You are on page 1of 31

โครงงานภาษาไทยสะกดคา

นายวันมงคล บุตรหา

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยสาหรับอุดมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561
สถาบันการพละศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ
โครงงานภาษาไทยสะกดคา

นายวันมงคล บุตรหา

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยสาหรับอุดมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561
สถาบันการพละศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ
ชือ
่ : นายวันมงคล บุตรหา
ชือ
่ เรือ
่ ง : โครงงานภาษาไทยสะกดคา
รายวิชา : การศึกษาระบบสือ่ ทางไกล
ครูทป
ี่ รึกษา :
ปี การศึกษา : 2561

บทคัดย่อ

โครงงานภาษาไทยสะเกดคามีวตั ถุประสงค์เพือ ่ เพือ


่ แก้ปญ
ั หาการเขียนภาษาไทยที่
ไม่ถูกต้องของนักศึกษาชัน ้ ปี ที่ 1 โดยใช้แบบฝึ กหัดเขียนไทย เพือ ่ เปรียบเทียบผลสัมฤท
ธิใ์ นการเขียนสะกดคาก่อนและหลังการสอนโดยใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาของนั
กศึกษาชัน ้ ปี ที่ 1 เพือ
่ สร้างแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาสาหรับนักศึกษาชัน ้ ปี ที่ 1
การดาเนินการนัน ้ ผูจ้ ดั ทาได้ทดสอบนักเรียนในกลุม
่ ตัวอย่างก่อนการฝึ กแบบการเ
ขียนสะกดคา ให้นกั เรียนฝึ กแบบเขียนสะกดคา ทัง้ 2 ชุด จานวน 10 ครัง้
ทดสอบนักเรียนในกลุม่ ตัวอย่างหลังการฝึ กแบบการเขียนสะกดคานาข้อมูลมาวิเคราะห์แล
ะหาข้อสรุป
ผลการศึกษาพบว่าการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา ทาให้ผลสัมฤทธิใ์ นการ
เขียนสะกดคาภายหลังการทดลองสูงกว่าผลสัมฤทธิใ์ นการเขียนสะกดคาก่อนทดลอง ร้อย
ละ 56 อยูใ่ นเกณฑ์พอใช้ เพิม ้ จากเดิม ร้อยละ 24
่ ขึน
กิตติกรรมประกาศ

โครงงานภาษาไทยสะกดคาสาเร็จลงได้ดว้ ยความร่วมมือของเพือ ่ นและนักศึกษ


าในชัน ้ ปี ที่ 1 สถาบันการพละศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
ทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือด้วยความเต็มใจ ผูจ้ ดั ทาขอขอบคุณผูท ้ ม
ี่ ส
ี ว่ นเกีย่ วข้องทุกท่าน รวม
ทัง้ อาจารย์ทป ี่ รึกษาทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนให้เราได้ทาโครงงานนี้
เพือ ่ ให้เล็งเห็นถึงปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาอันเป็ นประโยชน์ อย่างยิง่ ในการนาไปปรับ
ปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยให้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ้ ผูจ้ ดั ทาขอแสด
งความขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้
นายวันมงคล
บุตรหา

25 กันยายน 2561
สารบัญ

เรือ
่ ง หน้า
บทคัดย่อ
....................................................................................................................
.............................ก
กิตติกรรมประกาศ
....................................................................................................................
..............ข
สารบัญตาราง
....................................................................................................................
......................ค
บทที่ 1 บทนา................................................................................................
........................................3
1. แนวคิดทีม ่ าของโครงงาน.............................................................................
.................................... 3
2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน……………….....………………………………....………………………………………
……..3
3. ขอบเขตของโครงงาน.................................................................................
......................................4
4. วิธีการดาเนินการ.......................................................................................
......................................4
5. ประโยชน์ ทไี่ ด้รบั ........................................................................................
.......................................4
6. นิยามศัพท์...............................................................................................
.......................................4
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง...............................................................................
....................................5
1. การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ...........................................
............................10
2. การจัดการเรียนการสอนแบบประสานห้าแนวคิดหลัก……………………………………………………
……..17
3. ความหมายของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน.............................................................
...............................23
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานโครงงาน……………………………………………………...………………………………
…26
1. วัสดุ อุปกรณ์
เครือ
่ งมือ……………………………………………………………………………………………………26
2. ขัน ้ ตอนการดาเนินงาน..............................................................................
..................................26
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน…………………………………………………………………………………………………….2
7
บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………….………
…30
ข้อเสนอแนะในด้านการสอน..............................................................................
...................................30
ข้อเสนอแนะในด้านการวิจยั ครัง้ ต่อไป..................................................................
................................32

สารบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนทีน
่ กั ศึกษาทดสอบจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน…....…………………
……….……27
ตารางที่ 2 แสดงคะแนนทีน
่ กั ศึกษาสอบได้จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน…….…………...……
……………....27

บทที่ 1
บทนา
1.แนวคิดทีม
่ าของโครงงาน
ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ ประจาชาติ
เป็ นสมบัตท ิ างวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ
และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มค ี วามเป็ นไทย
เป็ นเครือ
่ งมือในการติดต่อสือ่ สารความเข้าใจและความสัมพันธ์ทด ี่ ีตอ
่ กัน
ทาให้สามารถประกอบกิจธุรการงานและดารงชีวต ิ ร่วมกันในสังคมประชาชาติได้อย่างสัน
ติสขุ และเป็ นเครือ
่ งมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์
จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพือ ่ พัฒนาความรู ้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์
และสร้างสรรค์ให้ท ันต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มค ี วามมั่นคง ทางสังคมและเศรษฐกิจ
นอกจากนี้ยงั เป็ นสือ่ ทีแ
่ สดงภูมป ิ ญ
ั ญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์
โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ
โดยบันทึกไว้เป็ นวรรณคดีและวรรณกรรมอันลา้ ค่า ภาษาไทยจึงเป็ นสมบัตข ิ องชาติทค
ี่ ว
รค่าแก่การเรียนรู ้ เพือ่ อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยูค่ ชู่ าติไทยตลอดไป
ทักษะการเรียนรูท
้ สี่ าคัญในรายวิชาภาษาไทย คือ การฟัง การพูด การอ่าน
และการเขียน ซึง่ ทักษะการเขียนเป็ นทักษะทีส่ าคัญสาหรับการเรียนขัน ้ พื้นฐาน
หากผูเ้ รียนไม่สามารถเขียนสะกดคาให้ถูกต้องได้
จะส่งผลกระทบกับนักเรียนในเรือ ่ งการเรียนแต่ละวิชา
จึงเห็นควรว่าจะมีการทาแบบฝึ กหัดเพือ ่ ให้นกั เรียนได้ฝึกการเขียนสะกดคา
เพือ
่ จะได้นาไปใช้ในชีวต ิ ประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
captivate คือ
โปรแกรมสร้างสือ่ การเรียนการสอนการนาเสนอทีส่ ามารถโต้ตอบกับผูเ้ รียนได้อย่างดีเยีย่
มจุดเด่นคือ
สร้างแบบจาลองการใช้ซอฟแวร์ซงึ่ ผูใ้ ช้งานสามารถทาตามสือ่ การสอนได้ท ันที นอกจาก
นี้ยงั สามารถสร้างแบบทดสอบให้คะแนนและประเมินผลได้ในตัว
ผูจ้ ดั ทาได้คด
ิ สือ่ ทีจ่ ะนามาสอนนัน
้ คือ cai สือ่ การเรียนการสอน
จะสอนในเรือ ่ งของการสะกดคาให้กบั นักศึกษาชัน ้ ปี ที่ 1

2.วัตถุประสงค์
1. เพือ
่ ให้นกั เรียนฝึ กทักษะการเขียนและสะกดคาได้ถูกต้อง
2. เพือ ้
่ ให้นกั เรียนใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องยิง่ ขึน
3.ขอบเขตของโครงงาน
นักศึกษาในชัน
้ ปี ที่ 1สถาบันการพละศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ
อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
4.วิธีการดาเนินงาน
1. ประชุมเพือ่ นๆภายในกลุม ่ ชี้แจงเพือ่ สร้างความเข้าใจให้เพือ
่ นทราบ
2. สารวจ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3. วิเคราะห์ขอ ้ มูลหรือนาข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ผลเพือ
่ ดาเนินการโครงงาน
4. วางแผนการดาเนินงาน ปฏิบตั งิ านให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการทีต ่ ง้ ั ไว้
5. ดาเนินการให้เป็ นไปตามแผนการดาเนินงาน
โดยใช้กระบวนการจัดการความรู ้ (KM)
6. ติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้าและผลการดาเนินงานโครงการ
7. สรุปผลโครงการ รายงานผลการดาเนินงานกับอาจารย์ผูส
้ อน

5.ประโยชน์ ทไี่ ด้รบั


1. สามารถพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียน
้ เนื่องจากสือ่ มีความน่ าสนใจ
2. นักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึน
3. สามารถเป็ นแรงจูงใจให้นกั เรียนมีนิสยั รักการอ่าน

6.นิยามศัพท์
1.สือ่ การสอน หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธก
ี ารใด ๆ
ก็ตามทีเ่ ป็ นตัวกลางหรือพาหะ
ในการถ่ายทอดความรู ้ ทัศนคติ ทักษะและประสบการณ์ ไปสูผ ่ ูเ้ รียน
สือ
่ การสอนแต่ละชนิดจะมีคณ ุ สมบัตพ
ิ เิ ศษและมีคณ
ุ ค่าในตัวของมันเองในการเก็บและแส
ดงความหมายทีเ่ หมาะสมกับเนื้อหาและเทคนิควิธีการใช้อย่างมีระบบ
2.คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) หมายถึง
สือ่ การเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
ซึง่ ใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสือ ่ ประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
กราฟิ ก แผนภูมิ กราฟ วีดีทศั น์ ภาพเคลือ
่ นไหว และเสียง เพือ่ ถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน
หรือองค์ความรูใ้ นลักษณะที่
ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากทีส่ ด ุ โดยมีเป้ าหมายทีส่ าคัญก็คอ

สามารถดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียน และกระตุน ้ ให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู ้
3. สือ่ การเรียนรู ้ หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอย่างรอบตัวผูเ้ รียนทีช
่ ว่ ยผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู ้
ไม่วา่ จะเป็ นวัสดุ อุปกรณ์ วิธกี าร คน สัตว์ สิง่ ของ หรือแนวความคิดทีถ ่ า่ ยทอดความรู ้
ความเข้าใจ เพิม ่ ประสบการณ์
หรือเป็ นเครือ ่ งมือทีก
่ ระตุน
้ ให้เกิดการแสวงหาความรูด ้ ว้ ยตนเอง
บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง

โครงงานภาษาไทยสะกดคาของนักศึกษาในชัน ้ ปี ที่ 1สถาบันการพละศึกษา


วิทยาเขตศรีสะเกษ
อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ได้ศก
ึ ษาและรวบรวมเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องดังนี้
1. การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
1.1 ปรัชญาในการจัดเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
วัฒนาพร ระงับทุกข์ ( 2540 : 10-12
) ได้รวบรวมปรัชญาในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ดังนี้
1. ปรัชญาพิพฒ ั นนิยม ( Progressivism ) มองว่าการศึกษาจะต้องพัฒ
นาผูเ้ รียนทุกด้าน ทัง้ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และสติปญ ั ญา สิง่ ทีเ่ รียนคว
รเป็ นประโยชน์ สมั พันธ์ สอดคล้องกับชีวต ิ ประจาวันและสังคมของผูเ้ รียนให้มากทีส่ ด ุ
รวมทัง้ ส่งเสริมความเป็ นประชาธิปไตยทัง้ ในและนอกห้องเรียน และส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้
รูจ้ กั ตนเองและสังคม เพือ ่ ผูเ้ รียนจะได้ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่วา่
สังคมจะเปลีย่ นไปอย่างใดก็ตาม ผูเ้ รียนจะต้องรูจ้ กั แก้ปญ ั หาได้
ครูในปรัชญานี้ ทาหน้าทีเ่ ตรียม แนะนาและให้คาปรึกษาเป็ นหลักสาคัญ
ครูอาจจะเป็ นผูร้ ู ้ แต่ไม่ควรไปกาหนดหรือกะเกณฑ์ ( Dictate
) ให้เด็กทาตามอย่าง และควรเป็ นผูส ้ นับสนุนให้เด็กได้เรียนรูเ้ ข้าใจและเห็นจริงด้วยต
นเอง สาหรับผูเ้ รียน ปรัชญาสาขานี้ให้ความสาคัญกับผูเ้ รียนมาก เพราะถือว่าการเรีย
นรูน
้ น
้ ั จะเกิดได้ดก ี ็ ตอ่ เมือ่ ผูเ้ รียนได้ประสบการณ์ ตรง หรือลงมือทาด้วยตนเอง ( L
earning by doing ) และได้ทางานร่วมกัน(
Participation) เพือ ่ ให้การเรียนการสอนตรงตามความต้องการ เหมาะสมกับความถนั
ดและความสามารถของผูเ้ รียนมากขึน ้ ในขณะเดียวกัน ก็อยูร่ ว่ มกับคนอืน ่ ได้มากขึน้ ด้
วย
2. ปรัชญาปฏิรูปนิยม ( Reconstructionism
) จุดมุง่ หมายหลักของการศึกษาในแนวทางนี้คอ ื การศึกษาจะต้องเป็ นไปเพือ
่ การปรับปรุ
ง พัฒนา และสร้างสรรค์สงั คมใหม่ทด ี่ ีและเหมาะสมกว่าเดิม
ครูในปรัชญานี้จะต้องเป็ นนักบุกเบิก เป็ นนักแก้ปญ
ั หา สนใจและใฝ่ รูใ้ นเรื่
องของสังคม และปัญหาสังคมอย่างกว้างขวางและเอาจริงเอาจัง ในขณะเดียวกันก็ตอ ้ งส
นใจในวิชาการควบคูก ่ น
ั กันไป ครูจะต้องมีทกั ษะในการรวบรวม สรุป และวิเคราะห์ป ั
ญหาให้ผูเ้ รียนเห็นได้ ในขณะเดียวกันก็แนะนาให้ผูเ้ รียนศึกษาทาความเข้าใจเรือ ่ งของ
สังคมรอบตัวได้ ลักษณะทีส่ าคัญของครูในปรัชญานี้อก ี มีความเป็ นประชาธิปไตย ครู
ไม่ใช่ผรู้ คู ้ นเดียว ไม่ใช่ผูช้ ี้ทางแต่เพียงคนเดียว แต่ควรให้ทกุ คนมีสว่ นร่วมกันคิดพิจา
รณาเพือ ่ แก้ปญ ั หาต่าง ๆ และจะต้องเห็นความสาคัญของการเปลีย่ นแปลงแก้ไข
ผูเ้ รียนในปรัชญากลุม ่ นี้แตกต่างไปจากปรัชญาพิพฒ
ั น์ นิยมอยูม
่ าก ตรงทีจ่ ะ
เห็นประโยชน์ ทเี่ กิดขึน้ กับตัวเองน้อยลง แต่เห็นประโยชน์ของสังคมมากขึน ้ เด็กจะได้
รับการปลูกฝังให้ตระหนักในคุณค่าของสังคม เรียนรูว้ ธิ ีการทางานร่วมกันเพือ ่ เป้ าหมาย
ในการแก้ปญ ั หาของสังคมในอนาคต ผูเ้ รียนจะได้รบั การฝึ กฝนให้รจู ้ กั เทคนิคและวิธีกา
รต่างๆ ทีจ่ ะทาความเข้าใจและแก้ปญ ั หาของสังคม ในแนวทางของประชาธิปไตย
3. ปรัชญาอัตถิภาวะนิยม ( Existentialism ) ปรัชญาการศึกษานี้ เ
ห็นว่าในสภาวะของโลก ปัจจุบน ั มีสรรพสิง่ หรือทางเลือกมากมายเกินความสามารถทีม ่ นุ
ษย์เราจะเรียนรู ้ จะศึกษา และจะมีประสบการณ์ ได้ท่วั ถึง ฉะนัน ้ มนุษย์เราควรจะมีสิ
ทธิหรือโอกาสทีจ่ ะเลือกเรียนหรือศึกษาสรรพสิง่ ต่าง ๆ
ด้วยตัวของตัวเองมากกว่าทีจ่ ะให้ใครมาป้ อนหรือมอบให้
กระบวนการเรียนการสอนยึดหลักให้ผูเ้ รียนได้มโี อกาสรูจ้ กั ตนเอง โดยมีครู
เป็ นผูก
้ ระตุน ่ ูเ้ รียนแต่ละบุคคลต้องการ ซึง่ เป็ นการจัด
้ โดยใช้คาถามนาไปสูเ้ ป้ าหมายทีผ
การศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนมีความรับผิดชอบในหน้าทีข ่ องตน
4. ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสนา ( Buddhistisc Philosophy
of Education ) เป็ นปรัชญาทีอ่ าศัยหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญาใน
การอธิบายเรือ ่ งของชีวต ิ โลก และ ปรากฏการณ์ ตา่ ง
ๆ โดยเชือ ่ ว่าทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนมีปญ ั หา ไม่มต ี วั ตน และไม่มอ
ี ะไรทีย่ ่งั ยืนโดยไม่เปลีย่
น ทัง้ ยังเชือ ่ ว่า มนุษย์เกิดมาตามแรงกรรม ซึง่ รวมทัง้ กรรมดีและกรรมชั่ว ( Innat
ely good and bad ) กรรมและการกระทาของมนุษย์เกิดขึน ้ จากตัณหาหรือกิเลส
ซึง่ มีอยูใ่ นตัวมนุษย์ แต่มนุษย์มศี กั ยภาพทีจ่ ะสามารถขจัดกิเลสและควบคุมพฤติกรรม
ของตนให้เป็ นไปในแนวทางทีด ่ ี จุดมุง่ หมายของการเรียนการสอน จะมุง่ ให้ผูเ้ รียนเป็
นผูก ้ ระทาเอง เรียนรูด ้ ว้ ยตนเอง

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ


วัฒนาพร ระงับทุกข์ ( 240 : 19-20
) ได้รวบรวมแนวคิดของนักการศึกษาเกีย่ วกับการจัดการเรียน
การสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ไว้ดงั ต่อไปนี้
อัจฉรา วงศ์โสธร กล่าวว่า การเรียนทีม ่ ผ
ี ูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางของกระบว
นการเรียนการสอนนัน ้ ครูผูส ้ อนจะเป็ นผูอ
้ านวยการเรียนรู ้ ช่วยเอือ ้ ให้ผูเ้ รียนเกิดการเ
รียนรูข ้ึ ได้ โดยการเตรียมการด้านเนื้อหา วัสดุอป
้ น ุ กรณ์ สือ่ การเรียนต่าง ๆ ให้เห
มาะสมกับผูเ้ รียน ตลอดจนเป็ นผูค ้ อยสอดส่อง สารวจในขณะผูเ้ รียนฝึ ก และให้ขอ ้ มูล
ป้ อนกลับ เพือ ่ ช่วยให้ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปรับปรุงตนเองและเกิดพัฒนาการขึน ้
สงบ ลักษณะ กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนทีน ่ กั เรียนได้รบ
ั การยอม
รับนับถือในการเป็ นเอกบุคคล ได้เรียนด้วยวิธีทเี่ หมาะสมกับความสามารถ ได้เรียน
สิง่ ทีส่ นใจ ต้องการหรือประโยชน์ ได้ปฏิบ ัติตากระบวนการเพือ
่ การเรียนรู ้ ได้รบั การ
เอาใจใส่ ประเมิน และช่วยเหลือเป็ นรายบุคคล และได้รบั การพัฒนาเต็มศักยภาพ แ
ละสาเร็จตามอัตภาพ
โกวิท ประวาลพฤกษ์ กล่าวว่า กระบวนการเรียนรูต ้ ามหลักสูตร หมายถึ
ง กระบวนการใดๆ ทีใ่ ห้ผูเ้ รียนได้เรียนรูก
้ ระบวนการ เช่น กระบวนการกลุม ่ ทักษะ
กระบวนการ 9 ขัน
้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ
โกวิท วรพิพฒ ั น์ กล่าวว่า การเรียนการสอนทีพ่ งึ ประสงค์ หมายถึง
กระบวนการพัฒนาให้ผเู้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น และแก้ปญ
ั หาเป็ น
ทิศนา แขมมณี ได้เสนอหลักในการจัดเรียนการสอน
ทีเ่ น้นนักเรียนเป็ นสาคัญ ซึง่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้
1. ช่วยให้ผูเ้ รียนมีสว่ นในกระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียนเป็ นผูส
้ ร้าง (
construct ) ความรูด ้ ว้ ย
ตนเอง ทาความเข้าใจ สร้างความหมายของสาระข้อความรูใ้ ห้แก่ตนเอง ค้นพบข้อ
มูลความรูด
้ ว้ ยตนเอง
2. ช่วยให้ผเู้ รียนมีปฏิสมั พันธ์ (
Interaction ) ต่อกันและได้เรียนรูจ้ ากกันและกันได้แลกเปลีย่ นข้อมูลความรู ้ ความคิด
และประสบการณ์ แก่กน ั และกันให้มากทีส่ ด ุ เท่าทีจ่ ะทาได้
3. ช่วยให้ผเู้ รียนมีบทบาท มีสว่ นร่วม ( Participation ) ในกระบวนการ
เรียนรูใ้ ห้มากทีส่ ด

4. ช่วยให้ผเู้ รียนได้เรียนรู ้ “ กระบวนการ “
( process ) ควบคูไ่ ปกับ “ ผลงาน “ ( Product )
้ ไี่ ด้ไปใช้ลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง ( Applicati
5. ช่วยให้ผเู้ รียนนาความรูท
on ) วิเศษ ชินวงศ์
(
2544 : 35 ) ได้รวบรวมแนวคิดเกีย่ วกับการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ โ
ดยมีประเด็นสาคัญดังนี้
1. สมองของมนุษย์มศ ี กั ยภาพในการเรียนรูส้ งู สุด ผูเ้ รียนต้องอาศัยระบบ
ประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิน ้ กาย ใจ กระบวนการเรียนรูท ้ ม
ี่ ป
ี ระสิทธิภา
พ ผูส
้ อนต้องสนใจและให้ผูเ้ รียนได้พฒ ั นาความสัมพันธ์ระหว่างสมอง ( Head ) จิตใ
จ ( Heart ) และสุขภาพองค์รวม
( Health )
2. ความหลากหลายของสติปญ ั ญา หรือพหุปญั ญา จัดกระบวนการเรียนรู ้
ควรจัดกิจกรรมทีห่ ลากหลายเพือ
่ ส่งเสริมศักยภาพความเก่ง ความสามารถของผูเ้ รียนเป็
นรายบุคคล เพือ่ ให้แต่ละคนได้พฒ ั นาความถนัด ความเก่งตามศักยภาพของตน
3. การเรียนรูเ้ กิดจากประสบการณ์ ตรง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ( วิเศษ ชินวงศ์. 2544 : 35 ) ไ
ด้รวบรวมแนวคิดทางทฤษฏีการเรียนรูแ
้ ละเสนอแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู ้ ดั
งนี้
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ให้ผูเ้ รียนได้พฒ
ั นาเต็มความสามารถทัง้ ด้านความรู ้ จิตใจ อารมณ์ และทักษะต่าง

2. ลดการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาลง ผูเ้ รียนกับผูส้ อนควรมีบทบาทร่วมกันใช้ก
ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู ้ ผูเ้ รียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์
จริงทีเ่ ป็ นประโยชน์และสัมพันธ์กบั ชีวต
ิ จริง เรียนรูค
้ วามจริงในตนเองและความจริงใน
สิง่ แวดล้อมจากแหล่งเรียนรูท้ ห
ี่ ลากหลาย
3. กระตุน
้ ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยการทดลองปฏิบตั ด
ิ ว้
ยตนเอง ครูทาหน้าทีเ่ ตรียมการจัดสิง่ เร้า ให้คาปรึกษา วางแนวกิจกรรม และประเมิ
นผล
และนงเยาว์ แข่งเพ็ญแข (
2540 : 35 ) กล่าวว่า การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู ้ จะต้องปรับเปลีย่ นอย่างจริ
งจังโดยให้ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ เน้นการคิด การวิเคราะห์ การวิจยั สร้างองค์ความรู ้
ได้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ มีนกั การศึกษาท่านอืน ่ ๆ ทีใ่ ห้แนวคิดเกีย่ วกับหลักในการจัดก
ารเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญไว้ดงั ต่อไปนี้
ดอนน่ า แบรด์ และพอล กินนิส ( Brandes and Ginnis. 19
88 : 163 ) กล่าวว่า การเรียนรูท ้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ คือ ระบบการจัดการเรียนรู ้
ซึง่ ผูเ้ รียนเป็ นหัวใจสาคัญ ด้วยความเชือ ่ ทีว่ า่ มนุษย์ทกุ คนมีสท
ิ ธิทจี่ ะบรรลุศกั ยภาพสูงสุ
ดของตนเอง ผูเ้ รียนจะได้รบั การส่งเสริมให้เข้าร่วมและรับผิดชอบการเรียนรูข ้ องตน
แฮลมัท แลงค์ ( Lang. 1995 : 148 ) และคนอืน ่ ๆ ได้เสนอหลักใ
นการจัดการเรียนรูท
้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ว่าเป็ นแนวทางทีจ่ ะช่วยให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูเ้
นื้อหาครบถ้วน ด้วยวิธีการของแต่ละบุคคลทีอ่ าจแตกต่างกันไปเป็ นการส่งเสริมให้ผเู้ รีย
นได้เข้าร่วมในการเรียนรูอ้ ย่างกระตือรือร้น และมีปฏิสมั พันธ์ซงึ่ กันและกัน
แมกซี่ ดิสโคลส์ ( Driscoll. 1994 : 78 ) มองการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ กล่าวว่า ผูเ้ รียนมิได้เป็ นเพียงผูร้ บั การเรียนการสอนทีผ
่ ูอ
้ ื่
นออกแบบให้เท่านัน ้ แต่พวกเขาจะต้องเข้าร่วมอย่างกระตือรือร้น ในการกาหนดสิง่ ที่
ต้องการเรียน และวิธีการทีค ่ วามต้องการเหล่านัน
้ จะสัมฤทธิผ ์ ลด้วย
เมือ่ ประมวลแนวคิดของนักการศึกษาทีก ่ ล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่า แนวคิดก
ารจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ คือ แนวทางในการเสริมสร้างและพัฒ
นาศักยภาพของผูเ้ รียน โดยให้ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญในการพัฒนา ผูเ้ รียนสามารถเลือกเรีย
นได้ตามความต้องการ ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในการวางแผนการเรียนรู ้ และการลงมือปฏิบ ั
ติ ผูเ้ รียนได้เรียนกระบวนการควบคูไ่ ปกับผลงาน ผูเ้ รียนเป็ นผูส
้ ร้างความรูด
้ ว้ ยตนเองแ
ละสามารถแก้ไขปรับปรุงตนเองและเกิดการพัฒนาการเรียนรู ้

หลักการในจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ


วัฒนา ระงับทุกข์ ( 2542 : 3-
4 ) ได้เสนอหลักการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ ดังนี้
1. ผูเ้ รียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรูข้ องตน ผูเ้ รียนเป็ นผูเ้ รียนรู ้ ค
รูมบ
ี ทบาทเป็ นผูส
้ นับสนุนการเรียนรู ้ และให้บริการด้านความรูแ ้ ก่ผูเ้ รียน ผูเ้ รียนจะรั
บผิดชอบตัง้ แต่การเลือกการวางแผนสิง่ ทีต ่ นจะเรียน หรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในการเลื
อก และจะเริม ่ ต้นการเรียนรูด ้ ว้ ยตนเอง ด้วยการศึกษาค้นคว้า รับผิดชอบการเรียนตล
อดจนประเมินผลการเรียนรูด ้ ว้ ยตนเอง
2. เนื้อหาวิชามีความสาคัญ และมีความหมายต่อการเรียนรูใ้ นการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรูป ้ จั จัยสาคัญทีจ่ ะต้องนามาพิจารณาประกอบด้วยเนื้อหาวิชา ประสบ
การณ์ เดิม และความต้องการของผูเ้ รียน การเรียนรูท ้ ส ้ อยู่
ี่ าคัญและมีความหมายจึงขึน
กับสิง่ ทีส่ อน ( เนื้อหา ) และวิธีทใี่ ช้สอน ( เทคนิคการสอน )

3. การเรียนรูจ้ ะประสบผลสาเร็จ หากผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู ้ ผูเ้ รียนจ


ะได้รบั ความสนุกสนานจากการเรียน หากได้เข้าไปมีสว่ นร่วมในการเรียนรู ้ ได้ทางาน
ร่วมกับเพือ ่ น ๆ ได้คน ้ พบข้อคาถามและคาตอบใหม่ ๆ สิง่ ใหม่
ๆ ประเด็นทีท ่ า้ ทายและความสามารถในเรือ
่ งใหม่ ๆ
้ รวมทัง้ การบรรลุผลสาเร็จของงานทีพ
ทีเ่ กิดขึน ่ วกเขาริเริม
่ ด้วยตนเอง
4. สัมพันธภาพทีด ่ ีระหว่างผูเ้ รียน การมีปฏิสมั พันธ์ทด
ี่ ีในกลุม่ จะช่วยส่งเสริ
ม ความเจริญงอกงาม การพัฒนาความเป็ นผูใ้ หญ่ การปรับปรุงการทางาน และการจั
ดการกับชีวต ิ ของแต่ละบุคคล สัมพันธภาพทีเ่ ท่าเทียมกัน ระหว่าสมาชิกในกลุม ่ จึงเป็
นสิง่ สาคัญทีจ่ ะช่วยส่งเสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรูซ้ งึ่ กันและกันของผูเ้ รียน
5. ผูเ้ รียนได้เห็นความสามารถของตนในหลาย ๆ
ด้าน การจัดการเรียนรูท ้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญมุง่ ให้ผูเ้ รียนมองเห็นความสามารถของต
นในแง่มม
ุ ทีแ
่ ตกต่างกันออกไป ผูเ้ รียนจะมีความมั่นใจในตนเองและควบคุมตนเองได้มา

กขึน สามารถเป็ นในสิง่ ทีอ่ ยากเป็ น มีวุฒภ ิ าวะสูงมากขึน ้ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมตน
ให้สอดคล้องกับสิง่ แวดล้อมและมีสว่ นร่วมกับเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ มากขึน ้
6. ผูเ้ รียนได้พฒ
ั นาประสบการณ์ การเรียนรูห ้ ลาย ๆ
ด้านพร้อมกันไป การเรียนรูท ้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ เป็ นจุดเริม
่ ต้นของการพัฒนาผูเ้ รีย
นหลาย ๆ
ด้าน คุณลักษณะด้านความรู ้ ความคิด ด้านการปฏิบตั แ ิ ละด้านอารมณ์ ความรูส้ ก ึ
จะได้รบั การพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน
7. ครูเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกและเป็ นผูใ้ ห้บริการความรู ้ ในการจัดกา
รเรียนรูแ ้ บบเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ครูจะต้องมีความสามารถทีจ่ ะค้นพบความต้องการที่
แท้จริงของผูเ้ รียน เป็ นแหล่งความรูท ้ ท
ี่ รงคุณค่าของผูเ้ รียน และสามารถค้นคว้าจัดหา
สือ่ วัสดุอปุ กรณ์ ทเี่ หมาะสมกับผูเ้ รียน สิง่ ทีส่ าคัญทีส่ ด
ุ คือครูจะต้องเต็มใจทีจ่ ะช่วยเหลือผูเ้
รียน เป็ นกัลยาณมิตรของผูเ้ รียน
จากหลักการดังกล่าว สรุปได้วา่ การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ คือ ผูเ้ รียนต้องรับผิดชอบต่อการเรียนรูข
้ องตนเอง การเรียนรูท
้ สี่ าคัญขึน ้ อยูก
่ ั
บสิง่ ทีส่ อน ( เนื้อหา ) และวิธีทใี่ ช้สอน
( เทคนิคการสอน ) การเรียนรูจ้ ะประสบความสาเร็จผูเ้ รียนต้องมีสว่ นร่วมในกิจกรรม
การเรียนรูแ
้ ละสัมพันธภาพทีด ้ งึ่ กันและกัน และผูเ้ รี
่ ีระหว่างสมาชิกแลกเปลีย่ นเรียนรูซ
ยนได้เห็นความสามารถของตนเองพร้อมกับได้พฒ ั นาประสบการณ์ การเรียนรูใ้ นหลาย
ๆ ด้านไปพร้อม ๆ กัน ซึง่ ครูจะเป็ นผูอ
้ านวยความสะดวกเป็ นผูใ้ ห้บริการความรูแ้ ก่เด็ก
หลักการจัดประสบการณ์ การเรียนรูท
้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
( วัฒนาพร ระงับทุกข์ , 2540 :
21 ) เพือ
่ ให้การเรียนรูเ้ ป็ นไปอย่างได้ผล การจัดประสบการณ์ เรียนรูค
้ วรยึดหลักต่อไป
นี้
1.3.1.1 ยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง เพือ ่ ให้ผเู้ รียนมีโอกาสเข้าร่
วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างทัว่ ถึง และมากทีส่ ด ุ เท่าทีจ่ ะทาได้ การทีผ ่ ูเ้ รียนมี
บทบาทเป็ นผูก
้ ระทาจะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดความพร้อมและกระตือรือร้นทีจ่ ะเรียนอย่างมีชีวิ
ตชีวา และรับผิดชอบต่อการเรียนรูข ้ องตน

1.3.1.2 ยึดกลุม ่ เป็ นแหล่งความรูท


้ ส
ี่ าคัญ โดยให้ผูเ้ รียนมีโอก
าสไปปฏิสมั พันธ์กน ั ในกลุม
่ ได้พูดคุย ปรึกษาหารือและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและประ
สบการณ์ ซงึ่ กันและกัน ข้อมูลต่าง ๆ
เหล่านี้จะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูเ้ กีย่ วกับพฤติกรรมของตนเองและผูอ ้ น
ื่ และการเรี
ยนรูจ้ ะปรับตัวให้สามารถอยูใ่ นสังคมร่วมกับผูอ ้ น
ื่ ได้ดี
1.3.1.3 ยึดการค้นพบด้วยตนเอง เป็ นวิธีการสาคัญ การเรีย
นรูโ้ ดยผูส
้ อนพยายามจัดการสอนทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียนได้คน
้ พบคาตอบด้วยตนเอง ทัง้ นี้เ
พราะการค้นพบความจริง
ใด ๆ
ด้วยตนเองนัน
้ ผูเ้ รียนมักจะจดจาได้ดี และมีความหมายโดยตรงต่อผูเ้ รียน และเกิดควา
มคงทนของความรู ้
1.3.1.4 เน้นกระบวนการ ( Process ) ควบคูไ่ ปกับผลงาน
( Product ) โดยการส่งเสริม
ให้ผูเ้ รียนได้วเิ คราะห์ถงึ กระบวนการต่าง ๆ ทีจ่ ะทาให้เกิดผลงาน มิใช่มงุ่ จะพิจารณาถึ
งผลงานแต่เพียงอย่างเดียว เพราะประสิทธิภาพของผลงานขึน ้ อยูก
่ บั ประสิทธิภาพของกร
ะบวนการ
1.3.1.5 เน้นการนาความรูไ้ ปใช้ในชีวต
ิ ประจาวัน โดยให้ผูเ้ รีย
นได้มโี อกาสคิดหาแนวทางทีจ่ ะนาความรู ้ ความเข้าใจไปใช้ในชีวต ิ ประจาวัน พยายา
มส่งเสริมให้เกิดปฏิบตั จิ ริง และพยายามติดตามผลการปฏิบตั ขิ องผูเ้ รียน
จากหลักการจัดประสบการณ์ เรียนรูท ้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ สรุปได้วา่ ยึดผูเ้
รียนเป็ นศูนย์กลางเป็ นไปอย่างมีชีวติ ชีวา ยึดกลุม
่ เป็ นแหล่งความรูท ้ ส
ี่ าคัญเกิดการแลกเป
ลีย่ นความคิดยึดการค้นพบด้วยตนเอง เป็ นการสร้างความรูค ้ วามเข้าใจด้วยตนเองและจ
ดจาได้ดี เน้นกระบวนการควบคูก ่ นั ไปพร้อมกับผลงานและเน้นการนาความรูไ้ ปใช้ในชี
วิตประจาวัน

2. การจัดการเรียนการสอนแบบประสานห้าแนวคิดหลัก
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบประสานห้า แนวคิดหลักหรือแบบซิปป
า ( CIPPA MODEL )
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนสาคัญทีก ่ าลังได้รบั ความสนใจก็คอ
ื การจัดกา
รเรียนการสอนโดยยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางแบบซิปปา CIPPA หรือแบบประสาน 5
แนวคิดหลักทีพ่ ฒ
ั นาโดย รศ. ดร. ทิศนา แขมณี สาระสาคัญของหลักการสอนแบบ
CIPPA ซึง่ ระบุไว้วา่ ในการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลาง จะต้อง
ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู ้ ดังนี้
1. นักศึกษาจะต้องมีสว่ นร่วมในการสร้างความรู ้ ( Construction )
แนวคิดการสรรค์สร้างความรู ้ หมายถึง การส่งเสริมให้ผเู้ รียนสร้างความรู ้
ตามแนวคิดของ
( Constructivism ) การมีโอกาสปฏิสมั พันธ์และเรียนรูจ้ ากผูอ
้ น
ื่ ( Interaction )
2. นักศึกษาจะมีโอกาสพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นหรือความรูก
้ น
ั ภายในกลุ่
ม ในห้องเรียน
ในสถาบัน หรือในชุมชนทีน ่ กั เรียนอยู่ เรียกว่าเป็ นการปฏิสมั พันธ์ทางสังคม นอกจากจ
ะได้รบั ความรู ้ ยังมีโอกาสเรียนรูก ้ ารอยูด
่ ว้ ยกันในสังคมหรือการปฏิส ัมพันธ์ทางอารมณ์
คือมีโอกาสรับรูค ้ วามรูส้ ก
ึ จากสิง่ ต่าง ๆ หรือมีอารมณ์ รว่ มต่อเหตุการณ์ ได้ดว้ ยตนเอง

3. นักศึกษาจะต้องมีการเคลือ
่ นไหวร่างกาย ( Physical Praticipation ) นั
กศึกษาได้มโี อกาสแสดง
บทบาทในกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเคลือ ่ นไหวร่างกาย เพือ ่ ช่วยให้ประสาทรับรูข
้ อ
งผูเ้ รียนตืน
่ ตัว กระฉับกระเฉง นักศึกษาจะได้มส
ี ว่ นร่วมทางร่างกายและเกิดความพร้อ
มในการเรียนรู ้
4. นักศึกษาจะต้องได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการ ( Process Learning
) นักศึกษาได้มโี อกาส
ใช้กระบวนการเป็ นเครือ่ งมือในการเรียนรู ้ หรือการได้รบั ความรูจ้ ากการตอบคาถาม กา
รอภิปราย การแลกเปลีย่ นความรูจ้ ากเพือ ่ น เป็ นการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูก ้ ระบว
นการต่าง
ๆ อันเป็ นเครือ่ งมือทีผ
่ ูเ้ รียนสามารถนาไปใช้ได้ตลอดชีวต ิ นักศึกษาจะต้องมีโอกาสนาคว
ามรูไ้ ปใช้ ( application ) นักศึกษามีโอกาสนาความรูท ้ ส ้ เองไปใช้ประโยชน์ ใ
ี่ ร้างขึน
นสถานการณ์ อน ื่
ๆ ทีม ่ ค
ี วามคล้ายคลึงหรือเกีย่ วข้องกัน การส่งเสริมให้ผูเ้ รียนนาความรูท ้ ไี่ ด้เรียนรูไ้ ปปร
ะยุกต์ใช้อ ันจะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการถ่ายโอนการเรียนรู ้ ( นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ .
2542 : 16-17 )

ขัน
้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ
้ บบซิปปา
กรมวิชาการ ( 2544 : 64-
65 ) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรูต ้ ามรูปแบบซิปปา มีองค์ประกอบสาคัญ ดัง
กล่าว ครูสามารถเลือกรูปแบบ วิธีสอน หรือกิจกรรมใด ๆ
ก็ได้ทส
ี่ ามารถทาให้ผูเ้ รียนเกิดการถ่ายโอนการเรียนรูต ้ ามองค์ประกอบทัง้ 5 การจัดกิจ
กรรมสามารถจัดกิจกรรมใดก่อน - หลัง
ได้โดยมิตอ ้ งเรียงลาดับ และเพือ ่ ให้ครูผูส
้ อนทีต
่ อ้ งการนาหลักการของรูปแบบซิปปาได้ส
ะดวก
รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี ได้จดั ลาดับขัน
้ ตอนการสอนเป็ น 7 ขัน
้ ดังนี้
1. ขัน
้ การตรวจสอบความรูเ้ ดิม ( Cl )

- ผูเ้ รียนแสดงความรูเ้ ดิมของตนทีจ่ าเป็ นในการสร้างความรูใ้ หม่


- ผูเ้ รียนตรวจสอบและปรับแก้ไขความรูเ้ ดิมของตนให้ถูกต้อง
- ผูเ้ รียนได้รบั การกระตุน
้ ท้าทายให้ไตร่ตรองเพือ
่ สร้างความรูใ้ หม่
2. ขัน
้ การสร้างความรูใ้ หม่จากประสบการณ์ ทเี่ ป็ นรูปธรรม ( ClPP )
- ผูเ้ รียนร่วมปฏิบตั ก
ิ จิ กรรมทีม
่ งุ่ ให้ประสบการณ์ ทเี่ ป็ นรูปธรรมด้วยการลงมือ
กระทาทีส่ อดคล้องกับชีวต
ิ ประจาวัน
- ผูเ้ รียนใช้กระบวนการทักษะ ในการทาความเข้าใจและสร้างความหมายแก่
ขอมูล จาก กาปฏิบตั ก
ิ จิ กรรม
- ผูเ้ รียนสรุปและบันทึกข้อค้นพบเกีย่ วกับหลักการความรู ้ ความคิดรวบยอด
เป็ นความรูใ้ หม่ของตน
1. ขัน
้ ศึกษาความเข้าใจความรูใ้ หม่และเชือ
่ มโยงความรูใ้ หม่กบั ความรูเ้ ดิม ( CIPP )
- ผูเ้ รียนสร้างความหมายของข้อมูลหรือประสบการณ์ ใหม่
- ผูเ้ รียนสรุปความเข้าใจแล้วเชือ
่ มโยงกับความรูเ้ ดิม
2. ขัน
้ แลกเปลีย่ นความรูค
้ วามเข้าใจ ( CIPP )
- ผูเ้ รียนนาเสนอความรูใ้ หม่ทไี่ ด้แก่กลุม

- ผูเ้ รียนตรวจสอบความรูจ้ ากแหล่งการเรียนรูต
้ า่ ง ๆ
- ผูเ้ รียนนาความรูท
้ ไี่ ด้ไปทดลองใช้ เพือ
่ แลกเปลีย่ น ตรวจสอบ

- ขยายประสบการณ์ ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ยงิ่ ขึน
3. ขัน
้ สรุปและจัดระเบียบความรู ้ ( CIPPA )
- ผูเ้ รียนสรุปประเด็นสาคัญทัง้ หมด ทัง้ ความรูใ้ หม่และเก่า
- ผูเ้ รียนนาความรูท
้ ไี่ ด้มาเรียบเรียงให้ได้ใจความสาระสาคัญครบถ้วน
เพือ
่ สะดวกแก่การจดจา
4. ขัน
้ แสดงผลงาน ( CIPPA )
- ผูเ้ รียนแสดงผลงานการสร้างความรูด
้ ว้ ยตนเอง
- ผูเ้ รียนได้ตรวจสอบความรู ้ ความเข้าใจของตนเองด้วยการได้รบั ข้อมูล
ย้อนกลับจากผูอ
้ น
ื่
5. ขัน
้ ประยุกต์ใช้ความรู ้ ( CIPPA )
- ผูเ้ รียนนาความรูไ้ ปใช้ในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ
- ผูเ้ รียนสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างผลงานต่าง ๆ
จะเห็นได้วา่ การจัดกิจกรรมการสอนแบบห้าแนวคิดหลัก สามารถส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีส่
วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู ้ ทัง้ กาย สติปญ ั ญา และสังคม ส่วนการมีสว่ นร่วมใน
ด้านอารมณ์ นน ้ ั จะเกิดควบคูไ่ ปกับทุกด้านอยูแ่ ล้ว ถ้าผูส ้ อนสามารถจัดกิจกรรมการเรี
ยนรูต
้ ามแบบดังกล่าว การจักการเรียนรูก ้ ็จะมีลกั ษณะผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
3. การสอนการเขียน
การเขียนคาให้ถก ู ต้องเป็ นสาขาหนึ่งของการเขียน การเขียนคาเป็ นทักษะทีส่ าคัญและ
จาเป็ นอย่างยิง่ ต่อชีวต ิ ประจาวัน และความเป็ นอยูข่ องบุคคลในยุคปัจจุบนั เพราะการเขี
ยนคาให้ถก ู ต้องจะช่วยให้อา่ นหนังสือออกและเขียนหนังสือได้ถูกต้อง ซึง่ เป็ นรากฐานที่
สาคัญของการเรียนวิชาต่าง
ๆและเพือ ่ การศึกษาในระดับสูง ๆ ต่อไป ( สุนน ั ท์ จงธนสารสมบัต.ิ 2525 : 146
) ซึง่ ความเห็นดังกล่าวตรงกับที่ รองรัตน์ อิสรภักดี และเทือก กุสม ุ า ณ อยุธยา
กล่าวไว้วา่ การสอนเขียนคาเป็ นสิง่ สาคัญและจาเป็ นต้องรูจ้ กั การเขียนคาทีถ่ ูกต้องก่อนที่
จะเขียนเป็ นเรือ ่ งเป็ นราวได้ ( รองรัตน์ อิสรภักดี และเทือก กุสม ุ า ณ อยุธยา . 2
526 : 145 )
ดังนัน
้ การจะสอนให้เด็กมีความสามารถในการเขียนคา จึงมีความจาเป็ นอย่
างยิง่ ทีจ่ ะต้องได้รบั การเอาใจใส่ ความสนใจจากครูผูส ้ อน และส่งเสริมให้นกั เรียนมีป
ระสิทธิภาพทางการเขียนให้มากทีส่ ด ุ เพือ
่ ประโยชน์ดงั กล่าว
รองรัตน์ อิสรภักดี และ เทือก กุสม
ุ า ณ
อยุธยา ( 2526 : 126 ) ได้กล่าวถึงหลักการสอนเขียนต้องคานึงถึงหลักการต่อไปนี้
1. สอนคาทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั เด็กและสิง่ ทีพ
่ บเห็นในชีวต
ิ ประจาวัน
2. สอนคาทีเ่ ด็กสนใจและเข้าใจความหมาย
3. ช่วยเหลือเด็กทีเ่ รียนอ่อนเป็ นพิเศษ เด็กบางคนยังจาสระและพยัญชนะไม่
ได้ ย่อมจะเขียนคาไม่ได้ ดังนัน ้ ครูจาเป็ นต้องเอาใจใส่ให้เด็กจาสระและพยัญชนะให้
ได้เสียก่อน นอกจากนี้ เมือ่ เด็กเรียนการเขียนคาไปแล้วครูไปพบคาเหล่านี้ในวิชาอื่
น ต้องทบทวนให้เด็กระลึกถึงคานี้ดว้ ย เพือ ้
่ ให้จาได้แม่นยายิง่ ขึน
4. ทุกครัง้ ทีส่ อนคาใหม่ตอ
้ งมีการทบทวนคาเก่าทีเ่ รียนมาแล้วเสียก่อน
5. การทดสอบต้องทากันอย่างสมา่ เสมอ เพือ
่ จะทราบว่าเด็กมีความสามารถในการเขี
ยน
คามากน้อยเพียงใด
6. มีการบันทึกผลงานของเด็กแต่ละคนไว้ตง้ ั แต่เริม
่ แรกเด็กเขียนคาได้มากน้อยเพียงใ
ด เด็กพัฒนาขึน ้ หรือไม่
7. ดาเนินการสอนทีถ
่ ูกต้องให้แก่เด็ก โดยช่วยเหลือเด็กเป็ นขัน
้ ๆ ดังนี้
7.1 ให้เด็กได้ยน
ิ คาทีส่ ะกดอย่างชัดเจน
7.2 ให้เด็กเขียนสะกดคาอย่างระมัดระวัง
7.3 ให้เด็กอ่านคาทีส่ ะกด
7.4 ทบทวนคาทีส่ ะกดนัน
้ ว่าถูกต้องหรือไม่
8. ครูเขียนคาใหม่ลงในกระดานแล้วให้นกั เรียนลอกตาม ครูตอ
้ งเขียนให้ชดั เจน อ่าน
ง่าย
9. เพือ
่ ป้ องกันไม่ให้เด็กลอกผิด
10. เมือ่ สะกดคาไปแล้ว เด็กคนใดสะกดผิดครูตอ
้ งแก้บนกระดานอย่างชัดเจน อ่าน
ง่าย
เพือ
่ ป้ องกันไม่ให้เด็กลอกผิด
นอกจากนี้ พิทซ์ เจอรัลด์ ( FitZgerald
. 1967 : 38 ) ได้เสนอแนะลาดับขัน ้ การ
เขียนคาไว้ดงั นี้

1. ต้องให้นกั เรียนรูค
้ วามหมายของคานัน
้ เสียก่อน โดยครูเป็ นผูบ
้ อก หรือโดยอาศัย
พจนานุกรม แล้วให้นกั เรียนอภิปรายซา้ ข้อสาคัญ คานัน
้ ต้องเป็ นคาทีง่ า่ ย ๆ
ไม่ซบั ซ้อน
2. ต้องให้นกั เรียนอ่านออกเสียงคาได้ถก ู ต้องชัดเจน จะช่วยให้นกั เรียนรูจ้ กั คา
นัน ้ ทัง้ รูปคา และการออกเสียง
้ ได้แม่นยายิง่ ขึน
3 ต้องให้นกั เรียนเห็นรูปคานัน
้ ๆ ว่าประกอบด้วย สระ พยัญชนะ อะไรบ้าง
ถ้าเป็ นคาหลายพยางค์ ควรแยกให้เด็กดูดว้ ย ถ้าทาได้
4. ต้องให้นกั เรียนลองเขียนคานัน
้ ๆ ทัง้ ดูแบบและไม่ดแ
ู บบ
้ ๆ ไปใช้ ซึง่ อาจใช้ในการเขียนบร
5. ต้องสร้างสถานการณ์ ให้นกั เรียนนาคานัน
รยายเรือ
่ งราว หรือเขียนในกิจกรรมการเรียนทีเ่ หมาะสมกับวัย
ฮอร์น ( Horn
. 1954 : 19 - 20 ) ได้เสนอแนะกิจกรรมการสอนเขียนเพือ
่ ให้เด็กสนใจ และมีท ั
ศนคติทด
ี่ ต
ี อ
่ การสอนเขียนคา ไว้ดงั นี้
1. ให้นกั เรียนได้รถ
ู ้ งึ คุณค่าในความสามารถของตน
ทีจ่ ะนาการเขียนคาไปใช้กบั วิชาอืน ่ ๆ
2. ให้นกั เรียนเข้าใจถึงการเขียนคาในบทเรียนต่าง
ๆ และมีการแก้ไขได้ถกู ต้อง
3. ให้นกั เรียนได้ทราบถึงผลการเขียนด้วยตนเอง ครูเป็ นผูก
้ ระตุน
้ ชี้แนะเ
ท่านัน

4. ในแต่ละสัปดาห์ครูทาแผนภูมก
ิ า้ วหน้าในการเขียนคาของนักเรียนแต่ล
ะคน
5. ให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการตัง้ จุดมุง่ หมายของการเขียน อันจะช่วยใ
ห้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการแสดงความดิดเห็นและรับผิดชอบอีกด้วย

6. ครูและนักเรียนควรจะได้แสดงท่าทางประกอบเพือ
่ อธิบายความหมายของ
คาให้เข้าใจ
้ ด้วย
ยิง่ ขึน
7. นักเรียนทีเ่ ก่งได้ชว่ ยเหลือนักเรียนทีอ่ อ่ น
ไพฑูรย์ ธรรมแสง ( 2519 : 23 - 24 ) ได้เสนอความคิดเห็นว่า
วิธีการฝึ กเขียน
สะกดคาควรใช้กจิ กรรมหลาย ๆ อย่างปนกัน เช่น

1. ก่อนอืน
่ ต้องให้เด็กรูจ้ ุดมุง่ หมายของการเขียนคา เพือ
่ ให้เด็กเขียนสะกด
คาได้ถูกวรรคตอนและลายมือเป็ นระเบียบเรียบร้อย

2. ให้เด็กรวบรวมคาทีเ่ ขียนผิดบ่อย
ๆ จากหนังสือพิมพ์ ป้ ายโฆษณา พร้อมทัง้ อธิบายได้วา่ ผิดตรงไหน
3. ให้มก
ี ารสะกดตัวบนกระดานดา
4. ให้ชว่ ยกันเขียนคายากด้วยอักษรงาม ๆ ปิ ดแผ่นป้ ายประกาศในห้องเ
รียน
5. ผูกคายากเป็ นร้อยกรองให้ทอ่ งจา
6. ส่งเสริมให้เปิ ดพจนานุกรมเมือ่ สงสัย
7. กาหนดศัพท์ให้เขียนเป็ นประโยค หรือเป็ นเรือ
่ งราว
8.ใช้กจิ กรรมเขียนประกาศ โฆษณา ชี้แจงการเขียนรายงาน เป็ นกิจก
รรมร่วมกับการ
เขียนคาบอก
9. ถ้าบอกให้เขียนเป็ นเรือ
่ งราว ต้องให้เด็กทาความเข้าใจเรือ
่ งทีจ่ ะเขียน
ได้อก
ี ด้วยก่อน
รวมทัง้ คาศัพท์ทยี่ ากด้วย
10. เมือ่ เขียนผิด ชี้แจงให้เด็กทราบว่าผิดอย่างไร แล้วแก้ไข
การเขียนคาทีถ
่ ูกต้องนัน
้ คือความสามารถเขียนคาโดยเรียงได้ลาดับพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกดได้ถูกต้อง
การสอนเขียนคาเป็ นทักษะทีต ่ อ
้ งอาศัยการฝึ กฝนจึงต้องใช้กจิ กรรมหลายๆ อย่าง เพือ
่ ให้
เด็กเกิดความเพลิดเพลิน และจดจาคาต่าง ๆ
ได้แม่นยา และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ดา้ นอืน ่ ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย

การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบ ัน มุง่ เน้นให้ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญในการเรียนรู ้


ซึง่ เป็ นสาระสาคัญทีก
่ าหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.
ศ. 2542 ในมาตรา 22 ดังนี้

มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
ผูเ้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูแ ้ ละพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผูเ้ รียนมีความสาคัญทีส่ ด

กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545)

จากสาระตามพระราชบัญญัตก ิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.
ศ. 2542 มาตรา 22 ดังกล่าว จะเห็นว่าสือ่ การเรียนการสอน
นับว่าเป็ นปัจจัยสาคัญอย่างยิง่ ทีจ่ ะส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางการเรียน
รูไ้ ด้หรือผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ สือ่ การเรียนการสอนประเภท “คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเอง
นับว่าเป็ นสือ่ ประเภทหนึ่งทีใ่ ห้ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนสูง ทัง้ นี้
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมีคุณสมบัตใิ นการนาเสนอแบบหลายสือ่
(Multimedia) ด้วยคอมพิวเตอร์
และการเรียนทีใ่ ช้เครือ ่ งคอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งมือเป็ นเพิม
่ ความน่ าสนใจให้แก่ผูเ้ รียน

ความหมายของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) หรือ ซีเอไอ
(CAI) มีผูส ้ รุปความหมายไว้คล้ายคลึงกันหลายความหมาย ดังต่อไปนี้
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนหรือโปรแกรมช่วยสอน
คือสือ่ ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนอันหนึ่ง CAI คล้ายกับสือ่ การสอนอืน ่ ๆ เช่น
วิดีโอช่วยสอน บัตรคาช่วยสอน โปสเตอร์
แต่คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนจะดีกว่าตรงทีต ่ วั สือ่ การสอน ซึง่ ก็คอ
ื คอมพิวเตอร์นน้ั
สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ไม่วา่ จะเป็ นการรับคาสั่งเพือ ่ มาปฏิบตั ิ
ตอบคาถามหรือไม่เช่นนัน ้ คอมพิวเตอร์ก็จะเป็ นฝ่ ายป้ อนคาถาม (นัยนา เอกบูรณวัฒน์ ,
2539)
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI : Computer Assisted
Instruction) หมายถึง การประยุกต์นาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน
โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึน ้ เพือ ่ นาเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial) แบบจาลองสถานการณ์ (Simulations) หรือ
แบบการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็ นต้น
การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็ นการเสนอโดยตรงไปยังผูเ้ รียนผ่านทางจอภาพหรือแป้ นพิมพ์
โดยเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้มส ี ว่ นร่วม
วัสดุทางการสอนคือโปรแกรมหรือ Courseware ซึง่ ปกติจะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์หรื
อหน่ วยความจาของเครือ่ ง
พร้อมทีจ่ ะเรียกใช้ได้ตลอดเวลา การเรียนในลักษณะนี้ ในบางครัง้ ผูเ้ รียนจะต้องโต้ตอบ
หรือตอบคาถามเครือ ่ งคอมพิวเตอร์ดว้ ยการพิมพ์
การตอบคาถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์ และจะ
เสนอแนะขัน ้ ตอนหรือระดับในการเรียนขัน ้ ต่อ ๆ ไป
กระบวนการเหล่านี้เป็ นปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน ้
ระหว่างผูเ้ รียนกับคอมพิวเตอร์ (ศิรช ิ ยั สงวนแก้ว, 2534)
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนหรื CAI คือ
การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรมการเรียน
การเรียนการสอนทีผ ่ า่ นคอมพิวเตอร์ประเภทใดก็ตาม กล่าวได้วา่ เป็ น
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนหรือ CAI มีคาทีใ่ ช้ในความหมายเดียวกันกับ CAI ได้แก่ Compu
ter-Assisted Learning (CAL) , Computer-aided Instruction (CaI) ,
Computer-aided Learning (CaL) เป็ นต้น (Hannafin & Peck, 1988)
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หรือบทเรียนซีเอไอ (Computer-Assisted
Instruction; Computer-Aided Instruction : CAI) คือ
การจัดโปรแกรมเพือ ่ การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสือ่ ช่วยถ่ายโยงเนื้อหาควา
มรูไ้ ปสูผ ่ ูเ้ รียน และปัจจุบน ั ได้มก ี ารบัญญัตศ ิ พ
ั ท์ทใี่ ช้เรียกสือ่ ชนิดนี้วา่
“คอมพิวเตอร์ชว่ ยการสอน” (วุฒช ิ ยั ประสารสอน, 2543)
จากความดังกล่าว
สามารถสรุปความหมายของ “คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน” หรือ CAI คือ
การนาคอมพิวเตอร์มาเป็ นเครือ ่ งมือสร้างให้เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือ ่ ให้ผูเ้ รียนนาไ
ปเรียนด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู ้ ในโปรแกรมประกอบไปด้วย เนื้อหาวิชา
แบบฝึ กหัด แบบทดสอบ ลักษณะของการนาเสนอ อาจมีทง้ ั ตัวหนังสือ ภาพกราฟิ ก
ภาพเคลือ ่ นไหว สีหรือเสียง เพือ ่ ดึงดูดให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจมากยิง่ ขึน ้
รวมทัง้ การแสดงผลการเรียนให้ทราบทันทีดว้ ยข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผูเ้ รียน
และยังมีการจัดลาดับวิธก ี ารสอนหรือกิจกรรมต่าง ๆ
เพือ ่ ให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนในแต่ละคน
ทัง้ นี้จะต้องมีการวางแผนการในการผลิตอย่างเป็ นระบบในการนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบ
ทีแ
่ ตกต่างกัน
คาภาษาอังกฤษทีใ่ ช้เรียก คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ได้แก่ Computer
Assisted Instruction (CAI), Computer Aided Instruction (CAI), Computer
Assisted Learning (CAL), Computer Aided Learning (CAL), Computer
Based Instruction (CBI), Computer Based Training (CBT), Computer
Administered Education (CAE) , Computer Aided Teaching
(CAT) แต่คาทีน ่ ิยมใช้ท่วั ไปในปัจจุบ ันได้แก่ Computer Assisted
Instruction หรือ CAI
นอกจากนัน ้
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเองยังมีลกั ษณะทีเ่ รียกว่า “บทเรียนสาเร็จรูป”
แต่เป็ นบทเรียนสาเร็จรูปโดยการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นตัวกลางแทนสิง่ พิมพ์หรือสือ่
ประเภทต่าง ๆ
ทาให้บทเรียนสาเร็จรูปในคอมพิวเตอร์มศ ี กั ยภาพเหนือกว่าบทเรียนสาเร็จรูปในรูปแบบ
อืน
่ ๆ
ทัง้ หมดโดยเฉพาะมีความสามารถทีเ่ กือบจะแทนครูทเี่ ป็ นมนุษย์ได้มข ี น
้ ั ตอนการสร้างแล

การพัฒนาบทเรียนเช่นเดียวกับบทเรียนสาเร็จรูปประเภทอืน ่ ๆ (ไพโรจน์ ตีรณธนากุล,
2528)
จากลักษณะของสือ่ ทีเ่ ป็ น “บทเรียนสาเร็จรูป” และสือ่ ทีเ่ ป็ น “คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน” จึงสา
มารถสรุปเป็ นความหมายของ“บทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์การสอน” (Computer
Instruction Package :CI Package ) ว่าหมายถึง
บทเรียนสาเร็จรูปทีส่ ร้างขึน ้ ในลักษณะซอฟต์แวร์สาเร็จรูป (Package
Software) นาไปสอน (Instruction) เนื้อหาใหม่
โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ ่ งมือในการเรียนการสอนบทเรียนหรือนาเสนอบทเรียน
ผูเ้ รียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ตามระดับความสามารถของตนเอง
ในบทเรียนมีแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน เพือ่ ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
จุดเด่นทีส่ าคัญของบทเรียน คือ การนาเสนอเนื้อหาในลักษณะหลายสือ่
(Multimedia) ได้แก่ประเภท ข้อความ (Text) รูปภาพ (Image) ภาพเคลือ ่ นไหว
(Animation) ภาพวิดีโอ (Video)และเสียง
(Audio) โดยทีผ ่ ูเ้ รียนจะมีโอกาสได้ปฏิสมั พันธ์
(Interactive) กับบทเรียนโดยผ่านเครือ ่ งไมโครคอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลา

บทที่ 3
วิธีการดาเนินงานโครงงาน

ผูจ้ ดั ทาโครงงานมีวธิ ีดาเนินงานโครงงาน ตามขัน


้ ตอนดังต่อไปนี้
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครือ
่ งมือหรือโปรแกรมหรือทีใ่ ช้ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรือ
่ ง
พัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1.1 เครือ
่ งคอมพิวเตอร์ พร้อมเชือ
่ มต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต
3.1.2 เว็บไซต์ทใี่ ช้ในการติดต่อสือ่ สาร เช่น www.google.com
3.2 ขัน
้ ตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพือ
่ นาเสนอครูทป
ี่ รึกษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ
่ งทีส่ นใจ
ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และต้อง
ศึกษาค้นคว้าเพิม ่ เติมเพียงใดจากเว็บไซต์ตา่ งๆ
และบันทึกเก็บข้อมูลทีไ่ ด้ศก ึ ษาและค้นคว้าจากเว็บไซต์หรือหนังสือต่างๆ
ไว้เพือ
่ จัดทาเนื้อหาต่อไป
3.2.3 ศึกษาการสร้างเว็บบล็อกทีส่ ร้างจากเว็บไซต์หรือหนังสือต่างๆ
ทีน
่ าเสนอเทคนิค วิธีการสร้างเว็บบล็อก
3.2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
3.2.5 นาร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สง่ ให้ครูทป
ี่ รึกษาโครงงานดูวา่ ใช้ได้หรือไม่
3.2.6 ปฏิบตั ก
ิ ารจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรือ
่ งพัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศโ
ดยการทาลงใน

คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) คืออะไร?


CAI ย่อมาจากคาว่า COMPUTER-ASSISTED หรือ AIDED
INSTRUCTIONคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) หมายถึง
สือ่ การเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
ซึง่ ใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสือ่ ประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
กราฟิ ก แผนภูมิ กราฟ วีดีทศั น์ ภาพเคลือ ่ นไหว และเสียง เพือ ่ ถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน
หรือองค์ความรูใ้ นลักษณะที่
ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากทีส่ ด ุ โดยมีเป้ าหมายทีส่ าคัญก็คอ

สามารถดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียน และกระตุน ้ ให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู ้
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเป็ นตัวอย่างทีด ่ ีของสือ่ การศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว
ซึง่ ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูจ้ ากการมีปฏิสมั พันธ์
หรือการโต้ตอบพร้อมทัง้ การได้รบั ผลป้ อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยงั เป็ นสือ่
ทีส่ ามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผูเ้ รียนได้เป็ นอย่างดี
รวมทัง้ สามารถทีจ่ ะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียนได้ตลอดเวลา

คุณลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI)


คุณลักษณะทีเ่ ป็ นองค์ประกอบสาคัญของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 4 ประการ
ได้แก่
1. สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระทีไ่ ด้รบ
ั การเรียบเรียง
ทาให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู ้
หรือได้รบั ทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามทีผ ่ ส
ู้ ร้างได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้
การนาเสนออาจเป็ นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมก็ได้ ทางตรงได้แก่
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนประเภทติวเตอร์ เช่นการอ่าน จา ทาความเข้าใจ ฝึ กฝน ตัวอย่าง
การนาเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนประเภทเกมและการจาลอง
2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
(Individualization) การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
คือลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู ้ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
เป็ นสือ่ ประเภทหนึ่งจึงต้องได้รบั การออกแบบให้มลี กั ษณะทีต ่ อบสนองต่อความแตกต่างร
ะหว่างบุคคลให้มากทีส่ ด ุ
3. การโต้ตอบ
(Interaction) คือการมีปฏิสมั พันธ์กน ั ระหว่างผูเ้ รียนกับคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนการเรียน
การสอนรูปแบบทีด ่ ีทสี่ ด
ุ ก็คอ
ื เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้มป
ี ฏิสมั พันธ์กบั ผูส
้ อนได้มากทีส่ ด

4.การให้ผลป้ อนกลับโดยทันที (Immediate
Feedback) ผลป้ อนกลับหรือการให้คาตอบนี้ถือเป็ นการ เสริมแรงอย่างหนึ่ง
การให้ผลป้ อนกลับแก่ผเู้ รียนในทันทีหมายรวมไปถึงการทีค ่ อมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีส่ มบูร
ณ์ จะต้องมีการ ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผูเ้ รียนในเนื้อหาหรือทักษะต่าง ๆ
ตามวัตถุประสงค์ทก ี่ าหนดไว้

ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI)


1. ช่วยให้ผูเ้ รียนทีเ่ รียนอ่อน
สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึ กฝนทักษะ และเพิม ่ เติมความรู ้
เพือ
่ ปรับปรุงการเรียนของตน
2. ผูเ้ รียนสามารถนาคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเว
ลา และสถานทีท ่ ส ี่ ะดวก
3. คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนสามารถทีจ่ ะจูงใจผูเ้ รียนให้เกิดความกระตือรือร้น
สนุกสนานไปกับการเรียน

ข้อพึงระวังของการใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
ผูส
้ อนจะต้องมีความพร้อม ความชานาญในการสอนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
ผูส้ อนควรมีการวางแผน และเตรียมความพร้อมให้แก่ผูเ้ รียนให้รอบคอบ
ก่อนนาคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไปใช้อย่างเหมาะสม
การผลิตคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีไ่ ด้มาตรฐานเป็ นสิง่ สาคัญมาก
หากคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไม่ได้รบั การออกแบบอย่างเหมาะสม
จะทาให้ผูเ้ รียนรูส้ ก ึ เบือ่ หน่ ายและไม่ตอ
้ งการใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนนัน้ ๆ
ผูท ้ ส ี่ นใจสร้างคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนควรทีค ่ านึงเวลาในการผลิตว่า
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีไ่ ด้มาตรฐานนัน ้ ต้องใช้เวลาเท่าไร
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน

จากโครงงานภาษาไทยสะกดคาผลการดาเนินงานทีไ่ ด้จากการทดสอบแบบฝึ กการเขียนส


ะกดคา ก่อนและหลังฝึ กเรียนของนักเรียนกลุม
่ ตัวอย่าง
ได้ผลการดาเนินงานวิเคราะห์ขอ
้ มูลดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนทีน
่ กั เรียนทดสอบจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน
ที่ ชือ
่ - สกุล คะแนนสอบก่อนเรียน คะแนนสอบหลังเรียน
1 นายภานุพงศ์ คลังฤทธ์ 6 11
2 นายทวีศกั ดิ ์ สาเภา 9 10
3 นายธนดล แสงสกุล 9 14
4 นายปฏิภาน พิมพ์สา 7 10
5 นายสายฟ้ า วัยวัฒน์ 7 11

ตารางที่ 2 แสดงคะแนนทีน
่ กั เรียนสอบได้จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน
ที่ ชือ่ - สกุล ่ อนเรียน คะแนนเฉลียหลั
คะแนนเฉลียก่ ่ งเรียน
1 นายภานุพงศ์ คลังฤทธ์ 30% 55%
2 นายทวีศกั ดิ ์ สาเภา 45% 50%
3 นายธนดล แสงสกุล 45% 75%
4 นายปฏิภาน พิมพ์สา 35% 50%
5 นายสายฟ้ า วัยวัฒน์ 35% 55%
รวม 32% 56%
บทที่ 5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ

จากโครงงานภาษาไทยสะกดคานักศึกษาทีเ่ ขียนสะกดคาไม่ถูกต้องของนักศึกษาชั้
นปี ที่ 1 ของสถาบันการพละศึกษา
วิทยาเขตศรีสะเกษ จานวน 5 คน พบว่าการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคา ทาให้
ผลสัมฤทธิใ์ นการเขียนสะกดคาภายหลังการทดลองสูงกว่าผลสัมฤทธิใ์ นการเขียนสะกดคา
ก่อนทดลอง ร้อยละ 56 อยูใ่ นเกณฑ์พอใช้ เพิม
่ ขึน้ จากเดิม ร้อยละ 24 ซึง่ แต่ละคน
มีคะแนนสูงขึน ้ คือ
1. นายภานุพงศ์ คลังฤทธ์ เพิม ้ ร้อยละ
่ ขึน 25
2. นายทวีศกั ดิ ์ สาเภา เพิม ้ ร้อยละ
่ ขึน 5
3. นายธนดล แสงสกุล เพิม ้ ร้อยละ
่ ขึน 25
4. นายปฏิภาน พิมพ์สา เพิม ้ ร้อยละ
่ ขึน 15
5. นายสายฟ้ า วัยวัฒน์ เพิม ้ ร้อยละ
่ ขึน 20

ซึง่ ผลการวิจยั ในครัง้ นี้เป็ นไปตามสมมุตฐิ านทีต


่ ง้ ั ไว้ แสดงว่าการใช้แบบฝึ กทั
กษะการเขียนสะกดคา ทาให้นกั ศึกษามีความสามารถในการเขียนสะกดคาสูงขึน ้

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในด้านการเรียนการสอน
1.1 จากผลการดาเนินงาน พบว่า
แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคายากทาให้นกั ศึกษาเกิดการ เรียนรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
จึงควรได้รบั การส่งเสริมให้ครูผูส
้ อนได้มก
ี ารสร้างแบบ
ฝึ กโดยวิเคราะห์คามาก่อนว่าคาใดเป็ นคายากสาหรับนักศึกษาและใช้แบบฝึ กเข้าช่วยใน
การสอนสะกดคา จะเป็ นการช่วยลดภาระและเวลาในการสอนของอาจารย์ลงไปได้ เพราะ
แบบฝึ กลักษณะนี้สามารถใช้สอนนอกเวลาได้และเด็กเรียนด้วยตนเองเป็ นรายบุคคล
ได้อกี ด้วย
1.2 การสอนเขียนสะกดคาเป็ นเรือ ่ งทีเ่ ด็กไม่คอ่ ยชอบเรียน
โดยเฉพาะเด็กทีม ่ ป
ี ญ ั หาด้าน
การเขียนจะรูส้ กึ เบือ่ หน่ ายและวิตกกังวลทุกครัง้ ทีจ่ ะต้องเรียนเรือ่ งการเขียนสะกดคา ดัง
นัน
้ อาจารย์จงึ ต้องหาวิธแ ี ละรูปแบบทีจ่ ะทาบทเรียนให้สนุกสนานน่ าสนใจ
โดยหากิจกรรม แปลก ๆ ใหม่ ๆ มาประกอบการสอนอยูเ่ สมอ
การใช้แบบฝึ กการเขียนสะกดคาจะช่วยแก้
ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรือ ่ งนี้ได้และเป็ นวิธีหนึ่งทีท
่ าให้นกั เรียนไม่เบือ่
หน่ ายการเรียน ในการสร้างแบบฝึ กหัดสาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษานัน ้ ควรมีรูป
ภาพประกอบให้มากและรูปภาพนัน ้ ต้องแจ่มชัดพอทีจ่ ะสือ่ ความหมายได้ตามระดับ
ความสามารถของผูเ้ รียน
แบบฝึ กแต่ละชุดไม่ควรให้มค ี ามากและใช้เวลาในการทานานจน เกินไป
1.3 ในการสอนเขียนสะกดคา
อาจารย์ควรเน้นทีค ่ วามหมายของคาก่อนเพราะจะช่วยทาให้นกั ศึกษาเขียนสะกดคาได้ดข ี ึ้
น โดยเฉพาะคาพยางค์เดียวเพราะมีคาพ้องเสียงอยูม ่ าก
ถ้าอาจารย์ผูส ้ อนยังไม่มแ ี บบฝึ กหัด อย่างน้อยควรใช้บตั รคา บัตรความหมายคา
เปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย
จากการทีผ ่ วู้ จิ ยั สังเกตพบในกลุม ่ ควบคุม ถ้า
ครัง้ ใดทีอ่ าจารย์ผูส ้ อนใช้บตั รคาและบัตรความหมาย
นักศึกษาจะสนใจและรูส้ ก ึ สนุกสนานที่
จะได้เข้าร่วมกิจกรรมกับอาจารย์ดงั นัน ้ อาจารย์ไม่ควรสอนการเขียนสะกดคาวิธีการให้น ั
กเรียน เขียนตามคาบอกและทาแบบฝึ กหัดคาถูก-ผิด เท่านัน ้
ควรสอนคาและความหมายของคา ก่อนทุกครัง้ ทีจ่ ะมีการเขียนตามคาบอก
จะช่วยให้นกั เรียนเขียนสะกดคาได้ดีขน ึ้
1.4 ควรมีการสนับสนุนและร่วมมือกันในกลุม ่ อาจารย์ผูส
้ อนกลุม
่ ทักษะภาษาไทย
โดยการ สร้างแบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคาในแต่ละบทเรียน
โดยนาคาทีม ่ ค
ี วามยากปานกลาง ถึงยากมากในบทเรียนนัน ้ ๆ มาสร้างเป็ นแบบฝึ ก
เพือ
่ ให้สมั พันธ์กบั คูม
่ อ
ื การสอนภาษา ไทย แบบเรียนภาษาไทย
ให้เด็กได้ฝึกในเวลาทาการสอนแต่ละบทเรียน
1.5 อาจารย์ควรเป็ นแบบอย่างทีด
่ ีในการเขียนสะกดคาให้แก่ผูเ้ รียน
และอาจารย์ทก
ุ คนในสถาบันควร ร่วมมือกันแก้ไข
ถ้าพบว่าเด็กนักศึกษาคนใดเขียนสะกดคาผิดจะต้องแก้ไขให้ถูกต้องทันที อย่าปล่อยทิง้ ไว้
เพราะจะทาให้นกั ศึกษาเกิดความคงทนในคาผิดนัน
้ ๆ
้ นี้
1.6 แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคายากของผูว้ จิ ยั ได้สร้างขึน
ได้รวบรวมคายากของพจนาณุ กรมไทย จึงสมควร
ใช้แบบฝึ กนี้เพือ่ สอนซ่อมเสริมนักเรียนตอนปลายปี หรือเลือกสอนเฉพาะแบบฝึ กที่
สัมพันธ์กบั เนื้อหาในแต่ละบทเรียน
1.7 ในการทาแบบฝึ กแต่ละครัง้ ของนักศึกษา
อาจารย์ผูส ้ อนจะต้องเฉลยทันทีและชี้แจงข้อ บกพร่อง
ข้อสังเกตในการทีจ่ ะแก้ไขและจดจา เพือ ่ ให้นกั เรียนทราบความสามารถของ ตน
พร้อมทัง้ แนวทางในการแก้ไขและพัฒนาความสามารถในการเขียนสะกดคาของตน
้ ในครัง้ ต่อไปได้
ให้ดียงิ่ ขึน
1.8 ในการสอนเขียนสะกดคาแต่ละครัง้ ควรมีทง้ ั คาทีค
่ อ่ นข้างง่ายจนไปถึงคายาก
ส่วนคา
ทีม
่ ค ้ และควรสอนให้มค
ี วามยากมากอาจารย์จะต้องใช้เวลาฝึ กให้มากยิง่ ขึน ี วามสัมพันธ์ก ั
นทัง้ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
โดยเฉพาะการอ่านสะกดคาจะมีสว่ นช่วยให้ นักเรียนเขียนสะกดคาได้ถก ้
ู ต้องขึน

2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ครัง้ ต่อไป

2.1ควรศึกษาผลความก้าวหน้าในการเขียนสะกดคาจากการสอนซ่อมเสริมผูเ้ รียนทีอ่ อ่ นท
าง ด้านการเขียนสะกดคา โดยใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคายาก
2.2 ควรศึกษาผลของการใช้แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคายาก
เปรียบเทียบกับการใช้ เกม หรือกิจกรรมอืน่ ๆ ในการสอนเขียนสะกดคา
ทีส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาการเขียนสะกดคาของนักศึกษา
เอกสารอ้างอิง

นายประยงค์ โชติการณ์ . การทดลองสอนโดยใช้แบบฝึ กทักษะการเรียนสะกดคา


ยากกลุม
่ ทักษะภาษาไทยกับนักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2 . กาฬสินธุ์ , 2533
นางภัทรานิษฐ์ ธรรมศิรริ กั ษ์ . การแก้ปญ
ั หาการเขียนคาภาษาไทยไม่ถก
ู ต้องของ
นักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 โดยใช้แบบฝึ กหัดเขียนไทย.

You might also like