You are on page 1of 29

โครงงานภาษาไทย

เรื่อง คาราชาศัพท์

จัดท าโดย
นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
นางสาว สิรนิ าภา ข าต้นวงษ์
นางสาว สุ ดารัตน์ มลคลา ้
เสนอ
อาจารย์ สุพฒน์ แจ่มจันทร

รายงานฉบับนี เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวชาภาษาไทย


ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1 ปี การ
ศึกษา 2563
ศูนย์การเรียนรู้นอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย
อาเภอธัญบุรี จังหวดปทุมธานี

บทคดย่อ
ปัจจุบน เด็กไทย ใหม่ไม่รจ้ ู ก ความหมายของคา ราชา ทและใชค า ราชา ทไม่เหมาะสม บุคคลในแต่
สมน ศพ ศพ กบ
ละ บุคคล ซ่ ึงคา ทจะแบ่งออกเป็ นหมวดต่างๆ คือ หมวดเครื่องใช้ หมวดร่างกาย หมวดเครื่องแต่งกาย
ระดบ ราชาศพ
หมวดเครื่ องประ และหมวดเครื่ อง วไป หมวดเครือญาติ หมวดคา กริยา หมวดคาสรรพนามและคาราชาศพท
ดบ ใชท
สา หรับใชกบพระสงฆ
คาราชาศพทจะใช พระมหากษต ริย์ พระบรมวงศานุวงศและพระสงฆ์ ทางคณะผจู้ ดทาไดม ีความสนใจและ
กบ
ตระหนกถึงความสาคญของเรื่องคาราชาศพท์ จึงไดจ ดทา โครงงานเก่ีย เรือ่ งคา ราชา ทข้ืนมา เพื่ อ ี่สนใจ
วกบ ศพ ใหผทู
ไดศึกษา

กตติกรรมประกาศ

โครงงานนส้ี า เร็จลุลว่ งไปไดด วยการ ควา้ ส่อการเรี ี
ยนรูท้ เ่ี ก่ยวขอ งก คา ราชาศพทจากหนงสือรวมไปถึงสื่อ
คน บ
การเรี ยนรู ้จากอินเตอร์เน็ตและความช่วยเหลืออยา่ งดียงิ่ ของ อาจารย์ น์ แจ่ม ทร์ อาจาร ี่ปรึกษาโครงงานที่
สุ พฒ
จน ยท
ไดใ้ า คิดเห็นต่างๆมาโดย ทา จ ทา โครงงานมีกา ลงั ใจที่ นาโครงการจนสา เร็จได้ และ
หค แนะนา และขอ ใหผ ู จะพฒ


สุดทา้ ยนขี้ อขอบคุณผอู ยเู่ บอื้ งหลงั ในการทา โครงงานเล่มนี้ ครงงานเล่มนอี้ อกมาไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ทา ใหโ

คณะผจู้ ดทา

คาน า
โครงงานคา ราชา ทมีจดุ มุ่งหมายเพื่อทา ทู ่ีศึกษาเกิดความรู ้และความเขา้ ใจในคา ทมากข้ึน
ศพ ใหผ ราชาศพ
สามารถนาคาราชาศพทไปใหใหถูกตองตามราชบณฑิตยสถาน ท้งั ยงั ไดร้ บั ความสนกุ สนานจากเกมทีใ่ ชเ้ ป็ นสอ่ื
ื คา ราชา ทไม่น่าเบื่อ และผ ี่ศกึ ษาจะ ีความกระตือรือร้นใน
ประกอบการเรียนรู้ ทา ารเรียนรูเ้ ร่อง
ใหก ศพ ทู ไดม
การศึกษามากยงิ่ ข้ึนดวย
ผจู้ ด ทา ปศึกษา คว รวบรวมและเรี ยบเรี ยงคา ทออกมาเป็ นรายงานเล่มน้ี ซ่ึงประกอบไปดวย
ไดไ คน า ราชาศพ
เนอ้ื หาของหมวดหมู่คา ราชาศพ ทต่างๆและไดจด ทา รค คา ราชา ท์ เพื่อเป็ นสื่อประกอบการเรียนรู้ใหเขาใจและ
บต า ศพ
สนุกสนานเพลิดเพลินไป คา ราชา มวดต่างๆ ซ่งผ ึ ทา หวงั เป็ นอยา่ งยงิ่ วา่ รายงานเล่มนจ้ี ะเป็ นประโยชน์ต่อ
กบ ศพทห จู้ ด
ผท ่ีสนใจเก่ีย คา ราชา ทและผ ี่นา ไปใชใ้ หเ้ กิด ฤทธ์ิตามความคาดหวง
วกบ ศพ ทู ผลสม

คณะผจู้ ดทา

สารบัญ
เรื่อง หน้ า
บทคดยอ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
คานา ค
สารบญั ง
บทที่ ๑ บทนา 1
ที่มาและความสาคญของโครงงาน 1
วตถุประสงค์ 1
สมมุติฐานของการศึกษา ควา 1
คน ขอบเขตการศึกษาคนค 1
วา้

บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวของ 2
คาราชาศพทหมวดเครื่องใช้ 3
คาราชาศพทหมวดเครื่องใชภายในหองครัว 3

คา ราชา มวดเคร่องใชภ ายในหอ งอาบน้า งแต่งตว 3
ศพทห และหอ

คาราชาศพทหมวดเครื่ องใชภายในหองทา งาน 4


คา ราชาศพทหมวดรา่ งกาย 5
คาราชาศพทหมวดเครืออญาติ 6
คาราชาศพทหมวดคากริ ยา 8
คาราชาศพทหมวดคากริ ยา 8
คา ราชา มวด กริ ยา 8
ศพทห อากป
คาราชาศพทหมวดคาสรรพนาม 9
คาราชาศพทหมวดพระสงฆ์ 10

บทที่ ๓ วิธีการดาเนินโครงงาน 11
ขน้ ตอนการดา เนินงาน 11
เครื่ องมือและวสดุอปุ กรณ์ที่ใชในการศึกษา 12
บทที่ ๔ ผลการดาเนินการ 13
ที่มาของคาราชาศพท์ 13
ความสาคญของคาราชาศพท์ 13
ผลการดาเนินงาน 13
บทที่ ๕ สรุ ปและอภิปรายผลการศึกษา 14
สรุ ปผลการศึกษา 14
อภิปรายผล 14
ประโยชน์ที่ไดร้ ับ 14
ขอเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 15
1

บทที่ ๑
บทน า
ที่มาและความส าคญของโครงงาน

การเรียนรายวิชาภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียนเรื่อง คาราชาศพท์ ซ่งทางคณะผจู ้ ดทา
ื ย่ งุ่ ยากสา ห ี่ศกึ ษาแลว ไม่ า ไปใช้ ทางคณะผจู้
มีความคิดเห็นวา่ คา ราชา ทเ์ ป็ นเร่องที จึงไดจ ดทา
ดงั น้น
ศพ รับผทู ไดน ดทา
โครงงานภาษาไทยเรื่ อง คาราชาศพท์ ข้ ึนเพื่ อทา ใหผทู ี่ศกึ ษาเกดิ ความรและความเขู้ า้ ใจในคารา
ชาศพทมากขนึ้ ทง้ ั ยง
ไดร้ ับความสนุกสนานจากเกมที่ใชเป็ นสื่ อประกอบการเรี ยนรู ้ ทาใหการเรี ยนรู ้เรื่ อง คาราชาศพทไม่น่าเบ่ือ และผทู
ศึกษาจะไดมีความกระตอื รอรน้ื ในการศกึ ษามากยงิ่ ขนดึ้ วย

วตถุประสงค์
๑. เพื่อใหความรู้ในเรื่องคาราชาศพท
๒. เพื่อนา คา ทไปใชใ้ หเ้ หมาะ แต่ละโอกาส
ราชาศพ สมกบ
๓. เพือ่ ทา ศึกษามีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ใหผ้ ๔. เพื่อ ู้ ึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยงิ่ ข้ึน
ทา ใหผ ศ

สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
ผท าการศึกษาในเรื่ องคาราชาศพท์ สามารถนา ไปใชใ้ หเ้ หมา แต่ละโอกาสได
ะสมกบ
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
๑. ศึกษาคาราชาศพท์ ทีม่ อี ยใู่ นบทเรียนของรายวิชา ภาษาไทย ระดบมธ ยมศึกษาตอนปลาย
๒. ศึกษาคาราชาศพท์ จากอินเตอร์เน็ต
๓. ศึกษาคา ราชา ทจากหนงั ละสื่อต่างๆ
ศพ สือพิมพแ
2

บทที่ ๒ เอกสารที่
เกยวข้อง
คาราชาศพท์ คือ คา สุ ภาพท่ีใชใ้ หเ้ ฐานะของบุคคลต่างๆ คา ทเ์ ป็ นการกา หนดคา และภาษา
หมาะสมกบ ราชาศพ
ทีส่ ะทอ นใหเ้ ห็นถึง นธร ดีงามของไทย า ราชา ทจะมีโอกาสใชใ้ นชีวติ ย แต่เป็ นสิ่งที่แสดงถึง
วฒ รมอน แมค ศพ นอ
ความละเอียดอ่อนของภาษาไทยที่มีคา หลายรู ป หลายเสียงในความหมาย และเป็ ษณะพิเศษของ
เดียวกน นลก
ภาษาไทยโดยเฉพาะ ซ่ ึงใชกบบุคคลกลมุ่ ต่างๆ ดงั ต่อไปน้
๑.พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหวและสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชินีนาถ ๒.พระบรมวงศานวงศุ
๓.พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ๔.ขนนาง ขาราชการ ๕.สุภาพชน
บุคคลในกลุ่มที่ ๑ และ ๒ จะ าชา ทชุดเดียว เช่นเดียว บุคคลในกลุ่มท่ี ๔ และ ๕ ก็ า ราชาศพท
ใชร ศพ กน กบ ใชค
ในชุดเดียว และเป็ นคา ราชา ททีเ่ ราใชอ ยเู่ ป็ นประจา ในสงั คมมนุษยเ์ ราถือวา่ การใหเ้ กียรติแก่บคุ คลที่ หนา
กน ศพ เป็ นหว
ชุมชน หรื อ ี่ชุมชน ถือ เป็ น นธรรมอยา่ งหน่ึงของมนุษยชาติ ทุกชาติ ทุกภาษา ต่าง งใหเ้ กียรติ
น้ น
ผทู เคารพนบ วฒ ยกยอ
แก่ผเู้ ป็ นประมุขของชุม ยก ท้งั สิ้น แทบทุกชาติ ทุกภาษาจึงต่างก็มี คา สุภาพ สา ประมุขหรือผู
ดงั นน้
ชนดว น หรับใชกบ
ท่ีเขาเคารพ ถือ จะมากนอ ยย มสุดแต่ขนบประเพณีของชาติ และจิตใจของประชาชนในชาติวา่ มีความเคารพในผู
นบ อ
เป็ นประมุขเพียงใด เมืองไทยเราก็มพี ระมหา ริ รงเป็ นประมุขของชาติ และพระประมุขของเรา แต่ละพระองค
กษต ย

ทรงพระปรีชาสามารถ จึงทา ระชาชนส่วนใหญ่มีความ เคารพสก การะอยา่ งสูงสุดและมีความจงรกภก ดีอยา่ ง
ใหป
แนบแน่นตลอดมา ต้งั แต่โบราณกาลจนถึงปัจจุ โดยจะแบ่งเป็ นหมวด ยๆดงั น้
นบ บน ยอ
๑. คาราชาศพทหมวดเครื่องใช้ ๒. คา ราชาศพทหมวดรา่ งกาย ๓. คาราชาศพทหมวดเครอญาติื ราชตระกูล
๔. คา ราชาศพทหมวดคา กิรยิ า ๕.คาราชาศพทหมวดสรรพนาม ๖. คาราชาศพทหมวดพระสงฆ
ที่มาของคาราชาศพท
คา ราชา ท์ มีที่มาอยู่ ๒ อยา่ ง คือ
น้น
ศพ
๑..รับมาจากภาษาอื่น ภาษาเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็ นตน โอรส เป็ นตน้
3

ภาษาบาลี-สน สกฤต เช่น อาพาธ เนตร หตถ


๒..การสร้างคา ขน้ึ ใหม่ โดยการประสม เช่น ลูกหลวง พระพก ตร์ ต้งั เครื่ อง เป็ นตน
คา ความสาคญของคาราชา
ซบ
ศพท์

๑. เพ่อใหเ้ รา อยคา ในการพูดจาไดไ พเราะ ถูก งตามกาลเทศะและฐานะแห่งบุคคล เพราะราชา ทมิได
ใชถ ตอ ศพ
หมายถึงคา พูดท่ีเก่ียวกบพระราชาเท่าน้ น
๒.ราชา ท์ เป็ นส่ วนหน่ ึง นธรรมของชาติ การใชร าชา ททีถ่ กู งเป็ นการแสดงความประณีต นุ่มนวล น่า
ศพ ของวฒ ศพ ตอ
ฟั งของภาษาอยา่ งหน่ึง ตลอดจนเป็ นการส่งเสริมวฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของเรา
๓.การเรี ยนรู ้ราชา ทย มทา ใหเ้ ราเขา้ ถึงรสของวรรณคดี เพราะในวรรณคดีมีรา นอย าก จึงจา เป็ นตอง
ศพ อ ชาศพทป ม
เรี ยนรู ้ราชา ทเ์ พื่อช่วยใหเ้ กิดความซาบซง้ึ ในรสคา ธ์น้นๆ
ประพน
ศพ
4

ค าราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้
คาราชาศพทหมวดเครื่องใชภายในหองนอน
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระวิสูตร,พระสูตร ม่าน,มุง้ พระแท่นบรรทม เตียงนอน
พระเขนย หมอน พระราชบรรจถรณ์ ที่นอน
พระทวาร ประตู พระยภี่ ู่ ฟูก
พระบญชร หนา้ ต่าง พระราชอาสน์ ที่นงั่
พระแท่น เตียง ลาดพระบาท พรมทางเดิน

คาราชาศพทหมวดเครื่องใชภายในหองครัว
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระสุวรรณภิงคาร คนโทนา้ บวนพระโอษฐ์ กระโถน
ฉลองพระหตั ถช์ อน ชอน โต๊ะเสวย โต๊ะรับประทานอาหาร
ฉลองพระหตั ถต์ ะเกียบ ตะเกียบ ผาเช็ดพระหตั ถ์ ผาเช็ดมือ
แกว้ น้า เสวย แกว้ น้า ชามชาระพระหตถ์ ชามลางมือ
มีดคาว,มีดหวาน,มีดผลไม้ มีด พระมงสี พานรองสังข์ จอกหมาก
ที่พระสุธารส ชุดเครื่ องน้ า ร้อน น้ า ถาดพระสุธารส ถาดนา้ ชา
เยน็
พระสุพรรณศรี กระโถนเลก็ พระสุพรรณราช กระโถนใหญ่

คา ราชา มวดเครื่องใชภ ายในหอ งอาบน้า งแต่งตว


ศพทห ค าราชาศัพท์ และหอ
ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระแสงกรรบิด มีดโกน พระภูษาชุบแสง ผา้ อาบน้า
ซบพระองค์ ผาเช็ดตวั ซบพระพกตร์ ผาเช็ดหนา้
อ่างสรง อ่างอาบน้า พระสาง หวี
ผาพนพระศอ ผาพนคอ พระภูษา ผา้ นุ่ง
ฉลองพระองค์ เสือ้ พระสนบเพลา กางเกง
กระเป๋ าทรง กระเป๋ าถือ ฉลองพระบาท รองเทา้
นาฬิกาขอ้ พระหตถ์ นาฬิกาขอมือ ฉลองพระเนตร แวน่ ตา
พระฉาย กระจกส่อง ธารพระกร ไมเทา้
เครื่องพระสุคนธ์ เครื่องหอม,น้า หอม เครื่องพระสาอาง เครื่องสาอาง
5

ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย


พระจุฑามณี ปิ่ นประดบั เพชร พระธามรงค์ แหวน
พระกณฑล ต่างหู สร้อยพระศอ สร้อยคอ
ทองพระกร กา ไลขอ้ มือ พระป้ันเหน่ง หวเขมขดั

คาราชาศพทหมวดเครื่องใชภายในหองทา งาน
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
โต๊ะทรงพระอกษร โต๊ะเขียนหนงั สือ พระราชหตถเลขา จดหมาย
พระท่ีนงั่ เกา้ อ้ี เกา้ อ้ีนงั่ พระโอสถ ยา
พระโอสถมวน บุหรี่ พระแสงปนาค กรรไกร
กลอ้ งถ่ายภาพ กลอ้ งถ่ายรูป พระราชโทรเลข โทรเลข
6

ค าราชาศัพท์หมวดร่างกาย
ค าราชาศัพท์ ความหาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระเกศา ผม พระรากขวญั ไหปลาร้า
พระนลาฎ หนาผาก พระอุทร ทอง
พระขนอง หลงั พระองคุลี นิ้วมือ
พระองสะ บ่า พระโมฬี จุก
พระถน,พระเตา้ นม พระดรรชนี นิ้วช้ี
พระนาสิก จมูก พระทนต์ ฟั น
พระอุระ,พระทรวง อก พระกรรณ หู
บ้นั พระออก,พระกฤษฎี เอว พระชิวหา ลิน้
พระฉวี ผิวหนงั ขอพระบาท ขอเทา้
พระปั บผาสะ ปอด พระโอษฐ์ ปาก
พระหนุ คาง พระกจั ฉะ รักแร้
พระพกตร์ หนา้ พระราศี ผิวหนา้
มูลพระชิวหา ลิน้ ไก่ ไรพระทนต์ ไรฟั น
พระโสณี สะโพก พระชงฆ์ แขง้
พระกนิษฐา นิ้วกอ้ ย พระศอ คอ
พระมงสา เน้ือ พระเสโท เหงื่อ
พระบงคนเบา ปั สสาวะ พระนาภี สะดือ
พระบงคนหนกั อุจจาระ พระโลมา ขน
พระองคาร เถากระดูก พระเขฬะ น้า ลาย
ขอพระหตถ์ ขอมือ พระขนง คิว้
นา้ พระเนตร นา้ ตา พระอุร,ุ พระอสสุชล ตนขา
พระชานุ หวั เข่า พระพาหุ ตนแขน
พระอุณาโลม ขนระหวา่ งคิว พระฉายา เงา
พระกรรเจียก จอนหู
7

ค าราชาศัพท์หมวดเครืออญาติ
ึ พระยศเป็ น
พระบรมวงศานุวงศ์ คือ ญาติของพระเจา้ ดิน ซ่งมี พระบรมวงศานุวงศ์ แบ่งออกเป็ น คือ
แผน เจา สองช้ น
๑. พระบรมวงศ์ หมายถึง วงศใ์ หญ่ คือ บรรดาพระราชโอรสธิดาในพระ ดินหรือพระญาติใกลช ิด เช่น พ่อ แม่
เจา้ แผน
พี่ นอง เป็ โดยแบ่งป็ ได งั น้
นตน นช้น ด
- สมเด็จพระมหาอุปราช หมายถึง พระราชวงศที่ทรงกรณาโปรดเกลาุ ้ ฯ พระราชทาน “อุปรา
ชาภเษกิ มีฐานะเป็ นองค
รัชทายาทสื บ ตติวงศต ่อไป
สน
- สมเด็จพระบรมวงศ์ หมายถึง พระบรม สู ง ทรง ตปฏลเศวตฉตร
วงศช้ น สป
- พระราชโอรส-ธิดา หมายถึง บรรดาพระราชโอรสธิดาในพระมหากษตริย์ ที่ประสูติพระมเหสีเทวีเจาและพระสนม
๒. พระอนุวงศ์ หมายถึง วงศ คือ บรรดาพระราชนด ดา พระราช ดา ของพระเจา้ ดิน โดยสามารถเป็ นช้ น
เลก ปนด แผน
ไดดงั น้
- พระราชนดดา หมายถึง หลานป่ ู หลานตา ของพระมหากษตริ ย
- พระโอรส-ธิดา ของสมเด็จพระมหาอุปราช
- พระราชปนดดา หมายถึง เหลนของพระมหากษตริย์

ราชนิกุลและสายสัมพนธ์
บุคคล เนื่องในราชสกุล ลา รองลงมาจากหม่อมเจา แม ีคา นา หนา้ นามเป็ นพิเศษอยู่ แต่กถ็ อื เป็ นสามญชน
นบ ดบ ม
หม่อมราชนิกล คอื หม่อมราชวงศ์ หรอื หม่อมหลวง ท่ีรบั ราชการ มีความดีความชอบ กระทงั่ ไดร้ ับพระราชทาน
ึ นามเดิม หม่อมรา
สถาปนาเป็ น เช่น หม่อมอ รวรพงษ์ ซ่งมี ิง ปราโมช
นุวต วา ชวงศส หนด
- หม่อมราชวงศ์ (ม.ร.ว.) คือ ดรศ ด์ิทีร่ องลงมาจากหม่อมเจา เป็นคา นา หนา้ นามสา หรับโอรสธิดาในหม่อม
ฐานน ก
เจา เรียกโดยลา คุณหญิง คุณชาย ดรศ ด์ ิน้ ี ญติขน้ึ ในสมยั รัชกาลที่ ๔
ลองวา ฐานน ก บญ
- หม่อมหลวง (ม.ล.) คือ บุตรธิดาของหม่อมราชวงศ์ เป็ นคา นา หนา้ นามข้ นสดุ ทา้ ยของเชื้ อพระวงศ์ ในการเร
8

ยกโดยี
ลา ลอง า นา “คุณ” ดรศ ด์ ิน้ ี ญติข้ึนในสมยั รัชกาลที่ ๕
ใหใ้ ชค หนา้ วา ฐานน ก บญ
- ณ ยา คือ สร้อยท่ต่ี อทา้ ยนามสกุล บุตรธิดาของหม่อมหลวง และหม่อม เช่น หม่อมงามจิตต์ ร ณ อยธยา
อยธ บุรฉต
และภรรยาของหม่อราชวงศ์ และหม่อมหลวงดวย
9

พระภรรยาของเจาชาย
มีท้งั หมด ๔ ฐานนดร ไดแก่
- พระวรชายา คือ พระอิสริยศ ของพระภรรยา ในสมเดจพระบรมโอรสาธราิ ช สยามมกุฎราชกุมาร ไดแก่
พระเจา้ วรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, พระเจาว
รวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ศรี รัศม์ ิ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎราชกุมาร
- พระชายา คือ พระภรรยาของ เจาฟ้ า และพระองคเจา ซ่งเป็ ึ นเจา้ หญงิ มาต้งั แต่กา เนดิ เช่น พระวรวงศเ์ ธอ
พระองค
เจา้ ทิพยสมพนธ์ “พระชายา” ในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอดุ มศกด์
- ชายา คือ พระภรรยาของหม่อม ซ่ ึงมีกา เนิดเป็ นเจา้ เช่น พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเจา้ ร าไพประภา
เจา เหมือนกน
“ชายา” ในหม่อมเจา้ ธานีเศิกสงด ชุมพล
- หม่อม คือ คานาหนา้ นามสาหรับภรรยาที่เป็ นหญิงสามญชนของเจา้ ชาย เช่น หม่อมแจ๊กเควลิน จิตรพงศ์ ณ อยธยา
ในหม่อมเจา้ ยาใจ จิตรพงศ์ หม่อมกมลา ล ณ ยาในหม่อมเจา้ ชาตรีเฉลิม ล หม่อ วิดา ล ณ ยา ใน
ยค อยธ ยค มอญ ยค อยธ
หม่อมเจา้ นวพรรษ์ ยคล
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระอยกา ป่ ู,ตา พระอยยกา ยา่ ,ยาย
พระปั ยกา ป่ ูทวด,ตาทวด พระปั ยยกา ยา่ ทวด,ยายทวด
พระชนก,พระราชบิดา พ่อ พระชนนี,พระราชมารดา แม่
พระสสุระ พ่อสามี พระสัสสุ แม่สามี
พระปิ ตุลา ลุง,อาชาย พระปิ ตุจฉา ป้ า,อาหญิง
พระมาตุชาย ลุง,นาชาย พระปิ ตุจฉา ป้ า,นาหญิง
พระสวามี,พระภสดา สามี พระมเหสี,พระชายา ภรรยา
พระเชษฐา พี่ชาย พระเชษฐภคินี พี่สาว
พระอนุชา นองชาย พระขนิษฐา นองสาว
พระราชโอรส ลูกชาย พระราชธิดา ลูกสาว
พระชามาดา ลูกเขย พระสุณิสา ลูกสะใภ้
พระราชนดดา หลายชาย,หลานสาว พระภาคิไนย หลาน,ลูกพี่สาว,ลูกนองสาว
พระภาติยะ หลาน,ลูกพีช่ าย,ลูกนองชาย พระราชปนดดา เหลน
1

ค าราชาศัพท์หมวดค ากริยา
คาราชาศพทหมวดคากริยา
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
พระราชดารัส คาพูด ตรัส พูดดวย
เสด็จพระราชดาเนิน เดินทางไปที่ไกล ๆ เสด็จลง… เดินทางไปที่ใกล้ ๆ
ทรงพระราชนิพนธ์ แต่งหนงั สือ ทรงพระกาสะ ไอ
ทรงพระสรวล หวเราะ ทรงพระปรมาภิไธย ลงลายมือชื่อ
ทรงสัมผสมือ จบมือ ทรงพระเกษมสาราญ สุขสบาย
ทรงพระปิ นาสะ จาม พระราชโองการ คา สงั่
พระราโชวาท คา สงั่ สอน พระราชปฏิสันถาร ทกทาย
มีพระราชประสงค์ อยากได้ สรงพระพกตร์ ลางหนา้
ชาระพระหตถ์ ลางมือ พระราชปฏิสันถาร ทกทายปราศรัย
เสด็จประพาส ไปเทีย่ ว พระราชปุจฉา ถาม
ถวายบงคม ไหว้ พระบรมราชวินิจฉยั ตดสิน
ทอดพระเนตร ดู พระราชทาน ให้
พระราชหตถเลขา เขียนจดหมาย ทรงเครื่อง แต่งตวั
ทรงพระอกษร เรียน เขียน อ่าน ประทบั นงั่
ทรงยนื ยนื บรรทม นอน

คา ราชา มวด กริยา


ศพทห ค าราชาศั
อากปพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
ทรงพระสาอาง ทาเครื่องหอม สรงน้า อาบน้า
ทรงพระครรภ์ มีครรภ์ สระพระเจา้ สระผม
ทรงกีฬา เล่นกีฬา ทรงชาง ขี่ชาง
ทรงมา้ ขีม่ า้ ทรงรถ นงั่ รถ
ทรงเรือ นงั่ เรือ ประทบั นงั่ , อยู่
1

ค าราชาศัพท์หมวดค าสรรพนาม
คาที่ใชแทน คาราชาศพท์ ใชก้ บั
แทนชื่อผพู ้ ูด (บุรุ ษที่ ๑) ขาพระพุทธเจา้ พระมหากษตั ริย์
กระผม, ดิฉนั ผใู้ หญ่, พระสงฆ์
แทนชื่อที่พดู ดวย (บุรษุ ที่ ใตฝ้ ่ าละอองธุรี พระบาท, พระมหากษตั ริย,์
๒) ใตฝ้ า่ ละอองพระบาท พระบรมราชินี,
พระบรมราชนนี,
พระบรมโอสรสาธิราช,
พระบรมราชกมารี
แทนชื่อที่พูดดวย ฝ่ าพระบาท เจา้ นายช้ นั สู ง
แทนชื่อที่พูดดวย พระคุณเจา้ พระสงฆผ์ ทู้ รงสมณศกั ด์ิ
แทนชื่อที่พูดดวย พระคุณท่าน พระภิกษุสงฆท์ วั่ ไป
แทนชื่อที่พูดดวย พระเดชพระคุณ เจานาย, หรื อพระภิกษุที่นบั ถือ
แทนผทู ้ ี่พูดถึง (บุรุ ษที่ ๓) พระองค์ พระราชา, พระพุทธเจา้ , เทพผเ้ ป็ น
ใหญ่
แทนผทู ้ ี่พูดถึง ท่าน เจานาย, ขนุ นางผใู ้ หญ่, พระ
ภิกษุ,
ผใู ้ หญ่ที่นบั ถือ
1

ค าราชาศัพท์หมวดพระสงฆ์
ค าราชาศัพท์ ความหมาย ค าราชาศัพท์ ความหมาย
สรงน้า อาบน้า จงหนั อาหาร
จาวดั นอน ฉนั รับประทาน
นิมนต์ เชิญ อาพาธ ป่ วย
อาสนะ ที่นงั่ ลิขิต จดหมาย
ปั จจยั เงิน ปลงผม โกนผม
กุฏิ เรือนที่พกในวดั หอ้ งสรงน้า หอ้ งอาบน้า
ประเคน ถวาย เพล เวลาฉนอาหารกลางวนั
ถาน เวจกุฎี หองสุขา ภตตาหาร อาหาร
มรณภาพ ตาย ใบปวารณา คาแจงถวายจตุปัจจยั
สลากภตั อาหารถวายพระดวยสลาก องคาด เลย้ี งพระ
เสนาสนะ สถานที่พระภิกษุใชอาศยั ไตรจีวร เครื่องนุ่งห่ม
คิลานเภสัช ยารักษาโรค อุบาสก,อุบาสิกา คนรู้จกั
รูป ลกษณนามสาหรับพระภิกษุ องค์ ลกษณนามสาหรับพระพุทธรูป
พระโอวาท คาสอน(พระสังฆราช) พระบญชา คา สงั่ (พระสงั ฆราช)
พระแท่น ธรรมาสน์(พระสังฆราช) พระสมณสาสน์ จดหมาย(พระสังฆราช)
1

บทที่ ๓
วธีการด าเนิ นโครงงาน
ขัน้ ตอนการด าเนิ น
งาน
๑. ผศู ึกษานา เสนอหว โครงงานต่ออาจาร ี่ปรึกษาเพ่ือขอคา แนะนา และกา หนดขอบเขตในการทา โครงงาน
ขอ ยท
๒. ผศู ึกษา ประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหวขอ วตถุประสงคข องโครงงาน
ร่ วมกน
๓. ผศู ึกษา คนควา้ จากหนงั สือต่างๆดงั น้ีหนงั สือเรียน หนงั ละสื่อต่างๆและจากอินเตอร์เน็ต
ร่ วมกน สือพิมพแ

๔. ศึกษาและเก็บรวบรวมขอ มูลเป็ ตอนของการ รวบรวมขอ มูลทีเ่ ก่ยวขอ งก โครงงานเพื่อมาวิเคราะห์และ
นข้น เกบ บ

สรุปเนอ้ื หาทีส่ า ท่จะนา ทา โครงงาน
คญ มาจด

๕. นา เสนอผลงานต่ออาจารยทีป่ รกึ ษาเพอรา่ ยงานผลการดา เนินงาน
๖. จด ทา คู่มือเพื่อ า หรับศึกษาและรายงานต่ออา ี่ปรึกษา
ใชส จารยท

แผนการดาเนิ นงาน ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ – ๔ ตุลาคม ๒๕๖๓


วนั / เดือน / ปี กจกรรม ผู้รับผดิ ชอบ
๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ สารวจและตดสินใจเลือกเรื่องที่จะ นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
ทาโครงงาน นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคล้า
๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั เรื่ องที่จะทา นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
และปรึกษาอาจารย์ นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคล้า
๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ วางแผนการทา โครงงานและแบ่ง นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
หนาที่ในการทาโครงงาน นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคล้า
1

๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เขียนเคาโครงเรื่องโครงงาน “คา รา นางสาว กมลกานต์ สมบุญ


ชาศพท”์ นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคลา้
๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๓ ลงมือสารวจและศึกษาขอมูล นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
เกี่ยวกบั โครงงาน “คา ราชา นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
ศพั ท”์ นางสาว สุดารัตน์ มลคล้า
1

วนั / เดือน / ปี กจกรรม ผู้รับผดิ ชอบ


๖ กนั ยายน ๒๕๖๓ เขียนรายงานโครงงาน “คาราชา นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
ศพท”์ นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคลา้
๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ นาเสนอผลงานของโครงงาน “คา นางสาว กมลกานต์ สมบุญ
ราชาศพท”์ นางสาว สิ ริ นาภา ขาตน้ วงษ์
นางสาว สุดารัตน์ มลคล้า

เครื่ องมือและ ดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการศึกษา


วสั
๑.
คอมพิวเตอร์
๒. โทรศพทมือถอื
๓. หนงั สื อ คา ราชาศพท
เกี่ยวกบ
๔. ปากกา
๕. ดินสอ
๖. ยางลบ
๗. ไมบรร
ทดั
๘.กระดาษ A4และกระดาษ
สี ๙. กรรไกร
๑๐. เครื่องปริ
นท์ ๑๑. เมาส์
ปากกา ๑๒.
IPAD
๑๓. ฟิ วเจอร์บอร์ด
1

บทที่ ๔
ผลการด าเนิน
รายงานเรื่อง คา ราชา การ
ศพ ท์ มีผลการดา เนินการดงั นี้
ความหมายของคาราชาศัพท์
๑. คา “ราชาศพท” นพ้ี ระยาอุปกิตศิลปสาร ไดอ ธิบายไวใ้ นหนงั สือวจีวภิ าคของ หมายถึง ทสา หรับ
ท่านวา ศพ
พระราชาหรื อ ลวง แต่ปัจจุ หมายถึง ระเบียบการ อยคา ูก งตามฐานะของบุคคลไดแ ก่บุคคลที่
ศพทห บน ใชถ ใหถ ตอ
เคารพต้งั แต่พระราชา พระราชวงศ์ พระภิกษุ ขา้ ราชการ รวมถึงคา ที่ใชกบสภุ าพชนทวไป
๒. คาราชา ท์ ตามตา รา ภาษาไทย หมายถึง รือ ยคา เฉพาะ ไป ซ่ ึงใช บุคคล ๕ คือ
ศพ หลก ศพทห ถอ บุคคลทว กบ ระดบ
พระเจา้ แผนดนิ พระราชวงศ์ พระภกิ ษุ ขา้ ราชการ และสภุ าพชน
๓. คา ราชา ทใ์ นความหมายอยา่ งกวา้ ง หมายถึง ยคา สุภาพถูกแบบแผน สา ห บุคคลและสรรพสิ่งท้ง
ศพ ถอ รับใชกบ
ปวง
ที่มาของคาราชาศัพท์
๑. มาจากการเทิดทูนพระเกียรติของพระมหากษตั ริยใ์ นฐานะทีท่ รงเป็ นประมุขของชาติ พระ
๒. มาจากคา ไทยดง้ ั เดิม เช่น พระปาง เส้นพระ เจา้ พี่ยาเธอ เป็ นตน้
เจา
๓. มาจากคา ไทยที่รับมาจากภาษาอื่น ได ก่ ภาษาบาลี ภาษา สกฤตและภาษาเขมร เช่น พระบิดา พระหตถ
อน แ สน
พระเนตร พระปิ ตุฉา เป็ นตน้
ความส าคญของค าราชาศัพท์
๑. เพื่อใหเ้ รา อยคา ในการพูดจาไดไ พเราะ ถูก งตามกาลเทศะและฐานะแห่งบุคคล เพราะราชา ทมิได
ใชถ ตอ ศพ
หมายถึงคา พูดท่ีเก่ียวกบพระราชาเท่าน้ น
๒. ราชา ท์ เป็ นส่ วนหน่ ึง นธรรมของชาติ การใชร าชา ททีถ่ กู งเป็ นการแสดงความประณีต นุ่มนวล
ศพ ของวฒ ศพ ตอ

น่าฟั งของภาษาอยา่ งหน่ึง ตลอดจนเป็ นการส่งเสริมวฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีทดี่ งามของเรา
1

๓. การเรี ยนรู ้ราชา ทย มทา ใหเ้ ราเขา้ ถึงรสของวรรณคดี เพราะในวรรณคดีมีรา นอย าก จึงจา เป็ นตอง
ศพ อ ชาศพทป ม
เรี ยนรู ้ราชา ทเ์ พื่อช่วยใหเ้ กิดความซาบซงึ้ ในรสคา ประ ธ์น้นๆ
พน
ศพ
ผลการด าเนิ นงาน
๑. ผศู ึกษามีความรู ้ในเรื่ องคา ทและสามารถนา ไปใชไดอ ยา่ งถูกตอง
ราชาศพ
๒. ผศู ึกษานา ทไปใชใ้ หเ้ หมาะสมในแต่ละโอกาส
คา ราชาศพ
๓. ผศู ึกษามีความเพลดิ เพลนิ และกระตือรอรน้ื ในการเรยนี มากยงิ่ ขนึ้
1

บทที่ ๕ สรุปและอภิปรายผลการ
ศึกษา
สรุปผลการศึกษา
จากการทา โครงงาน เรื่ องราชา ท์ นักศึกษาได้มีการจ ทา เนือ้ หาที่เกี่ยวก ประ ิความเป็ นมา การ
ศพ วต
จัดลา ดับช้ันบุคคลที่จะต้องใช้ราชาศัพท์ และข้อสังเกตบางประการในการใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้อง อีกทง้ั ยง
สามารถ นา ความรูท้ ี ่ ปใชใ้ นโอกาสต่าง ๆ ในชีวติ ประ ได ยา่ งเหมาะสม
ไดไ จา วน อ
อภิปรายผล
จากการศึกษาคนควาโครงงานเรื่องการศึกษาคาราชาศพท์ ราชาศพท์ หมายถึง ถอ ยคา ที่ ไปใชเ้ มื่อพด
คนทว
กบพระเจา้ ดินและพระรา รื อพระญาติของพระเจา้ ดิน คา ล่าวถึงสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นของพระเจา
แผน ชวงศห แผน ท่ีใชก
แผน ดินและพระราชวงศ์ หรื อเกี่ยว พระเจา้ ดินและพระราชวงศต องเป็ นคา ราชาศพท
กบ แผน
ประโยชน์ ที่ได้รับ
๑. ทาใหทราบถึงประวติความเป็ นมาของคาราชาศพทได

๒. ทา ใหท ราบการจด ลา ช้ บุคคลท่จะตอ งใชร าชาศพท
ด น

๓. ทาใหทราบขอสังเกตบางประการในการใชราชาศพท
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรหาราชาศพทที่นยมใชใิ นปจจุับน
๒. ควรปลูกจิตสา ระชาชนใชภ าษาไทยอยา่ งถูก งตาม ขระวิธี เพื่อเป็ นการอนุรักษภาษาไทย
นึกใหป ตอ อก
1

บรรณานุกรม
๑. จานงค์ ทองประเสริฐ.วิชาภาษาไทย.พิมพค ร้ังท่ี ๖.กรุงเทพฯ:อกษรเจริญทศน์ ๒๕๒๓.
๒. ชิต ภิบาลแทน และ สุ ทธิ ภิบาลแทน.เขียนไทย อ่านไทย และ ท.์ กรุงเทพฯ:อกษรบณฑิต,๒๕๒๐.
ราชาศพ
๓. ประภาศรี กา ลงั เอก.กรุงเทพฯ:แนตมีเดีย,๒๕๒๖.
๔. มูลนิธิอฏฐมราชานุสรณ์ ในพระบรมราชูประถมภ.เครื่องราชอิสรยาภรณ์.กรุงเทพมหานคร: ส. ศิลบ, ๒๕๒๓
๕. รัศมี ภิบาลแทนแทน และ สุทธิ ภิบาลแทน.งามจรรยา งามมารยาท.กรุงเทพฯ:อกษรเจริญ น์ ,๒๕๕๓
ทศ
๖. https://sites.google.com/site/hthaengfhryphaf/ ขอมูลคาราชาศพท์
๗. http://www.trueplookpanya.COM/LEARNING/DETAIL/1252 ขอมูลคาราชาศพท์
2

ภาคผนวก
2

You might also like