You are on page 1of 8

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา

พุทธประวัติ และศาสนาที่ตนนับถือ
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2
เรื่อง พุทธประวัติ

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เวลาเรี ยน 1 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักธรรม
เพื่ออยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วดั
ส 1.1 ป.5/2 สรุ ปพุทธประวัติต้ งั แต่เสด็จกรุ งกบิลพัสดุ์ จนถึงพุทธกิจสำคัญ หรื อประวัติศาสดา
ที่ตนนับถือตามที่กำหนด

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายพุทธประวัติต้ งั แต่ประสูติจนถึงทรงบำเพ็ญพุทธกิจ (K)
2. วิเคราะห์และสรุ ปพุทธประวัติต้ งั แต่เสด็จกรุ งกบิลพัสดุถ์ ึงพุทธกิจสำคัญ (P)
3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการศึกษาพุทธประวัติเพือ่ นำข้อคิดที่ได้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวติ (A)

สาระสำคัญ
พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญพุทธกิจที่เป็ นประโยชน์ต่อพุทธศาสนิกชน โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก การ
ศึกษาพุทธประวัติจะทำให้ได้แบบอย่างที่ดีของพระพุทธเจ้ามาปฏิบตั ิในการดำเนินชีวิต

สาระการเรียนรู้
พุทธประวัติ

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้

คำถามสำคัญ
นักเรี ยนจะนำความรู้จากการศึกษาพุทธประวัติมาพัฒนาการศึกษาของตนเองได้อย่างไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนดูวิดีโอเกี่ยวกับพุทธประวัติ แล้วร่ วมกันสนทนา โดยใช้คำถาม ดังนี้
 วิดีโอที่นก ั เรี ยนดูกล่าวถึงเรื่ องใด
(ตัวอย่างคำตอบ ประวัติความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า)
 พระพุทธเจ้ามีความสำคัญต่อพุทธศาสนาอย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ เป็ นศาสดาของพระพุทธศาสนา เป็ นผู้ก่อตั้งและนำหลักธรรมคำสอน


มาเผยแผ่แก่พทุ ธศาสนิกชน)
2. นักเรี ยนร่ วมกันศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ อง พุทธประวัติ จากหนังสื อเรี ยน
และแหล่งการเรี ยนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติม

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••••••
3. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพุทธประวัติ แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด
โดยใช้คำถาม ดังนี้
 พระพุทธเจ้ามีพระนามเดิมว่าอย่างไร

(เจ้าชายสิ ทธัตถะ)
 เจ้าชายสิ ทธัตถะเป็ นพระราชโอรสของใคร

(พระราชโอรสของพระเจ้าสุ ทโธทนะและพระนางสิ ริมหามายา)

4. นักเรี ยนร่ วมกันวิเคราะห์และสรุ ปเหตุการณ์สำคัญหลังประสู ติของเจ้าชายสิ ทธัตถะ


ลงในแผนภาพความคิด แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง

พระราชมารดาเสด็จ อภิเษกสมรสกับ ตรัสรู้หลักธรรมอริ ยสัจ 4


5 วัน สวรรคต 8 พรรษา พระนางยโสธรา 29 พรรษา เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พราหมณ์ทำนาย 7 วัน ศึกษาศิลปวิทยา 16 พรรษา ทรงมีพระโอรส 35 พรรษา


พระลักษณะ กับครู วิศวามิต พระนามว่า “ราหุล”
และเสด็จออกผนวช
5. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกาศพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า
แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด โดยใช้คำถาม ดังนี้
 หลังจากที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ทรงแสดงธรรมโปรดบุคคลใดเป็ นกลุ่มแรก

(ปัจจวัคคีย)์
 การประกาศพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าก่อให้เกิดผลอย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ ทำให้หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าแพร่ หลายเป็ นที่ยอมรับของบุคคลทัว่ ไป)


6. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพุทธประวัติตอนโปรดพุทธบิดา แล้วสรุ ปเป็ นความ
คิดรวบยอด โดยใช้คำถาม ดังนี้
 เพราะเหตุใดพระพุทธเจ้าทรงเสด็จกลับกรุ งกบิลพัสดุ์
(ตัวอย่างคำตอบ เพื่อแสดงธรรมโปรดพุทธบิดาและพระประยุรญาติ)
 การแสดงธรรมโปรดพุทธบิ ดาและพระประยุรญาติก่อให้เกิดผลอย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ มีพทุ ธสาวกเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งเป็ นกำลังสำคัญในการเผยแผ่ศาสนาต่อไป)

7. นักเรี ยนร่ วมกันวิเคราะห์และสรุ ปพุทธกิจที่สำคัญของพระพุทธเจ้า โดยใช้แผนภาพความคิด


แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง

ทรงตรวจพิจารณาด้วยพุทธญาฌว่ามีใครที่จะสามารถ
เวลาใกล้ ร่ ุ ง บรรลุธรรมได้ เพื่อจะเสด็จไปทรงโปรดบุคคลนั้น

ทรงเสด็จออกไปบิณฑบาต เพื่อทรงโปรดบุคคล
เวลาเช้ า ที่จะบรรลุธรรม

ทรงแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนทัว่ ไป
เวลาบ่ าย-เย็น

ทรงประทานพุทธโอวาทแก่เหล่าพระสงฆ์สาวก
เวลาค่ำ

เวลาเที่ยงคืน ทรงแสดงธรรมและตอบปั ญหาแก่เหล่ากษัตริ ยแ์ ละเทวดา

 การแสดงพุทธกิจของพระพุทธเจ้ามีความสำคัญอย่างไร
(ตัวอย่างคำตอบ เป็ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อให้พทุ ธศาสนิกชนนำหลักธรรมไปปฏิบตั ิ)

8. นักเรี ยนร่ วมกันเสนอแนวทางการนำพุทธกิจของพระพุทธเจ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน


พร้อมวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นลงในตาราง แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด ดังตัวอย่าง
กิจวัตรประจำวันของนักเรียนเทียบกับพุทธกิจ ผลที่เกิดขึน้
เช้า เดินทางมาโรงเรี ยนด้วยความแจ่มใส จิตใจร่ าเริ ง แจ่มใส
เที่ยง แบ่งปันสิ่ งของให้แก่ผู้อื่น ช่วยเหลือผู้อื่น มีความสุ ข เป็ นที่รักของผูอ้ ื่น
บ่าย ตั้งใจเรี ยน เชื่อฟังคำสัง่ สอนของครู เรี ยนรู่ อย่างรวดเร็ ว ผลการเรี ยนดีข้ ึน
เย็น ทบทวนบทเรี ยน ช่วยเหลืองานบ้าน เข้าใจบทเรี ยนมากขึ้น และพ่อแม่ภาคภูมิใจ
9. นักเรี ยนคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า แล้วสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด โดยใช้คำถาม ดังนี้
 นักเรี ยนจะนำความรู้จากการศึกษาพุทธประวัติมาพัฒนาการศึกษาของตนเองได้อย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ ตั้งใจศึกษาเล่าเรี ยน หมัน่ ศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ไม่ยอ่ ท้อต่อ


อุปสรรคต่าง ๆ)

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
10.
• • นักเรี ยนทำชิ้นงานที่ 2 เรื่ อง พุทธประวัติ
11. นักเรี ยนตรวจสอบความถูกต้องเรี ยบร้อยของชิ้นงาน หากพบข้อผิดพลาดให้ปรับปรุ งแก้ไข
ให้ดียงิ่ ขึ้น
12. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญพุทธกิจที่เป็ นประโยชน์ต่อพุทธศาสนิกชน โดยไม่เห็นแก่ความ
เหนื่อยยาก การศึกษาพุทธประวัติจะทำให้ได้แบบอย่างที่ดีของพระพุทธเจ้ามาปฏิบตั ิในการดำเนินชีวิต

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • ••
13. นักเรี ยนออกมานำเสนอชิ้นงานให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรี ยน

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่ อสาร


14. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
15. นักเรี ยนร่ วมกันจัดป้ ายนิเทศเกี่ยวกับพุทธประวัติ เพื่อเผยแพร่ ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ
16. นักเรี ยนประเมินตนเองหลังการเรี ยน ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้มากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนรู ้ในวันนี้หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป
สื่ อการเรียนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้

1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5


ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. วิดีโอพุทธประวัติ
3. แหล่งการเรี ยนรู้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรี ยนนำข้อคิดที่ได้จากการศึกษาพุทธประวัติในตอนที่ตนเองประทับใจ มาสรุ ปเป็ นแนวทางสำหรับ
ปฏิบตั ิในการดำเนินชีวิตให้ประสบความสุ ข โดยสรุ ปเป็ นคติธรรมสอนใจมา 1 บรรทัด

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู ้ เรื่ อง พุทธประวัติ (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินชิ้นงาน เรื่ อง พุทธประวัติ (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ใฝ่ เรี ยนรู ้ (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง พุทธประวัติ
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การเขียนอธิบาย เขียนอธิบายหรื อสรุ ป เขียนอธิบายหรื อสรุ ป เขียนอธิบายหรื อสรุ ป เขียนอธิบายหรื อสรุ ป
หรื อสรุ ปพุทธประวัติ พุทธประวัติจากภาพ พุทธประวัติจากภาพได้ พุทธประวัติจากภาพ พุทธประวัติจากภาพได้
จากภาพ ได้สมั พันธ์กนั มีการจำแนกข้อมูล ได้สอดคล้องกับข้อมูล แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูล
มีการเชื่อมโยง หรื ออธิบายให้เห็นถึง มีการเขียนขยายความ เขียนตามข้อมูลที่ได้
ให้เห็นถึงภาพรวม ความสัมพันธ์กบั ตนเอง และมีการยกตัวอย่าง ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม
แสดงให้เห็นถึงความ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล เพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย
สัมพันธ์
กับตนเองและผูอ้ ื่น

ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา
ลงชื่อ
( )
ตำแหน่ง

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรี ยนการสอน

ปั ญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครู ผสู ้ อน
( )
วันที่บนั ทึก

You might also like