You are on page 1of 75

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา


ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ นิทานแสนสนุก เรื่อง กลุ่ม
คำหรือวลี
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
กลุ่มคำหรือวลีเป็ นคำที่เรียงติดต่อกันตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมีความหมาย
แต่ยังไม่เป็ นประโยค
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายความหมายของกลุ่มคำหรือวลีได้ ( K)
๒. จำแนกหน้าที่ของกลุ่มคำหรือวลีในประโยคได้ (P)
๓. มีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๔. สาระการเรียนรู้
กลุ่มคำหรือวลี

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน

๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
การหากลุ่มคำหรือวลีจากนิทานที่อ่าน

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง บทที่ ๑๕ นิทานแสนสนุก ในหนังสือภาษา
พาที
๒. นักเรียนอ่านและสังเกตแถบประโยค แล้วช่วยกันบอกว่าข้อความ
ใดอ่านแล้วได้ใจความสมบูรณ์ ข้อความใดอ่านแล้วไม่ได้ใจความที่สมบูรณ์
ตัวอย่างของวลีเมื่อเปรียบเทียบกับประโยคมีดังนี้
: รักการอ่าน : เขื่อนทดน้ำบางปะกง
: ฉันรักการอ่านหนังสือมาก : เขื่อนทดน้ำบางปะกงสร้างเพื่อใช้
ในการเกษตร
: เดินทางไปต่างจังหวัด : นกพิราบหลายตัว
: คุณพ่อเดินทางไปต่างจังหวัด : ฉันให้อาหารนกพิราบหลาย
ตัว
๓. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๔. นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกลุ่มคำหรือวลี คือ ข้อความ
ที่อ่านแล้วได้ใจความไม่สมบูรณ์
ยังขาดส่วนต่าง ๆ ของประโยค จะเป็ นคำที่เรียงติดต่อกันตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป
และมีความหมายแต่ยังไม่สมบูรณ์ จึงเป็ นเพียงส่วนหนึ่งของประโยค
ประโยคหนึ่ง กลุ่มคำจะทำหน้าที่เป็ นประธาน กริยา กรรม หรือส่วนขยาย
ก็ได้
๕. นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างกลุ่มคำหรือวลี และร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
๖. นักเรียนแบ่งกลุ่มเลือกนิทานที่ชอบกลุ่มละ ๑ เรื่อง จากนั้นร่วมกัน
หากลุ่มคำหรือวลี ส่งตัวแทนรายงานหน้าชั้นเรียน นักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๗. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ดังนี้ กลุ่มคำหรือวลี คือคำที่เรียง
ติดต่อกันตั้งแต่ ๒ คำ ขึ้นไปและมีความหมาย แต่ยังไม่สมบูรณ์ จึงเป็ น
เพียงส่วนหนึ่งของประโยค หนึ่งกลุ่มคำจะทำหน้าที่เป็ นประธาน กริยา
กรรม หรือส่วนขยายก็ได้
๘. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย
ดังนี้
๏ กลุ่มคำหรือวลีใดที่เป็ นคำอุทาน
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. นิทาน
๒. แถบประโยค
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจสมุด สมุดภาษาไทย ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
กลุ่ม ทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ นิทานแสนสนุก เรื่อง
ประโยคสามัญ
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
ประโยคสามัญเป็ นประโยคที่มีใจความเพียงอย่างเดียว
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายลักษณะของประโยคสามัญได้ ( K)
๒. เขียนประโยคสามัญได้ถูกต้อง (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ประโยคสามัญ

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
การแต่งประโยคสามัญ

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. ทบทวนความรู้เดิม นักเรียนอ่านข้อความ ถ้าข้อใดเป็ นวลีให้
นักเรียนยกมือ ถ้าข้อใดไม่ใช่วลีไม่ต้องยกมือโดยพยายามอ่านให้เร็ว ๆ เช่น
นายกรัฐมนตรี เรือโคลงเคลงไปมา บัวน้อยลอยอยู่กลางบึง
คลื่นยักษ์สึนามิ บัวลอยน้ำขิง น้ำท่วมดีกว่าฝนแล้ง สอนจระเข้ให้ว่าย
น้ำ สถานีโทรทัศน์ช่อง ๗ น้ำนิ่งไหลลึก
๒. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๓. ติดคำที่ได้อ่านไปแล้วให้นักเรียนช่วยกันสังเกตว่ากลุ่มคำที่ไม่ใช่วลี
แตกต่างกับกลุ่มคำที่เป็ นวลีอย่างไร เช่น เรือโคลงเคลงไปมา เป็ นประโยค
เพราะมี ประธาน คือ เรือ โคลงเคลงไปมา คือ กริยา หรือถ้ามีส่วน
ขยาย เช่น
๏ เรือลำน้อยโคลงเคลงไปมาในกระแสคลื่น
๏ น้ำนิ่งไหลลึก
๏ บัวน้อยลอยอยู่กลางบึง
ประโยคเหล่านี้ล้วนมีใจความเดียว เราเรียกว่า ประโยคสามัญ
๔. นักเรียนศึกษา เรื่องประโยคสามัญ นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย
เรื่องประโยคสามัญ ประโยคสามัญหรือประโยคความเดียว คือประโยคที่
กล่าวถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงอย่างเดียว และสิ่งนั้นแสดงกิริยาอาการ หรืออยู่ใน
สภาพอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว มีส่วนประกอบสำคัญ ๒ ส่วน คือ
ภาคประธานและภาคแสดง
ชนิดของประโยคสามัญ
๑. ประโยคสามัญกริยาวลีเดียว
- นักเรียนทานข้าว
๒. ประโยคสามัญหลายกริยาวลี
- นักเรียนตั้งใจเรียน
ข้อสังเกตของประโยคสามัญ
๑. ประโยคสามัญไม่มีอนุประโยค (ไม่มีคำเชื่อม ที่ ซึ่ง อัน)
- แมวที่นอนตรงนั้นคือแมวดำ (ไม่เป็ นประโยคสามัญ)
๒. ประโยคสามัญมีคำเชื่อมได้
- พ่อและแม่ไปตลาด (และเชื่อม นามกับนาม)
๓. ประโยคสามัญไม่มีคำเชื่อมกริยาวลี
- ปรีดาคิดและประดิษฐ์เครื่องล้างจาน (และเชื่อม กริยา
กับกริยา) ไม่เป็ นประโยคสามัญ
- สุชาตินอนหลับและตื่นในเวลากลางคืน (และเชื่อม กริยา
กับกริยา) ไม่เป็ นประโยคสามัญ
๔. ประโยคสามัญสามารถบอกเหตุการณ์ที่ผลต่อเนื่องกันได้
- ลมพัดใบไม้ปลิว
- แม่บอกให้น้องรดน้ำต้นไม้
๕. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดลงในสมุดและร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๖. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ประโยคสามัญหรือ
ประโยคความเดียว คือประโยคที่กล่าวถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงอย่างเดียว และ
สิ่งนั้นแสดงกิริยาอาการ หรืออยู่ในสภาพอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
มีส่วนประกอบสำคัญ ๒ ส่วน คือ ภาคประธานและภาคแสดง
๗. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้
๏ สำนวน สุภาษิต คำพังเพยใดบ้างที่เป็ นประโยคสามัญ
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. ประโยค
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจสมุด สมุด ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ นิทานแสนสนุก เรื่อง
ประโยครวม
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
ประโยครวมเป็ นการนำประโยคสามัญตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวม
กัน โดยมีคำสันธาน
เชื่อมประโยคเพื่อให้ได้ใจความต่อเนื่องเป็ นประโยคเดียวกัน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายลักษณะของประโยครวมได้ ( K)
๒. เขียนประโยครวมได้ถูกต้อง (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ประโยครวม

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
การแต่งประโยครวมจากการสำรวจห้องเรียน

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. ทบทวนความรู้เดิมเรื่อง ประโยคสามัญ
๒. นักเรียนวิเคราะห์ประโยค ดังนี้
สุนทรภู่ กวีเอกของโลก แต่งนิทานเรื่องพระอภัยมณี
จากนั้นให้นักเรียนแยกส่วนประกอบของประโยค
สุนทรภู่ - เป็ นประธาน กวีเอกของโลก - ขยาย
ประธาน
แต่ง - กริยา นิทาน - กรรม เรื่องพระอภัยมณี -
ขยายกรรม
๓. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่าประโยคต้องประกอบด้วยประธาน
และกริยาเป็ นอย่างน้อย
บางประโยคต้องมีกรรมมารับ บางประโยคไม่ต้องแล้วแต่ชนิดของกรรม
๔. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๕. นักเรียนออกมา ถือแถบประโยคที่มีข้อความที่ว่า ลูกต้องทำการ
บ้าน ให้นักเรียนทั้งชั้นอ่านพร้อมกัน อภิปรายความหมายของประโยค (ไม่
ใช่วลี) นักเรียนอีกคนหนึ่งถือแถบประโยค จะไม่ได้ดูโทรทัศน์ อภิปราย
ว่านี่คือประโยคเหมือนกัน ให้ยืนซ้อนกัน ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าทำ
อย่างไรจึงจะให้ทั้งสองประโยครวมกันเป็ นประโยคเดียว
๖. นำบัตรคำคำว่า มิฉะนั้น ให้นักเรียนคนที่ ๓ ถือ และอ่านให้เพื่อน
ๆ ฟั ง ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่า จะวางไว้ตรงไหนดี เช่น ข้างหน้า ตรงกลาง
หรือข้างหลัง ครูให้คนถือประโยคยืนเหมือนเดิม ส่วน
คนที่ ๒ ให้ยืนข้างหน้า และให้คำว่า มิฉะนั้น ไว้ตรงกลาง ดังนี้
ลูกต้องทำการบ้าน มิฉะนั้น จะไม่ได้ดูโทรทัศน์
๗. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปลักษณะของประโยครวมว่าจะต้องมีคำ
สันธานเชื่อม
๘. นักเรียนศึกษาเรื่องประโยครวมในหนังสือเรียน หน้า ๗๔ - ๗๕
๙. นักเรียนช่วยกันหาคำเชื่อมให้ประโยคต่าง ๆ ดังนี้
๏ เด็ก ๆ ควรใส่เสื้อกันหนาว ไม่เช่นนั้นจะเป็ นหวัด
๏ วันนี้มีพายุเข้าเพราะฉะนั้นทุกคนควรนำเรือเข้าฝั่ งโดยเร็ว
๏ ข้าวเหนียวมีคุณสมบัติช่วยขับลมในร่างกาย และช่วยบำรุงผิว
พรรณให้เนียนขึ้น
๏ นักเรียนตั้งใจเรียน เพราะอยากได้บัตรเกียรติยศไปอวดคุณ
พ่อคุณแม่
๏ อาหารวันนี้อร่อย ดังนั้นทุกคนจึงรับประทานอาหารจนเกลี้ยง
จาน
๑๐. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปลักษณะของประโยครวมว่าคือ
ประโยคสามัญตั้งแต่สองประโยคขึ้นไป
มารวมกัน โดยมีคำสันธานเชื่อมประโยค เพื่อให้ได้ใจความต่อเนื่องเป็ น
ประโยคเดียวกันมี ๓ ชนิด ดังนี้
๑) ประโยคความรวมที่มีใจความคล้อยตามกัน
๒) ประโยคความรวมที่มีใจความขัดแย้งกัน
๓) ประโยคความรวมที่มีใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
๑๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเดินสำรวจบริเวณห้องเรียนแล้วแต่งประโยค
รวมกลุ่มละ ๕ ประโยค จากนั้นนำเสนอหน้าชั้นเรียนและร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๑๒. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยครูใช้คำถามท้าทาย
ดังนี้
๏ ถ้าใช้คำสันธานเชื่อมประโยคไม่ถูกต้องจะเกิดผลอย่างไร

๙. สื่อการเรียนรู้
๑. แถบประโยค
๒. บัตรคำ

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจสมุด สมุด ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ นิทานแสนสนุก เรื่อง
ประโยคซ้อน
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
ประโยคซ้อนเป็ นประโยคที่มีใจความสำคัญเป็ นประโยคหลักและมี
ประโยคย่อยอีกประโยคซ้อนอยู่

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายลักษณะประโยคซ้อน ( K)
๒. จำแนกส่วนประกอบของประโยคซ้อนได้ (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ประโยคซ้อน
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
- ใบงาน เรื่อง การระบุลักษณะของประโยค

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. ทบทวนความรู้เดิมเรื่อง ประโยครวม
๒. นักเรียนร่วมกันจำแนกส่วนประกอบของประโยค นักเรียนกลับ
บ้านเมื่อโรงเรียนเลิก
ประโยคหลักคือ นักเรียนกลับบ้าน
ประโยคย่อย โรงเรียนเลิก ทำหน้าที่ขยาย “กลับ” ซึ่งเป็ นคำ
กริยาของประโยค
คำเชื่อมประโยค คือ “เมื่อ”
๓. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๔. นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในหนังสือเรียนหน้า ๗๕ - ๗๖
๕. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายประโยคซ้อน คือประโยคที่มี
ใจความสำคัญเป็ นประโยคหลัก และมีประโยคย่อยอีกประโยคซ้อนอยู่
ประโยคย่อยนี้อาจทำหน้าที่ขยายประธานที่เป็ นคำนาม หรือเป็ นคำ
สรรพนามให้สังเกตจากคำเชื่อม ที่ ซึ่ง อัน หรือทำหน้าที่ขยายภาคแสดงที่
เป็ นคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ คำเชื่อม คือ เมื่อ จน เพื่อ เพราะ ตั้งแต่ ฯลฯ
๖. นักเรียนหาคำเชื่อมจากประโยคซ้อนที่กำหนดให้ แล้วจำแนก
ประโยคหลักและประโยคย่อย
- คนที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอย่อมมีสุขภาพแข็งแรง
ประโยคหลัก คือ คนมีสุขภาพแข็งแรง
ประโยคย่อย คือ คนออกกำลังกายสม่ำเสมอ
คำเชื่อมประโยค คือ “ที่”
- เขามีหนังสือตำราอาหารซึ่งคุณแม่ไม่มี
ประโยคหลัก คือ เขามีตำราอาหาร
ประโยคย่อย คือ หนังสือตำราอาหารคุณแม่ไม่มี
คำเชื่อมประโยค คือ “ซึ่ง”
๗. นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างประโยคซ้อนเพิ่มเติม ช่วยกันหาคำ
เชื่อม จำแนกประโยคหลักประโยค-ย่อย ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
๘. ให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง การระบุลักษณะของประโยค แล้วร่วม
กันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องประโยคซ้อน
๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย
ดังนี้
๏ ประโยคซ้อนกับประโยครวมมีสิ่งใดที่เหมือนกัน
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. ใบงาน

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานเรื่อง การระบุ ใบงานเรื่อง การระบุ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
ลักษณะของประโยค ลักษณะของประโยค เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง พางเพี้ยงพสุธา เรื่อง คำ
สัมผัส
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๕ แต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสำคัญ
กลอนสุภาพ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กลอนแปด เป็ นวัฒนธรรมทาง
ภาษาอย่างหนึ่งของไทย
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. รู้และเข้าใจลักษณะของกลอนสุภาพสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
( K)
๒. หาสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะจากกลอนสุภาพได้ (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัด เรื่อง สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. ทบทวนความรู้เดิมเรื่องประโยค
๒. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องบทที่ ๑๖ เรื่อง พางเพี้ยงพสุธา ในหนังสือ
เรียนภาษาพาที
๒. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้
๏ กลอนชนิดใดเป็ นกลอนหลักของบรรดากลอนทั้งหลาย
๓. นักเรียนออกมาเติมคำคล้องจองให้เหมาะสมจากคำที่กำหนดให้
ดังนี้
เกี้ยวพา - ราสี เหน็ดเหนื่อย - เมื่อยล้า กระเซ้า - เย้าแหย่
ลดรา – วาศอก
เคราะห์หาม - ยามร้าย สารทุกข์ - สุขดิบ ทุกข์ทน - หม่น
ไหม้ ยากดี – มีจน
๔. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๕. นักเรียนเล่นเกมต่อคำคล้องจอง โดยครูติดบัตรข้อความบน
กระดาน เริ่มต้นที่ข้อความ ครูอาจารย์ดังนี้ (ครูอาจารย์
ลอยน้ำมา ปลาในตู้ ปลุกพี่ตื่น สานความสุข ตั้งโต๊ะคอย ชื่นใจ
จัง)
(ครูอาจารย์ สานความสุข ปลุกพี่ตื่น ชื่นใจจัง ตั้งโต๊ะคอย
ลอยน้ำมา ปลาในตู้)
๖. อธิบายว่าคำคล้องจองนี้ มีตัวสะกดคำท้ายเหมือนกับตัวสะกดคำ
แรกของวรรคต่อไปดังนี้ จารย์ - สาน สุข - ปลุก ตื่น - ชื่น เป็ นต้น
และเราเรียกคำคล้องจองที่สัมผัสนี้ว่า สัมผัสสระ
๗. ให้นักเรียนเติมคำสัมผัสสระจากคำที่กำหนดให้ ดังนี้
๑) สมบัติ (พัสถาน) ๒) อาหาร (การกิน) ๓) ข้า
เก่า (เต่าเลี้ยง)
๔) สงสัย (ไต่ถาม) ๕) ภูเขา (เลากา) ๖)
ยากดี (มีจน)
๘. นักเรียนอ่านคำว่า น้ำ - นิ่ง ปลา - ปลิง หลอก - หลอน
และสังเกตว่ามีอะไรที่เหมือนกัน โดยครูอธิบายเพิ่มเติมพยัญชนะเหมือนกัน
เราเรียกพยัญชนะที่เหมือนกันว่า สัมผัสพยัญชนะ หรือสัมผัสอักษร
๙. แสดงภาพให้นักเรียนดู เช่น ลิง บ้าน ไฟ หวาน แล้วให้
นักเรียนบอกสัมผัสพยัญชนะให้เร็วที่สุ
๑๐. ให้นักเรียนหาคำสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะจากคำกลอนที่
กำหนดให้ ดังนี้

เป็ นมนุษย์สุดนิยมที่ลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะ


ชิวหา
แม้พูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้
เหมาะความ
สุนทรภู่
(สัมผัสสระ มนุษย์ - สุด ยม - ลม ปาก - ยาก หิว - ชิว ดี -
มี หา - ตา - จา
เคราะห์ - เหมาะ สัมผัสพยัญชนะ โหย - หิว พูดจา - จง) ร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
๑๑. นักเรียนทำแบบฝึ กหัด เรื่อง สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
ขั้นสรุป
๑๒. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเรื่องสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ

๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. บัตรภาพ
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัด เรื่อง สัมผัส แบบฝึ กหัด เรื่อง สัมผัส ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
สระและสัมผัสพยัญชนะ สระและสัมผัสพยัญชนะ เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง พางเพี้ยงพสุธา เรื่อง
แผนผังกลอนสุภาพ
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๕ แต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสำคัญ
กลอนสุภาพมีทั้งสัมผัสในและสัมผัสนอกจึงทำให้บทกลอนมีความ
ไพเราะคล้องจอง

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. รู้และเข้าใจลักษณะของกลอนสุภาพ (K)
๒. อ่านกลอนสุภาพและหาคำสัมผัสในและคำสัมผัสนอกได้อย่างถูก
ต้อง (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
จำนวนคำและการสัมผัสของกลอนสุภาพ
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง แผนผังกลอนสุภาพ

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเรื่องสัมผัสสระ สัมผัสพยัญชนะใน
บทกลอนสุภาพ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มส่งตัวแทนทีละคนออกมาเขียนคำ
สัมผัสสระ หรือพยัญชนะตามที่ครูเริ่มต้นคำให้ กลุ่มใดเขียนได้ถูกต้องมาก
ที่สุดในเวลาที่กำหนดเป็ นฝ่ ายชนะ
๒. ยกตัวอย่างคำกลอนมา ๑ บท ให้นักเรียนอ่านทำนองเสนาะพร้อม
กัน ๑ รอบ และสังเกตการสัมผัสของคำกลอนดังนี้
ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ ามหาสมุทร ไม่สิ้นสุดความรักสมัครสมาน
แม้นเกิดในใต้หล้าสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไม่
คลาดคลา (สุนทรภู่)
๓. นักเรียนช่วยกันหาคำสัมผัส ทั้งสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระใน
บทกลอน โดยครูตรวจสอบ
ความถูกต้อง ดังนี้
สัมผัสพยัญชนะ - สิ้นสุด สมัครสมาน สุธาธาร พบพาน
พิศวาส คลาดคลา
สัมผัสสระ - สมุทร- สุด รัก - สมัคร ใน -ใต้ หล้า - สุธา
ธาร - พาน
พิศวาส - คลาด
๔. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๕. ติดแผนผังกลอนแปดหรือกลอนสุภาพและอธิบายให้นักเรียนฟั ง
ดังนี้

กลอนสุภาพเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กลอนแปด มีข้อกำหนดในการ


แต่ง ดังนี้
๑. จำนวนคำ บทหนึ่งมีสี่วรรค แต่ละวรรคมี ๘ คำ (อาจมี ๗ – ๙
คำก็ได้ ) ๒ วรรคเป็ นหนึ่งคำกลอน
๒. การสัมผัส กลอนสุภาพมีข้อกำหนดในการสัมผัส ๔ แห่ง คือ
๑) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ
คำที่ ๕ ของวรรคที่ ๒
๒) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคำสุดท้ายของ
วรรคที่ ๓
๓) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคำที่ ๓ หรือคำ
ที่ ๕ ของวรรคที่ ๔
๔) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคำ
สุดท้ายของวรรคที่ ๒ ของบทต่อไป
คำสัมผัสมี ๒ ประเภทคือ
๑. คำสัมผัสนอก เป็ นการสัมผัสคำระหว่างวรรคตามแบบแผนของ
บทร้อยกรองนั้น ๆ คำสัมผัส-นอกจะเป็ นการสัมผัสสระ เช่น เรา - เขา ใจ
- ใส่ บ่าว - สาว ดิน - หิน
๒. คำสัมผัสใน (สัมผัสพยัญชนะ หรือสัมผัสอักษร) เป็ นการสัมผัส
ในวรรคเดียวกัน จะมีหรือไม่มีก็ได้ ไม่ถือว่าเป็ นการผิดลักษณะการแต่งบท
ร้อยกรอง แต่หากมีคำสัมผัสในมากจะทำให้บทร้อยกรอง
มีความไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ลิง - เล่น ร่ม - รื่น ปราด - เปรื่อง
๓. เสียงวรรณยุกต์ มีข้อกำหนดในการใช้เสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
๑) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ (สดับ) ใช้ได้ทุกเสียง แต่ไม่นิยมเสียง
สามัญ
๒) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ (รับ) ใช้เสียงเอก โท หรือจัตวา
ห้ามเสียงสามัญ และตรี
๓) คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ (รอง) และวรรคที่ ๔ (ส่ง) ใช้เสียง
สามัญหรือตรี
๖. นักเรียนอ่านบทกลอนสุภาพบนกระดาน ดังนี้
กลอนสุภาพแปดคำประจำบ่อน อ่านสามตอนทุกวรรค
ประจักษ์แถลง
ตอนต้นสามตอนสองสองแสดง ตอนสามแจ้งสามคำครบ
จำนวน
กำหนดบทระยะกะสัมผัส ให้ฟาดฟั ดชัดความตาม
กระสวน
วางจังหวะกะทำนองต้องกระบวน จึงจะชวนฟั งเสนาะเพราะ
จับใจ
หลวงธร
รมาภิมณฑ์ (ถึก จิตรกถึก)

๗. จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียน ๒ คนออกไปโยงสัมผัสระหว่างวรรค
หรือสัมผัสนอก โดยครูและเพื่อนคนอื่น ๆ ตรวจสอบความถูกต้อง
๘. นักเรียนหาคำสัมผัสนอกและสัมผัสในจากกลอนสุภาพที่กำหนดให้
เมื่อทำการสิ่งใดด้วยใจรัก ถึงงานหนักก็เบาลงแล้วครึ่ง
หนึ่ง
ด้วยใจรักเป็ นแรงที่เร้ารึง ให้มุ่งมั่นฝั นถึงซึ่งปลายทาง
คำสัมผัสนอกคือ รัก – หนัก หนึ่ง – รึง – ถึง
คำสัมผัสใน- สัมผัสสระคือ ใด – ใจ ครึ่ง – หนึ่ง มั่น – ฝั น ถึง
– ซึ่ง
สัมผัสพยัญชนะคือ ใด – ด้วย รัก – แรง เร้า – รึง ลง –
แล้ว มุ่ง – มั่น
๙. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดเรื่อง แผนผังกลอนสุภาพ
ขั้นสรุป
๙. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ กลอนสุภาพมีทั้งสัมผัสใน
และสัมผัสนอกจึงทำให้
บทกลอนมีความไพเราะคล้องจอง
๑๐. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย
ดังนี้
๏ กลอนสุภาพใช้แสดงอารมณ์ใดได้บ้าง
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. แผนผังกลอนสุภาพ
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง แผนผัง แบบฝึ กหัดเรื่อง แผนผัง ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
กลอนสุภาพ กลอนสุภาพ เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง พางเพี้ยงพสุธา เรื่อง
แผนผังกลอนสุภาพ
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๕ แต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสำคัญ
การใช้คำในการแต่งกลอนสุภาพควรใช้คำที่มีความไพเราะและมีความ
หมายที่ดี
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. รู้และเข้าใจลักษณะของกลอนสุภาพ (K)
๒. สามารถเรียงลำดับบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (P)
๓. ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A)
๔. สาระการเรียนรู้
แผนผังกลอนสุภาพ
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง กลอนสุภาพ

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับแผนผังคำกลอนสุภาพ โดย
ให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนแผนผังและการโยงเส้นสัมผัสบังคับ
๒. ทบทวนความรู้เดิม
๓. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๔. นักเรียนอ่านกลอนสุภาพจากแผนภูมิ ดังนี้
อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย
แม้นเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย เจ็บจนตายก็เพราะเหน็บให้
เจ็บใจ
๕. นักเรียนสังเกตดูคำกลอน นอกจากสัมผัสสระและพยัญชนะ แล้วยัง
มีเสียงวรรณยุกต์อีกด้วยโดยครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้
กลอนสุภาพมีข้อกำหนดการใช้เสียงวรรณยุกต์ ดังนี้
๑) คำสุดท้ายของวรรคสดับ ใช้ได้ทุกเสียง แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ
๒) คำสุดท้ายของวรรครับ ใช้เสียงเอก โท หรือจัตวา ห้ามเสียง
สามัญและตรี
๓) คำสุดท้ายของวรรครองและวรรคส่ง ใช้เสียงสามัญ หรือตรี
๖. นักเรียนแบ่งกลุ่มฝึ กอ่านออกเสียงทำนองเสนาะจากกลอนที่ครู
กำหนดให้ แล้วให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ครูให้คะแนนตามความสามารถ
๗. จากคำกลอนเดิมครูตัดคำบางคำออกให้นักเรียนออกมาเติมให้เต็ม
ดังนี้
อันอ้อยตาล ลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลม หวาน
หูไม่รู้
แม้นเจ็บอื่น แสนจะแคลนคลาย เจ็บจน ก็
เพราะเหน็บให้เจ็บใจ
๘. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปรายความหมายจากคำกลอน และเสียง
วรรณยุกต์ของคำสุดท้ายในแต่ละวรรค เช่น ซาก มีเสียงวรรณยุกต์ โท หาย
มีเสียงวรรณยุกต์ จัตวา
๙. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปรายสรุปการแต่งกลอนสุภาพให้ไพเราะ
จะต้องมีทั้งบังคับสัมผัส
ให้ถูกต้อง มีสัมผัสใน สัมผัสนอก และการใช้วรรณยุกต์ในท้ายวรรคแต่ละ
วรรคด้วย
๑๐. นักเรียนเลือกคำที่กำหนดเติมให้ถูกต้องโดยมีสัมผัสตามลักษณะ
ของกลอนสุภาพและให้ได้ใจความสมบูรณ์ พร้อมบอกเสียงวรรณยุกต์ของคำ
สุดท้ายในแต่ละวรรคว่ามีเสียงวรรณยุกต์ตรงตามข้อกำหนดของกลอนสุภาพ
หรือไม่ อย่างไร ชม ผัก เปรี้ยว น้ำตาล ห่างเหิน เปรียบเทียบ
เขาย่อมเปรียบเทียบความเมื่อยามรัก แต่น้ำผักต้มขม
ชมว่าหวาน
ครั้นจืดจางห่างเหินไปเนิ่นนาน แต่น้ำตาลก็ว่าเปรี้ยวไม่
เหลียวแล

(สุนทรภู่)

๑๑. นักเรียนทำแบบฝึ กเรียงลำดับบทร้อยกรองให้ถูกต้องตามลักษณะ


ของกลอนสุภาพ พร้อมโยงเส้นสัมผัสตามข้อกำหนด ดังนี้
จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น คนจะหลู่ล่วงลาม
ไม่ขามใจ
อย่าตะคั้นตะคอกให้เคืองหู ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้น
มึงกู
แม้นจะเรียนวิชาทางค้าขาย จะซื้อง่ายขายดีมี
กำไร
ด้วยเขาไม่เคืองจิตระอิดระอา อย่าปากร้ายพูดจา
อัชฌาสัย
(สุนทรภู่)
จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น อย่าตะคั้น
ตะคอกให้เคืองห
ไม่ควรพดอื้ออึงขึ้นมึงก คนจะหลู่ล่วงลาม
ไม่ขามใจ
แม้นจะเรียนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพด
จาอัชฌาสัย
จะซื้อง่ายขายดีมีกำไร ด้วยเขาไม่เคือง
จิตระอิดระอา
ขั้นสรุป
๑๒. นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝึ กหัด
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. ตัวอย่างกลอนสุภาพ
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง กลอน แบบฝึ กแบบฝึ กหัดเรื่อง ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
สุภาพ กลอนสุภาพ เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง พางเพี้ยงพสุธา เรื่อง แต่ง
กลอนสุภาพ
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๕ แต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสำคัญ
การแต่งกลอนช่วยให้เราเกิดความเพลิดเพลินและเป็ นการใช้เวลาว่าง
ให้เป็ นประโยชน์
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. รู้และเข้าใจวิธีการแต่งกลอน (K)
๒. แต่งกลอนตามจินตนาการได้ (P)
๓. กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๔. สาระการเรียนรู้
แผนผังและการแต่งกลอนสุภาพ
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แต่งกลอนสุภาพ

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑. ทบทวนความรู้เดิม เรื่องแผนผังกลอนสุภาพ สัมผัสสระ สัมผัส
พยัญชนะ
๒. นักเรียนเล่นเกม คำคล้องสัมผัส
๓. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน เรียงคำที่ครูกำหนดให้ ให้เป็ นก
ลอนแปด และนำเสนอผลงาน
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มแต่งกลอนสุภาพหัวข้อใด ครอบครัวของฉัน
กลุ่มละ ๒ บท และร่วมกันอภิปรายความถูกต้อง ความไพเราะ ช่วยกัน
ปรับปรุงแก้ไข
๖. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน นักเรียนและครู
ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๗. นักเรียนร่วมกันสนทนาสรุปความรู้ ดังนี้ กลอนสุภาพเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า กลอนแปด บทหนึ่งมี ๔ วรรค แต่ละวรรคมีจำนวน ๗ – ๙ คำ มีข้อ
กำหนดในการสัมผัส ๔ แห่ง การเลือกใช้คำคล้องจองนอกเหนือตามข้อ
กำหนดจะทำให้บทกลอนไพเราะสละสลวยยิ่งขึ้น
๘. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้
๏ ถ้าโลกนี้ไม่มีบทกลอนจะเป็ นอย่างไร

๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. สื่อกลอนแปด

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานกลุ่มเรื่อง การ ใบงานกลุ่มเรื่อง การแต่ง ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
แต่งกลอนแปด กลอนแปด เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
กลุ่ม ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มคำและประโยค เรื่อง กลุ่มคำ
หรือวลี
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.
๒.
๓.
๔. สาระการเรียนรู้
ความรู้
อธิบายลักษณะของคำนาม สามัญนาม และวิสามัญนาม (K)
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
จำแนกคำนามไม่ชี้เฉพาะและคำนามชี้เฉพาะ (P
เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง การวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำนาม
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน
ขั้นสรุป
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. บัตรคำ
๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง การ แบบฝึ กหัดเรื่อง การ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ เกณฑ์
คำนาม ของคำนาม
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท ๔

๑๒. PLC แผนการจัดการเรียนรู้


วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
วันที่.............เดือน.................................................พ.ศ...................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชนิดของคำ เรื่อง สามัญนาม และวิสามัญนาม
เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวัน
ที่...........................เดือน.................................................................................
...........พ.ศ................ .......................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..................................... .................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
...........................
๑๓. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓๙
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มคำและประโยค เรื่อง กลุ่มคำ
หรือวลี
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.
๒.
๓.
๔. สาระการเรียนรู้
ความรู้
อธิบายลักษณะของคำนาม สามัญนาม และวิสามัญนาม (K)
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
จำแนกคำนามไม่ชี้เฉพาะและคำนามชี้เฉพาะ (P
เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง การวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำนาม
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน
ขั้นสรุป
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. บัตรคำ

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง การ แบบฝึ กหัดเรื่อง การ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ เกณฑ์
คำนาม ของคำนาม
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท ๔

๑๒. PLC แผนการจัดการเรียนรู้


วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
วันที่.............เดือน.................................................พ.ศ...................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชนิดของคำ เรื่อง สามัญนาม และวิสามัญนาม
เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวัน
ที่...........................เดือน.................................................................................
...........พ.ศ................ .......................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..................................... .................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
...........................
๑๓. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓๙
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มคำและประโยค เรื่อง กลุ่มคำ
หรือวลี
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.
๒.
๓.
๔. สาระการเรียนรู้
ความรู้
อธิบายลักษณะของคำนาม สามัญนาม และวิสามัญนาม (K)
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
จำแนกคำนามไม่ชี้เฉพาะและคำนามชี้เฉพาะ (P
เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง การวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำนาม
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน
ขั้นสรุป
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. บัตรคำ

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง การ แบบฝึ กหัดเรื่อง การ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ เกณฑ์
คำนาม ของคำนาม
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท ๔

๑๒. PLC แผนการจัดการเรียนรู้


วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
วันที่.............เดือน.................................................พ.ศ...................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชนิดของคำ เรื่อง สามัญนาม และวิสามัญนาม
เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวัน
ที่...........................เดือน.................................................................................
...........พ.ศ................ .......................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..................................... .................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
...........................
๑๓. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓๙
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มคำและประโยค เรื่อง กลุ่มคำ
หรือวลี
เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวชริน
รัตน์ สุขสาคร
สอนวันที่...............................................................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปั ญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม
ท ๔.๑ ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

๒. สาระสำคัญ
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.
๒.
๓.
๔. สาระการเรียนรู้
ความรู้
อธิบายลักษณะของคำนาม สามัญนาม และวิสามัญนาม (K)
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
จำแนกคำนามไม่ชี้เฉพาะและคำนามชี้เฉพาะ (P
เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม (A)
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำนาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระงาน
แบบฝึ กหัดเรื่อง การวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำนาม
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน
ขั้นสรุป
๙. สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
๒. บัตรคำ

๑๐. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหัดเรื่อง การ แบบฝึ กหัดเรื่อง การ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน
วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ เกณฑ์
คำนาม ของคำนาม
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ๒
รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
สังเกตความใฝ่ เรียนรู้ และมุ่ง แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒
มั่นในการทำงาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

๑๑. หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท ๔

๑๒. PLC แผนการจัดการเรียนรู้


วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
วันที่.............เดือน.................................................พ.ศ...................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชนิดของคำ เรื่อง สามัญนาม และวิสามัญนาม
เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวัน
ที่...........................เดือน.................................................................................
...........พ.ศ................ .......................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..................................... .................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
...........................
๑๓. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
................................................................................................
ปั ญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ข้อเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.ครูผู้สอน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................
ลงชื่อ.................................................................
.
(นายสันติภาพ อุดมมงคล)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
บ้านสุเม่น

You might also like