที่เป็ นพุทธอุปฐาก ก่อนที่จะรับหน้าที่น้ ี
ได้ขอ เงื่อนไข 8 ประการจากพระพุทธเจ้า เป็ นเงื่อนไขฝ่ ายปฏิเสธ 4 ข้อ เงื่อนไขฝ่ ายขอร้อง 4 ข้อ คือ
เงื่อนไขฝ่ ายปฏิเสธ
1. ถ้าพระผูม้ ีพระภาคจักไม่ประทานจีวรอันประณี ตที่ได้แล้วแก่ขา้ พระองค์
2. ถ้าพระผูม้ ีพระภาคจักไม่ประทานบิณฑบาตอันประณี ตที่ได้แล้วแก่ขา้ พระองค์
3. ถ้าพระผูม้ ีพระภาคจักไม่โปรดให้ขา้ พระองค์อยูใ่ นที่ประทับของพระองค์
4. ถ้าพระผูม้ ีพระภาคจักไม่ทรงพาข้าพระองค์ไปในที่นิมนต์
เงื่อนไขฝ่ ายขอร้ อง
5. ถ้าพระองค์จดั เสด็จไปสู่ ที่นิมนต์ ที่ขา้ พระองค์รับไว้
6. ถ้าข้าพระองค์จกั นาบริ ษทั ซึ่ งมาเฝ้ าพระองค์แต่ที่ไกล ให้เข้าเฝ้ าได้ในขณะที่มาแล้ว
7. ถ้าความสงสัยของข้าพระองค์เกิดขึ้นเมื่อใด ขอให้ได้เข้าเฝ้ าทูลถามเมื่อนั้น และ
8. ถ้าพระองค์ทรงแสดงข้อความอันใดในที่ลบั หลังข้าพระองค์ ครั้นเสด็จมาแล้วจักตรัสบอก
ข้อความอันนั้นแก่ขา้ พระองค์
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 9

พระพุทธเจ้าตรัสถามว่า ที่ขอเงื่อนไขฝ่ ายปฏิ เสธนั้นเพื่ออะไร พระอานนท์กราบทูลว่า เพื่อ


ป้ องกันผูก้ ล่ า วหาว่า ท่ า นอุ ป ฐากพระพุ ทธเจ้า เพราะเห็ นแก่ ล าภสัก การะ ส่ วนเงื่ อนไขฝ่ ายขอร้ อง
4 ข้อนั้น ท่านก็กราบทูลว่า 3 ข้อต้น เพื่อป้ องกันผูก้ ล่าวหาว่า พระอานนท์จะอุปฐากพระพุทธเจ้าทาไม
ในเมื่อพระพุทธเจ้าไม่ทรงอนุ เคราะห์แม้ดว้ ยเรื่ องเพียงเท่านี้ ส่ วนเงื่ อนไขข้อสุ ดท้ายก็เพื่อว่า ถ้ามีใคร
ถามท่านในที่ลบั หลังพระพุทธเจ้าว่า คาถานี้ สู ตรนี้ ชาดกนี้ พระผูม้ ีพระภาคทรงแสดงในที่ไหน ถ้า
พระอานนท์ตอบไม่ได้ ก็จะมีผกู ้ ล่าวว่า พระอานนท์ตามเสด็จไปดุจเงาตามตัว แม้เรื่ องเพียงเท่านี้ ก็ไม่รู้
เมื่อพระอานนท์กราบทูลชี้แจงดังนั้นแล้ว พระศาสดาก็ทรงตกลงประทานพรหรื อเงื่อนไขทั้งแปดข้อ
เฉพาะพรข้อที่ 8 เป็ นอุปการะแก่การที่จะรวบรวมพระพุทธวจนะเป็ นหมวดหมู่อย่างยิ่ง เพราะ
เมื่อพระพุทธเจ้าปริ นิพพานแล้ว พระอานนท์ได้รับหน้าที่ตอบคาถามเกี่ ยวกับพระธรรม (พระอุบาลี
วินัย ) เพื่อจัดระเบี ย บค าสอนให้เป็ นหมวดหมู่ ใ นคราวสั งคายนาครั้ งที่ 1 ภายหลังพุ ทธปริ นิพ พาน
3 เดือน
ในสมัยที่วิชาหนังสื อยังไม่เจริ ญพอที่จะใช้บนั ทึกเรื่ องราวได้ดงั่ ในปั จจุบนั มนุษย์ตอ้ งอาศัย
ความจาเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการบันทึกเรื่ องราวนั้น ๆ ไว้ แล้วบอกเล่าต่อ ๆ กันมา เรี ยกในภาษาบาลี
ว่า มุขปาฐะ พระอานนท์เป็ นผูไ้ ด้รับการยกย่องจากพระบรมศาสดาว่ามีความทรงจาดี นับว่าท่านได้มี
ส่ วนสาคัญในการรวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วจัดเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ สื บมาจนทุกวันนี้

พระอุ บาลี ออกบวชพร้ อ มกับ พระอานนท์


พระอุบาลีเกีย่ วข้ องกับพระไตรปิ ฎกอย่ างไร และราชกุมารอื่น ๆ และในฐานะที่ท่านเป็ น
ค น รั บ ใ ช้ ม า เ ดิ ม ก็ ค ว ร จ ะ เ ป็ น ผู ้ บ ว ช
คนสุ ดท้าย แต่เจ้าชายเหล่านั้นตกลงกันว่าควรให้อุบาลีบวชก่อน ตนจะได้กราบไหว้อุบาลีตามพรรษา
อายุ เป็ นการแก้ทิฏฐิมานะตั้งแต่เริ่ มแรกในการออกบวช แต่ท่านก็มีความสามารถสมกับเกียรติที่ได้รับ
จากราชกุมารเหล่านั้น คือเมื่อบวชแล้วท่านมีความสนใจกาหนดจดจาทางพระวินยั เป็ นพิเศษ มีเรื่ องเล่า
ในพระวินยั ปิ ฎก (เล่มที่ 7) ว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่ องวินยั แก่ภิกษุท้ งั หลาย แล้วทรงสรรเสริ ญวินยั
กับสรรเสริ ญท่านพระอุบาลีเป็ นอันมาก ภิกษุท้ งั หลายจึงพากันไปเรี ยนวินยั จากพระอุบาลี นอกจากนั้น
ในวินัย ปิ ฎก (เล่ ม ที่ 9) มี พ ระพุ ท ธภาษิ ต โต้ตอบกับ พระอุ บ าลี ในข้อปั ญ หาทางพระวินัย มากมาย
เป็ นการเฉลยข้อถามของพระเถระ เรี ยกหมวดนี้ วา่ อุปาลิปัญจกะ มีหวั ข้อสาคัญถึง 14 เรื่ อง ในการทา
สังคายนาครั้งที่ 1 ท่านพระอุบาลีได้รับมอบหมายให้เป็ นผูต้ อบคาถามเกี่ยวกับวินยั ปิ ฎก จึงนับว่าท่าน
เป็ นผูม้ ี ส่วนเกี่ ยวข้องโดยตรงในการช่ วยรวบรวมข้อพระวินัยต่าง ๆ ทั้งของภิ กษุและภิ กษุณีให้เป็ น
หมวดหมู่หลักฐานมาจนทุกวันนี้
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 10

ความจริ งท่ า นผู ้น้ ี ไม่ ไ ด้ เ กี่ ย วข้อ ง


พระโสณกุฏกิ ณ ั ณะเกีย่ วข้ องกับพระไตรปิ ฎกอย่ างไร โดยตรงกับพระไตรปิ ฎก แต่ประวัติ
ของท่านมี ส่วนเป็ นหลักฐานในการ
ท่องจาพระไตรปิ ฎก อันช่ วยให้เกิ ดความเข้าใจดี ในเรื่ องความเป็ นมาแห่ งพระไตรปิ ฎก เดิ มท่านเป็ น
อุบาสก เป็ นผูร้ ั บใช้ใกล้ชิดของพระมหากัจจานเถระ พานักอยู่ใกล้ภูเขาอันทอดเชื่ อมเข้าไปในนคร
ในแคว้นอวันตี ท่านเลื่อมใสในพระกัจจานเถระ และเลื่อมใสที่จะบรรพชาอุปสมบท พระเถระกล่าวว่า
เป็ นการยากที่จะประพฤติพรหมจรรย์ ท่านจึงแนะนาให้เป็ นคฤหัสถ์ ประพฤติตนแบบอนาคาริ กะ คือผู ้
ไม่ครองเรื อนไปก่ อน แต่ อุบาสกโสณกุฏิกณ ั ณะรบเร้ าบ่อย ๆ ท่านจึ งบรรพชาให้ ต่อมาอี ก 3 ปี จึ ง
รวบรวมพระได้ครบ 10 รู ป จัดการอุปสมบทให้ หมายความว่า พระโสณะต้องบรรพชาเป็ นสามเณร
อยู่ 3 ปี จึงได้อุปสมบทเป็ นภิกษุ
ต่อมาท่านลาพระมหากัจจานเถระเดินทางไปเฝ้ าพระผูม้ ีพระภาค ณ เชตวนาราม กรุ งสาวัตถี เมื่อ
ไปถึงและพระพุทธเจ้าตรัสถาม ทราบความว่า เดินทางไกลมาจากอวันตีทกั ขิณบถ คืออินเดียภาคใต้ จึง
ตรัสสั่งพระอานนท์ให้จดั ที่พกั ให้ พระอานนท์พิจารณาว่า พระองค์คงปรารถนาจะสอบถามอะไรกับ
ภิกษุรูปนี้ เป็ นแน่แท้ จึงจัดที่พกั ให้ในวิหารเดียวกันกับพระพุทธเจ้า ในคืนนั้นพระผูม้ ีพระภาคประทับ
นัง่ อยูก่ ลางแจ้งจนดึกจึงเสด็จเข้าสู่ วิหาร พระโสณกุฏกัณณะก็นงั่ อยูก่ ลางแจ้งจนดึกจึงเข้าสู่ วิหาร ครั้น
เวลาใกล้รุ่ง พระพุทธเจ้าจึงตรัสเชิ ญให้พระโสณะกล่าวธรรม ท่านได้กล่าวสู ตรถึง 16 สู ตร อันปรากฏ
ให้อฏั ฐกวัคค์ (สุ ตตนิ บาต พระสุ ตตันติ ปิฎก เล่ มที่ 25) เมื่อจบแล้ว พระผูม้ ีพระภาคทรงอนุ โมทนา
สรรเสริ ญความทรงจา และท่วงทานองในการกล่าว ว่าไพเราะสละสลวย แล้วตรั สถามเรื่ องส่ วนตัว
อย่างอื่นอีก เช่นว่า มีพรรษาเท่าไร ออกบวชด้วยมีเหตุผลอย่างไร
เรื่ องนี้เป็ นตัวอย่างอันดีในเรื่ องความเป็ นมาแห่งพระไตรปิ ฎก ว่าได้มีการท่องจากันตั้งแต่ครั้ง
พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ ใครสามารถหรื อพอใจจะท่องจาส่ วนไหน ก็ท่องจาส่ วนนั้น

พระมหากัสสปเกีย่ วข้ องกับพระไตรปิ ฎกอย่ างไร พระมหากัส สป เป็ นผูบ้ วชเมื่ อสู งอายุ
ท่า นพยายามปฏิ บ ตั ิ ตนอย่า งเคร่ ง ครั ด
พระศาสดาทรงสรรเสริ ญว่าเป็ นตัวอย่างในการเข้าสู่ สกุลชักกายและใจห่ าง ประพฤติตนเป็ นคนใหม่
ไม่คะนองกาย วาจา ใจ ในตระกูล และยังทรงสรรเสริ ญความสามารถในการเข้าฌานสมาบัติ ท่านเป็ น
พระผูใ้ หญ่ แม้ไม่ใคร่ สั่งสอนใครมาก แต่ทาตัวเป็ นแบบอย่าง เมื่อพระศาสดาปริ นิพพานแล้ว ท่านได้
เป็ นหัวหน้าชักชวนพระสงฆ์ให้ทาสังคายนา คือ ร้อยกรอง หรื อจัดระเบียบพระธรรมวินยั ในการทา
สังคายนาครั้งที่ 1 ซึ่ งท่านชักชวนให้ทาขึ้นนั้น ท่านเองเป็ นผูถ้ ามทั้งพระวินยั และพระธรรม พระอุบาลี
เป็ นผูต้ อบเกี่ยวกับพระวินยั พระอานท์เป็ นผูต้ อบเกี่ยวกับพระธรรม
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 11

ได้กล่าวไว้แล้วว่า ในการปรารภนามของพระเถระ 4 รู ป ประกอบความรู ้เรื่ องความเป็ นมาแห่ง


พระไตรปิ ฎกคือ พระอานนท์ พระอุบาลี พระโสณกุฏิกณ ั ณะ และพระมหากัสสปนั้น ทาให้ความเกี่ยว
โยงไปถึงพระพุทธเจ้า พระสาริ บุตร และพระจุนทะ (น้องชายพระสาริ บุตร) คือ

พระพุทธเจ้ าทรงแนะนาให้ ร้อยกรองพระธรรมวินัย


สมัยเมื่ อนครนถนาฏบุตร ผูเ้ ป็ นอาจารย์เจ้าลัทธิ สาคัญคนหนึ่ งสิ้ นชี พ สาวกเกิ ดแตกกัน
พระจุนทเถระผูเ้ ป็ นน้องชายพระสาริ บุตร เกรงเหตุการณ์เช่นนั้นจะเกิดแก่พระพุทธศาสนา จึงเข้าไปหา
พระอานนท์เล่าความให้ฟัง พระอานนท์จึงชวนไปเฝ้ าพระพุทธเจ้า เมื่อกราบทูลแล้วพระองค์ได้ตรัส
ตอบด้วยข้อความเป็ นอันมาก แต่มีอยู่ขอ้ หนึ่ งที่ สาคัญยิ่ง (ปาสาทิ กสู ตร พระสุ ตตันตปิ ฎก เล่มที่ 11
หน้า 128 - 156) คือ ในหน้า 139 พระผูม้ ีพระภาคตรัสบอกพระจุนทะ แนะให้รวบรวมธรรมภาษิตของ
พระองค์ และทาสังคายนา คือจัดระเบียบทั้งโดยอรรถและพยัญชนะเพื่อให้พรหมจรรย์ต้ งั มัน่ ยัง่ ยืน
สื บไป พระพุทธภาษิตที่แนะนาให้รวบรวมพุทธวจนะร้ อยกรองจัดระเบียบหมวดหมู่น้ ี ถื อได้ว่าเป็ น
เริ่ มต้นแห่งการแนะนา เพื่อให้เกิดพระไตรปิ ฎกดัง่ ที่เป็ นอยูท่ ุกวันนี้

พระสาริบุตรแนะนาให้ ร้อยกรองพระธรรมวินัย
ในสมัยเดียวกันนั้น และปรารภเรื่ องเดียวกัน คือเรื่ องสาวกของนิ ครนถนาฏบุตรแตกกัน ภายหลัง
ที่อาจารย์สิ้นชีวติ ค่าวันหนึ่ง เมื่อพระผูม้ ีพระภาคทรงแสดงธรรมจบแล้ว เห็นว่าภิกษุท้ งั หลายยังใคร่ จะ
ฟั งต่อไปอี ก จึงมอบหมายให้พระสาริ บุตรแสดงธรรมแทน ซึ่ งท่านได้แนะนาให้รวบรวมร้ อยกรอง
พระธรรมวินยั โดยแสดงการจัดหมวดหมู่ธรรมะเป็ นข้อ ๆ ตั้งแต่ขอ้ 1 -10 ว่ามีธรรมอะไรบ้างอยู่ใน
หมวด 1 จนถึงหมวด 10 ซึ่ งพระผูม้ ีพระภาคได้ทรงรับรองว่าข้อคิดและธรรมะที่แสดงนี้ ถูกต้อง (สังคีติ
สู ตร พระสุ ตตันตปิ ฎก เล่มที่ 11 หน้า 222 - 287) หลักฐานในพระไตรปิ ฎกตอนนี้ มิได้แสดงว่าพระสาริ
บุ ต รเสนอขึ้ น ก่ อ น หรื อ พระพุ ท ธเจ้า ตรั ส แก่ พ ระจุ น ทะก่ อ น แต่ ร วมความแล้ ว ก็ ต้อ งถื อ ว่ า ทั้ง
พระพุทธเจ้าและพระสาริ บุตรได้เห็นความสาคัญของการรวบรวม พระพุทธวจนะร้อยกรองให้เป็ น
หมวดเป็ นหมู่มาแล้ว ตั้งแต่ยงั ไม่ทาสังคายนาครั้งที่ 1

พระจุนทะเถระผู้ปรารถนาดี
เมื่อกล่าวถึงเรื่ องความเป็ นมาแห่ งพระไตรปิ ฎก และกล่าวถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงแนะให้ ทา
สังคายนาก็ดี ถ้าไม่กล่าวถึ งพระจุ นทะเถระ ก็ดูเหมือนจะมองไม่เห็ นความริ เริ่ ม เอาใจใส่ และความ
ปรารถนาดี ของท่าน ในเมื่อรู ้เห็นเหตุการณ์ที่สาวกของนิ ครนถนาฏบุตรแตกกัน เพราะจากข้อความที่
ปรากฏในพระไตรปิ ฎก ท่ า นได้เ ข้า พบพระอานนท์ถึ ง 2 ครั้ ง ครั้ งแรกพระอานนท์ ช วนเข้า เฝ้ า
พระพุทธเจ้าด้วยกัน พระพุทธเจ้าก็ตรั สแนะให้ทาสังคายนาดังกล่ าวแล้วข้างต้น ครั้ งหลังเมื่อสาวก
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 12

นิ ครนถนาฏบุ ตรแตกกันยิ่งขึ้น ท่านก็เข้าหาพระอานนท์อีก ขอให้กราบทูลพระพุทธเจ้าเพื่อป้ องกัน


มิให้เหตุการณ์ ทานองนั้นเกิ ดขึ้นในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าจึงแสดงธรรมแก่พระอานนท์ โดย
แสดงโพธิ ปัขิยธรรมอันเป็ นหลักของพระพุทธศาสนา แล้วทรงแสดงมูลเหตุ แห่ งการทะเลาะวิวาท
6 ประการ อธิ กรณ์ 4 ประการ วิธีระงับอธิ กรณ์ 7 ประการ กับประการสุ ดท้ายได้ทรงแสดงหลักธรรม
สาหรั บอยู่ร่วมกันด้วยความผาสุ ก 6 ประการ ที่ เรี ยกว่าสาราณิ ยธรรม อันเป็ นไปในทางสงเคราะห์
อนุ เคราะห์และมีเมตตาต่อกัน มีความประพฤติและความเห็ นในทางที่ดีงามร่ วมกัน เรื่ องนี้ ปรากฏใน
สามคามสู ต ร พระสุ ต ตันตปิ ฎก เล่ ม ที่ 14 หน้า 49 ซึ่ ง ควรบัน ทึ ก ไว้ใ นที่ น้ ี เพื่ อ บู ช าคุ ณ คื อ ความ
ปรารถนาดีของพระจุนทะเถระ ผูแ้ สดงความห่วงใยในความตั้งมัน่ ยัง่ ยืนแห่งพระพุทธศาสนา

การทาสั งคายนาเป็ นเหตุให้ เกิดพระไตรปิ ฎก


แม้ในตอนต้น จะได้ระบุนามของพระเถระหลายท่าน ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับพระไตรปิ ฎก แต่
พระไตรปิ ฎกก็เกิดขึ้นภายหลังที่ท่านพระเถระทั้งหลายได้ร่วมกันร้อยกรองจัดระเบียบพระพุทธวจนะ
แล้ว ในสมัย ของพระพุ ท ธเจ้า เองยัง ไม่ มี ก ารจัด ระเบี ย บหมวดหมู่ ยัง ไม่ มี ก ารจัด เป็ นวิ นัย ปิ ฎก
สุ ตตันตปิ ฎก และอภิ ธัม มปิ ฎก นอกจากมี ตวั อย่างการจัดระเบี ย บวินัย ในการสวดปาฏิ โมกข์ล าดับ
สิ กขาบททุกกึ่ งเดื อน ตามพระพุทธบัญญัติและการจัดระเบียบธรรมในสังคี ติสูตรและทสุ ตตรสู ตรที่
พระสาริ บุตรเสนอไว้ กับตัวอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงชี้ แจงวิธีจดั ระเบียบพระธรรมแก่พระจุนทะเถระ
และพระอานนท์ในปาสาทิกสู ตร และสามคามสู ตร ดังได้กล่าวไว้แล้วในเบื้องต้น
พระพุทธเจ้าประทานพระพุทธโอวาทไว้มากมายต่างกาลเวลา ต่างสถานที่กนั การที่พระสาวกซึ่ ง
ท่องจากันไว้ได้ และจัดระเบียบหมวดหมู่เป็ นปิ ฎกต่าง ๆ เมื่อพระศาสดานิ พพานแล้ว พอเทียบได้ดงั นี้
พระพุ ท ธเจ้า เท่ า กับ ทรงเป็ นเจ้า ของสวนผลไม้ เช่ น ส้ ม หรื อองุ่ น พระเถระผูจ้ ดั ระเบี ย บหมวดหมู่
คาสอน เท่ากับผูท้ ี่ จดั ผลไม้เหล่ านั้นห่ อกระดาษบรรจุ ลงั ไม้ เป็ นประเภท ๆ บางอย่างก็ใช้ผงไม้ก ัน
กระเทือนใส่ แทนห่อกระดาษ ปั ญหาเรื่ องของภาชนะที่ใส่ ผลไม้ เช่น ลังหรื อห่ อก็เกิดขึ้น คือในชั้นแรก
คาสั่ง สอนของพระพุทธเจ้า นั้น รวมเรี ย กว่า พระธรรมพระวินัย เช่ น ในสมัยเมื่ อใกล้จะปริ นิพพาน
พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์วา่ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ ว บัญญัติแล้ วแก่ ท่านทั้งหลาย ธรรม
และวินัยนั้น จะเป็ นศาสดาของท่ านทั้งหลายเมื่อเราล่ วงลับไป จึงเป็ นอันกาหนดลงเป็ นหลักฐานได้
อย่ า งหนึ่ ง ว่ า ในสมั ย ของพระพุ ท ธเจ้ า ยั ง ไม่ มี ค าว่ า พระไตรปิ ฎก มี แ ต่ ค าว่ า ธรรมวิ นั ย ค าว่ า
พระไตรปิ ฎก หรือ ติปิฎก ในภาษาบาลีน้ัน มาเกิดขึน้ ภายหลังทีท่ าสั งคายนาแล้ว
แม้ค าว่ า พระไตรปิ ฎก จะเกิ ด ขึ้ นสมัย หลัง พุ ท ธปริ นิ พ พาน ก็ ไ ม่ ท าให้ สิ่ ง ที่ บ รรจุ อ ยู่ ใ น
พระไตรปิ ฎกนั้น คลายความสาคัญลงเลย เพราะพระไตรปิ ฎกเป็ นเพียงภาชนะ กระจาดหรื อลังสาหรับ
ใส่ ผลไม้ ส่ วนตัวผลไม้หรื อนัยหนึ่งพุทธวจนะ ก็มีมาแล้วในสมัยที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนพระศาสนา
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 13

กิจกรรมที่ 1 พระไตรปิ ฎก

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเติมข้อความลงในแผนผังให้สมบูรณ์ (20 คะแนน)

พระไตรปิ ฎก

พระวินัยปิ ฎก สุ ตตันตปิ ฎก อภิธัมมปิ ฎก


ว่ าด้ วย............................ ว่ าด้ วย............................ ว่ าด้ วย............................

............ ............ ..........

............
............ ..........

............ ............ ..........

............ ............ ..........

............ ............ ..........

..........

............
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 14

ใบความรู้ที่ 2 การสังคายนา

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สวัสดีค่ะนักเรี ยนที่น่ารักทุกคน
หลังจากที่พวกเราได้ศึกษาเกี่ยวกับประวัติและความเป็ นมาของ
“พระไตรปิ ฎก” แล้วเรามาศึกษาดูซิวา่ เมื่อพระพุทธเจ้า
ปริ นิพพานแล้ว จะมีการเก็บรวบรวมหลักธรรมคาสอนของ
พระองค์โดยวิธีการใด หาคาตอบได้จากเรื่ องการสังคายนาได้เลย
ค่ะ
สังคายนา คือการรวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ แล้วทรงจาไว้เป็ นแบบแผนอันเดียวกัน
คื อรวบรวมไว้เป็ นหลัก และทรงจาถ่ ายทอดสื บมาเป็ นอย่างเดี ยวกัน การสังคายนานั้นต้องให้รู้ว่า
เป็ นการที่จะรักษาคาสอนเดิมเอาไว้ให้แม่นยาที่สุด ไม่ใช่วา่ พระภิกษุที่สังคายนามีสิทธิ์ เอาความคิดเห็น
ของตนใส่ ลงไป การสังคายนา ก็คือ การมาทบทวนซักซ้อมตรวจสอบคัมภีร์ให้ตรงตามของเดิม และ
ซักซ้อมตรวจสอบคนที่ไปทรงจา หรื อไปนับถื ออะไรต่างๆ ที่อาจจะผิดเพี้ยนไป ให้มาทบทวนตัวเอง
ให้มาซักซ้อมกับที่ประชุ ม ให้มาปรับความเห็น ความเชื่ อ การปฏิบตั ิของตน ให้ตรงตามพระไตรปิ ฎก
ที่รักษากันมาอย่างแม่นยา
วิธีการสังคายนา ที่เรี ยกว่าวิธีการร้อยกรองหรื อรวบรวมพระธรรมวินยั หรื อประมวลคาสั่งสอน
ของพระพุทธเจ้า ก็คือ นาเอาคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามาแสดงในที่ประชุ ม แล้วก็มีการซักถามกัน
จนกระทัง่ ที่ประชุ มลงมติวา่ เป็ นอย่างนั้นแน่ นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่ องใด ก็ให้สวดพร้ อมกัน
การสวดพร้อมกันนั้น แสดงถึงการลงมติร่วมกันด้วย และเป็ นการทรงจากันไว้อย่างนั้นเป็ นแบบแผน
ต่อไปด้วยหมายความว่า ตั้งแต่น้ นั ไป คาสอนตรงนั้นก็จะทรงจาไว้อย่างนั้น เมื่ อจบเรื่ องหนึ่ งก็สวด
พร้อมกันครั้งหนึ่ ง อย่างนี้ เรื่ อย การสวดพร้อมกันนั้นเรี ยกว่า สังคายนา เพราะคาว่า “สังคายนา” หรื อ
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกันคายนา หรื อคีติ (เทียบกับคีต ในคาว่าสังคีต) แปลว่า
การสวด ส แปลว่าพร้ อมกันก็คือสวดพร้ อมกัน ที่ ผ่า นมาในพุ ทธศาสนามี การสั งคายนามี มาทั้งสิ้ น
11 ครั้งดังนี้
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 15

การสั งคายนาครั้งที่ 1

มูลเหตุ
เมื่อพระพุทธองค์เสด็จปริ นิพพานได้ 7 วัน พระมหากัสสปเถระอยูท่ ี่เมืองปาวา ยังไม่ทราบว่า
พระพุทธองค์เสด็จปริ นิพพาน จึงพาพระสงฆ์จานวน 500 รู ป เดินทางออกจากเมืองปาวาด้วยประสงค์
จะไปเฝ้ าพระพุทธองค์ที่เมืองกุสินารา ในระหว่างเดิ นทางนั้นเอง ก็ได้ทราบข่าวการเสด็จปริ นิพพาน
ของพระพุทธองค์จากอาชี วก (นักบวชนิกายหนึ่ ง) คนหนึ่ ง ซึ่ งเดินทางมาจากเมืองกุสิ นารา พระสงฆ์
ทั้ง มวลซึ่ งมี พระมหากัส สปเถระเป็ นหัวหน้า เมื่ อได้ท ราบข่ าวนั้นแล้ว ผูท้ ี่ เป็ นพระอรหันต์ต่างก็ มี
ความสลดใจ ผูท้ ี่เป็ นปุถุชนอยู่ก็เศร้ าโศกเสี ยใจ ร้ องไห้คร่ าครวญ ราพึงราพันกันไปต่าง ๆ นานา แต่
พระภิกษุสุภทั ทะมิได้เป็ นเช่นนั้น และได้ห้ามพระภิกษุเหล่านั้นมิให้เสี ยใจ มิให้ร้องไห้ โดยกล่าวชี้ นา
ว่า ที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จปริ นิพพานนั้นเป็ นการดี แล้ว ต่อนี้ ไปจะทาอะไรได้ตามใจ ไม่มีใครคอยมา
ชี้ ว่า ผิด นี่ ถู ก นี่ ควรนี่ ไม่ ค วรนี่ ต่ อไปอี ก พระมหากัส สปเถระได้ฟั ง ค ากล่ า วจ้วงจาบเช่ น นั้นแล้ว
เกิ ดความสลดใจ ภายหลังจากการถวายพระเพลิ งพระพุทธสรี ระเสร็ จสิ้ นแล้ว ได้มีการประชุ มสงฆ์
พระมหากัสสปเถระซึ่ งเป็ นผูม้ ีอายุพรรษามากกว่าพระสงฆ์ทุกรู ป ได้รับเลื อกให้เป็ นประธานสงฆ์ มี
ฐานะเป็ นสังฆปริ ณายก (ผูน้ าคณะสงฆ์) บริ หารการคณะสงฆ์ตามพระธรรมวินยั ท่านจึงได้นาเรื่ องที่
ภิกษุสุภทั ทะกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินยั นั้นเสนอต่อที่ประชุ มสงฆ์ ชวนให้ทาการสังคายนาพระธรรม
วินัย และได้รับ ความเห็ นชอบจากที่ ป ระชุ ม ต่ อจากนั้นมา 3 เดื อน ก็ ไ ด้มี การประชุ ม ทาสั ง คายนา
ครั้งที่ 1
สถานที่ ถ้ าสัตบรรณคูหา ข้างเขาเวภารบรรพต ใกล้กรุ งราชคฤห์ ชมพูทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าอชาตศัตรู
การจัดการ พระมหากัส สปเถระได้รั บ เลื อ กเป็ นประธาน และเป็ นผู้ซัก ถามพระธรรมวิ นัย
พระอุ บ าลี เ ถระเป็ นผู้ต อบข้อ ซัก ถามทางพระวิ นัย พระอานนท์เ ถระเป็ นผู้ต อบ
ข้อซักถามทางพระธรรม มีพระอรหันต์เข้าประชุ มเป็ นสังคีติการกสงฆ์ (สงฆ์ผเู้ ป็ น
คณะกรรมการทาสังคายนา) จานวน 500 รู ป
ระยะเวลา 7 เดือน จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 16

สั งคายนาครั้งที่ 2
มูลเหตุ
พระยสะกากัณฑกบุตรได้ปรารภถึ งข้อปฏิ บตั ิ ย่อหย่อน 10 ประการ ของพวกภิกษุวชั ชี บุตร
เช่น ถือว่าเก็บเกลือไว้ในเขนง(เขาสัตว์) เพื่อเอาไว้ฉนั ได้ ตะวันชายเกินเที่ยงไปแล้ว 2 นิ้วฉันอาหารได้
รับเงินทองไว้ใช้ได้ เป็ นต้น พระยสะกากัณฑกบุตรเห็นว่า ข้อปฏิบตั ิยอ่ หย่อนดังกล่าวนี้ ขดั กับพระวินยั
พุทธบัญญัติ จึ งได้ชักชวนพระเถระผูใ้ หญ่ ประชุ ม พิจารณาวินิจฉัย ทาการสังคายนาพระธรรมวินัย
เพื่อความมัน่ คงพระพุทธศาสนาสื บไป
สถานที่ วาลิการาม เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ชมพูทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้ากาลาโศกราช
การจัดการ พระมหาเถระชื่อยสะกากัณฑกบุตรเป็ นประธาน พระเรวตเถระเป็ นผูซ้ กั ถาม
พระธรรมวินยั พระสัพพกามีเถระเป็ นผูต้ อบข้อซักถาม มีพระอรหันต์เข้าประชุม
เป็ นสังคีติการกสงฆ์จานวน 700 รู ป
ระยะเวลา 8 เดือน จึงสาเร็ จ

สั งคายนาครั้งที่ 3
มูลเหตุ
พวกเดียรถี ยห์ รื อพวกนักบวชในศาสนาอื่นมาปลอมบวชในพระพุทธศาสนา ด้วยเห็นแก่ลาภ
สั ก การะ และเพื่ อ บ่ อ นท าลายพระพุ ท ธศาสนา ได้ แ สดงลัท ธิ แ ละความเห็ น ของตนว่ า "เป็ น
พระพุทธศาสนา เป็ นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า" พระโมคคัลลี บุตรติ สสเถระได้ขอความอุ ปถัมภ์
จากพระเจ้าอโศกมหาราชให้มีการสอบสวน สะสาง กาจัดพวกเดียรถียป์ ลอมบวชประมาณ 60,000 รู ป
แล้วให้สละสมณเพศออกจากพระพุทธศาสนาได้สาเร็ จ
สถานที่ อโศการาม กรุ งปาตลีบุตร ชมพูทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าอโศกมหาราช
การจัดการ พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเป็ นประธาน พระอรหันต์เข้าประชุมเป็ นสังคีติการกสงฆ์
จานวน 1,000 รู ป
ระยะเวลา 9 เดือน จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 17

การสังคายนาพระธรรมวินยั ครั้งนี้ มีการซักถามพระธรรมวินยั และตอบข้อซักถามเช่นเดียวกับ


การสังคายนาครั้งก่อน แต่ไม่ปรากฏรายละเอียดว่า พระเถระรู ปใดทาหน้าที่ซกั ถาม รู ปใดทาหน้าที่ตอบ
ข้อซักถาม แต่ปรากฏว่า พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระได้เสนอคาถาม 500 ข้อเพิ่มเข้าในคัมภีร์กถาวัตถุ
ซึ่งเป็ นคัมภีร์ในพระอภิธรรมปิ ฎก เป็ นการขยายความคัมภีร์น้ นั ให้พิสดารออกไปอีก ที่ประชุ มสงฆ์ได้
รับรองเป็ นคาอธิบายที่ถูกต้องตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
ผลการสังคายนาครั้งนี้ นอกจากจะได้กาจัดพวกปลอมบวช ให้ออกจากพระพุทธศาสนาแล้ว
ยังได้สอบทานพระธรรมวินยั ให้ถูกต้อง และได้ตอบคาถาม 500 ข้อ คาตอบ 500 ข้อ เพิ่มเข้าในคัมภีร์
กถาวัตถุ ดว้ ย เมื่อเสร็ จการสังคายนาแล้ว ได้มีการส่ งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดิ นแดน
ต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศรวม 9 สายด้วยกัน และส่ งไปสายละ 5 รู ป เพื่อจะได้ให้การอุปสมบทแก่
ผูเ้ ลื่อมใสได้ถูกต้องตามพระวินยั
สายที่ 1 พระมัชฌันติกเถระ พร้อมด้วยคณะ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ แคว้นกัศมีระและ
แคว้นคันธาระ
สายที่ 2 พระมหาเทวเถระ พร้ อมด้วยคณะ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ แคว้นมหิ สมณฑล
และดินแดนแถบลุ่มแม่น้ าโคธาวารี
สายที่ 3 พระรักขิตเถระ พร้อมด้วยคณะ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ วนวาลีประเทศ
สายที่ 4 พระธรรมรักขิตเถระ หรื อพระโยนกธรรมรักขิตเถระ (ซึ่ งเข้าใจกันว่าเป็ นฝรั่งคนแรก
ในชาติกรี กที่ได้เข้าบวชในพระพุทธศาสนา) พร้อมด้วยคณะ ได้ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ อปรันตก
ชนบท
สายที่ 5 พระมหาธรรมรักขิตเถระ พร้ อมด้วยคณะ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ แคว้นมหา
ราษฎร์
สายที่ 6 พระมหารักขิตเถระ พร้อมด้วยคณะ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ โยนกประเทศ
สายที่ 7 พระมัชฌิมเถระ พร้อมคณะ คือพระกัสสปโคตรเถระ พระมูลกเทวเถระ พระทุนทภิส
สระเถระ และพระเทวเถระ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบภูเขาหิ มาลัย
สายที่ 8 พระโสณเถระ และพระอุ ต ตรเถระ พร้ อ มด้ว ยคณะ ไปเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา
ณ ดินแดนสุ วรรณภูมิ
สายที่ 9 พระมหิ นทเถระ (โอรสพระเจ้าอโศกมหาราช) พร้อมด้วยคณะ คือพระอริ ฏฐเถระ
พระอุทริ ยเถระ พระสัมพลเถระ และพระหัททสารเถระ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป ใน
รัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิ ยติสสะ กษัตริ ยแ์ ห่งลังกาทวีป
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 18

การสั งคายนาครั้งที่ 4
มูลเหตุ
พระมหิ นทเถระประสงค์จะให้ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ห ยัง่ รากมั่นคงในลัง กาทวี ป เป็ นการ
วางรากฐานให้พระสงฆ์ชาวลังกาท่องจาพระพุทธวจนะตามระบบการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมในเวลานั้น
สถานที่ ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ ในลังกาทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าเทวานัมปิ ยติสสะ กษัตริ ยแ์ ห่งลังกาทวีป
การจัดการ พระมหิ นทเถระเป็ นประธาน พระอริ ฏฐเถระเป็ นผูส้ วดทบทวนหรื อตอบข้อซักถาม
ด้านพระวินัย มีพระเถระรู ปอื่นๆสวดทบทวนพระธรรม มีพระอรหันต์เข้าประชุ ม
เป็ นจานวน 38 รู ป พระเถระผูจ้ ดจาพระไตรปิ ฎกอีกจานวน 962 รู ป
ระยะเวลา 10 เดือน จึงสาเร็ จ

การสั งคายนาครั้งที่ 5
มูลเหตุ
คณะสงฆ์ชาวลังกาและทางราชการบ้านเมืองเห็นว่า พระธรรมวินยั หรื อพระพุทธ-วจนะที่ได้
สังคายนาไว้น้ นั มีความสาคัญมาก นับเป็ นรากแก้วของพระพุทธศาสนา หากจะพิทกั ษ์รักษาธรรมวินยั
ให้ดารงอยู่สืบไปด้วยวิธีการท่องจาดังที่ เคยถื อปฏิ บตั ิกนั มา ก็อาจมี ขอ้ วิปริ ตผิดพลาดได้ง่าย เพราะ
ความจาของผูบ้ วชเรี ยนเสื่ อมถอยลง การสังคายนาครั้งนี้ จึงได้ตกลงจารึ กพระธรรมวินยั หรื อพระพุทธ
วจนะ เป็ นภาษามคธอักษรบาลี ลงในใบลาน พร้ อมทั้งคาอธิ บายพระไตรปิ ฎกที่เรี ยกว่า อรรถกถา ซึ่ ง
เดิ มเป็ นภาษามคธอักษรบาลี นับเป็ นครั้งแรกที่ได้มีการจารึ กพระธรรมวินยั เป็ นภาษามคธอักษรบาลี
ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร พระไตรปิ ฎกลายลักษณ์อกั ษร มีข้ ึนเป็ นฉบับแรกในพระพุทธศาสนา นับเป็ น
การสังคายนาครั้งที่ 2 ในลังกาทวีป
สถานที่ อาโลกเลนสถาน ณ มตเลชนบท ในลังกาทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าวัฏฏคามณี อภัย
การจัดการ พระรักขิตมหาเถระเป็ นประธานและเป็ นผูซ้ กั ถามพระธรรมวินยั พระติสสเถระเป็ น
ผูต้ อบข้อซักถาม มีพระสงฆ์ผูเ้ ป็ นองค์พระอรหันต์ และพระสงฆ์ปุถุชนเข้าประชุ ม
เป็ นสังคีติการกสงฆ์ จานวนกว่า 1,000 รู ป
ระยะเวลา 1 ปี จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 19

การสั งคายนาครั้งที่ 6
มูลเหตุ
พระพุทธโฆสเถระ (หรื อที่ไทยเรานิยมเรี ยกว่า พระพุทธโฆษาจารย์) ซึ่ งเป็ นพระมหาเถระชาว
ชมพูทวีป ผูเ้ ปรื่ องปราดมีความรู้ แตกฉานในพระไตรปิ ฎก และนับเป็ นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา
และภาษาบาลี เห็ นว่าคัมภีร์อรรถกถาแห่ งพระไตรปิ ฎกนั้นมีสมบูรณ์ บริ บูรณ์ เป็ นภาษาสิ งหล อยูใ่ น
ลังกาทวีป ท่านจึงเดินทางไปลังกาทวีป ขอความอุปถัมภ์จากพระเจ้ามหานามเพื่อแปลและเรี ยบเรี ยง
คัมภีร์อรรถกถาจากภาษาสิ งหลเป็ นภาษามคธ เพื่อจะได้เป็ นตันติภาษา (ภาษาที่มีแบบแผน) สอดคล้อง
กับคัมภีร์พระไตรปิ ฎก นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 3 ในลังกาทวีป
สถานที่ โลหปราสาท เมืองอนุราธปุระ ในลังกาทวีป
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้ามหานาม
การจัดการ พระพุทธโฆสเถระเป็ นประธาน มีการแปลและเรี ยบเรี ยงคัมภีร์อรรถกถาจากภาษา
สิ งหล เป็ นภาษามคธอักษรบาลี
ระยะเวลา 1 ปี จึงสาเร็ จ

การสั งคายนาครั้งที่ 7
มูลเหตุ
ทางการคณะสงฆ์อนั มี พ ระมหากัส สปเถระเป็ นประธาน และทางราชการบ้า นเมื อ งอัน มี
พระเจ้าปรักกมพาหุ เป็ นประมุข เห็นว่าคัมภีร์พระไตรปิ ฎก ซึ่ งเรี ยกว่าปาลิน้ นั เป็ นภาษามคธอักษรบาลี
คัมภีร์อธิ บายพระไตรปิ ฎกซึ่ งเรี ยกว่าอรรถกถา ก็ได้แปลและเรี ยบเรี ยงเป็ นภาษามคธ อันเป็ นตันติภาษา
สอดคล้องกับคัมภีร์พระไตรปิ ฎกแล้ว ส่ วนคัมภีร์อธิ บายอรรถกถาซึ่ งเรี ยกว่า ฎี กา และคัมภีร์อธิ บาย
ฎีกาซึ่ งเรี ยกว่า อนุฎีกา ยังมิได้แปลและเรี ยบเรี ยงเป็ นภาษามคธ ยังเป็ นภาษาสิ งหลบ้าง เป็ นภาษาสิ งหล
ปะปนกับภาษามคธบ้าง ควรจะได้แปลและเรี ยบเรี ยงเป็ นภาษามคธให้หมดสิ้ น จึงได้แปลและเรี ยบเรี ยง
คัมภีร์ดงั กล่าวเป็ นภาษามคธ เป็ นตันติภาษา (ภาษาที่มีแบบแผน) เช่นเดียวกับคัมภีร์พระไตรปิ ฎกและ
คัมภีร์อรรถกถา นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 4 ในลังกาทวีป
สถานที่ ลังกาทวีป (เข้าใจว่าที่โลหปราสาท เมืองอนุราธปุระ)
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าปรักกมพาหุ
การจัดการ พระมหากัสสปเถระเป็ นประธาน พร้อมด้วยกรรมการเฉพาะกิจสงฆ์ กว่า 1,000 รู ป
ระยะเวลา 1 ปี จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 20

กล่ า วกั น ว่ า เมื่ อ การสั ง คายนาครั้ งนี้ แล้ ว ไม่ น าน พระเจ้ า อนุ รุ ทมหาราช กษั ต ริ ย์
กรุ งอริ มทั ทนปุระ (พุกาม) แห่ งประเทศพม่า ได้เสด็จไปลังกาทวีป และทรงจาลองคัมภีร์พระไตรปิ ฎก
พร้อมทั้งคัมภีร์อรรถกถา ฎีกา อนุ ฎีกา นามาประดิษฐานไว้ศึกษาเล่าเรี ยนในประเทศพม่า ต่อแต่น้ นั มา
บรรดาประเทศที่ นับถื อพระพุทธศาสนา เช่ น ไทย เขมร ก็ได้ส่งพระสงฆ์และราชบัณฑิ ตไปจาลอง
คัมภีร์พระไตรปิ ฎก อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา นามาประดิษฐานไว้ศึกษาเล่าเรี ยนในประเทศของตน

การสั งคายนาครั้งที่ 8
มูลเหตุ
พระธรรมทิ นมหาเถระผูเ้ ปรื่ อ งปราดแตกฉานในพระไตรปิ ฎก ได้พิ จารณาเห็ น ว่า คัม ภี ร์
พระไตรปิ ฎก อรรถกถา ฎีกา และอนุ ฎีกา ซึ่ งมีอยู่ในเวลานั้นมีขอ้ วิปลาสคลาดเคลื่อนอยูม่ าก ด้วยการ
จาลองหรื อคัดลอกกันต่อๆ มา เป็ นเวลาช้านาน จึงเข้าเฝ้ าถวายพระพรขอความอุปถัมภ์จากพระเจ้า -ติ
โลกราช เมื่ อ ได้รั บ การอุ ป ถัม ภ์ แ ล้ ว พระธรรมทิ น มหาเถระก็ ไ ด้ เ ลื อ กพระสงฆ์ ผู ้เ ชี่ ย วชาญใน
พระไตรปิ ฎกประชุ ม กัน ท าสั ง คายนา โดยการตรวจช าระพระไตรปิ ฎก พร้ อ มทั้ง อรรถกถา ฎี ก า
อนุ ฎีกา จารึ กไว้ในใบลาน ด้วยอักษรธรรมของล้านนา นับเป็ นการสังคายนาครั้ งที่ 1 ในอาณาจักร
ล้านนาหรื อประเทศไทยในปัจจุบนั
สถานที่ วัดโพธาราม ณ เมืองนพิสิกร คือ เมืองเชียงใหม่ ประเทศไทย
องค์ อปุ ถัมภ์ พระเจ้าติโลกราช หรื อพระเจ้าศิริธรรมจักรวรรดิดิลกราช
การจัดการ พระธรรมทินมหาเถระเป็ นประธาน พร้อมด้วยการกสงฆ์
ระยะเวลา 1 ปี จึงสาเร็ จ
การสั งคายนาครั้งที่ 9
มูลเหตุ
พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ าจุ ฬ าโลกมหาราช พร้ อ มด้ว ยสมเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช
กรมพระราชวังบวรมหาสุ รสี หนาท ทรงมีพระราชศรัทธา ปรารถนาจะทานุ บารุ งพระพุทธศาสนาให้
เจริ ญ มัน่ คงสื บ ไป ได้ท รงทราบจากพระสงฆ์อ ันมี ส มเด็ จ พระสั ง ฆราชฯเป็ นประธานว่า เวลานั้น
พระไตรปิ ฎกมีขอ้ วิปลาสคลาดเคลื่ อนมาก แม้พระสงฆ์จะมีความประสงค์จะทานุ บารุ งให้สมบูรณ์
ก็ไม่มีกาลังพอจะทาได้ พระองค์จึงได้ทรงอาราธนาสมเด็จพระสังฆราชพร้ อมด้วยพระสงฆ์ท้ งั ปวง
ให้รับภาระในเรื่ องนี้ ดังนั้น พระสงฆ์อนั มีสมเด็จพระสังฆราชฯเป็ นประธาน จึงได้เริ่ มทาการสังคายนา
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 21

พระธรรมวินยั ตรวจชาระพระไตรปิ ฎกพร้อมทั้งคัมภีร์ลทั ทาวิเสส (คัมภีร์ไวยากรณ์บาลี) และได้จารึ ก


ไว้ในใบลานด้วยอักษรขอม ซึ่งนับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 2 ในประเทศไทย
สถานที่ วัดพระศรี สรรเพชญ์ ซึ่ งปั จจุบนั คือวัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ กรุ งเทพมหานคร
องค์ อปุ ถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช
การจัดการ สมเด็จพระสังฆราชเป็ นประธาน มีพระสงฆ์เข้าประชุ มเป็ นสังคีติการกสงฆ์จานวน
218 รู ป และมีราชบัณฑิตเป็ นผูช้ ่วยเหลือจานวน 32 คน
ระยะเวลา 5 เดือน จึงสาเร็ จ

การสั งคายนาครั้งที่ 10
มูลเหตุ
ในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จพระจุ ล จอมเกล้า เจ้า อยู่หัวเสวยราชย์ไ ด้ 25 ปี ทรงปรารภจะ
บาเพ็ญพระมหากุศล ทรงเห็ นว่าพระไตรปิ ฎกที่เขียนไว้ในใบลานไม่มนั่ คง ทั้งจานวนก็มาก ยากที่จะ
รักษา และเป็ นตัวขอม ผูไ้ ม่รู้อ่านไม่เข้าใจ จึงมีพระราชศรัทธาให้พิมพ์พระไตรปิ ฎกเป็ นเล่มแบบฝรั่ง
ขึ้นใหม่ โปรดให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิ รญาณวโรรส และพระเถรานุ เถระทั้งหลายช่ วยกัน
ชาระ โดยคัดลอกตัวขอมในคัมภีร์ใบลาน เป็ นตัวอักษรไทย แล้วชาระแก้ไขและพิมพ์เป็ นเล่มหนังสื อ
รวม 39 เล่ม เริ่ มชาระและพิมพ์ต้ งั แต่พ.ศ.2431 สาเร็ จเมื่อพ.ศ.2436 จานวน 1,000 ชุ ด นับเป็ นครั้งแรก
ในประเทศไทยที่มีการพิมพ์พระไตรปิ ฎกเป็ นเล่มด้วยอักษรไทย นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 3 ที่ทาใน
ประเทศไทย
สถานที่ พระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย
องค์ อปุ ถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
การจัดการ สมเด็ จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิ รญาณวโรรส ครั้ งดารงพระยศกรมหมื่ น
วชิ รญาณวโรรส และสมเด็จพระสังฆราช (สาปุสฺสกาว) ครั้งยังเป็ นสมเด็จพระพุทธ-
โฆษาจารย์เป็ นประธาน มีพระสงฆ์เข้าประชุมเป็ นสังคีติการกสงฆ์ จานวน 110 รู ป
ระยะเวลา 6 ปี จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 22

การสั งคายนาครั้งที่ 11
มูลเหตุ
ในปี พ.ศ.2530 เป็ นปี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริ ญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบปี
นักษัตร สมเด็จพระสังฆราชทรงดาริ เห็นว่าพระไตรปิ ฎกอันเป็ นคัมภีร์สาคัญยิ่งในพระพุทธศาสนานั้น
มีขอ้ วิปลาสคลาดเคลื่ อนอยู่ อันเกิ ดจากความประมาทพลาดพลั้งในการคัดลอกและตีพิมพ์กนั ต่อๆมา
เห็นควรทาการสังคายนาพระธรรมวินยั ตรวจสอบชาระให้บริ สุทธิ์ บริ บูรณ์ และตีพิมพ์ข้ ึนเป็ นที่เฉลิ ม
พระเกี ยรติ ยศในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ องในวันเฉลิ มพระชนมพรรษา ปี พ.ศ.2530 จึงได้
เจริ ญพรขอความอุปถัมภ์ไปยังรัฐบาลและถวายพระพรให้การสังคายนาครั้งนี้ อยูใ่ นพระบรมราชูปถัมภ์
เมื่อได้รับงบประมาณและพระบรมราชู ปถัมภ์แล้ว จึงได้ดาเนิ นการสังคายนา เริ่ มแต่ปีพ.ศ.2528 และ
เสร็ จสิ้ นลงเมื่อปี พ.ศ.2530 นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 4 ที่ทาในประเทศไทย
สถานที่ พระตาหนักสมเด็จวัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย
องค์ อปุ ถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุ ลยเดช เป็ นองค์อุปถัมภ์ พร้ อมด้วยรั ฐบาล
อันมี พลเอกเปรม ติณสู ลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี
การจัดการ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริ ณายก (วาสนมหาเถระ) เป็ นประธาน
ระยะเวลา 2 ปี จึงสาเร็ จ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 23

สรุปสาระสาคัญของชุดการเรียนรายบุคคล เล่มที่ 1 พระไตรปิ ฎก

ความสาคัญของการสั งคายนาและการเผยแผ่ พระไตรปิ ฎก


การเผยแผ่พระไตรปิ ฎกมี ความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ จะต้องกระทาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อสื บอายุ
พระพุทธศาสนา ซึ่ งวิธีการเผยแผ่พระไตรปิ ฎก สรุ ปได้ดงั นี้
1. การเผยแผ่โดยวิธีแบบปากต่อปาก โดยหลังจากพุทธปริ นิพพานพระมหาสาวกทั้งหลาย ได้
ทาสังคายนาพระธรรมวินยั ครั้งแรกด้วยการรวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าจัดเป็ นพระไตรปิ ฎก
คือพระวินยั ปิ ฎก พระสุ ตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก พระสงฆ์สาวกต่อ ๆ มาก็ทรงจาแบบจาก
ปากต่อปากที่เรี ยกว่า “มุขปาฐะ” สั่งสอนสื บต่อ ๆ กันมา
2. การเผยแผ่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในการทาสังคายนาครั้งที่ 5 ในประเทศศรี ลงั กา (ประมาณ
พ.ศ. 433) มีการทาสังคายนาด้วยเกรงว่าการท่องจาพระพุทธจวนะอาจจะมีความคลาดเคลื่อนได้ ควร
จะมีการจารึ กเป็ นลายลักษณ์อกั ษร จึงมีการจารึ กเป็ นภาษาบาลี (มคธ) ขึ้น และมีการสังคายนาและแปล
เป็ นภาษาต่าง ๆ ในประเทศที่นบั ถือพระพุทธศาสนาให้เป็ นภาษาของตน
3. การเผยแผ่เป็ นฉบับภาษาไทย โดยแบ่งออกเป็ น 2 สานวน คือ แปลโดยอรรถตามความใน
พระบาลี พิมพ์เป็ นเล่มเรี ยกว่า “พระไตรปิ ฎกภาษาไทย” และอีกสานวนหนึ่ งแปลเป็ นสานวนเทศนา
พิ ม พ์ล งในใบลานเรี ย กว่า พระไตรปิ ฏกเทศนาฉบับ หลวง ต่ อ มาใน พ.ศ. 2514 ได้มี ก ารพิ ม พ์
พระไตรปิ ฎกภาษาไทย เป็ นครั้งที่ 2 เนื่ องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช รัชกาลที่ 9 ได้เสวยราชสมบัติครบ 25 ปี เรี ยกว่า พระไตรปิ ฎกภาษาไทยฉบับหลวง และครั้ง
สุ ดท้าย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้มีการแปลและจัดพิมพ์
การจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกให้เป็ นภาษาไทย เพื่อให้พุทธศาสนิกชนคนไทยทุกคนสามารถเข้ามา
ศึกษาค้นคว้าพระไตรปิ ฎกได้ เป็ นการเผยแผ่พระไตรปิ ฎกอีกลักษณะหนึ่ง
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 24

คุณค่ าและความสาคัญของพระไตรปิ ฎก

1. เป็ นที่สถิตของพระพุทธเจ้า เนื่องจากพระธรรมวินยั เป็ นตัวแทนของพระพุทธเจ้า


2. ได้ทาหน้าที่ของพระธรรม เพราะพระไตรปิ ฎกบรรจุพระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
3. เป็ นที่รองรับพระสงฆ์ เพราะพระสงฆ์เกิดได้จากการอุปสมบทตามบทบัญญัติในพระวินยั ปิ ฎก
4. เป็ นที่ปรากฏแห่งพระสัทธรรม 3 ได้แก่ปริ ยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ
5. เป็ นระบบฝึ กฝนพัฒนาครบวงจร เน้นศีล สมาธิ และปัญญา
6. เป็ นมรดกที่พระพุทธเจ้ามอบให้ เพราะพระธรรมวินยั เป็ นศาสดา
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 25

กิจกรรมที่ 2 การสังคายนา

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนจับคู่เหตุการณ์สาคัญที่เป็ นจุดเด่นกับการทาสังคายนาในแต่ละครั้ง

.............สังคยานาครั้งที่ 1 ก. หลังการสังคายนาแล้วได้มีการส่ งสมณทูตไปเผยแผ่


พระพุทธศาสนาในดินแดนต่างๆ
.............สังคยานาครั้งที่ 2 ข. นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 4 ในลังกาทวีป
.............สังคยานาครั้งที่ 3 ค. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชเป็ น
องค์อุปถัมภ์
.............สังคยานาครั้งที่ 4 ง. สาเหตุเกิดจากสุ ภทั ทะกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินยั
.............สังคยานาครั้งที่ 5 จ. มีพระเจ้ามหานามเป็ นองค์อุปถัมภ์
.............สังคยานาครั้งที่ 6 ฉ. พระมหินทเถระเป็ นประธาน
.............สังคยานาครั้งที่ 7 ช. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช เป็ น
องค์อุปถัมภ์
.............สังคยานาครั้งที่ 8 ซ. มีการจารึ กพระธรรมวินยั หรื อพระพุทธวจนะ เป็ น
ภาษามคธอักษรบาลีลงในใบลาน
.............สังคยานาครั้งที่ 9 ฌ. จัดขึ้นใน จ.เชียงใหม่
.............สังคยานาครั้งที่ 10 ญ. นับเป็ นครั้งแรกในประเทศไทยที่มีการพิมพ์
พระไตรปิ ฎกเป็ นเล่มด้วยอักษรไทย
.............สังคยานาครั้งที่ 11 ฏ. สาเหตุเกิดจากข้อปฏิบตั ิยอ่ หย่อน 10 ประการ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 26

แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดการเรียนรายบุคคล เล่มที่ 1 พระไตรปิ ฎก

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบมีท้ งั หมด 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด แล้วทาเครื่ องหมาย x ลงในช่อง ก ข ค และ ง
ให้ตรงกับข้อที่นกั เรี ยนเลือกตอบ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. พระไตรปิ ฎกเป็ นบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ทใี่ ห้ ข้อมูลต่ างๆ หลายด้ าน
ยกเว้นด้ านใด
ก. ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ข. การเมืองการปกครอง
ค. การทดลอง
ง. การศึกษา
2. หากต้ องการศึกษาเกีย่ วกับข้ อปฏิบัติทดี่ ีงามของพระสงฆ์ควรเลือกศึกษาพระไตรปิ ฎก
ในหมวดใด
ก. พระวินยั ปิ ฎก
ข. พระสุ ตตันตปิ ฎก
ค. พระอภิธรรมปิ ฎก
ง. พระไตรปิ ฎก
3. การสั งคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1 เกิดขึน้ หลังจากที่พระพุทธเจ้ าปรินิพพานไปแล้ ว
นานเท่าใด
ก. 2 เดือน
ข. 3 เดือน
ค. 4 เดือน
ง. 5 เดือน
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 27

4. ข้ อใดอธิบายความหมายของพระไตรปิ ฎกได้ ชัดเจนทีส่ ุ ด


ก. หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาที่มีการสังคายนาแล้ว
ข. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็ นหมวดหมู่
ค. เป็ นหนังสื อรวมพระธรรมวินยั ไว้เป็ นหมวดหมู่
ง. คัมภีร์ของพระพุทธศาสนาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
5. พระไตรปิ ฎกฉบับภาษาไทยได้ รับการจัดพิมพ์ครั้งแรกในสมัยพระมหากษัตริ ย์ไทยพระองค์ ใด
ก. รัชกาลที่ 3
ข. รัชกาลที่ 4
ค. รัชกาลที่ 5
ง. รัชกาลที่ 6
6. การศึกษาภาษาบาลีจนมีความเข้ าใจแตกฉาน มีผลดีในเรื่ องใดมากทีส่ ุ ด
ก. สอบเรี ยนต่อในโรงเรี ยนปริ ยตั ิธรรมได้
ข. เป็ นการรักษาหรื ออนุรักษ์วฒั นธรรมทางด้านภาษา
ค. สามารถฟังพระสงฆ์สวดมนต์แล้วเข้าใจความหมาย
ง. เข้าใจคาสอนของพระพุทธศาสนาในพระไตรปิ ฎก ฉบับภาษาบาลี
7. วิธีการเผยแพร่ พระไตรปิ ฎกทีป่ ระสบความสาเร็จมากที่สุด คือข้ อใด
ก. การเทศนาสั่งสอนหรื อการบอกธรรม
ข. การพิมพ์หนังสื อพระไตรปิ ฎกจานวนมาก
ค. การจารึ กข้อความบนแผ่นศิลา และตามผนังโบสถ์
ง. การใช้เทคนิคในการอธิบายความรู้ในพระไตรปิ ฎกของพระสงฆ์
8. ข้ อความเกีย่ วกับคุณค่ า และความสาคัญของพระไตรปิ ฎก ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง
ก. เป็ นที่รวบรวมพระพุทธวจนะ
ข. เป็ นหลักฐานอ้างอิงความถูกต้องทางพระพุทธศาสนา
ค. เป็ นที่รวบรวมประวัติความเป็ นมาของพระพุทธศาสนา
ง. เป็ นเกณฑ์มาตรฐานตรวจสอบคาสอนในพระพุทธศาสนา
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 28

9. เพราะเหตุใด พระไตรปิ ฎกจึงได้ ชื่อว่ า เป็ นแหล่ งความรู้


ก. เพราะมีขอ้ มูลและแนวคิดที่แตกต่างกัน
ข. เพราะมีภาษาบาลีเป็ นภาษาที่ทุกชาติให้ความสนใจศึกษา
ค. เพราะมีเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอย่างละเอียด
ง. เพราะคาสอนในพระพุทธศาสนาเชื่อมโยงหรื อครอบคลุมวิทยาการหลายสาขา
10. เพราะเหตุใด พระไตรปิ ฎกจึงได้ ชื่อว่า เป็ นคัมภีร์ชีวติ
ก. เพราะเป็ นหลักความจริ งของชีวติ คนที่มีการเวียน ว่าย ตาย เกิด
ข. เพราะมีคาสอนที่เป็ นหลักปฏิบตั ิเพื่อความสงบสุ ขในการดารงชีวิต
ค. เพราะมีเรื่ องราวชีวิตของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกอย่างละเอียด
ง. เพราะเป็ นแหล่งความรู ้ที่สามารถประมวลมาเป็ นแนวทางการดาเนิ นชีวติ
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 29

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดการเรียนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก

ชื่อ – สกุล...........................................................................ชั้น................เลขที่..........

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ได้....................คะแนน
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 30

ภาคผนวก
เล่มที่ 1 : พระไตรปิ ฎก
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 31

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
ชุดการเรียนรายบุคคล เล่มที่ 1 พระไตรปิ ฎก

ข้ อที่ เฉลยก่อนเรียน ข้ อที่ เฉลยหลังเรียน


1 ข 1 ค
2 ค 2 ก
3 ง 3 ข
4 ก 4 ข
5 ค 5 ค
6 ง 6 ง
7 ข 7 ก
8 ค 8 ค
9 ก 9 ง
10 ข 10 ข
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 32

เฉลยกิจกรรมที่ 1 พระไตรปิ ฎก
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเติมข้อความลงในแผนผังให้สมบูรณ์ (20 คะแนน)

พระไตรปิ ฎก

พระวินัยปิ ฎก สุ ตตันตปิ ฎก อภิธัมมปิ ฎก


ว่าด้วยวินัยหรื อศีลของภิกษุ ภิกษุณี ว่าด้วย พระธรรมเทศนาทั่ว ๆ ไป ว่าด้วย ธรรมที่สำคัญ

1. ธัมมสังคณี
1. ส่ วนที่ว่าด้ วยศีลของภิกษุ 1. ทีฆทิกาย

2. วิภังค์
2. ส่ วนที่ว่าด้ วยศีลของภิกษุณี 2. มัชฌิ มนิกาย

3. ธาตุกถา
3. ส่ วนที่ว่าด้ วยเรื่ องสาคัญ 3. สังยุตตนิกาย

4. บุคลคลบัญญัติ

4. ส่ วนที่ ว่าด้ วยเรื่ องที่ สาคัญรองลงมา 4. อังคุตตรนิกาย


5. กถาวัตถุ

5. ส่ วนที่ ว่าด้ วยเรื่ องเบ็ดเตล็ด 5. ขุททกนิกาย


6. ยมก

7. ปั ฏฐาน
ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 33

เฉลยกิจกรรมที่ 2 การสังคายนา
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนจับคู่เหตุการณ์สาคัญที่เป็ นจุดเด่นกับการทาสังคายนาในแต่ละครั้ง


ง สังคายนาครั้งที่ 1 ก. หลังการสังคายนาแล้วได้มีการส่ งสมณทูตไปเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในดินแดนต่างๆ
ฏ สังคายนาครั้งที่ 2 ข. นับเป็ นการสังคายนาครั้งที่ 4 ในลังกาทวีป
ก สังคายนาครั้งที่ 3 ค. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เป็ น
องค์อุปถัมภ์
ฉ สังคายนาครั้งที่ 4 ง. สาเหตุเกิดจากสุ ภทั ทะกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินยั
ซ สังคายนาครั้งที่ 5 จ. มีพระเจ้ามหานามเป็ นองค์อุปถัมภ์
จ สังคายนาครั้งที่ 6 ฉ. พระมหินทเถระเป็ นประธาน

ข สังคายนาครั้งที่ 7 ช. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช เป็ น


ฌ สังคายนาครั้งที่ 8 ซ. มีการจารึ กพระธรรมวินยั หรื อพระพุทธวจนะ เป็ น
ภาษามคธอักษรบาลีลงในใบลาน
ค สังคายนาครั้งที่ 9 ฌ. จัดขึ้นใน จ.เชียงใหม่

ญ สังคายนาครั้งที่ 10 ญ. นับเป็ นครั้งแรกในประเทศไทยที่มีการพิมพ์


พระไตรปิ ฎกเป็ นเล่มด้วยอักษรไทย

ช สังคายนาครั้งที่ 11 ฏ. สาเหตุเกิดจากข้อปฏิบตั ิยอ่ หย่อน 10 ประการ


ชุดการเรี ยนรายบุคคล เล่ มที่ 1 พระไตรปิ ฎก 34

บรรณานุกรม

ญาณสังวร (เจริ ญ สุ วฑั ฒนมหาเถร), สมเด็จพระ. ความหมายแห่ งพระรัตนตรัย. กรุ งเทพฯ :


โรงพิมพ์มหามงกุฎราชวิทยาลัย, 2551.
นภดล ขวัญชนะภักดี และคณะ. หนังสื อเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน พระพุทธศาสนา ชั้ นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 5 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. (พิมพ์ครั้งที่ 1) กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์
ประสานมิตร (ปสม.) จากัด, 2553.
ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ และคณะ. หนังสื อเรียน สาระการเรียนรู้ พนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สั งคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม พระพุทธศาสนา ม.4-6. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุ งเทพฯ :
อักษรเจริ ญทัศน์, 2556.
วัฒน สุ ทธิศิริมงคล และคณะ. สรุ ปสั งคมมัธยมปลาย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ : กรี นไลฟ์ พริ้ นท์ติง้
เฮ้าส์ จากัด, 2557.
วิทย์ วิศทเวทย์ และ เสถียรพงษ์ วรรณปก. เอกสารประกอบคู่มือครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาพืน้ ฐานพระพุทธศาสนา ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. กรุ งเทพฯ :
อักษรเจริ ญทัศน์, 2556.
วิทยา ปานะบุตร. คู่มือเตรียมสอบรายวิชาพืน้ ฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 พระพุทธศาสนา ม.4-6. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนาจากัด, 2556.
. คัมภีร์ สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.4-6 ฉบับสมบูรณ์ .กรุ งเทพฯ : เรื องแสง
การพิมพ์, 2552.

ออนไลน์
http://dhammawijja.blogspot.com/2016/02/blog-post_10.html
https://hilight.kapook.com/view/166943
http://oldisyounginbkk.com/site/newweb/sitedata/index.php/content.
http://thammaforcharity.weebly.com/.
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/3336-005454.

You might also like