You are on page 1of 12

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สรุปเนื้ อหาและคำศัพท์


2 ชัวโมง

1 สาระสำคัญ/ความคิ ดรวบยอด
การศึกษาเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องสรุปเนื้อหาจากเรือ่ งทีอ่ ่าน และจำเป็ นต้องรูค้ ำศัพท์
ทีป่ รากฏอยูใ่ นเรือ่ ง เพือ่ จะได้เข้าใจเนื้อหาของเรือ่ งได้อย่างถูกต้อง

2 ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วดั
ท 1.1 ม.2/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท 5.1 ม.2/1 สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านในระดับทีย่ ากขึน้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อ่านออกเสียงเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ได้
2) สรุปเนื้อหาและอธิบายความหมายของคำศัพท์ต่างๆ ในเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ได้

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยกรอง เช่น โคลงสีส่ ภุ าพ
2) วรรณคดีเกีย่ วกับเหตุการณ์ประวัตศิ าสตร์
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น่
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการจำแนกประเภท 2) ทักษะการตีความ
3) ทักษะการวิเคราะห์ 4) ทักษะการตัง้ เกณฑ์
5) ทักษะการประเมิน 6) ทักษะการสรุปย่อ
4.3ยนรู้ที่ 1 ความสามารถในการใช้
หน่ วยการเรี โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ทกั ษะชีวิต
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ (ชั่วโมงที่ 1)

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้

27
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์
3. มุง่ มันในการทำงาน
่ 4. รักความเป็ นไทย

6 กิ จกรรมการเรียนรู้
วิ ธีสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษา (Concentrate Language Encounters)
ชัวโมงที
่ ่1

ขัน้ ที่ 1 วิ เคราะห์ความหมายของเรื่อง


สือ่ การเรียนรู้ :
1. หนังสือเรียน วรรณคดีฯ ม.2
2. ใบความรู้
1. ครูให้นกั เรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1)
ร่วมกันศึกษาเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ใน
ประเด็นทีก่ ำหนด ดังนี้
1) เนื้อเรือ่ ง
2) คำศัพท์
2. นักเรียนอ่านแล้วจับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาตาม
ประเด็นทีค่ รูกำหนด จากนัน้ เขียนแผนผังความคิดสรุป
ลักษณะ คุณค่า หรือความสำคัญของเรือ่ งทีอ่ ่าน
3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์การลำดับความของเรือ่ งทีอ่ ่านว่า
เรียงตามลำดับเนื้อหา เหตุการณ์ เวลา หรือความสำคัญ
ของเรือ่ งถูกต้องหรือไม่ อย่างไร
4. ครูให้นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง อรรถลักษณะของภาษา
จากใบความรู้ แล้ววิเคราะห์อรรถลักษณะในการเขียนของ
เรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ว่าเป็ นแบบใด และให้
นักเรียนกำหนดอรรถลักษณะในการเขียนของตน
5. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกีย่ วกับคำศัพท์ทน่ี กั เรียน
ยังไม่เข้าใจ ซึง่ คำบางคำครูไม่บอกโดยตรง แต่ให้นกั เรียน
เดาหรือสรุปความหมายจากบริบทหรือคำชีแ้ นะต่างๆ

28
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร


ขัน้ ที่ 2 สะท้อนความคิ ดจากเรื่องที่อ่านไปสู่การกำหนดเป้ าหมาย หรือวางแผนการเขียน
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ (ชั่วโมงที่ 1-2)
สือ่ การเรียนรู้ : หนังสือเรียน วรรณคดีฯ ม.2 คำถามกระตุ้นความคิ ด

1. ครูให้นกั เรียนแต่ละคนเลือกเขียนเรือ่ ง พระสุรโิ ยทัย หรือ  นักเรียนเลือกเขียนเรื่องใด เพราะเหตุใดจึง


เรือ่ ง พันท้ายนรสิงห์ 1 เรือ่ ง โดยวางแผนการเขียนของ เลือกเขียนเรื่องนัน้
ตนเองตามตัวอย่างทีอ่ ่าน กำหนดโครงเรือ่ งให้มปี ระเด็น (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
หลักตามโคลงแต่ละบท แต่ละประเด็นมีขอ้ มูลหลักฐาน ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
สนับสนุนอย่างไร แยกประเด็นละ 1 ย่อหน้า
2. นักเรียนบันทึกสาระของเรือ่ งตามเป้าหมาย หรือตาม
แผนการเขียนทีน่ กั เรียนกำหนด
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
ชัวโมงที
่ ่2

ขัน้ ที่ 3 สังเคราะห์สาระสำคัญของเรื่อง และเขียนเรื่องในขัน้ ร่าง


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คำถามกระตุ้นความคิ ด

1. นักเรียนกำหนดจุดประสงค์วา่ ต้องการเขียนเรือ่ งเพือ่ อะไร  นักเรียนคิ ดว่า การกำหนดผูอ้ ่านมีผลต่อการ


เขียนให้ใครอ่าน เขียนอย่างไร
2. นักเรียนลงมือเขียนตามต้นร่างทีท่ ำไว้โดยขยายความหรือ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ข้อมูลให้ชดั เจน ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด

ขัน้ ที่ 4 ทบทวน ตรวจสอบแก้ไขงานเขียน


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คำถามกระตุ้นความคิ ด

1. นักเรียนแต่ละคนให้เพือ่ นในกลุ่มอ่านงานเขียนของตนเอง  นักเรียนคิ ดว่า การเลือกใช้อรรถลักษณะใน


เพือ่ อภิปรายถึงความชัดเจนของข้อความ อรรถลักษณะ การเขียนที่ไม่เหมาะสม มีผลต่อการเขียน
ทีใ่ ช้สอ่ื สาร และแก้ไขข้อความทีไ่ ม่เหมาะสม ครูคอยให้คำ อย่างไร
แนะนำและเสนอแนะเพิม่ เติม (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
2. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

ขัน้ ที่ 5 เขียนเรื่องใหม่และทำกิ จกรรมเสริ มทักษะ


ภาษา
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คำถามกระตุ้นความคิ ด

1. นักเรียนแก้ไข ปรับปรุงและเรียบเรียงเขียนใหม่ ตามทีไ่ ด้  นักเรียนมีวิธีการพิ จารณาอย่างไรว่าการใช้


รับคำเสนอแนะจากครู พิจารณาความเหมาะสมของถ้อยคำ สำนวนภาษาในการเขียนเหมาะสมหรือไม่
สำนวนภาษา โครงเรือ่ ง ว่าตรงตามจุดประสงค์ทว่ี างไว้หรือ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ไม่ ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

29
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ (ชั่วโมงที่ 2)
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา คำศัพท์ จากเรือ่ ง โคลง
ภาพพระราชพงศาวดาร จากนัน้ ครูตงั ้ ประเด็นคำถาม เช่น
- เมือ่ อ่านเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดารแล้ว
นักเรียน มีความรูค้ วามคิดอย่างไร
- ผูเ้ ขียนบอกอะไร สือ่ อะไรให้ผอู้ ่าน
- รูปแบบการเขียนเรือ่ งนี้เป็ นอย่างไร
- การเขียนเรือ่ งนี้ใช้อรรถลักษณะแบบใด
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด

7 การวัดและประเมิ นผล
วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มันในการทำงาน
่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และรักความเป็ นไทย

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2
2) ใบความรูเ้ รือ่ ง อรรถลักษณะของภาษา
8.2 แหล่งการเรียนรู้

30
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

ใบความรู ้
อรรถลักษณะของภาษา
ความหมายของอรรถลักษณะ
อรรถลักษณะ หมายถึง แบบหรือชนิดของเนื้อความต่างๆ ในแต่ละบริบทของสถานการณ์และวัฒนธรรม ซึง่ มี
จุดมุง่ หมายทีแ่ น่นอนตายตัวในการให้ผใู้ ช้ภาษาประสบความสำเร็จในการใช้ภาษา
ชนิ ดของอรรถลักษณะ
1. เรือ่ งเล่าจากประสบการณ์ (Recount)
3. การอธิ 2. บการรายงาน
าย เป็ นการเขี (Report)ยนเกีย่ วกับสาเหตุและกระบวนการของการเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ โดยให้รายละเอียด
เกีย่ วกั
3. บการอธิ
เหตุการณ์ บายแ(Explanation)
ละผลว่าเกิดขึน้ ได้อย่างไร และเหตุใดจึงเกิดขึน้
ลั4.กษณะโครงสร้
เรือ่ งเกีย่ วกับความคิ างในการดำเนิดเห็น (Exposition) นเรื่องของเนื้ อความ
5. 1) วิธกี บอกหลั กการ สาเหตุและผล บอกลักษณะของเหตุการณ์นนั ้ ๆ
าร(Procedure)
6. 2) เรือ่ มีงเล่
บทสรุ
าหรืปอจากหลั
บรรยายเชิ กการ งจินตนาการ (Narative)
ลั7.กษณะของภาษา
การอภิปราย (Discussion)
1)
8. การสั เป็งนเกต
ประโยคบอกเล่
(Observation) า
2) ใช้ภาษาเป็ นกลางไม่เฉพาะเจาะจง
รายละเอีย3)ดของอรรถลั มีคำสันธานเชื กษณะอ่ มประโยค เพือ่ บ่งบอกความเป็ นเหตุเป็ นผลต่อกันใช้ค ำวิเศษณ์ เพือ่ ขยายความของ
1. เรื่องเล่าจากประสบการณ์
การกระทำให้ชดั เจนยิ เป็ นง่ ขึเรืน้ อ่ งทีเ่ ขียนเล่าถึงเหตุการณ์ทผ่ี า่ นมาและจากประสบการณ์ของผูเ้ ขียน
4. เรื่องเกี ลัก่ยษณะโครงสร้
วกับความคิาดงในการดำเนิ เห็น เป็ นการเขี นเรืยนแสดงความคิ
่องของเนื้ อความ ดเห็นส่วนตัว หรือความคิดของตนเองหรือผูอ้ ่นื ทีม่ ตี ่อ
ลั ก ษณะของภาษา
เรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง ซึง่ อาจเป็ นการถกเถียงหรือโต้แย้ง
1) มีคำวิเศษณ์างในการดำเนิ
ลักษณะโครงสร้ บ่งบอกเวลาและลำดั นเนื้ อความบของเหตุการณ์
2) แสดงเหตุ
1) อ้างถึงบุคผคลอย่ ลเกีย่ าวกั
งเฉพาะเจาะจง
บเรือ่ งทีเ่ ขียนหรือแสดงความคิดเห็น
3) เป็ น เรือ
่ งเล่
2) มีขอ้ ความหรือประโยคสนั า ซึ ง
่ เป็ น เรือ่ งในอดี บสนุตนผลทีเ่ สนอในแต่ละความคิด
4) มีมีบคทสรุ
3) ำเชือ่ ปมย้ำการแสดงความคิ
เพือ่ บอกลำดับการเกิ ดเห็ดนของเหตุของตนเพื การณ์อ่ เน้กน่อความสำคั
นหลัง และให้ ใจความสั
อ่ งให้นม่าพัสนใจและน่
ญของเรื นธ์ต่อเนื่องกั
าเชืนอ่ ถือ
5) ตอนท้ายของเรือ่ งจะบอกค่านิยมหรือความเห็นส่วนตัว
ลักษณะของภาษา
2. รายงาน1) เป็ มีขนอ้ การเขี
ความหรื ยนเพือเนือ่ ้อให้ความเกี
ความรูย่ แ้ วกั ก่ผบอู้ ความคิ
่าน ดเห็นของตนเอง
ลัก2) ษณะโครงสร้
มีประโยคสนั างในการดำเนิ
บสนุนผลทีเ่ สนอในแต่ นเรื่องของเนื ้ อความ
ละความคิ ด
3) ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 และบุรุษที่ 3 ในการกล่าวถึคง ำจำกัดความหรือนิยามทัวไปของเรื
1) จะมี บ ทนำโดยกล่ า วถึ ง เรื อ ่ งทั
วๆ ่ ไป ซึ

่ อาจจะให้ ่ อ่ ง
2) มีบอกรายละเอี
4) คำแสดงเจตคติ ยดของเรือ่ งนัน้ ๆ
5. วิ ธีกลัารกษณะของภาษา
เป็ นการเขียนแนะนำการปฏิบตั ิ ซึง่ จะกล่าวถึงวิธกี าร กระบวนการ หรือขัน้ ตอนการปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน
1) ใช้คำหรือภาษาเป็
ลักษณะโครงสร้ างในการดำเนิ นกลางไม่นเเรืฉพาะเจาะจง ่อง
2) ต้มีอคงมี
1) ำกริจุดยมุาแสดงอาการ
ง่ หมายในการเขี การกระทำ ยนทีแ่ น่ นการแสดงความเป็
อน นเจ้าของ
3) ให้
2) อาจมี หวั ข้อยกล่ดของวั
รายละเอี าวนำเป็ สดุนอุเรืปอ่ กรณ์ งๆ ทต่ี อ้ งใช้
4) มั ก เป็ น ประโยคบอกเล่
3) เรียงลำดับขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิ า
ลักษณะของภาษา
1) เป็ นประโยคคำสัง่
3. การอธิ บ2)ายใช้คเป็ำกริ นการเขี
ยาทีบ่ ย่งนเกี ย่ วกับสาเหตุ
บอกอาการปฏิ บตัและกระบวนการของการเกิ
ิ ดปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยให้รายละเอียด
เกีย่ วกับเหตุ3)การณ์ และผลว่นกลางไม่
ใช้ภาษาเป็ าเกิดขึน้ เได้ อย่างไร และไม่เหตุ
ฉพาะเจาะจง ใดจึงตังวเกิบุดคขึคล
อา้ งอิ น้
4) ใช้คำนาม

31
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

32
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

6. เรื่องเล่าหรือบรรยายเชิ งจิ นตนาการ เป็ นการเขียนเรือ่ งเล่าจากจินตนาการ ส่วนมากจะเป็ นนิทานหรือนิยาย


ลักษณะโครงสร้างในการดำเนิ นเรื่องของเนื้ อความ
1) มีการนำเรือ่ ง กล่าวความเป็ นไปของเรือ่ ง บ่งบอกตัวบุคคล สถานทีห่ รือเวลา
2) มีลำดับเหตุการณ์ในเรือ่ ง
3) แสดงปมปญั หาของเรือ่ ง
4) แสดงการคลีค่ ลายของเรือ่ งหรือการแก้ปมปญั หา
5) อาจให้คติพจน์หรือข้อเตือนใจท้ายเรือ่ ง
ลักษณะของภาษา
1) เป็ นเรือ่ งเล่าในอดีต
2) ใช้บุพบทบอกเวลา สถานที่
3) ใช้สรรพนามบุรุษที่ 3 ในการกล่าวถึงหรืออ้างอิงบุคคลหรือสิง่ ของอื่นๆ
4) อาจมีการซ้ำ ย้ำเรือ่ ง
5) ใช้สนั ธานเชือ่ มโยงความสัมพันธ์ของเรือ่ ง บ่งบอกความเป็ นเหตุเป็ นผลความคล้อยตามและความขัดแย้ง
7. การอภิ ปราย เป็ นการเขียนเพือ่ แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็ น ชีใ้ ห้เห็นข้อดีขอ้ เสีย เป็ นการจูงใจให้ผอู้ ่าน
คล้อยตาม
ลักษณะโครงสร้างในการดำเนิ นเรื่องของเนื้ อความ
1) เริม่ บทนำด้วยการให้หลักการหรือความสำคัญของเรือ่ งให้ชดั เจน
2) กล่าวถึงข้อขัดแย้งหรือสนับสนุนโดยมีการอ้างอิงแสดงเหตุผล
3) ตอนท้ายกล่าวเสนอแนะเชิงสรุปว่า ควรทำหรือสนับสนุนอย่างไร โดยย้ำหลักการ หรือความสำคัญ
ของเรือ่ งเช่นเดียวกับบทนำ
ลักษณะของภาษา
1) มีขอ้ ความแสดงความคิดเห็นทีเ่ กีย่ วข้องกับตนเองและผูอ้ ่นื
2) ใช้ประโยคบอกเล่า
3) มีขอ้ ความสนับสนุ น หรืออ้างอิง หรือให้เหตุผล
4) คำเชือ่ ม เช่น คำสันธาน คำบุพบท คำวิเศษณ์ เพือ่ แสดงความขัดแย้ง คล้อยตาม หรือเป็ นเหตุผลแก่กนั
8. การสังเกต เป็ นการเขียนเพือ่ ให้ความเห็นและให้รายละเอียดของการสังเกตสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง
ลักษณะโครงสร้างในการดำเนิ นเรื่องของเนื้ อความ
1) มีบทนำเกีย่ วกับสิง่ ทีส่ งั เกต บอกเวลาหรือสถานที่
2) มีลำดับของการบอกรายละเอียด
3) มีความคิดเห็นเกีย่ วกับการสังเกต
ลักษณะของภาษา
1) มีคำวิเศษณ์บอกเวลาหรือสถานที่
2) ใช้คำคุณศัพท์บอกลักษณะของคำนามต่างๆ
3) ใช้ภาษาเป็ นกลางๆ ไม่เฉพาะเจาะจงในการอ้างอิง

ที่มา : thesis.swu.ac.th/swuthesis/sec_Ed/Sasikarn_c.pdf

33
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานรายบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ความมีน้ำใจ การรับฟัง การแสดง


การตรงต่อ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ความมีวินัย เอื้อเฟื้ อ เสีย ความคิ ด ความคิ ด
เวลา 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น สละ เห็น เห็น
คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่าช่งสม่ำเสมอ
วงคะแนน ให้ ระดับ4คุณภาพ
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั 14ง้ - 17ให้ 3 คะแนน
ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั10ง้ - 13ให้ 2 คะแนน
พอใช้
ต่ำกว่
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครั ง้ า 10ให้ 1 ปรัคะแนน
บปรุง

แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานกลุ่ม


34
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

การมี
การแสดง การทำงาน
การยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ความคิ ด ตามที่ได้รบั ความมีน้ำใจ
ฟังคนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น เห็น มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่าช่งสม่ำเสมอ
วงคะแนน ให้ ระดับ4คุณภาพ
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั 14ง้ - 17ให้ 3 คะแนน
ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั10ง้ - 13ให้ 2 คะแนน
พอใช้
ต่ำกว่
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครั ง้ า 10ให้ 1 ปรัคะแนน
บปรุง

35
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

แบบประเมิ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ
กษัตริ ย์ เพลงชาติ
1.2 ปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหน้าทีข่ องนักเรียน
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชิกในโรงเรียน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีส่ ร้างความสามัคคี
ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสถาบันพระ
มหากษัตริยต์ ามทีโ่ รงเรียนและชุมชนจัดขึน้
2. ซื่อสัตย์ สุจริ ต 2.1 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง และเป็ นจริง
2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวทีจ่ ะทำความผิด ทำตาม
สัญญาทีต่ นให้ไว้กบั เพือ่ น พ่อแม่ หรือผูป้ กครอง และครู
2.3 ปฏิบตั ติ ่อผูอ้ ่นื ด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับผิด 3.1 ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
ชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจำวัน
และรับผิดชอบในการทำงาน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
4.3 สรุปความรูไ้ ด้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผูอ้ ่นื และไม่ทำให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมือ่ ผูอ้ ่นื
กระทำผิดพลาด

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1

36
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์
5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชวี ติ ประจำวันบนพืน้ ฐานของ
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและ
ปรับตัว อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมันในการ
่ 6.1 มีความตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรคเพืแบบบั น จทึกหลังแผนการสอน
อ่ ให้งานสำเร็
7. รักความเป็ นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปนั สิง่ ของให้ผอู้ ่นื
8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สมบัตขิ องห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 191 - 108 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 73 - 90 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 54 - 72 พอใช้
ต่ำกว่า 54 ปรับปรุง

Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

37
วรรณคดีฯ ม.2
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เรื่องที่ 2 สรุปเนื้อหาและคำศัพท์

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ญั หาของนักเรียนเป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปญั หา/อุปสรรค

Ÿ แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย


ข้อเสนอแนะ

ลงชือ่
( )
ตำแหน่ง

38
วรรณคดีฯ ม.2

You might also like