You are on page 1of 5

แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ GPAS 5 Steps

เรื่อง ประมวลความรู้ “อริยสัจ 4”


รหัสวิชา ส22111 รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1 จำนวนเวลาเรียน 1 ชั่วโมง
ผู้สอน ครูสุกัญญา รอดระกำ
1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
1.2 ตัวชี้วัด
ม.2/8 อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กำหนด เห็นคุณค่าและนำไปพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม
2.จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
อธิบายความหมายและการกระทำตามหลักธรรมอริยสัจ 4 และนำไปประยุกต์ปฏิบัติได้
2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
ปฏิบัติตนตามหลักอริยสัจ 4 ได้อย่างเหมาะสม
2.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
การกระทำตามหลักอริยสัจ 4 และนำไปประยุกต์ปฏิบัติได้
3. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
ข้อธรรมสำคัญ ในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบด้ว ย ทุกข์ สมุทัย นิโ รธ และมรรค เป็น หลักสำคั ญ ใน
การดำเนินชีวิตที่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ หรือหมดปัญหา ซึ่งทุกคนควรมีจิตสำนึกในพระธรรมคุณ และปฏิบัติตาม
หลักธรรม
4. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อริยสัจ 4
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)
 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
 4.2 ความสามารถในการคิด
 4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)
 5.1 รักชาติ
 5.2 ซื่อสัตย์สุจริต
 5.3 มีวินัย
 5.4 ใฝ่ความรู้
 5.5 อยู่อย่างพอเพียง
 5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
 5.7 รักความเป็นไทย
 5.8 มีจิตสาธารณะ
 5.9 มีความรู้พื้นฐานในยุคดิจิตอล วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษา พหุวัมนธรรม
ตระหนักสำนึกระดับโลก
 5.10 สามารถคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ ปรับตัว ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุป สร้าง
องค์ความรู้
 5.11 มีทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
 5.12 มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5.13 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
(ข้อ 5.9 - 5.13 ตามหลักสูตรมาตรฐานสากล)
7. ทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C)
 6.1 ทักษะการอ่าน (Reading)
 6.2 ทักษะการ เขียน (Writing)
 6.3 ทักษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)
 6.4 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and
problem solving)
 6.5 ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation)
 6.6 ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, teamwork and
leadership)
 6.7 ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
 6.8 ทักษะด้าน การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communication information and
media literacy)
 6.9 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing)
 6.10 ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)
 7.1 บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 7.2 บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 7.3 บูรณาการห้องเรียนสีเขียว
 7.4 อื่นๆ โรงเรียนสุจริต
9. กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบ GPAS 5 Steps

ขั้น Gathering : การค้นหาและเลือกข้อมูล


1. ครูผู้สอนทักทายนักเรียน
2. ครูทบทวนความรู้เรื่องอริยสัจ 4
3. ครูจับกลุ่มให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักกับเพื่อนต่างกลุ่มและร่วมกันพูดคุยค้นหาข้อมูลปัญหาที่
เกิดขึ้นทั้งปัญหาของตนเอง ปัญหาในชั้นเรียน ปัญหาในครอบครัว ปัญหาชุมชน หรือประเทศชาติ และเลือกปัญหา
ที่ทุกคนในกลุ่มมีร่วมกันเพื่อค้นหาวิธีการแก้ไข

ขั้น Processing: การจัดกระทำข้อมูล หรือการจัดข้อมูลให้เป็นระบบ


๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและวางแผนการแก้ปัญหาตามกระบวนการของอริยสัจ 4
โดยในขั้นของวิธีการแก้ปัญหาจะต้องสอดแทรกหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันร่วมกันจัดทำข้อมูลลงในกระดาษที่ครูกำหนดให้ ภายในเวลา 15 นาที

ขั้น Applying 1 (Applying and Constructing the Knowledge) : การปฏิบัติและสรุปความรู้


๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่นๆ

ขั้น Applying 2 (Applying and Communication Skill) : การสื่อสารและนำเสนอ


8. นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้ร่วมกันวางแผนการแก้ปัญหาตามกระบวนการของอริยสัจ 4
และสอดแทรกหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนในห้องได้เปิดใจพูดคุ ยกันถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน เช่น ปัญหาการ
ทำงานร่วมกันในห้อง ปัญหาการทะเลาะกันหรือไม่เข้ามจกัน เป็นต้น

ขั้น Self – regulating : การประเมินเพิ่มคุณค่า


10. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนจากกิจกรรมประมวลความรู้ “อริยสัจ 4”
11. ทดสอบประมวลความรู้ “อริยสัจ 4” ด้วย Vonder Go Game
10. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
10.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือแบบเรียนพระพุทธศาสนา ม.2
2) แบบฝึกหัดพระพุทธศาสนา ม.2
3) power point พระพุทธศาสนา หน่วยที่ 2

10.2 แหล่งเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) www.84000.org
3) www.dhammathai.org
๔) Google Class Room
11. การวัดและการประเมินผล
รายการวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. อธิบายความหมาย 1. สรุปความรู้การ 1. แบบประเมินชิ้นงาน 1. แบบประเมินชิ้นงาน
และการกระทำตามหลักธรรม แก้ปัญหาตามกระบวนการ การแก้ปัญหาตาม ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ
อริยสัจ 4 และนำไปประยุกต์ ของอริยสัจ 4 กระบวนการของอริยสัจ 4 พอใช้
ปฏิบัติได้ 2. การนำเสนอความรู้การ 2. แบบประเมินการ 2. แบบประเมินการ
2. ปฏิบัติตนตามหลัก แก้ปัญหาตามกระบวนการ นำเสนอการแก้ปัญหาตาม นำเสนอผ่านเกณฑ์ระดับ
อริยสัจ 4 ได้อย่างเหมาะสม ของอริยสัจ 4 กระบวนการของอริยสัจ 4 คุณภาพดี
3. การกระทำตามหลัก 3. ทดสอบประมวลความรู้ 3. Vonder Go Game 3. ทดสอบประมวลความรู้
อริยสัจ 4 และนำไปประยุกต์ “อริยสัจ 4” ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50
ปฏิบัติได้
บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
ต ประสง ก เ ยน เ อง อ ย จ และ สามารถ
ประ ก ใ ห ก ธรรม
การ สอน
บรร ความ 4

ใน การ แ ญหาไ
การ ทดสอบ ความ วย Vondergo Game อง ทดสอบใน คาบ อไป / ไ สามารถ

ไ ใน วโมง เ อง จาก Internet ไ เส ยร

ลงชื่อ ญญา ผู้จัดทำ


(นางสาวสุกัญญา รอดระกำ)
ตำแหน่ง ครู
๒ นยายน
วัน……………… เดือน……………………………… พ.ศ………………
2 5 65
วั
นั
รู้
มี
ปั
ต่
ต้
รู้ด้
ทำ
ชั่
สุ
กั
รื่
นื่
รี
ด้
ด้
ก้
ม่
ม่
ช้
ลั
ริ
กั
ถี
ถุ
ลุ
ยุ
สั
ต์
ค์

You might also like