You are on page 1of 259

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเติม

กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6
ระดับมัธยมศึกษา​ตอนปลาย
กลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
• ออกแบบการเรียนรู้โดยใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียน​รูเป็นเป้าหมาย
• ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
• ใช้แนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ
อย่างหลากหลาย
• ออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะสำคัญของนักเรียนในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
• แบ่งแผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมง สะดวกแกการใช้
• มีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
• นำไปพัฒนาเป็นผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้

ผลิตและจัดจำหนายโดย บริษัท สำนักพิมพวัฒนาพานิช จำกัด

ว�ฒนาพานิช สำราญราษฎร
216–220 ถนนบำรุงเมือง แขวงสำราญราษฎร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
โทร. 02 222 9394 • 02 222 5371–2 FAX 02 225 6556 • 02 225 6557
email: info@wpp.co.th
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม

กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุมสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
B
ī
หามละเมิด ทำ​ซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร
สวน​หนึ่ง​สวน​ใด เวนแตจ​ ะ​ได​รับ​อนุญาต
ผูเรียบเรียง
ปรางค​สุวรรณ ศักดิ์​โสภณ​กุล  ​น.บ., ค.ม.
บรรณาธิการ
​สุระ ดา​มา​พงษ กศ.บ., กศ.ม.
ดร.​พิษ​ณุ  เพชร​พัช​รกุล  ศษ.บ., ศศ.ม., กจ.ด.
พง​ษศักดิ์  แคลวเครือ  ศศ.บ. (เกียรตินิยม), ร.ม.

ISBN 978-974-18-6390-7
พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผู้จัดการ

สื่อการเรียนรู้ระดับ ม.ตน–ม.ปลาย กลุมส​ าระ​การเรียน​รูสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม


ตามหลักสูตรแกนกลางการ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
• หนังสือเรียน (ศธ. อนุญาต) • แบบฝึกทักษะ • ฉบับสมบูรณ์แบบ • แผนฯ (CD)
ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา ม. 1–3................... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์​และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) หนาที่​พลเมืองฯ ม. 1–3.................................. รศ.ธวัช ทัน​โตภาส และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) เศรษฐศาสตร ม. 1–3.................................... ดร.ขวัญ​นภา สุขคร และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) ประวัติ​ศาสตร ม. 1–3..............................รศ. ดร.ไพฑูรย มี​กุศล และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) ภูมิศาสตร ม. 1–3.........................................ผศ.สมมต สมบูรณ​และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) สังคม​ศึกษา​ม. 1–3........................................ รศ.ธวัช ทัน​โตภาส และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แผนฯ (CD) กฎหมายนารู ม. 1–3.......................................................................................................ปรา​งคสุวรรณ ศักดิ์​โสภณ​กุล
ระดับมัธยมศึกษา​ตอนปลาย
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 1 ม. 4–6............... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์​และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 2 ม. 4–6............... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์​และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 3 ม. 4–6............... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์​และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) หนาทีพ ่​ ลเมืองฯ ม. 4–6 เลม 1....................... รศ.ธวัช ทัน​โตภาส และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) หนาที่​พลเมืองฯ​ม. 4–6 เลม 2....................... รศ.ธวัช ทัน​โตภาส และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) หนาทีพ ่​ ลเมืองฯ​ม. 4–6.................................. รศ.ธวัช ทัน​โตภาส และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) เศรษฐศาสตร ม. 4–6.................................... ดร.ขวัญ​นภา สุขคร และ​คณะ
​หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) ประวัติ​ศาสตร​ม. 4–6 เลม 1....................รศ. ดร.ไพฑูรย มี​กุศล และ​คณะ
​หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) ประวัติ​ศาสตร​ม. 4–6 เลม 2....................รศ. ดร.ไพฑูรย มี​กุศล และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แบบ​ฝก​ทักษะ • ฉบับ​สมบูรณแบบ • แผนฯ (CD) ภูมิศาสตร ม. 4–6.........................................ผศ.สมมต สมบูรณ และ​คณะ
หนังสือ​เรียน • แผนฯ (CD) กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6.....................................................................................ปรา​งคสุวรรณ ศักดิ์​โสภณ​กุล
คำนำ
คูมือ​ครู แผนการ​จัดการ​เรียนรู รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6 ระดับ​
มัธยมศึกษา​ตอนปลาย เลม​นี้​เปน​สื่อ​การ​เรียนรู​ที่​จัด​ทำขึ้น​เพื่อ​ใช​เปนแนว​ทางใน​การ​จัดการ​เรียนรู​โดย​ยึด​
หลักการ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด Backward Design ที่​เนน​ผูเรียน​เปน​ศูนยกลาง
(Child-Centered) ตาม​หลักการ​เนนผ​ เู รียน​เปนสำคัญ ใหน​ กั เรียน​มส​ี ว นรวม​ใน​กจิ กรรม​และ​กระบวนการ​
เรียนรู สามารถ​สราง​องคความรู​ได​ดวย​ตน​เอง ทั้งเปน​รายบุคคล​และ​เปนกลุม บทบาท​ของ​ครู​มี​หนาที่​เอื้อ
อำนวย​ความ​สะดวก​ให​นักเรียน​ประสบผล​สำเร็จ โดย​สราง​สถานการณ​การ​เรียนรู​ทั้ง​ใน​หองเรียน​และ
​นอก​หองเรียน ทำให​นักเรียน​สามารถ​เชื่อมโยง​ความรู​ใน​กลุม​สาระ​การ​เรียนรู​อื่น ๆ ได​ใน​เชิง​บูรณาการ​
ดวย​วิธีการ​ที่​หลากหลาย เนน​กระบวนการ​คิด​วิเคราะห สังเคราะห และ​สรุป​ความรู​ดวย​ตน​เอง ทำให​
นักเรียน​ไดรบั ก​ าร​พฒ ั นา​ทงั้ ด​ า น​ความรู ด​ า น​คณ
ุ ธรรม จริยธรรม และ​คา นิยม และ​ดา น​ทกั ษะ/กระบวนการ​
ทีด่​ ี นำไปสู​การ​อยู​รวมกัน​ใน​สังคม​อยาง​สันติสุข
การ​จัดทำ​คูมือ​ครู แผนการ​จัดการ​เรียนรู รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย ​เลม​นี้​ได​จัด​ทำตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ภายใน​เลม​ได​นำเสนอ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​เปนราย​ชั่วโมง​ตาม​หนวย​การ​เรียนรู เพื่อให​ครู​นำ
ไปใช​ในการ​จัดการ​เรียนรู​ได​สะดวก​ยิ่งขึ้น นอกจากนี้​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู​ยังมี​การ​วัด​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรูท​ งั้ 3 ดาน ไดแก ดาน​ความรู ดาน​คณ ุ ธรรม จริยธรรม และ​คา นิยม และ​ดา น​ทกั ษะ/กระบวนการ
ทำให​ทราบ​ผล​การ​เรียนรู​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน​ได​ทันที
คูมือ​ครู แผนการ​จัดการ​เรียนรู​นำเสนอ​เนื้อหา​แบง​เปน 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1  คำ​ชี้แจง​การ​จัด​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ประกอบดวย​แนวทาง​การ​ใช​แผนการ​จัดการ​
เรียนรู การ​ออกแบบการจัด​การ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด Backward Design เทคนิค​และ​วิธีการ​จัดการ​
เรียนรู–การ​วัด​และ​ประเมินผลการเรียน​รู กลุม​สาระสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ตาราง​วิเคราะห​
ผลการ​เรียนรูกับ​สาระ​การ​เรียนรู​ใน​หนวย​การ​เรียนรู และ​โครงสราง​การ​แบงเวลา​ราย​ชั่วโมง​ใน​การ​จัดการ​
เรียนรู
ตอนที่ 2  แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ ได​เสนอ​แนะแนวทาง​การ​จัดการ​เรียนรู​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู​
ใน​หนังสือเ​รียน แบงเ​ปนแ​ ผน​ยอ ย​ราย​ชวั่ โมง ซึง่ แ​ ผนการ​จดั การ​เรียนรูแ​ ตละ​แผนมีอ​ งคประกอบ​ครบถวน​
ตาม​แนวทาง​การ​จัดทำ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ของ​สถานศึกษา
ตอนที่ 3  เอกสาร/ความรู​เสริม​สำหรับ​ครู ประกอบดวย​แบบทดสอบ​ตาง ๆ และ​ความรู​เสริม​
สำหรับ​ครู ซึ่ง​บันทึก​ลง​ใน​แผน​ซีดี (CD) เพื่อ​อำนวย​ความ​สะดวก​ให​ครู​ใช​ใน​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู
คูมือ​ครู แผนการ​จัดการ​เรียนรู รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6 ระดับ​
มัธยมศึกษา​ตอนปลาย เลม​นี้​ได​ออกแบบ​การ​เรียนรู​ดวย​เทคนิค​และ​วิธีการ​สอน​อยาง​หลากหลาย หวัง​วา​
จะ​เปน​ประโยชน​ตอ​การ​นำไป​ประยุกต​ใช​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู​ให​เหมาะสมกับ​สภาพแวดลอม​ของ​นักเรียน​
ตอไป

คณะ​ผูจัดทำ
สารบัญ
ตอนที่ 1 คำ​ชี้แจง​การ​จัด​แผนการ​จัดการ​เรียนรู................................................................1
G แนวทาง​การ​ใช​แผนการ​จัดการ​เรียนรู................................................................................. 2
G การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด Backward Design............................................ 5
G เทคนิค​และ​วิธีการ​จัดการ​เรียนรู–การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
กลุม​สาระ​การ​เรียนรู​สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม....................................................17
G ตาราง​วิเคราะห​ผล​การ​เรียนรู​กับ​สาระ​การ​เรียนรู​ใน​หนวย​การ​เรียนรู.....................................19
G โครงสราง​การ​แบงเวลา​ราย​ชั่วโมง​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู........................................................20

ตอนที่ 2 แผนการ​จัดการ​เรียนรู...................................................................................22
หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  1  ความ​หมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย........................................23
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................23
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 1 ความ​หมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย............................................24
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  1  ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่นม​ ี​กฎหมาย.............................................26
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  2  ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย...........29
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  3  ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น.....................33

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  2  ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย.................................................37
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................37
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 2 ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย......................................................38
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  4  ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย.....................................40

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  3  ประเภท​ของ​กฎหมาย....................................................................45
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................45
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 3 ประเภท​ของ​กฎหมาย...........................................................................46
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  5  ประเภท​ของ​กฎหมาย........................................................48

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  4  กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร.......................................52
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................52
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 4 กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร...........................................53
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  6  ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​การ​ยก​รางกฎหมาย................................55
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  7  การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​กฎหมาย.........................58
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  8  ลำดับชั้นข​ อง​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร..................................62

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  5  การ​บังคับใช​กฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใช​กฎหมาย.......................65
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................65
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่  5  การ​บังคับใชก​ ฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใช​กฎหมาย......................66
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  9  การ​บังคับใช​กฎหมาย​และ​การ​สิ้นผ​ ล​การ​บังคับใช​กฎหมาย...........68

หนวย​การ​เรียนรูท​ ี่  6  รัฐธรรมนูญ...............................................................................72


ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................72
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 6 รัฐธรรมนูญ........................................................................................73
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  10  รัฐธรรมนูญ..................................................................75

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  7  หลัก​กฎหมายแพง.......................................................................79
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................79
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 7 หลัก​กฎหมายแพง...............................................................................80
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  11  หลัก​กฎหมายแพง..........................................................82

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  8  หลัก​กฎหมายอาญา......................................................................86
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................86
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 8 หลัก​กฎหมายอาญา..............................................................................87
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  12  หลัก​กฎหมายอาญา.........................................................89

หนวย​การ​เรียนรู​ที่  9  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร
และ​บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน...........................................................93
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน.............................................................93
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 9 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน..............94
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  13  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร
​และ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน..............................................96

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  10  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก................................................101


ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน...........................................................101
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 10 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก.....................................................102
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  14  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก.....................................104

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่ 11 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​ผูบริโภค............................................108
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน...........................................................108
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 11 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค..............................................109
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  15  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​ผูบริโภค...............................111

หนวย​การ​เรียนรู​ที่  12  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร............................................115


ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน...........................................................115
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 12 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหาร.................................................116
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  16  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร.................................118

หนวย​การ​เรียนรู​ที่  13  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติด​ใหโทษ...............................................122
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน...........................................................122
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 13 กฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติด​ใหโทษ.....................................................123
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  17  กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติด​ใหโทษ....................................125

หนวย​การ​เรียนรูที​ ่  14  ปญหา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข...............129
ผัง​มโนทัศน​เปาหมาย​การ​เรียนรู​และ​ขอบขาย​ภาระ​งาน...........................................................129
ผัง​การ​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 14 ปญหา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกันแ​ กไข................130
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่  18  ปญหา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย
​ และ​แนวทาง​ปองกันแ​ กไข..............................................132
ตอน​ที่ 1
คำชี้แจงการจัดแผนการ​จัดการเรียน​รู
รายวิชาเพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู
กลุม​สาระ​การเรียน​รูสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม
2   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้

คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​รายวิชา​เพิ่มเติม ​กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู​ม. 4–6 เลม​นี้ ​จัด​ทำ


ขึ้น​เพื่อ​เปน​แนวทาง​ให​ครู​ใช​ประกอบการ​จัดการ​เรียนรู​กลุม​สาระ​การ​เรียนรู​สังคมศึกษา ​ศาสนา ​และ​
วัฒนธรรม ​ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย ​ซึ่งก​ าร​แบงห​ นวย​การ​เรียนรูส​ ำหรับ​จัดทำ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​
ราย​ชั่วโมง​ใน​คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​เลม​นแี้​ บง​เนื้อหา​เปน ​14​ ​​หนวย ​เพื่อใ​ห​สามารถ​ใช​ควบคู​กับ​
หนังสือ​เรียน ​รายวิชา​เพิ่มเติม ​กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6 ​ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย​ได​
ประกอบดวย​หนวย​การ​เรียนรู ด​ ังนี้
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 1 ความ​หมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 2​​ ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 3​​ ประเภท​ของกฎหมาย ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 4​​ กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร ​​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 5​​ การ​บังคับ​ใชก​ ฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับ​ใช​กฎหมาย
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 6​​ รัฐธรรมนูญ ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 7​​ หลักกฎหมาย​แพง ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 8​ ​หลักก​ ฎหมายอาญา ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​ 9​​ กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน ​​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​1​0​ กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​1​1​ ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​1​2​​ กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหาร ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​1​3​​ กฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติด​ใหโทษ ​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่ ​1​4​​ ปญห​ า​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปอง​กัน​แกไข ​​
​ ​คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​เลมนี้​ได​นำเสนอ​รายละเอียด​ไว​ครบถวน​ตาม​แนวทาง​การ​จัด​
แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​นอกจากนี้​ยัง​ได​ออก​แบบ​กิจ​กรรมการ​เรียน​การ​สอน​ให​นักเรียน​ได​พัฒนา​
องคความรู ​สมรรถนะ​สำคัญ ​และ​คุณลักษณะ​อัน​พึงประสงค​ไว​อยาง​ครบถวน​ตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​
การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน ​พุทธศักราช ​2​5​5​1​ ​ครู​ควร​ศึกษา​คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูเลม​นี้​ให​ละเอียด​
เพื่อ​ปรับใ​ช​ให​สอดคลองกับ​สภาพ​แวดลอม ส​ ถานการณ ​และ​สภาพ​ของ​นักเรียน ​
​ ​ใน​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู​จะ​แบง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ออก​เปนราย​ชั่วโมง ​ซึ่ง​มี​จำนวน​มาก​นอย
​ไม​เทา​กัน ​ขึ้น​อยู​กับ​ความ​ยาว​ของ​เนื้อหา​สาระ ​และ​ใน​แตละ​หนวย​การ​เรียนรูม​ ี​องคประกอบ​ดังนี้
​ ​1​.​ ผ​ งั ม​ โนทัศนเ​ปาหมาย​การ​เรียนรูแ​ ละ​ขอบขาย​ภาระ​งาน แ​ สดง​ขอบขาย​เนือ้ ห​ า​การ​จดั การ​เรียนรู​
ที่​ครอบคลุม​ความรู ​ทักษะ/​กระบวนการ ค​ ุณธรรม ​จริยธรรม ค​ านิยม ​และ​ภาระ​งาน/​ชิ้นงาน
​ ​2​.​ ​กรอบ​แนวคิด​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​ ​D​e​s​i​g​n​ ​(​B​ac​​k​w​a​r​d​
D​e​s​i​g​n​ ​T​em ​ ​p​la​ ​t​e)​​ ​เปนก​ รอบ​แนวคิดใ​น​การ​จัดการ​เรียนรูข​ อง​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู ​แบง​เปน ​3​ ​ขั้น​
ได​แก
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   3

​ขั้น​ที่ ​1​ ​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​นักเรียน


​ ​ ​ขั้น​ที่ ​2​ ​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมินผล​การ​เรียนรูซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน​มี​ผล
การ​เรียนรู​ตาม​ที่​กำหนด​ไวอ​ ยาง​แทจริง ​
​ ​ ​ขั้น​ที่ ​3 ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​จะ​ระบุ​วา​ใน​แตละ​หนวย​การ​เรียนรูแ​ บง​เปน​แผนการ​จัดการ​
เรียนรู​กี่​แผน ​และ​แตละ​แผน​ใชเวลา​ใน​การ​จัด​กิจกรรม​กี่​ชั่วโมง
​ ​3​. ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ราย​ชั่วโมง ​เปน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​กรอบ​แนวคิด​การ​ออก​แบบ​
การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด B​ ​a​ck​​w​ar​​d​​De​ ​s​ig​ ​n​​ประกอบดวย
​ ​ ​3​.​1​ ​ชื่อ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​ประกอบดวย​ลำดับ​ทขี่​ อง​แผน ​ชื่อ​แผน ​และ​เวลา​เรียน ​เชน​
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ ​1​​เรื่อง ​ที่ไหน​มี​สังคม ท​ ี่นั่น​มี​กฎหมาย ​เวลา ​1​​ชั่วโมง
​ ​ ​3​.​2 ส​ าระสำคัญ เ​ปนค​ วามคิดร​วบยอด​ของ​เนือ้ หา​ทน​ี่ ำมา​จดั การ​เรียนรูใ​ น​แตละ​แผนการ​จดั การ​
เรียนรู
​ ​ ​3​.​3​ ผล​การ​เรียนรู ​เปนการ​ระบุ​ผล​การ​เรียนรู​ที่​สอดคลองกับ​มาตรฐาน​การ​เรียนรู​ของ​แผน
การ​จัดการ​เรียนรู​นี้
​ ​ ​3​.​4​ ​จุดประสงค​การ​เรียนรู ​เปน​สวน​ที่​บอก​จุด​มุงหมาย​ที่​ตองการ​ให​เกิดขึ้น​กับนักเรียน​
ภายหลัง​จาก​การ​เรียนจบ​ใน​แตละ​แผน ​ทั้ง​ในดาน​ความรู ​(​K​)​ ​ดาน​คุณธรรม ​จริยธรรม ​และ​คานิยม
(​A​)​ ​และ​ดาน​ทักษะ/​กระบวนการ ​(​P​)​ ​ซึ่ง​สอดคลอง​สัมพันธกับ​ผล​การ​เรียนรู​และ​เนื้อหา​ใน​แผนการ​
จัดการ​เรียนรู​นั้น ​ๆ​
​ ​ ​3​.​5 การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู ​เปนการ​ตรวจสอบ​ผล​การ​จัดการ​เรียน​รูวา​หลังจาก​
จัดการ​เรียนรู​ใน​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​แลว ​นักเรียน​มี​พัฒนาการ ​มี​ผล​สัมฤทธิ์​ทาง​การ​เรียน ​ตาม​
เปาหมาย​ที่คาดหวัง​ไว​หรือ​ไม ​และ​มี​สิ่ง​ที่​จะ​ตอง​ไดรับ​การ​พัฒนา​ปรับปรุง​สงเสริม​ในดาน​ใด​บาง ​ดัง​นั้น​
ใน​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​จึง​ได​ออก​แบบ​วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ใน​การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​
ดาน​ตาง ​ๆ​ ​ของ​นักเรียน​ไวอ​ ยาง​หลากหลาย ​เชน ​การ​ทำ​แบบทดสอบ ​การ​ตอบ​คำ​ถาม​สั้น ​ๆ​ ​การ​ตรวจ​
ผล​งาน ​การ​สังเกต​พฤติกรรม​ทั้งท​ ี่​เปน​รายบุคคล​และ​เปนกลุม ​เปนตน ​โดย​เนน​การ​ปฏิบัติ​ให​สอดคลอง​
และ​เหมาะสมกับ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​และ​ผล​การ​เรียนรู
​ ​ วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ใน​การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​เหลานี้​ครู​สามารถ​นำไป​ใช​ประเมิน​
นักเรียน​ได ​ทั้ง​ใน​ระหวาง​การ​จัดการ​เรียนรู​และ​การ​ทำ​กิจกรรม​ตาง ​ๆ​ ​ตลอดจน​การนำ​ความรู​ไป​ใช​ใน​
ชีวิต​ประจำวัน
​ ​ ​3​.​6 ​สาระ​การ​เรียนรู ​เปน​หัวขอที่​นำมา​จัดการ​เรียนรู​ใน​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​ซึ่ง​
สอดคลองกับ​สาระ​การ​เรียนรูแ​ กนกลาง
​ ​ ​3​.​7 ​แนวทาง​การบูรณาการ ​เปนการ​เสนอ​แนะ​แนวทาง​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ใน​เรื่อง​
ที่​เรียนรู​ของ​แตละ​แผน​ให​เชื่อมโยง​สัมพันธกับ​สาระ​การ​เรียนรู​อื่น ​ๆ​ ​ได​แก ​ภาษาไทย ​คณิตศาสตร​
วิทยาศาสตร ​สุขศึกษา​และ​พลศึกษา ​ศิลปะ ​การ​งานอาชีพ​และ​เทคโนโลยี ​และ​ภาษา​ตางประเทศ ​เพื่อใ​ห
การ​เรียนรู​สอดคลอง​และ​ครอบคลุม​สถานการณจ​ ริง ​
​ ​ ​3​.​8 กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู ​เปนการ​เสนอ​แนวทาง​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​เนื้อหา​ใน​
แตละ​เรือ่ ง โ​ดย​ใชแ​ นวคิดแ​ ละ​ทฤษฎีก​ าร​เรียนรูต​ า ง ๆ​ ​ต​ าม​ความ​เหมาะสม ท​ งั้ นีเ​้ พือ่ ใ​หค​ รูน​ ำไป​ใชป​ ระโยชน​
4   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ใน​การ​วาง​แผนการ​จดั การ​เรียนรูไ​ดอ​ ยาง​มป​ี ระสิทธิภาพ ซ​ งึ่ ก​ ระบวนการ​จดั การ​เรียนรูป​ ระกอบดวย 5​ ​ข​ นั้ ​
ได​แก
​ ขั้น​ที่ ​1​​นำ​เขาสู​บทเรียน ​
​ ​ ​ขั้น​ที่ ​2​ก​ ิจ​กรรมการ​เรียนรู
​ ​ ​ ขั้น​ที่ ​3​​ฝกฝน​ผูเรียน
​ ​ ​ ขั้น​ที่ ​4​​นำไป​ใช
​ ​ ​ ขั้น​ที่ ​5​​สรุป
​ ​ ​3​.​9​ กิจกรรม​เสนอ​แนะ ​เปน​กิจกรรม​เสนอ​แนะ​สำหรับ​ให​นักเรียน​ได​พัฒนา​เพิ่มเติม​ใน
ดาน​ตาง ​ๆ​ ​นอกเหนือ​จาก​ที่​ได​จัดการ​เรียนรู​มา​แลว​ใน​ชั่วโมง​เรียน ​กิจกรรม​เสนอ​แนะ​มี ​2​ ​ลักษณะ​
คือ ก​ จิ กรรม​สำหรับผ​ ท​ู ม​ี่ ค​ี วาม​สามารถ​พเิ ศษ​และ​ตอ งการ​ศกึ ษา​คน ควาใ​น​เนือ้ หา​นนั้ ๆ​ ​ใ​หล​ กึ ซึง้ ก​ วางขวาง​
ยิ่งขึ้น ​และ​กิจกรรม​สำหรับ​การ​เรียนรู​ใหค​ รบ​ตาม​เปาหมาย ​ซึ่ง​มี​ลักษณะ​เปนการ​ซอม​เสริม
​ ​ ​3​.​1​0 ​ ​สื่อ/​แหลง​การ​เรียนรู ​เปน​รายชื่อ​สื่อ​การ​เรียนรู​ทุก​ประเภท​ที่​ใช​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู​
ซึ่ง​มี​ทั้ง​สื่อ​ธรรมชาติ ​สื่อ​สิ่งพิมพ ​สื่อ​เทคโนโลยี ​และ​สื่อ​บุคคล ​เชน ​หนังสือ ​เอกสาร​ความรู ​รูปภาพ​
เครือขาย​อินเทอรเน็ต ​วีดิทัศน ป​ ราชญ​ชาวบาน เ​ปนตน
​ ​ ​3​.​1​1 บันทึก​หลัง​การ​จัดการ​เรียนรู ​เปน​สวน​ที่​ให​ครู​บันทึก​ผล​การ​จัดการ​เรียน​รูวา​ประสบ​
ความ​สำเร็จห​ รือไ​ม ​มี​ปญหา​หรือ​อุปสรรค​อะไร​เกิดขึ้น​บาง ​ได​แกไข​ปญหา​และ​อุปสรรค​นั้น​อยางไร ​สิ่ง​ที่​
ไมได​ปฏิบัติ​ตาม​แผน​มอี​ ะไร​บาง ​และ​ขอเสนอ​แนะ​สำหรับ​การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู​ครั้งต​ อไป
นอกจากนี้​ยัง​อำนวย​ความ​สะดวก​ให​ครู ​โดย​จัดทำ​แบบทดสอบ​ตาง ​ๆ​ ​และ​ความรู​เสริม​สำหรับ​
ครู​บันทึก​ลง​ใน​แผน​ซีดี (​​C​D)​​​ประกอบดวย
​ ​​1​.​ ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลัง​เรียน ​เปน​แบบทดสอบ​เพื่อ​ใช​วัด​และ​ประเมินผล​นักเรียน​
กอน​การ​จัดการ​เรียนรูแ​ ละ​หลัง​การ​จัดการ​เรียนรู
​ ​​2​.​ ​แบบทดสอบ​ปลายป ​เปน​แบบทดสอบ​เพื่อ​ใช​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ปลายป ​3​ ​ดาน​
ได​แก ​
1​)​  ดาน​ความรู ม​ ี​แบบทดสอบ​ทั้งท​ ี่​เปน​แบบ​ปรนัย​และ​แบบ​อัตนัย
2​)  ดาน​คุณธรรม จ​ ริยธรรม ​และ​คานิยม ​เปนตาราง​การ​ประเมิน
​​3​)​  ดาน​ทักษะ/​กระบวนการ เ​ปนตาราง​การ​ประเมิน
3. ใบ​งาน แบบบันทึก และ​แบบ​ประเมิน​ตาง ๆ
​ ​4​. ​เอกสาร/​ความรู​เสริม​สำหรับ​ครู เ​ปนการ​นำเสนอ​ความรู​ใน​เรื่อง​ตาง ​ๆ​​แก​ครู ​เชน ​
​ 4.1 ผลการเรียน​รู จุดป​ ระสงค​การเรียน​รู และ​สาระ​การเรียน​รู รายวิชา​เพิ่มเติม ส 302 _ _
กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4.2 โค​รง​งาน (Project Work)
4.3 แฟมสะสม​ผลงาน​(Portfolio)
4.4 ผังการ​ออกแบบ​การจัดการ​เรียน​รูตาม​แนว​คิด Backward Design
4.5 รูป​แบบ​แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​ราย​ชั่วโมง​ที่​ออกแบบ​การจัดการ​เรียน​รูตาม​แนว​คิด
Backward Design
​ ​ครูค​ วร​ศกึ ษา​แผนการ​จดั การ​เรียนรูเ​ พือ่ เ​ตรียมการ​สอน​อยาง​มป​ี ระสิทธิภาพ จ​ ดั ก​ จิ กรรม​ใหน​ กั เรียน​
ได​พัฒนา​ครบ​ทุก​สมรรถนะ​สำคัญ​ที่​กำหนด​ไว​ใน​หลักสูตร ​กลาว​คือ ​สมรรถนะ​ใน​การ​สื่อสาร ​การ​คิด
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   5

ก​ าร​แกปญหา ​การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต ​และ​การ​ใชเ​ทคโนโลยี ​รวม​ถึง​คุณลักษณะ​อัน​พึงประสงคต​ าม​หลักสูตร​


และ​กิจกรรม​เสนอ​แนะ​เพื่อ​การ​เรียนรูเ​พิ่มเติม​ใหเ​ต็ม​ตาม​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​แตละคน ​ซึ่ง​ได​กำหนด​ไว​
ใน​แผนการ​จัดการ​เรียนรูน​ ี้​แลว
​ ​นอกจากนี้​ครู​สามารถ​ปรับปรุง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ให​สอดคลองกับ​สภาพ​ความ​พรอม​ของ
​นักเรียน ​และ​สถานการณเ​ฉพาะหนา​ได ​ซึ่ง​จะ​ใชเ​ปนผล​งาน​เพื่อเ​ลื่อน​วิทยฐานะ​ได ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​
นี้​ได​อำนวย​ความ​สะดวก​ใหค​ รู ​โดย​ได​พิมพ​โครงสราง​แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​
ตาม​แนวคิด ​B​ac​​k​w​a​r​d​​De​ ​s​ig​ ​n​​ใหค​ รูเ​พิ่มเติม​เฉพาะ​สวน​ที่​ครู​ปรับปรุงเ​อง​ไว​ดวย​แลว​

2. การ​ออกแบบ​การจัดการ​เรียน​รูตาม​แนว​คิด B​ ackward Design


การ​จัดการ​เรียนรู​หรือ​การ​สอน​เปนงาน​ที่​ครู​ทุกคน​ตอง​ใช​กลวิธี​ตาง ​ๆ​ ​มากมาย​เพื่อ​ให​นักเรียน
​สน​ใจ​ที่​จะ​เรียนรู​และ​เกิดผล​ตาม​ที่​ครู​คาดหวัง ​การ​จัดการ​เรียนรู​จัด​เปน​ศาสตร​ที่​ตอง​ใช​ความ​รูความ​
สามารถ​ตลอดจน​ประสบการณอ​ ยาง​มาก ค​ รูบ​ างคน​อาจ​จะ​ละเลย​เรือ่ ง​ของ​การ​ออก​แบบ​การ​จดั การ​เรียนรู​
หรือ​การ​ออก​แบบ​การ​สอน ​ซึ่ง​เปนงาน​ทคี่​ รู​จะ​ตอง​ทำ​กอน​การ​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​
​ ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ทำ​อยางไร ​ทำไม​จึง​ตอง​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
​ ​ครู​ทุกคน​ผาน​การ​ศึกษา​และ​ได​เรียนรู​เกี่ยวกับ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​มา​แลว ​ในอดีต​
การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​จะ​เริ่มตน​จาก​การ​กำหนด​จุดประสงค​การ​เรียนรู ​การ​วาง​แผนการ​จัดการ​
เรียนรู ​การ​ดำเนินการ​จัดการ​เรียนรู ​และ​การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู ​ปจจุบัน​การ​เรียนรู​ได​มี​การ​
เปลี่ยน​แปลง​ไป​ตาม​สภาพ​แวดลอม ​เศรษฐกิจ ​และ​สังคม ​รวม​ทั้ง​การ​เปลี่ยน​แปลง​ดาน​วิทยาศาสตร​
และ​เทคโนโลยี​ที่​เขามา​มี​บทบาท​ตอ​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน ​ซึ่ง​นักเรียน​สามารถ​เรียนรู​ได​จาก​สื่อ​และ​
แหลง​การ​เรียนรู​ตาง ​ๆ​ ​ที่​มี​อยู​รอบตัว ​ดัง​นั้น​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​จึง​เปน​กระบวนการ​สำคัญ​
ที่​ครู​จำเปน​ตอง​ดำเนินการ​ใหเ​หมาะสมกับ​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​แตละบุคคล
​ ​วิก​กินส​และ​แมกไท ​นักการ​ศึกษา​ชาว​อเมริ​กัน​ได​เสนอ​แนวคิด​เกี่ยวกับ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​
เรียนรู ​ซึ่ง​เขา​เรียกวา ​B​a​c​k​w​a​r​d​ ​D​e​s​i​g​n​ ​ซึ่ง​เปนการ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ที่​ครู​จะ​ตอง​กำหนด​
ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​นักเรียน​กอน ​โดย​เขา​ทั้งสอง​ให​ชื่อวา ​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน
​(​E​n​du​ ​r​i​n​g​ ​U​nd​ e​ ​r​s​t​a​n​d​in​ ​g​)​ ​เมื่อก​ ำหนด​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​ได​แลว ​ครูจ​ ะ​ตอง​บอก​ให​ได​วาความ​เขา​ใจ​
ที่​คงทน​ของ​นักเรียน​นี้​เกิด​จาก​อะไร ​นักเรียน​จะ​ตอง​มี​หรือ​แสดง​พฤติกรรม​อะไร​บาง ​ครู​มี​หรือ​ใช​วิธีการ​
วัด​อะไร​บาง​ที่​จะ​บอกวา​นักเรียน​มี​หรือ​แสดง​พฤติกรรม​เหลา​นั้น​แลว ​จาก​นั้น​ครู​จึง​นึก​ถึง​วิธีการ​จัดการ​
เรียนรู​ที่​จะ​ทำ​ให​นักเรียน​เกิดค​ วาม​เขาใ​จ​ที่​คงทน​ตอไป

แ​ นวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​
​ ​B​a​c​k​w​a​rd​ ​​D​e​s​i​gn​ ​​เปนการ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ที่​ใช​ผลลัพธป​ ลายทาง​เปนหลัก ​ซึ่ง​ผลลัพธ​
ปลาย​ทางนีจ้​ ะ​เกิด​ขึ้นกับน​ ักเรียน​ก็ตอเมื่อ​จบ​หนวย​การ​เรียนรู ​ทั้งนีค้​ รู​จะ​ตอง​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​
โดย​ใชก​ รอบ​ความคิดท​ เ​ี่ ปนเ​หตุเ​ปนผล ม​ ค​ี วาม​สมั พันธก​ นั จ​ าก​นนั้ จ​ งึ จ​ ะ​ลงมือเ​ขียน​แผนการ​จดั การ​เรียนรู​
ขยาย​รายละเอียด​เพิ่มเติม​ใหม​ ี​คุณภาพ​และ​ประสิทธิภาพ​ตอไป
6   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ ​กรอบ​ความคิด​หลัก​ของ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​โดย ​B​a​c​k​w​a​r​d​ ​D​e​s​i​g​n​ ​มี​ขั้นตอน​หลัก​
ที่​สำคัญ ​3​​ขั้นตอน ค​ ือ
​ ​ขั้น​ที่ ​1 ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิดข​ ึ้นกับ​นักเรียน
​ ​ขั้น​ที่ ​2​ ​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ซึ่งเ​ปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน
​มี​ผล​การ​เรียนรู​ตาม​ที่​กำหนด​ไวอ​ ยาง​แทจริง
​ ​ขั้น​ที่ ​3​ วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู

​ขั้น​ที่ ​1​​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​นักเรียน
​ ​กอน​ที่​จะ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​นักเรียน​นั้น ​ครู​ควร​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​
ตอไปนี้
​ ​1​.​ ​นักเรียน​ควร​จะ​มีความรู ค​ วาม​เขา​ใจ แ​ ละ​สามารถ​ทำ​สิ่ง​ใด​ได​บาง ​
​ ​2​.​ เนือ้ หา​สาระ​ใด​บา ง​ทม​ี่ ค​ี วาม​สำคัญตอก​ าร​สราง​ความ​เขาใ​จ​ของ​นกั เรียน แ​ ละ​ความ​เขาใ​จ​ทค​ี่ งทน​
(​E​n​du​ ​r​i​n​g​​U​n​d​er​​s​t​an​ ​d​i​ng​ ​)​​ที่​ครู​ตองการ​จัดการ​เรียนรู​ให​แก​นักเรียน​มี​อะไร​บาง
​ ​เมื่อ​จะ​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​ดังกลาว​ขางตน ​ใหค​ รู​นึก​ถึง​เปาหมาย​ของ​การ​ศึกษา ​มาตรฐาน​การ​เรียนรู​
ดาน​เนื้อหา​ระดับชาติ​ทปี่​ รากฏ​อยูใ​น​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน ​พุทธศักราช ​2​55​ ​1​​รวม​ทั้ง​
มาตรฐาน​การ​เรียนรูร​ ะดับเ​ขต​พนื้ ท​ ก​ี่ าร​ศกึ ษา​หรือท​ อ งถิน่ ก​ าร​ทบ​ทวนความ​คาดหวังข​ อง​หลักสูตร​แกนกลาง​
การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน ​เนื่องจาก​มาตรฐาน​แตละ​ระดับ​จะ​มี​ความ​สัมพันธกับ​เนื้อหา​สาระ​ตาง ​ๆ​ ​ซึ่ง​มี​ความ​
แตกตาง​ลดหลั่น​กัน​ไป ​ดวย​เหตุนี้​ขั้น​ที่ ​1​ ​ของ ​B​a​c​k​w​a​r​d​ ​D​e​s​i​g​n​ ​ครู​จึง​ตอง​จัด​ลำดับ​ความ​สำคัญ​
และ​เลือก​ผลลัพธ​ปลายทาง​ของ​นักเรียน ซ​ ึ่งเ​ปนผล​การ​เรียนรู​ที่เกิดจ​ าก​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​ตอไป
​​ ​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​ของ​นักเรียน
​ ​ความ​เขาใ​จ​ทค​ี่ งทน​คอื อ​ ะไร ค​ วาม​เขาใ​จ​ทค​ี่ งทน​เปนค​ วามรูท​ ล​ี่ กึ ซึง้ ไ​ดแ​ ก ค​ วามคิดร​วบยอด ค​ วาม​
สัมพันธ ​และ​หลักการ​ของ​เนื้อหา​และ​วิชา​ที่​นักเรียน​เรียนรู ​หรือ​กลาว​อีกนัยหนึ่ง​เปน​ความรู​ที่​อิง​เนื้อหา​
ความรู​นี้​เกิด​จาก​การ​สะสม​ขอมูล​ตาง ​ๆ​​ของ​นักเรียน​และ​เปน​องคความรู​ที่​นักเรียน​สรางขึ้น​ดวย​ตน​เอง
​ ​การ​เขียน​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​ใน​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู
​ ​ถา​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​หมาย​ถึง​สาระสำคัญ​ของ​สิ่ง​ที่​จะ​เรียนรู​แลว ​ครู​ควร​จะ​รูวา​สาระสำคัญ​
หมาย​ถึง​อะไร ​คำ​วา ​สาระสำคัญ ​มาจาก​คำ​วา ​Co​ ​n​c​ep​ ​t​ ​ซึ่ง​นักการ​ศึกษา​ของ​ไทย​แปลเปน​ภาษาไทย​วา​
สาระสำคัญ ​ความคิดร​ วบยอด ​มโนทัศน ​มโน​มติ ​และ​สังกัป ​แต​การ​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​นิยม​
ใช​คำ​วา ​สาระสำคัญ ​
​ ​สาระสำคัญเ​ปนข​ อ ความ​ทแ​ี่ สดง​แกนห​ รือเ​ปาหมาย​เกีย่ วกับเ​รือ่ ง​ใด​เรือ่ ง​หนึง่ เ​พือ่ ใ​หไ​ดข​ อ สรุปร​ วม​
และ​ขอ​แตกตาง​เกี่ยวกับ​เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง ​โดย​อาจ​ครอบคลุม​ขอเท็จจริง ​กฎ ​ทฤษฎี ​ประเด็น ​และ​
การ​สรุปส​ าระสำคัญแ​ ละ​ขอความ​ที่​มี​ลักษณะ​รวบยอด​อยาง​อื่น
​ ​ประเภท​ของ​สาระสำคัญ
​ ​1​.​ ​ระดับก​ วาง ​(​B​r​oa​ ​d​​C​o​n​ce​ ​p​t)​​
​ ​2​.​ ระดับก​ าร​นำไป​ใช (​O ​ ​p​er​​at​​iv​​e​​Co​ ​n​c​e​pt​​​หรือ F​ ​un​ ​c​t​i​o​n​al​​​C​o​n​c​e​p​t​)​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   7

​ ​ตัวอยาง​สาระสำคัญ​ระดับ​กวาง
​ ​–​ ​อำนาจ​อธิปไตย ค​ ือ ​อำนาจ​สูงสุด​ใน​การ​ปกครอง​ประเทศ
​ ​ตัวอยาง​สาระสำคัญ​ระดับการ​นำไป​ใช
​ ​–​ อำนาจ​อธิปไตย ​คือ ​อำนาจ​สูงสุด​ที่​ใช​ใน​การ​ปกครอง​ประเทศ ​แบง​เปน ​3​ ​อำนาจ ​ได​แก​
อำนาจ​นิติบัญญัติ อ​ ำนาจบริหาร แ​ ละ​อำนาจ​ตุลาการ ​
​ ​แนวทาง​การ​เขียน​สาระสำคัญ
​ ​1​. ​ให​เขียน​สาระสำคัญ​ของ​ทุก​เรื่อง ​โดย​แยก​เปน​ขอ ​ๆ​ ​(​จำนวน​ขอ​ของ​สาระสำคัญ​จะ​เทากับ
​จำนวน​เรื่อง)​
​ ​2​.​ ​การ​เขียน​สาระสำคัญท​ ี่​ดคี​ วร​เปน​สาระสำคัญ​ระดับ​การ​นำไป​ใช
​ ​3​.​ ​สาระสำคัญ​ตอง​ครอบคลุม​ประเด็น​สำคัญ​ครบถวน ​เพราะ​หาก​ขาด​สวน​ใด​ไป​แลว​จะ​ทำ​ให​
นักเรียน​รับส​ าระสำคัญ​ทผี่​ ิด​ไป​ทันที
​ ​4​.​ ​การ​เขียน​สาระสำคัญ​ที่​จะ​ให​ครอบคลุม​ประเด็น​สำคัญ​วิธีการ​หนึ่ง ​คือ ​การ​เขียน​แผนผัง​
สาระสำคัญ
​ ตัวอยาง​การ​เขียน​แผนผัง​สาระสำคัญ
โครงสราง​
องคการ​บริหาร​สว นจังหวัด
อำนาจ​หนาที่​

โครงสราง​
เทศบาล
อำนาจ​หนาที่​
รู​ปแบ​บองคกร​ปกครอง โครงสราง​
องคการ​บริหาร​สวนตำบล
สวนทองถิ่น​ของไทย อำนาจ​หนาที่​
โครงสราง​
​เมือง​พัทยา
อำนาจ​หนาที่​
โครงสราง​
ก​รุงเทพมหานคร
อำนาจ​หนาที่​
​ ​สาระสำคัญ​ของ​รูป​แบบ​องคกร​ปกครอง​สวน​ทองถิ่น​ของ​ไทย:​ ​องคกร​ปกครอง​สวน​ทองถิ่น​ของ
​ไทย​มี ​5​​รูปแ​ บบ ​คือ ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด ​เทศบาล ​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล ​เมืองพัทย​ า ​และ​
กรุงเทพมหานคร ​แตละ​รูปแ​ บบ​มี​โครงสราง​และ​อำนาจ​หนา​ที่​เปนของ​ตน​เอง
​ ​5​.​ ​การ​เขียน​สาระสำคัญ​เกี่ยวกับ​เรื่อง​ใด​ควร​เขียน​ลักษณะเดน​ที่​มองเห็น​ได​หรือ​นึกได​ออกมา​
เปน​ขอ ​ๆ​​แลว​จำ​แนก​ลักษณะ​เหลา​นั้น​เปน​ลักษณะ​จำเพาะ​และ​ลักษณะ​ประกอบ
​ ​6​.​ การ​เขียน​ขอ ความ​ทเ​ี่ ปนส​ าระสำคัญ ค​ วร​ใชภ​ าษา​ทม​ี่ ก​ี าร​ขดั เกลา​อยาง​ดี เ​ลีย่ ง​คำ​ทม​ี่ คี วามหมาย​
กำกวม​หรือ​ฟุมเฟอย ​
8   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ตัวอยาง​การ​เขียน​สาระสำคัญ ​เรื่อง ​กฎหมาย
กฎหมาย ลักษณะ​จำเพาะ ลักษณะ​ประกอบ
เปนคำสั่ง​ของ​ผู​ปกครอง 3 –
ใช​ควบคุม​ความ​ประพฤติข​ อง​ประชาชน 3 –
หาก​ไมป​ ฏิบตั ต​ิ าม​ถอื วาม​ ค​ี วาม​ผดิ และ​จะ​ถกู ล​ งโทษ
​ตามที่​กำหนด​ไว 3
วาง​ระเบียบ​เรื่อง​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​บุคคล​กับ
– 3
บุคคล
กำหนด​วาการ​กระทำ​หรือ​การ​งด​เวน​การก​ระทำ​ใด
– 3
​เปนความ​ผิด และ​มี​การกำหนด​โทษ​ไว

​ ​สาระสำคัญ​ของ​กฎหมาย:​ ​กฎหมาย​เปน​คำ​สั่ง​ที่เกิด​จาก​ผูปกครอง ​ใช​ควบคุม​ความ​ประพฤติ​


ของ​ประชาชน ​หาก​ไมป​ ฏิบัติ​ตาม​ถือวา​มีความผิดแ​ ละ​​จะถูกลงโทษ​ตาม​ที่​กำหนด​ไว ​กฎหมาย​บาง​ประเภท​
จะ​มี​บทบัญญัติ​เกี่ยวกับ​การ​วาง​ระเบียบ​เรื่อง​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​บุคคล​กับ​บุค​คล ​และ​บาง​ประเภท​
จะ​กำหนด​วาการ​กระทำ​หรือ​การ​งดเวน​การ​กระทำ​ใด​เปนความ​ผิด ​และ​มี​การ​กำหนด​โทษ​ไว ​

​ขั้น​ที่ ​2 ​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน
มี​ผล​การ​เรียนรู​ตาม​ที่​กำหนด​ไว​อยาง​แทจริง ​
​ ​เมือ่ ค​ รูก​ ำหนด​ผลลัพธป​ ลายทาง​ทต​ี่ อ งการ​ใหเ​กิดข​ นึ้ กับน​ กั เรียน​แลว ก​ อ น​ทจ​ี่ ะ​ดำเนินการ​ขนั้ ต​ อ ไป​
ขอ​ให​ครู​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​ตอไปนี้ ​
–​ นักเรียน​มี​พฤติกรรม​หรือ​แสดงออก​ใน​ลักษณะ​ใดจึง​ทำ​ให​ครู​ทราบ​วา ​นักเรียน​บรรลุ​ผลลัพธ​
ปลายทาง​ตาม​ที่​กำหนด​ไว​แลว
​–​ ​ครู​มี​หลักฐาน​หรือ​ใช​วิธีการ​ใด​ที่​สามารถ​ระบุ​ได​วา​นักเรียน​มี​พฤติกรรม​หรือ​แสดงออก​ตาม​
ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​กำหนด​ไว
​ ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด​ ​B​a​c​k​w​a​r​d​ ​D​e​s​i​g​n​ ​เนน​ให​ครู​รวบรวม​หลักฐาน​
การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรูท​ ี่​จำเปน​และ​มหี​ ลักฐาน​เพียงพอ​ที่​จะ​กลาว​ได​วา ​การ​จัดการ​เรียนรู​ทำ​ให​
นักเรียน​เกิดผล​สัมฤทธิ์​แลว ​ไม​ใช​เรียน​แค​ให​จบ​ตาม​หลักสูตร​หรือ​เรียน​ตาม​ชุด​ของ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​
ที่​ครูก​ ำหนด​ไว​เทา​นั้น ​วิธีการ​ของ ​B​a​ck​​w​ar​​d​ ​De​ ​s​i​g​n​ ​ตองการ​กระตุน​ให​ครู​คิด​ลวงหนา​วา ​ครู​ควร​จะ​
กำหนด​และ​รวบรวม​หลักฐาน​เชิงประจักษ​อะไร​บาง​กอน​ที่​จะ​ออก​แบบ​หนวย​การ​เรียนรู ​โดยเฉพาะ
อ​ ยางยิง่ ห​ ลักฐาน​ดงั กลาว​ควร​จะ​เปนห​ ลักฐาน​ทส​ี่ ามารถ​ใชเ​ปนข​ อ มูลย​ อ นกลับท​ ม​ี่ ป​ี ระโยชนส​ ำหรับน​ กั เรียน​
และ​ครู​ได​เปน​อยาง​ดี ​นอกจากนี้​ครู​ควร​ใช​วิธีการ​วัด​และ​ประเมิน​แบบ​ตอเนื่อง​อยาง​ไม​เปนทางการ​และ​
เปนทางการ ต​ ลอด​ระยะเวลา​ทค​ี่ รูจ​ ดั ก​ จิ ก​ รรมการ​เรียนรูใ​ หแ​ กน​ กั เรียน ซ​ งึ่ ส​ อดคลองกับแ​ นวคิดท​ ต​ี่ อ งการ​
ให​ครู​ทำการ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรูร​ ะหวาง​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรูท​ ี่​เรียกวา ​สอน​ไป​วัดผล​ไป
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   9

​ ​จึง​กลาว​ได​วา​ขั้น​นี้​ครู​ควร​นึก​ถึง​พฤติกรรม​หรือ​การ​แสดงออก​ของ​นักเรียน ​โดย​พิจารณา​จาก
ผล​งาน​หรือ​ชิ้นงาน​ที่​เปน​หลักฐาน​เชิงประจักษ ​ซึ่ง​แสดง​ให​เห็นวา​นักเรียน​เกิด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ตาม
เกณฑ​ที่​กำหนด​ไว​แลว ​และ​เกณฑ​ที่​ใช​ประเมิน​ควร​เปน​เกณฑ​คุณภาพ​ใน​รูป​ของ​มิติ​คุณภาพ ​(​R​u​b​r​i​c​s​)​
อยางไร​ก็ตาม ​ครู​อาจ​จะ​มี​หลักฐาน​หรือใ​ช​วิธีการ​อื่น ​ๆ​​เชน ​การ​ทดสอบ​กอน​และ​หลัง​เรียน ​การ​สัมภาษณ​
การ​ศึกษา​คนควา ​การ​ฝก​ปฏิบัตขิ​ ณะ​เรียนรู​ประกอบดวย​ก็ได
​​ ​การ​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน​มี​ผล
​การ​เรียนรู​ตาม​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​กำหนด​ไว​แลว
​ ​หลังจาก​ที่​ครู​ได​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​นักเรียน​แลว ​ครู​ควร​กำหนด​
ภาระ​งาน​และ​วิธีการ​ประเมินผล​การ​เรียนรู ​ซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน​มี​ผล​การ​เรียนรู​ตาม​
ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​กำหนด​ไวแ​ ลว
​ ​ภาระ​งาน ​หมาย​ถึง ​งาน​หรือ​กิจกรรม​ที่​กำหนด​ให​นักเรียน​ปฏิบัติ ​เพื่อ​ให​บรรลุ​ตาม​จุดประสงค​
การ​เรียนรู/​ผล​การ​เรียนรู​ที่​กำหนด​ไว ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​งาน​จะ​ตอง​เปนงาน​ที่​สอดคลองกับ​ชีวิตจริง​ใน​
ชีวิต​ประจำวัน ​เปน​เหตุการณ​จริง​มากกวา​กิจกรรม​ที่​จำลอง​ขึ้น​เพื่อ​ใช​ใน​การ​ทดสอบ ​ซึ่ง​เรียกวา ​งาน​ที่​
ปฏิบัติ​เปนงาน​ที่​มีความหมาย​ตอ​ผูเรียน ​(​M​e​a​n​i​n​g​f​u​l​ ​T​a​s​k​)​ ​นอกจากนี้​งาน​และ​กิจกรรม​จะ​ตอง​มี​
ขอบเขต​ทชี่​ ัดเจน ​สอดคลองกับ​จุดประสงค​การ​เรียนรู/​ผล​การ​เรียนรูท​ ี่​ตองการ​ให​เกิดข​ ึ้นกับ​นักเรียน
​ ​ทั้งนี้​เมื่อ​ได​ภาระ​งาน​ครบถวน​ตาม​ที่​ตองการ​แลว ​ครู​จะ​ตอง​นึก​ถึง​วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ที่​จะ​ใช​วัด​
และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน​ซึ่ง​มี​อยู​มากมาย​หลายประเภท ​ครู​จะ​ตอง​เลือก​ให​เหมาะสมกับ
​ภาระ​งาน​ทนี่​ ักเรียน​ปฏิบัติ ​
​ ​ตัวอยาง​ภาระ​งาน​เรื่อง ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข ​รวม​ทั้ง​
การ​กำหนด​วิธีการ​วัดแ​ ละ​ประเมินผล​การ​เรียนรูข​ อง​นักเรียน​ดัง​ตาราง ​
ตัวอย่างภาระ​งาน/ชิ้นง​ าน แผนการจัดการ​เรียน​รูที่ 18 เรื่อง ปญหา​การ​ใชกฎหมายในสังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกันแก ไข
ร​ ายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู
ผลการเรียนรู้ที่ 1 ​ตระหนัก​ถึง​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​สามารถ​หา​แนวทาง​ปองกัน​แก ไข​ได
จุด​ประสงค ภาระ​งาน/ การ​วัด​และ​ประเมิน​ผล กิจกรรม
สาระ​การเรียน​รู สื่อการเรียน​รู
การเรียน​รู​ ผลงาน/ชิ้น​งาน วิธี​การ เครื่องมือ เก​ณฑ การเรียน​รู
1. บอกปญหา 1. ปญหา​การ​ใช • อภิปราย​เกี่ยว 1. การ​อภิปราย 1. แบบบันทึกผล เกณฑคุณภาพ 1. การ 1. ภาพ​ขาว​เกี่ยวกับ
กฎหมายที่​เกิด กฎหมาย​ทเี่​กิด กับ​ปญหาการ การ​อภิปราย 4 ระดับ แบง​กลุม ปญหา​การ​ใช
จาก​ประชาชน​ จาก​ประชาชน ใชกฎหมาย​ 2. ตรวจ​ผลงาน 2. แบบ​ประเมิน เกณฑ​คุณภาพ 2. การ​ กฎหมาย
ผูใชกฎหมาย ผูใชกฎหมาย ในสังคม​ไทย​ ผลงาน 4 ระดับ อภิปราย 2. สื่อค​ อมพิวเตอรชวย
ตัว​บทกฎหมาย 2. ปญหา​การ​ใช​ ​และแนวทาง 3. สังเกตการ 3. แบบสังเกต เกณฑ​คุณภาพ 3. การ สอน​เกี่ยวกับปญหา
และเจาหนาที่ กฎหมาย​ทเี่​กิด ปองกัน​แกไข ทำ​งานกลุม การ​ทำ​งาน 4 ระดับ บันทึกผ​ ล ก​ าร​ใชกฎหมาย​ใน
​ผูใชกฎหมาย​ได จาก​เจาหนาที่ กลุม 4. การ สังคมไทย​และ​แนว
10   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

2. ​วเิ คราะหแนวทาง​ ผูใชกฎหมาย นำ​เสนอ ทางปองกันแกไข


​แกไข​ปญหา​ 3. ปญหา​ที่​เกิด​ ผลงาน 3. แบบบันทึกผลการ
ตาง​ ๆ ที่​เกิด​จาก จาก​ตัว​บท อภิปรายเรือ่ ง ปญหา
การ​ใชกฎหมาย กฎหมาย ก​ าร​ใชกฎหมาย​ใน
​ใน​สังคม​ไทย​ได ส​ งั คมไทย​และ​
3. ตระหนักถึง แนวทางปองกัน​แกไข
ความ​จำเปน​ใน 4. ใบ​งานเรื่อง ปญหา
การแกไข​ปญหา การ​ใชกฎหมาย​ใน
ตาง ๆ ที​เ่ กิดจาก สังคม​ไทย​และ​แนว
​การ​ใชกฎหมาย ทาง​ปองกัน​แกไข
​ใน​สังคม​ไทย​ได
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   11

ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรียนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่


1. การอธิบาย ชี้แจง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่ง
ที่เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็นระบบ
2. การแปลความและตี ค วาม เป็ น ความสามารถที่ นั ก เรี ย นแสดงออกโดยการแปลความ
และตีความได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุโปร่ง
3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนำไปใช้ เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการนำสิ่ง
ที่ได้เรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมี มุ ม มองที่ ห ลากหลาย เป็ น ความสามารถที่ นั ก เรี ย นแสดงออกโดยการมี มุ ม มองที่
น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
5. การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึกของผู้อื่น เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออก
โดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิดเผย รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความ
กระทบกระเทือนต่อผู้อื่น
6. การรู้จักตนเอง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถ
ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู้จักใคร่ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดสมรรถนะ
สำคัญของนักเรียนหลังจากสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถใน​การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
12   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้าน
ต่าง ๆ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การ
สื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสำคัญของนักเรียนหลังจากสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวแล้วข้างต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อ
ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธำรงไว้ซึ่ง
ความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ที่รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ จะแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็น
ชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม
ความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริตจะประพฤติตรง
ตามความเป็นจริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการดำเนินชีวิต มีความ
ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำผิด
3. มีวินัย เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผู้ที่มีวินัยจะปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์และระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียน และสังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
4. ใฝ่เรียนรู้ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหา
ความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้จะแสดงออกถึงความตั้งใจ
เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายใน
และภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์
สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
5. อยู่อย่างพอเพียง เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ที่อยู่อย่าง
พอเพียงจะดำเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความ
รับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยง
และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำหน้าที่
การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำงานจะแสดง
ออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ
ในการปฏิบัติกิจกรรมต่ าง ๆ ให้ สำเร็จลุล่ วงตามเป้ าหมายที่กำหนดด้ วยความรับผิดชอบ และมี
ความภาคภูมิใจในผลงาน
7. รักความเป็นไทย เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์
สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผู้ที่รักความเป็นไทยจะมีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   13

ในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย


มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
8. มีจิตสาธารณะ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน
ผู้ที่มีจิตสาธารณะจะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทำประโยชน์แก่ส่วนรวม
เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยแรงกาย สติปัญญา
ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ดังนั้นการกำหนดภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกวิธีการ เครื่องมือวัดและประเมิน
ผลการเรียนรู้นั้น ครูควรคำนึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการตามแนวคิด Backward Design
สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนหลังจากสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ครอบคลุมสิ่งที่
สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนอย่างแท้จริง
นอกจากนี้การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward design ในขั้นที่ 2 นี้ ครูจะ
ต้องคำนึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้
มีประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริง มีความยืดหยุ่น และให้ความสบายใจแก่นักเรียนเป็นสำคัญ

ขั้น​ที่ ​3​​วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู
​ ​เมื่อ​ครู​มีความรู​ความ​เขา​ใจ​ที่​ชัดเจน​เกี่ยวกับ​การ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ให​เกิด​ขึ้นกับ​
นักเรียน ​รวม​ทั้ง​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมินผล​การ​เรียนรู​ซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน​เกิด​
การ​เรียนรู​ตาม​ที่​กำหนด​ไวอ​ ยาง​แทจริงแ​ ลว ​ขั้นต​ อไป​ครู​ควร​นึก​ถึงก​ ิจ​กรรมการ​เรียนรู​ตาง ​ๆ​ ​ที่​จะ​จัด​ให
แก​นักเรียน ​การ​ที่​ครู​จะ​นึก​ถึง​กิจกรรม​ตาง ​ๆ​ ​ที่​จะ​จัด​ให​นักเรียน​ได​นั้น ​ครู​ควร​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​
ตอไปนี้
​ ​–​ ​ถา​ครู​ตองการ​จะ​จัดการ​เรียนรู​ให​นักเรียน​เกิด​ความรู​เกี่ยวกับ​ขอเท็จจริง ​ความคิด​รวบยอด​
หลักการ ​​และ​ทักษะ​กระบวนการ​ตาง ​ๆ​ ​ที่​จำเปน​สำหรับ​นักเรียน ​ซึ่ง​จะ​ทำ​ให​นักเรียน​เกิด​ผลลัพธ​
ปลายทาง​ตาม​ที่​กำหนด​ไว ​รวม​ทั้ง​เกิด​เปนความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​ตอไป​นั้น ​ครู​สามารถ​จะ​ใช​วิธีการ​งาย ​ๆ​
อะไร​บาง ​
​ ​–​ ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ที่​จะ​ชวย​เปน​สื่อ​นำ​ใหน​ ักเรียน​เกิด​ความรู​และ​ทักษะ​ที่​จำเปน​มี​อะไร​บาง ​
​ ​–​ สื่อ​และ​แหลง​การ​เรียนรู​ที่​เหมาะสม​และ​ดี​ที่สุด ​ซึ่ง​จะ​ทำ​ให​นักเรียน​บรรลุ​ตาม​มาตรฐาน​ของ​
หลักสูตร​มี​อะไร​บาง
​ ​–​ ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ตาง ​ๆ​​ที่​กำหนด​ไว​ควร​จัด​กิจกรรม​ใด​กอน​และ​ควร​จัด​กิจกรรม​ใด​ภายหลัง
​ ​–​ กิจกรรม​ตาง ​ๆ​ ​ออก​แบบ​ไว​เพื่อ​ตอบสนอง​ความ​แตกตาง​ระหวาง​บุคคล​ของ​นักเรียน​หรือ​ไม​
เพราะ​เหตุ​ใด
​ ​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ตาง ​ๆ​ ​เพื่อ​ให​นักเรียน​เกิด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ตาม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​
D​e​s​i​g​n​ ​นั้น ​วิก​กินส​​และ​แมกไท​ได​เสนอ​แนะ​ให​ครู​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​โดย​ใช​แนวคิด​ของ​
W​H​E​R​E​T​O​​(​ไป​ที่ไหน)​ซ​ ึ่ง​มี​รายละเอียด​ดังนี้
14   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ ​W​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ที่​จัด​ให​นั้น​จะ​ตอง​ชวย​ให​นักเรียน​รูวา​หนวย​การ​เรียนรู​นี้​จะ​ดำเนิน​
ไป​ใน​ทิศทาง​ใด ​(​W​h​e​r​e​)​ ​​และ​สิ่ง​ที่คาดหวัง​คือ​อะไร ​(​W​h​a​t​)​ ​มี​อะไร​บาง ​ชวย​ให​ครู​ทราบ​วา​นักเรียน​
มีความรู​พื้นฐาน​และ​ความ​สน​ใจ​อะไร​บาง ​(​W​h​er​​e)​​
​ ​H​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ควร​ดึงดูด​ความ​สน​ใจ​นักเรียน​ทุกคน ​(​H​o​o​k​)​ ​ทำ​ให​นักเรียน​เกิด​
ความ​สน​ใจ​ใน​สิ่ง​ที่​จะ​เรียนรู ​(H​ ​o​l​d​)​​​และ​ใช​สิ่งท​ ี่​นักเรียน​สน​ใจ​เปนแ​ นวทาง​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
​ ​E​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ควร​สงเสริม​และ​จัด​ให ​(​E​q​u​i​p​)​ ​นักเรียน​ได​มี​ประสบการณ​
(​E​x​p​e​r​i​e​n​c​e​)​ ​ใน​แนวคิด​หลัก/​ความคิด​รวบยอด ​​และ​สำรวจ ​รวม​ทั้ง​วินิจฉัย ​(​E​x​p​l​o​r​e​)​ ​ใน​ประเด็น​
ตาง ​ๆ​​ที่​นา​สน​ใจ
​ ​R​ ​แทน ​กิจก​ รรมการ​เรียนรูค​ วร​เปดโอกาส​ให​นักเรียน​ได​คิด​ทบทวน ​(​R​et​​h​i​n​k​)​ ​ปรับ ​(​R​e​v​i​se​ ​)​
ความ​เขา​ใจ​ใน​ความรู​และ​งาน​ที่​ปฏิบัติ
​ ​E​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ควร​เปดโอกาส​ให​นักเรียน​ได​ประเมิน ​(​E​v​a​l​u​a​t​e​)​ ​ผล​งาน
และสิ่งท​ ี่​เกี่ยวของ​กับก​ าร​เรียนรู
​ ​T ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ควร​ออก​แบบ ​(​T​a​i​l​o​r​e​d​)​ ​สำหรับ​นักเรียน​เปน​รายบุคคล​เพื่อ​ให​
สอดคลองกับค​ วาม​ตองการ ​ความ​สน​ใจ ​​และ​ความ​สามารถ​ที่​แตกตาง​กัน​ของ​นักเรียน
​ ​O​ แทน ​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​ตาง ​ๆ​ ​ให​เปนระบบ ​(​O​r​g​a​n​i​z​e​d​)​ ​ตามลำดับ​การ​เรียนรู​
ของ​นักเรียน​และ​กระตุน​ให​นักเรียน​มี​สวนรวม​ใน​การ​สราง​องคความรู​ตั้ง​แต​เริ่ม​แรก​และ​ตลอดไป ​ทั้งนี้​
เพื่อ​การ​เรียนรู​ทมี่​ ี​ประสิทธิผล
​ ​อยางไร​ก็ตาม ​มี​ขอ​สังเกต​วา ​การ​วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่​มี​การ​กำหนด​วิธีการ​จัดการ​เรียนรู​
การ​ลำดับ​บทเรียน ​รวม​ทั้ง​สื่อ​และ​แหลง​การ​เรียนรู​ที่​เฉพาะ​เจาะจง​นั้น​จะ​ประสบผล​สำเร็จ​ได​ก็ตอเมื่อ​
ครู​ได​มี​การ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง ​หลักฐาน ​​และ​วิธีการ​วัด​และ​ประเมินผล​ที่​แสดงวา​นักเรียน​มี​
ผล​การ​เรียนรู​ตาม​ที่​กำหนด​ไว​อยาง​แทจริง​แลว ​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​เปน​เพียง​สื่อ​ที่​จะ​นำไปสู​
เปา​หมายความ​สำเร็จ​ที่​ตองการ​เทา​นั้น ​ดวย​เหตุนี้​ถา​ครู​มี​เปาหมาย​ที่​ชัดเจน​ก็​จะ​ชวย​ทำ​ใหการ​วาง​แผน
การ​จัดการ​เรียนรู​และ​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​สามารถ​ทำ​ให​นักเรียน​เกิดผล​สัมฤทธิ์​ตาม​ที่​กำหนด​ไว​ได
​ ​โดย​สรุปจ​ ึง​กลาว​ได​วา ​ขั้นน​ ี้​เปนการ​คนหา​สื่อก​ าร​เรียนรู ​แหลง​การ​เรียนรู ​​และ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​
ที่​สอดคลอง​เหมาะสมกับน​ ักเรียน ​กิจกรรม​ทกี่​ ำหนด​ขึ้นค​ วร​เปนก​ ิจกรรม​ที่​จะ​สงเสริมใ​หน​ ักเรียน​สามารถ​
สราง​และ​สรุปเ​ปน​ความคิดร​ วบยอด​และ​หลักการ​ที่​สำคัญ​ของ​สาระ​ที่​เรียนรู ​กอใ​ห​เกิดค​ วาม​เขา​ใจ​ที่​คงทน​
รวม​ทั้งค​ วามรูสึก​และ​คานิยม​ที่​ดี​ไป​พรอม ๆ​ ​​กับท​ ักษะ​ความ​ชำนาญ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   15

Backward Design Template


ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ​
ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ผลการ​เรียน​รู​

ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า…
1. 1.
2. 2.
ความรูของนักเรียนที่นำไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรูวา… ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. 1.
2. 2.
3. 3.
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กำหนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานที่นัก​เรียนต้องปฏิบัติ
1.1
1.2
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ ​
2.1 วิธีการประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือป​ ระเมิน​ผลการเรียน​รู
1) 1)
2) 2)
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1​
3.2
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
16   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูร้ ายชัว่ โมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด Backward
Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้แบบเรียงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลำดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู้)
ชื่อเรื่อง... (ระบุชื่อเรื่องที่จะทำการจัดการเรียนรู้)
สาระ... (ระบุสาระที่ใช้จัดการเรียนรู้)
ชั้น... (ระบุชั้นที่จัดการเรียนรู้)
หน่วยการเรียนรู้ที่... (ระบุชื่อและลำดับที่ของหน่วยการเรียนรู้)
เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ต่อ 1 แผน)
สาระสำคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ของหัวเรื่องที่จะจัดการเรียนรู้)
ผลการเรียนรู้... (ระบุผลการเรียนรู้ที่ใช้เป็นเป้าหมายของแผนการจัดการเรียนรู้)
จุดประสงค์การเรียนรู้... (กำหนดให้สอดคลอ้ งกับสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรียนหลังจากสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ง
ประกอบด้วยด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (Affective: A) และ
ด้านทักษะ/กระบวนการ (Performance: P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้... (ระบุวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จัดการเรียนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได้)
แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่วมกัน)
กระบวนการจัดการเรียนรู้... (กำหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการ
บูรณาการข้ามสาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพิ่มเติม)
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้... (ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้)
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรูต้ ามแผนทีก่ ำหนดไว้
อาจนำเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็นข้อมูลที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการทำวิจัยในชั้นเรียนได้)
ในส่วนของการเขียนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ให้ครูที่เขียนแผนการจัดการเรียนรู้นำขั้นตอน
หลักของเทคนิค วิธีการของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เช่น การเรียนแบบแก้ปัญหา
การศึกษาเป็นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย/กลุ่มใหญ่ การฝึกปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูล ฯลฯ
มาเขียนในขั้นสอน โดยให้คำนึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design จะช่วยให้ครู
มีความมั่นใจในการจัดการเรียนรู้และใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของ ˛ ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพต่อไป
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   17

3. เทคนิคแ​ ละ​วิธี​การจัดการ​เรียน​ร–ู​ การวัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู


กลุม​สาระการเรียน​รูสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธ​รรม
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการ
เรียนรู้ โดยเน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิด การฝึกทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย การฝึกปฏิบัติจริงและการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการป้องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น
เพื่อให้การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทำการแผนการจัดการเรียนรู้ในคู่มือครู
แผนการจัดการเรียนรู้ กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6 เล่มนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child-Centered) เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเน้นการเรียนรู้แบบ
บูรณาการที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรูต้ ่าง ๆ กับหัวข้อเรื่องหรือประเด็นที่สอดคล้องกับชีวิต
จริง เพื่อให้นักเรียนเกิดการพัฒนาในองค์รวม เป็นธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปัญหาที่เกิดใน
วิถีชีวิตของ​นักเรียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการ
เป็นผู้ชี้นำหรือถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก และส่งเสริมสนับสนุนนักเรียน
โดยใช้วิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้นักเรียนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้และนำความรู้
ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6 เล่มนี้
จึงได้นำเสนอทฤษฎีและเทคนิควิธีการเรียนการสอนต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เช่น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain-Based Learning–BBL) เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่อิงผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร
โดยได้กล่าวถึงโครงสร้างที่แท้จริงของสมองและการทำงานของสมองมนุษย์ที่มีการแปรเปลี่ยนไปตาม
ขั้นของการพัฒนา ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning–PBL) เป็นวิธีการ
จัดการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้
นักเรียนร่วมกันแก้ปัญหาภายใต้การแนะนำของครู ให้นักเรียนช่วยกันตั้งคำถามและช่วยกันค้นหา
คำตอบ โดยใช้อาจใช้ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสำหรับการแก้ปัญหา นำข้อมูล
ที่ได้จากการค้นคว้ามาสรุปเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาครั้งต่อไป
การจัดการเรียนรูแ้ บบพหุปญ ั ญา (Multiple Intelligences) เป็นการพัฒนาองค์รวมของนักเรียน
ทั้งสมองด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกันของแต่ละ
บุคคล มุง่ หมายจะให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลายของ
วัฒนธรรมหรือสภาพแวดล้อม
การจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศ
ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ฝึกให้นักเรียนที่มีลักษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัด
ร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม ร่วมกันศึกษาค้นคว้า
18   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
การจัดการเรียนรู้แบบใช้หมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) ให้นักเรียนฝึกตั้งคำถาม
และตอบคำถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบ หรือวิเคราะห์
วิจารณ์ได้
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry Process) เป็นการฝึกให้นักเรียนค้นหา
ความรู้ด้วยตนเอง เพื่ออธิบายสิ่งต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มีหลักเกณฑ์ โดยนักเรียนจะต้องใช้ความ
สามารถของตนเองคิดค้น สืบเสาะ แก้ปัญหาหรือคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ด้วยตนเอง
การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นการฝึกให้นักเรียน
เรียนรู้จากการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา
และตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่
ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้ กระบวนการแสวงหาความรู้ หรือ
ค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่นักเรียนอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้นักเรียนได้ทดลองทำด้วยตนเอง
เพื่อจะได้เรียนรู้ขั้นตอนของงาน รู้จักวิธีแก้ปัญหาในการทำงาน
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างผังความคิด (Concept Mapping) เป็นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่ม
ความคิดรวบยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนำเสนอ
เป็นภาพหรือเป็นผัง
การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็นการจัดกิจกรรม หรือจัด
ประสบการณ์ให้นกั เรียนเกิดการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ แล้วกระตุน้ ให้นกั เรียนพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เจตคติ
ใหม่ ๆ หรือวิธีการคิดใหม่ ๆ
การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้
แสดงบทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติขึ้น โดยอาจกำหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็นพฤติกรรมของ
บุคคลอื่น หรือแสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ
การเรียนรู้จากเกมจำลองสถานการณ์ (Simulation Gaming) เป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่
คล้ายกับการแสดงบทบาทสมมุติ แต่เป็นการให้เล่นเกมจำลองสถานการณ์ โดยครูนำสถานการณ์จริง
มาจำลองไว้ในห้องเรียน โดยการกำหนดกฎ กติกา เงื่อนไขสำหรับเกมนั้น ๆ แล้วให้นักเรียนไปเล่นเกม
หรือกิจกรรมในสถานการณ์จำลองนั้น
การจัดการเรียนรู้ต้องจัดควบคู่กับการวัดและการประเมินผลตามภาระ​งาน/ชิ้นงานที่สอดคล้อง
กับผลการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้เสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรู้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ เน้นวิธีการวัดที่หลากหลายตาม
สถานการณ์จริง การดูร่องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการดูกระบวนการทำงาน และผลผลิตของงาน โดย
ออกแบบการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจำหน่วยการเรียน​รู พร้อม
แบบฟอร์มและเกณฑ์การประเมิน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ครูไว้พร้อม ทั้งนี้ครูอาจเพิ่มเติมโดยการ
ออกแบบการวัดและประเมินด้วยมิติคุณภาพ (Rubrics)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   19

4. ตาราง​วิเคราะหผ​ ลการเรียน​รูกับ​สาระ​การเรียน​รู ​ในหนวยการเรียน​รู

ผลการเรียน​รูที่
สาร​ะการ​เรียน​รู
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
หนวยการเรียน​รูที่ 1
ความหมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ •
กฎหมาย
หนวยการเรียน​รูที่ 2

ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
หนวยการเรียน​รูที่ 3

ประเภท​ของกฎหมาย
หนวยการเรียน​รูที่ 4
กระบวนการ​จัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณ •
อักษร
หนวยการเรียน​รูที่ 5
การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น •
ผลการบังคับใชกฎหมาย
หนวยการเรียน​รูที่ 6

รัฐธรรมนูญ
หนวยการ​เรียน​รูที่ 7

หลักกฎหมายแพง
หนวยการเรียน​รูที่ 8

หลักกฎหมายอาญา
หนวยการเรียนรูที่ 9
กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร •
และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
หนวยการเรียนรูที่ 10

กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก
หนวยการเรียน​รูที่ 11

กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​ผู​บริโภค
หนวยการ​เรียน​รูที่ 12

กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร
หนวยการเรียน​รูที่ 13

กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติดใหโทษ
หนวยการเรียน​รูที่ 14
ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย •
และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข
20   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. โครงสราง​การแบงเวลา​ราย​ชั่ว​โมง​ในการจัดการ​เรียน​รู
หนวย​การ​เรียนรู/ เวลา/
เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู จำนวน​ชั่วโมง
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 1 ความหมายและ​ลักษณะ​สำคัญ​ของกฎหมาย 3
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 1 ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย 1
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 2 ​ความหมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของ 1
กฎหมาย
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 3 ความ​สัมพันธร​ ะหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น 1
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 2 ​ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย 2
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 4 ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย 2
หนวย​การ​เรียนรูท​ ี่ 3 ​ประเภท​ของกฎหมาย 2
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 5 ประเภท​ของกฎหมาย 2
หนวยการเรียน​รูที่ 4 กระบวน​การจัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร 3
แผนการ​จัดการ​เรียน​รูที่ 6 ที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย 1
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 7 การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย 1
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 8 ​ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร 1
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 5 การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใช 3
กฎหมาย
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 9 การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใช 3
กฎหมาย
หนวยการเรียน​รูที่ 6 รัฐธรรมนูญ 3
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 10 รัฐธรรมนูญ 3
​หนวยการ​เรียน​รูที่ 7 หลักกฎหมายแพง 3
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 11 หลักกฎหมายแพง 3
หนวย​การ​เรียนรูท​ ี่ 8 หลักกฎหมายอาญา 3
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 12 หลักกฎหมายอาญา 3
หนวย​การ​เรียนรูท​ ี่ 9 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร
และบัตร​ประจำ​ตัวประชาชน 2
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 13 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียนราษฎร​ 2
และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   21

หนวย​การ​เรียนรู/ เวลา/
เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู จำนวน​ชั่วโมง
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 10 ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก 2
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 14 กฎหมาย​เกีย่​ วกับการคุมครอง​เด็ก 2
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 11 ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​ผู​บริโภค 2
แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่ 15 กฎหมายเกี่ยวกับก​ ารคุมครอง​ผบู​ ริโภค 2
หนวยการเรียน​รูที่ 12 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร 2
แผนการ​จัดการ​เรียน​รูที่ 16 กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับราชการ​ทหาร 2
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 13 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติดใหโทษ 3
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 17 กฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติดใหโทษ 3
หนวยการเรียน​รูที่ 14 ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย 3
​และ​แนวทางปอ​งกัน​แกไข
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ 18 ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย 3
​และ​แนวทาง​ปองกันแกไข
ตอน​ที่ 2
แผนการ​จัดการ​เรียน​รู
รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู​
กลุม​สาระ​การเรียน​รูสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม
ความหมาย
และลักษณะสำคัญของกฎหมาย
หน่วยการเรียนรู้ที่
1
เวลา 3 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ความหมายของกฎหมาย
2. ลักษณะ​สำคัญ​ของกฎหมาย
3. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​ศีลธรรม จารีต
ประเพณี​ และ​กฎหมาย
4. ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย
5. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย
และศาสตร​แขนง​อื่น

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
1. แสดง​ความคิดเห็น​เกี่ยวกับ ทักษะ/กระบวนการ
กฎหมาย​กับ​สังคม 1. การ​สื่อสาร
2. ตอบ​คำ​ถาม​เกี่ยวกับ​ความหมาย ความหมาย​ 2. การคิด
และ​ลกั ษณะสำคัญของกฎหมาย และลักษณะ​สำคัญ​ 3. การแก​ปญหา
3. อภิปราย​ความ​แตกตาง​และ ของกฎหมาย​ 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย 5. การ​ใชเทคโนโลยี
กับ​ศาสตรตาง ๆ

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ซื่อสัตย​สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ​เรียน​รู
4. มี​จิตสาธารณะ
24   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของกฎหมาย
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอ​การ​ดำรง​อยูข​ องสังคม
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญที่นำมาใช้ กฎหมายคืออะไร มี​ความ​สำคัญ​อยางไร
เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำสำคัญ ได้แก่ รัฎฐาธิปัตย์ จารีตประเพณี 1. อธิบายลักษณะทั่วไปของกฎหมาย และทั้ง
2. กฎหมายเป็นสาขาหนึง่ ของวิชาสังคมศาสตร์ที่ อธิบายความสัมพันธ์ของกฎหมายกับศาสตร์
ใช้เป็นเครื่องมือควบคุมให้มนุษย์อยู่รวม​กัน สาขาอื่น ๆ ได้
ในสังคมได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยและ 2. อธิบายความหมายและความสำคัญของ
สงบสุข กฎหมาย
3. กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ คำสั่ง หรือข้อบังคับ 3. อภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมาย
ที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อใช้ควบคุมความประพฤติ กับศาสตร์แขนงอื่น
ของประชาชนในรัฐ หากผู้ใดฝ่าฝืนจะมีความ
ผิดและต้องถูกลงโทษ กฎหมายยังเป็นกติกา
ของสังคมทีบ่ งั คับให้ทกุ คนปฏิบตั ติ าม โดยจะ
กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคลในสังคม
ทัง้ นีก​้ าร​อา งว่าไม่รกู้ ฎหมาย จะไม่เป็นข้อแก้ตวั
ใหพนผิด​ได
4. กฎหมายมีความสัมพันธ์กบั ศาสตร์แขนงอืน่ ๆ
มากมาย เช่น ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์
จริยศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
1.1 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายกับสังคม
1.2 ตอบคำถามเกี่ยวกับความหมายและลักษณะสำคัญของกฎหมาย
1.3 อภิปรายความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตรแ​ ขนงต่าง ๆ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   25

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรูสึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ที่ไหนมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความหมาย ลักษณะสำคัญ เวลา 1 ชั่วโมง
และความสำคัญของกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น เวลา 1 ชั่วโมง
26   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
ที่ ไหน​มี​สังคม ที่นั่นม​ ี​กฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมาย​และ​ลักษณะ​สำ​คัญ
ของกฎหมาย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
ทุก​สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย​มา​เปน​กรอบ​ความ​ประพฤติ​ของ​สมาชิก เพื่อให​สมาชิก​สามารถ​ดำรง
ชีวิตร​ วมกัน​ได​อยาง​เปน​ระเบียบ​เรียบรอย สงบสุข และ​เพื่อค​ วาม​ดำรงอยู​ของ​สังคม
2. ผล​การ​เรียนรู
ตระหนักใ​น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​วา​มปี​ ระโยชน​และ​จำเปน​ตอ​การ​ดำรงอยู​ของ​สังคม
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายความ​หมาย​ของ​กฎหมาย​ได (K)
2. วิเคราะหล​ ักษณะ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​ได (K)
3. เปรียบเทียบ​ความ​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​จารีต​ประเพณี ศีลธรรม และ​ศาสนา​ได (P)
4. วิเคราะห​ได​วา​กฎหมาย​มี​ความ​สำคัญ​หรือ​กอ​ให​เกิด​ประโยชน​แก​นักเรียน ครอบครัว และ
สังคม​ได (A)
5. อธิบายความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​และ​ศาสตร​แขนงอื่น ๆ ได (A)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรูเ้ กีย่ วกับ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
​ความจำเป็นที่สังคมต้องมี​ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมาย ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
5. สาระ​การ​เรียนรู
ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ ความ​สัมพันธ​ของ​กฎหมาย​กับ​ศีลธรรม จารีต​ประเพณี ความ
สัมพันธ​ของ​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น ๆ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   27

6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟง พูด อาน และ​เขียน​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย
การ​งานอาชีพฯ • สืบคน​ขอมูลเกี่ยวกับก​ ฎหมาย​จาก​อินเทอรเน็ต​
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ
2. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ครู​ให​นักเรียน​ชวยกันย​ กตัวอยาง คำ​สั่ง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ กฎหมาย ฯลฯ ซึ่ง
นำมาใช​ควบคุม​พฤติกรรม​ของ​มนุษยใ​น​สังคม
4. ครู​สุม​นักเรียน​จำนวน 20 คน ให​ยกตัวอยาง​กฎหมาย​ที่​ใช​บังคับ​อยู​ใน​สังคม​ไทย​ปจจุบัน
เชน รัฐธรรมนูญ พ.ร.​บ. ยาเสพติด​ใหโทษ พ.ศ. 2522
5. ครู​ใหนักเรียน​ชวยกันย​ ก​ตัวอยาง​กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ ที่​มี​ลักษณะ​เชน​เดียว​กับ​
กฎหมาย คือ ใช​ควบคุมพ​ ฤติกรรม​ของ​มนุษยใ​น​สังคม
6. ครูใหน​ ักเรียน​ชวยกันแ​ สดง​ความ​คิดเห็น​ใน​ประเด็น​ที่วา “ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย”
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
7. ครู​แจก​ใบ​งาน​ที่ 1 เรื่อง ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย ให​นักเรียน​ทำ​และ​แสดง​ความ
คิด​เห็นตาม​ประเด็น​ปญหา​ขอ​ที่ 1 และ 2
8. หลังจาก​ทนี่ กั เรียน​ทำใบ​งาน​เสร็จแ​ ลว ครูส​ มุ น​ กั เรียน​ตอบ​ขอ คิดเ​ห็นตาม​ประเด็นป​ ญ
 หา​ทลี ะ​ขอ
รวบรวม​คำ​ตอบ​ที่​เหมือนกันห​ รือค​ ลาย​กันไ​วเ​ปน​หมวดหมู​เดียวกัน
9. ครู​สรุปค​ าตอบ​ใหน​ ักเรียนฟงวา
จาก​ประเด็น​ปญหา​ที่ 1: ที่ไหน​มสี​ ังคม ที่นั่น​จะ​ตอง​มี​กฎหมาย เพราะ​เมื่อ​มนุษย​มา​อยูร​ วมกัน​
เปน​สังคม​อาจ​มี​การ​ขัดแยง ความ​ไม​เปน​ระเบียบ ตลอด​ถึงค​ วาม​ไม​สงบ​เกิดขึ้น จึง​จำเปน​ตอง​มี​ระเบียบ
กฎเกณฑ ขอบังคับ และ​กฎหมาย​มา​ใช​ควบคุมพ​ ฤติกรรม​ของ​มนุษย​ใน​สังคม
จาก​ประเด็น​ปญหา​ที่ 2: กฎหมาย​ตอง​มี​ลักษณะ​เปน​คำ​สั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ของ​ผูมีอำนาจ​ใน​
แผนดิน (​รัฏฐาธิปตย) ใชไดท​ ั่วไป และ​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ ทั้ง​ยังท​ ำใหเกิด​ความ​สงบ​ขึ้น​ใน​แผนดิน ทำให​
ประชาชน​รูจัก​สิทธิ​และ​หนาทีข่​ อง​ตน​ตามกฎหมาย
สรุป​ความคิด​รวบยอด ที่ไหน​มสี​ ังคม ที่นั่น​จะ​ตอง​มี​กฎหมาย
10. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ​ครู​สงั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การ​นำเสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมิน​ ​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
11. ครู​ใหน​ ักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ที่​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รูและ​ชวย​กันเฉลย​คำตอบ
​ขั้น​ที่ 4 นำไปใช
12. ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​หา​ขาว​ที่​เกี่ยวของ​กับ​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย แลว​นำมา​วิเคราะห​
ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​ตอส​ ังคม​ไทย
28   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ขั้น​ที่ 5 สรุป
13. ครู​และ​นักเรียน​ชวยกัน​สรุป​ถึง​ความ​จำ​เปนที่​สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย แลว​ให​นักเรียน​สรุป​ลง​ใน​
ใบ​งาน​ที่ 2 เรื่อง ความ​จำ​เปนที่​สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครู​ให​นักเรียน​แบงกลุม กลุม​ละ 4–6 คน อภิปราย​เรื่อง หาก​สังคม​ไมมี​กฎหมาย สังคม​นั้น​
จะ​เปน​อยางไร แลวส​ ง​ตัวแทน​นำเสนอ​ผล​งาน​หนา​ชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเ​รียน
2. ใบ​งาน​ที่ 1 เรื่อง ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่นม​ กี​ ฎหมาย
3. ใบ​งาน​ที่ 2 เรื่อง ความ​จำ​เปนที่​สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย
4. หนังสือเ​รียน รายวิชา​เพิม่ เติม กฎหมาย​ทป​ี่ ระชาชน​ควร​รู ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพว​ ฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   29

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
ความหมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญข​ องกฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมาย​และ​ลักษณะ​สำ​คัญ
ของกฎหมาย เวลา 1 ชั่วโมง
1. สาระสำคัญ
​กฎหมาย คือ กฎเกณฑ คำ​สั่ง หรือ​ขอบังคับ​ที่​รัฐ​บัญญัติ​ขึ้น​เพื่อ​ใช​ควบคุม​ความ​ประพฤติ​ของ
ประชาชน​ใน​รัฐ หาก​ผูใด​ฝาฝน​จะ​มีความผิดแ​ ละ​ตอง​ถูกลงโทษ กฎหมาย​ยังเปนก​ ติกา​ของ​สังคม​ทบี่​ ังคับ​
ให​ทุกคน​ปฏิบัติ​ตาม โดย​จะ​กำหนด​สิทธิ​และ​หนาที่​ให​แก​บุคคล​ใน​สังคม นอกจากนี้​การ​อางวา​ไมรู​
กฎหมาย​ไม​เปนข​ อแกตัว​ใหพ​ นผิด​ได
2. ผล​การ​เรียนรู
ตระหนักใ​น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​วา​มปี​ ระโยชน​และจำเปน​ตอ​การ​ดำรงอยู​ของ​สังคม
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายความ​หมาย​ของ​กฎหมาย​ได (K)
2. ​ตระหนักว่ากฎหมายมีความสำคัญหรือก่ อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน ครอบครัว และ
สังคม (A)
3. วิเคราะหล​ ักษณะ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​ได (K)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู

ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)


และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเ้ รือ่ ง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
ความหมาย ลักษณะ​สำคัญ​ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
และความ​สำคัญ​ของกฎหมาย ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ความหมายของกฎหมาย
2. ลักษณะสำคัญของกฎหมาย
3. ความสัมพันธ์ระหว่างศีลธรรม จารีตประเพณี และกฎหมาย
4. ความสำคัญของกฎหมาย
30   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะสำคัญ และความ
สำคัญของกฎหมาย
การ​งานอาชีพฯ • สืบค้นข้อมูลเรื่อง ความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของ
กฎหมายจาก​อินเทอรเน็ต
ศิลปะ • จัดป้ายนิเทศเรื่อง ความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของ
กฎหมาย
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูให้นักเรียนดูภาพตัวอย่างจากหน้าหนังสือพิมพ์ ทั้งภาพที่เป็นด้านบวกของผู้ที่ปฏิบัติตาม
กฎหมายและภาพด้านลบของผู้ที่ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในสังคม
3. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่าง “ปัญหากฎหมาย” ที่มีผู้เขียนมาถามตามคอลัมน์ถาม–ตอบ
ปัญหากฎหมายจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารต่าง ๆ แล้วให้นักเรียนที่ยกตัวอย่างปัญหากฎหมาย
ดังกล่าวนำปัญหานั้นไปเขียนหรือพิมพ์ใส่กระดาษขนาด A 4 และเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ครู​แบง​นักเรียน​ออก​เปน 5 กลุม ชี้แจง​ให​นักเรียน​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ที่​กำหนด​ให
5. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุมเ​ขียน​ชื่อ​สมาชิกท​ ั้งหมด​ใน​กลุม​สง​ครู
6. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​ลงมือป​ ฏิบัตกิ​ ิจกรรม ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ทำ​กิจกรรม​ที่ 1 เรื่อง กฎหมาย​เปน​คำ​สั่ง​หรือข​ อบังคับท​ ี่​มาจาก​รัฏฐาธิปตย
กลุม​ที่ 2 ทำ​กิจกรรม​ที่ 2 เรื่อง กฎหมาย​เปน​คำ​สั่ง​หรือข​ อบังคับ​ทใี่​ชได​ทั่วไป
กลุม​ที่ 3 ทำ​กิจกรรม​ที่ 3 เรื่อง กฎหมาย​เปน​คำ​สั่ง​หรือข​ อบังคับ​ที่​ใชได​ตลอดไป
กลุม​ที่ 4 ทำ​กิจกรรม​ที่ 4 เรื่อง กฎหมาย​เปน​คำ​สั่ง​หรือข​ อบังคับ​ที่​ตอง​ปฏิบัติ​ตาม
กลุม​ที่ 5 ทำ​กิจกรรม​ที่ 5 เรื่อง ​กฎหมาย​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ
7. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ เชน
1) หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ์
วัฒนาพานิช จำกัด
2) หนังสือความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายของคณะนิติศาสตร์ทุกมหาวิทยาลัย
3) ใบความรู้เกี่ยวกับปัญหากฎหมายที่ปรากฏในสังคมปัจจุบัน
4) ข่าวจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารต่างๆ
5) สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
8. เมือ่ ทำกิจกรรมเสร็จทุกกลุม่ แล้ว ​ใหทกุ ก​ ลุม บ​ นั ทึกข​ อ สรุปล​ ง​ใน​ใบ​กจิ กรรม​ทค​ี่ รูแ​ จก​ให หลังจาก​
นั้นครูให้นักเรียนจัดกลุ่มใหม่ โดยให้มีสมาชิกจำนวนเท่ากับกลุ่มเดิมและสมาชิกแต่ละคนจะต้องมาจาก
กลุ่มเดิมอยาง​นอยกลุ่ม​ละ 1 คน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   31

9. ครูให้นักเรียนเลือกตัวแทนกลุ่มไว้เพื่อส่งเป็นตัวแทนนำเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน
10. ​ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานผลการศึกษากิจกรรมกลุ่มละ 1 คน จนครบ
ทั้ง 5 กลุ่ม
11. ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุป​ความรูจาก​การ​ทำกิจกรรม
12. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และ​เปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
13. ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของกฎหมาย
และช่วยกันเฉลยคำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำไปใช
14. ครูให้นกั เรียนเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของกฎหมาย
ให้กับบุคคลในครอบครัว พร้อมทั้งบันทึกผลย้อนกลับจากการเผยแพร่ความรู้นั้น
ขั้น​ที่ 5 สรุป
15. ครูให้นกั เรียนดูแผนภูมสิ รุปเกีย่ วกับความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของกฎหมาย
ประกอบการแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งสรุป
16. ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนไปทั้งหมดในเรื่อง ความหมาย ลักษณะสำคัญ และ
ความสำคัญของกฎหมาย แล้วสรุปลงในใบงานที่ 3 เรื่อง ความจำเป็นที่จะต้องรู้กฎหมาย และความ
สำคัญของกฎหมายที่มีต่อสังคม
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–5 คน จัดป้ายนิเทศเรื่อง ความหมาย ลักษณะสำคัญ
และความสำคัญของกฎหมาย เพื่อเผยแพร่ความรู้ในโรงเรียน
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. ภาพตัวอย่างจากหน้าหนังสือพิมพ์ ทั้งภาพที่เป็นด้านบวกของผู้ที่ปฏิบัติตามกฎหมายและ
ภาพด้านลบของผู้ที่ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในสังคม
2. ใบงานที่ 3 เรื่อง ความจำเป็นที่จะต้องรู้กฎหมาย และความสำคัญของกฎหมายที่มีต่อสังคม
3. ​ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่มาจากรัฏฐาธิปัตย์
4. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไป
5. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ตลอดไป
6. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ต้องปฏิบัติตาม
7. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
8. แผนภูมิสรุปเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะสำคัญ และความสำคัญของกฎหมาย
9. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
32   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   33

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
ความ​สัมพันธร​ ะหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น
สังคม​ศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมาย​และ​ลักษณะ​สำ​คัญ
ของกฎหมาย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
ก​ ฎหมายมีความสัมพันธ์กบั ศาสตร์แขนงอืน่ ๆ มากมาย เช่น ประวัตศิ าสตร์ รฐั ศาสตร์ จริยศาสตร์
และเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น
2. ผล​การ​เรียนรู
ตระหนักในความสำคัญของกฎหมายว่ามีประโยชน์​และจำเป็นต่อการดำรงอยู่ของสังคม
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
​ 1. อธิบายความสัมพันธ์ของกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น ๆ ได้ (K)
2. ตระหนักในความสำคัญของกฎหมายที่มีต่อศาสตร์แขนงอื่น ๆ (A)
3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น ๆ ได้ (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเ้ รือ่ งความ • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กบั ​ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
​ศาสตร​แขนง​อื่น ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3. ทดสอบ​หลังเรียน
34   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. สาระ​การ​เรียนรู
• ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น
1) ประวัติศาสตร์
2) รัฐศาสตร์
3) จริยศาสตร์
4) เศรษฐศาสตร์
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของกฎหมายกับศาสตร์
แขนงอื่น
การ​งานอาชีพฯ • สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ​ความ​สัมพันธ​ของกฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น​จาก
อินเทอรเน็ต
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูให้นักเรียนอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่เตรียมมาล่วงหน้าและแสดงความคิดเห็นในประเด็น
ต่อไปนี้
1) ถ้าสังคมใดไม่มีกฎหมายที่จะนำมาใช้ควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม จะใช้สิ่งใด
เป็นตัวควบคุม
2) ถ้าสังคมใดไม่มีกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ใด ๆ เลย ที่จะมาใช้ควบคุมพฤติกรรมของสมาชิก
ในสังคมนั้น สังคมดังกล่าวจะมีสภาพอย่างไร และจะดำรงอยู่ได้หรือไม่
3. ครูสุ่มนักเรียนแสดงความคิดเห็นประเด็นละ 1–3 คน
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ​ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 6–7 คน ศึกษาและสืบคน​ขอมูล​เกี่ยวกับ​
ความ​สัมพันธ​ของกฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่นจาก​สื่อการเรียน​รูตาง ๆ เชน หนังสือเรียน หนังสือ​ใน
หองสมุด อินเทอรเน็ต เพื่ออภิปรายความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับเรื่องต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับศาสนา
กลุ่มที่ 2 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับศีลธรรมและจริยธรรม
กลุ่มที่ 3 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับจารีตประเพณี
กลุ่มที่ 4 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับประวัติศาสตร์
กลุ่มที่ 5 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับรัฐศาสตร์
กลุ่มที่ 6 อภิปรายเรื่อง กฎหมายกับเศรษฐศาสตร์
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   35

5. หลังจากที่อภิปรายจบลง ให้แต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปรายลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย
เรื่อง ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงต่าง ๆ แล้วส่งตัวแทนนำเสนอ
ผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน
6. ครู​ให​นักเรียน​ทุกคน​ชวยกัน​วิเคราะห​แสดง​ความ​คิดเห็น​เมื่อ​แตละ​กลุม​นำเสนอ​ผล​การ
​อภิปราย​จบ​แลว และ​เขียน​ความ​คิดเห็น​ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ความ​คิดเห็น​เรื่อง ความ​แตกตาง​และ​ความ​
สัมพันธ​ของ​กฎหมาย​กับศ​ าสตร​แขนง​​ตาง ๆ
7. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
8. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำกิจกรรม​เกี่ยวกับ​ความ​สัมพันธ​ของกฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น​และ​ชวย​กัน
เฉลย​คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
9. ครู​แนะนำ​ใหน​ ักเรียน​นำ​ความรูจาก​การเรียน​เรื่อง ​ความ​สัมพันธ​ของกฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง
​อื่น ​ไปวิเคราะห​วาการ​ศึกษา​กฎหมาย​มี​ประโยชน​ตอการ​ศึกษา​วิชา​อื่น ๆ ในหลักสูตร​มัธยมศึกษา​
ตอน​ปลายของนักเรียน​อยางไร​บาง
ขั้น​ที่ 5 สรุป
10. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น และบันทึก
ลงในใบงานที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น
11. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน และช่วยกันเฉลยคำตอบเพื่อตรวจสอบและประเมิน
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–5 คน ทำรายงานเรื่อง ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับศาสตร์
แขนงอื่น แล้วส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. แบบบันทึกผลการอภิปราย เรื่อง ความ​แตกตาง​และความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์
แขนงตาง ๆ
3. แบบบันทึกความคิดเห็นเรื่อง ​ความ​แตกตาง​และความสัมพันธ์ระหวางกฎหมายกับศาสตร์
แขนงตาง ๆ
4. ใบงานที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์แขนงอื่น
5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ​ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
36   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
ที่มา​ของกฎหมาย
และ​ระบบ​กฎหมาย
หน่วยการเรียนรู้ที่
2
เวลา 2 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน

ความรู
1. ที่มา​ของกฎหมาย
2. ระบบกฎหมาย

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
1. ศึกษา​คนควา​และ​ทำรายงาน ทักษะ/กระบวนการ
เกี่ยวกับ​ที่มา​ของกฎหมายและ 1. การ​สื่อสาร
ระบบ​กฎหมาย ที่มา​ของกฎหมาย 2. การคิด
2. ​ศึกษา​และ​อภิปราย​เกี่ยวกับ​ และ​ระบบ​กฎหมาย 3. การแก​ปญหา
ที่มาของกฎหมายและ​ระบบ 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
กฎหมาย 5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. มี​วินัย
2. ใฝ​เรียน​รู
3. มุงมั่น​ในการ​ทำ​งาน
4. มี​จิตสาธารณะ
38   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ที่มาของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษา
วิชากฎหมาย
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมาย​มที​ ี่มา​จาก 2 ทาง คือ กฎหมาย 1. กฎหมายมีที่มาอย่างไร
ลายลักษณอ​ กั ษร​และ​กฎหมาย​ทไี่ มเปนลายลักษณ​ 2. กฎหมายแบงออกเป็นกี่ระบบ อะไรบ้าง
อักษร กฎหมาย​นิยม​แบงเปน 2 ระบบ ไดแก
ระบบ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร และ​ระบบ
กฎหมาย​ที่ไมเปนลายลักษณ​อักษร
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำสำคัญ ได้แก่ ​ราชกิจจานุเบกษา กฎหมาย​ 1. อธิบายที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
สิ​บสอง​โตะ พระ​ธรรมศาสตร กฎหมาย​- ได้
ตรา​สาม​ดวง 2. วิเคราะห์ที่มาของระบบกฎหมาย และจำแนก
2. การ​ศึกษา​ถึงที่มา​ของกฎหมาย​ทำใหเ​ขาใจ​ถึง ระบบกฎหมายที่ประเทศไทยและประเทศอื่น
​ตน​กำเนิด​ของกฎหมาย​หรือ​กฎเกณฑค​ วาม ใช้อยู่ในปัจจุบันได้
​ประพฤติข​ อง​มนุษยว​ า​มีที่มา​อยางไร​และ​
ความ​คลี่คลาย​ขยาย​ตัว​ของกฎเกณฑเ​หลา​นั้น​
จนปรากฏ​เปนลักษณะ​ของระบบ​กฎหมาย​ที่
ประกอบดวย​กฎเกณฑ​ที่มลี​ ักษณะ​ละเอียด
ออนและ​สลับ​ซับซอน​ใน​ปจจุบัน
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานเกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
1.2 ​ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   39

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่อง​มือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและ​หลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมิน​ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย​ เวลา 2 ชั่วโมง
40   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ที่มา​ของกฎหมาย
และ​ระบบกฎหมาย เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การ​ศึกษา​ถึง​ที่มา​ของ​กฎหมาย​ทำ​ให​เขา​ใจ​ถึง​ตน​กำเนิด​ของ​กฎหมาย​หรือ​กฎเกณฑ​ความ​ประพฤติ​
ของ​มนุษย​วา​มี​ที่มา​อยางไร​และ​ความ​คลี่​คลาย​ขยายตัว​ของ​กฎเกณฑ​เหลา​นั้น​จน​ปรากฏ​เปน​ลักษณะ​
ของ​ระบบ​กฎหมาย​ที่​ประกอบดวย​กฎเกณฑ​ที่​มี​​ลักษณะ​ละเอียดออน​และ​สลับซับซอน​ใน​ปจจุบัน
2. ผล​การ​เรียนรู
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาวิชา
กฎหมาย
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายถึงที่มาของกฎหมายหรือบ่อเกิดของกฎหมายได้ (K)
2. บอกที่มาของกฎหมายที่ใช้อยู่ในประเทศไทยในปัจจุบันได้ (K)
3. วิเคราะห์ที่มาของกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรได้ (P)
4. จำแนกระบบกฎหมายที่ใช้อยู่ในบางประเทศที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยได้ (P)
5. เห็นคุณค่าและความสำคัญของกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ายต่าง ๆ (A)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียน​ • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
และ​หลังเรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรูเ้ กีย่ วกับทีม่ า ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
​ของกฎหมายและ​ระบบ​ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
กฎหมาย
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   41

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ที่มาของกฎหมาย
2. ระบบกฎหมาย
6. แนวทาง​​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
การ​งานอาชีพฯ • จัดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับ “วิวัฒนาการระบบกฎหมายไทย” และ
สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเกีย่ วกับทีม่ าของกฎหมายและระบบกฎหมาย
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบว่า กฎเกณฑ์ต่าง ๆ จารีต
ประเพณี และกฎหมายที่ใช้อยู่ในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยย่อมมีที่มาหรือบ่อเกิดที่แตกต่างกัน นักเรียน
จะได้ช่วยกันวิเคราะห์ถึงที่มาของกฎหมายประเภทต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ในการศึกษา
เกี่ยวกับระบบกฎหมาย ตลอดจนที่มาของกฎหมายทำให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้วิเคราะห์
กฎหมายที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันได้
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ​ครูให้นกั เรียนดูภาพการดำรงชีวติ และวิถชี วี ติ ของคนในสังคมไทยสมัยโบราณ เพือ่ เปรียบเทียบ
กับสมัยปัจจุบันว่ามีอะไรที่แตกต่างกันบ้าง
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน แบ่งกันรับผิดชอบศึกษาเนื้อหาคนละ 1 หัวข้อ ดังนี้
1) ที่มาหรือบ่อเกิดของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
2) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
3) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
4) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยองค์กรปกครองสวนทองถิ่น
5) ลักษณะสำคัญของกฎหมายจารีตประเพณี
6) หลักกฎหมายทั่วไป
(หมายเหตุ การแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นการแบ่งกลุ่มล่วงหน้าให้ไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลก่อนถึง
ชั่วโมงเรียน)
5. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดโรงเรียน หอสมุดคณะนิติศาสตร์ มหา-
วิทยาลัยต่าง ๆ ศึกษาค้นคว้าในหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษัท
สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด
6. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ สรุปข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นคว้าในรูปแ​ บบ​รายงานรายบุคคลตาม
หัวข้อที่ตนรับผิดชอบ
42   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
7. เมื่อทำกิจกรรมล่วงหน้าก่อนเข้าชั้นเรียนเสร็จทุกกลุ่มแล้ว เมื่อเข้าสู่ชั้นเรียนครูให้นักเรียนจัด
กลุม่ ใหม่ ใหม้ สี มาชิกเทา่ กับกลุม่ เดิม และสมาชิกแตล่ ะคนจะตอ้ งมาจากกลุม่ เดิมอยาง​นอ ยกลุม่ ละ 1 คน
8. ​สมาชิกของกลุ่มใหม่แต่ละคนจะต้องถ่ายทอดสิ่งที่ตนศึกษาจากกลุ่มเดิมให้เพื่อนฟังจนครบ
ทุกคนทุกหัวข้อ
9. ครูสมุ่ นักเรียนออกมานำเสนอ​ผลการ​ศกึ ษาหน้าชัน้ เรียนในหัวข้อทีเ่ พือ่ น ๆ ในห้องเป็นผูก้ ำหนด
และนักเรียนทุกคนนำรายงานมาส่งครูตามหัวข้อที่ตนรับผิดชอบ
10. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนที่นั่งใกล้เคียงกันออกเปนกลุม กลุม​ละ 2–4 คน จำนวน 11 กลุ่ม เพื่อ
ศึกษาความรู้จากหนังสือเรียน ห้องสมุด หรืออินเทอร์เน็ต กลุม​ละ 1 หัวขอ ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่อง ที่มาหรือบ่อเกิดของกฎหมายโดยทั่วไป
กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่อง กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มาจากฝ่ายนิติบัญญัติ
กลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่อง กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มาจากฝ่ายบริหาร
กลุ่มที่ 4 ศึกษาเรื่อง กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มาจากองค์กรปกครองสวนทองถิ่น
กลุ่มที่ 5 ศึกษาเรื่อง กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่มาจากจารีตประเพณี
กลุ่มที่ 6 ศึกษาเรื่อง กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่มาจากกฎหมายทั่วไป
กลุ่มที่ 7 ศึกษาเรื่อง ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรหรือระบบประมวลกฎหมาย
กลุ่มที่ 8 ศึกษาเรื่อง ระบบกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือระบบกฎหมายจารีต
ประเพณี
กลุ่มที่ 9 ศึกษาเรื่อง ระบบกฎหมายโซเซียลลิสต์
กลุ่มที่ 10 ศึกษาเรื่อง ระบบกฎหมายศาสนา
กลุ่มที่ 11 ศึกษาเรื่อง ความเป็นมาของกฎหมายไทยก่อนการใช้ระบบประมวลกฎหมาย
11. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นตามประเด็นหัวข้ ออภิปราย
ใช้เหตุผล หลักการ หรือกฎเกณฑ์ตามหลักวิชากฎหมาย
12. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้งตามหลักการ ข้อเท็จจริง และเหตุผล ปรับความคิด
ของตนให้เข้ากับกลุ่มเพื่อน
13. ครูให้นกั เรียนทุกกลุม่ สรุปประเด็นอภิปรายเป็นความคิดเห็นของกลุม่ บันทึกลงในแบบบันทึก
ผลการอภิปรายเรื่อง ที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
14. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออ​กมารายงานผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน พรอม​ทั้งเปิดโอกาส
ให้เพื่อนกลุ่มอื่นวิจารณ์แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
15. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
16. ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุป​ความรูที่ได​รับจาก​การ​อภิปราย​เกี่ยวกับ​ที่มา​ของกฎหมายและ​
ระบบกฎหมาย
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
17. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   43

18. ครูให้นักเรียนช่วยกันจัดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับ “วิวัฒนาการระบบกฎหมายไทย”


(ช่วยกันทำในช่วงคาบเรียนอิสระ พักกลางวัน และตอนเย็นหลังเลิกเรียน)
19. ครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนบทสัมภาษณ์บุคคลในอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย เช่น
นิติกร ทนายความ อัยการ ผู้พิพากษา อาจารย์ผู้สอนวิชากฎหมาย ฯลฯ โดยนักเรียนจะตกลงแบ่งกัน
ไปสัมภาษณ์ในเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นนำผลงานที่ได้จากการสัมภาษณ์มาติดที่ป้ายนิเทศวิวัฒนาการ
ระบบกฎหมายของไทย แลวให้คณะกรรมการที่นักเรียนเลือกไว้ 3 คน ช่วยกันตัดสินว่ากลุ่มใดสามารถ
สัมภาษณ์ได้น่า​สนใจที่สุด และมอบรางวัลให้นักเรียนกลุ่มนั้น
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
20. ครูแนะนำให้นกั เรียนอธิบายเรือ่ ง ทีม่ าของกฎหมายและระบบกฎหมาย ให้คนในครอบครัวฟัง
ขั้น​ที่ 5 สรุป
21. ครูให้นักเรียนทุกคนช่วยกันสรุปผลการ​ศึกษาเรื่อง ที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย ครู
ช่วยดูแลความถูกต้อง ขณะที่นักเรียนช่วยกันสรุป แลว​ให​แตละ​คน​บันทึก​ลง​ใน​แบบบันทึก​ความรู
22. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน และช่วยกันเฉลยคำตอบเพื่อตรวจสอบและประเมิน
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
​1. ครู แ ละนั ก เรี ย นจั ด โต้ ว าที ใ นญั ต ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบกฎหมาย เช่ น ระบบกฎหมาย
ลายลักษณ์อักษรเหมาะสมกับประเทศไทยมากที่สุด
2. ครูนำนักเรียนไปทัศนศึกษายังรัฐสภา และสร้างสถานการณ์จำลองเกี่ยวกับขั้นตอนในการ
ออกพระราชบัญญัติ
3. ครูนำนักเรียนไปตอบปัญหากฎหมาย ณ หน่วยงานจากภายนอกทั้งของภาครัฐและเอกชนที่มี
หนังสือเชิญไปร่วม เช่น ศาล มหาวิทยาลัย เป็นต้น
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ภาพการดำรงชีวิตและวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยสมัยโบราณกับสมัยปัจจุบัน
3. แบบบันทึกผลการอภิปราย เรื่อง ที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย
4. แบบบันทึกความรู้
5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
44   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
ประเภทของกฎหมาย
หน่วยการเรียนรู้ที่
3
เวลา 2 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ประเภท​ของกฎหมายแบงต​ ามลักษณะ
การ​ใช​
1) กฎหมาย​สารบัญ​ญัติ
2) กฎหมาย​วิธี​สบัญญัติ
2. ประเภท​ของกฎหมายแบงต​ ามความ
สัมพันธ​ของคูกรณี​ที่​เกี่ยวของ​กับ​
กฎหมายและเนื้อหา​ของกฎหมาย
1) กฎหมาย​เอกชน
2) กฎหมาย​มหาชน
3) กฎหมายระหวางประเทศ​

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
1. การ​ทำแบบ​ทดสอบ ทักษะ/กระบวนการ
2. ​การ​ศึกษาคนควา​และ​นำเสนอ 1. การ​สื่อสาร
เกีย่ วกับก​ ฎหมาย​ประเภท​ตา ง ๆ
ประเภทของ 2. การคิด
3. การ​วิเคราะหแ​ ละ​นำเสนอ​
กฎหมาย​ 3. การแก​ปญหา
เกี่ยวกับ​ปญหา​ทางกฎหมาย 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. มี​วินัย
2. ใฝ​เรียน​รู
3. มุงมั่น​ในการ​ทำ​งาน
4. มี​จิตสาธารณะ
46   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ประเภท​ของกฎหมาย​
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายประเภท​ตาง ๆ ที่จะ​นำ​มาบังคับใชใน​สังคม ทั้งสังคม​ภายใน
​ประเทศและ​สังคม​นานาประเทศ
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
การ​แบงประเภท​ของ​กฎหมาย สามารถ​​ กฎหมายแบงเปนกี่​ประเภท อะไร​บาง​
แบงได​หลาย​ลักษณะ เชน กฎหมาย​สาร​บัญญัติ​
และกฎหมาย​วิธีส​บัญญัติ หรือ​อาจ​แบง​ได​เปน​
กฎหมายเอกชน กฎหมาย​มหาชน และ​กฎหมาย​​
ระหวางประเทศ
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก เอกสิทธิ์ สภาพ​บังคับ 1. จำแนก​ประเภท​ของกฎหมาย​ตามลักษณะ​แหง
2. การแบงประเภท​ของกฎหมาย​ตามลักษณะ​ การ​ใชกฎหมาย​ได
​แหง​การ​ใชกฎหมาย แบง​ไดเปน กฎหมาย 2. ​จำแนก​ประเภท​ของกฎหมาย​ตามความ​สมั พันธ
​สารบัญญ ​ ตั แิ ละกฎหมาย​วธิ ​สี บัญญัติ ของคูกรณีท​ ี่​เกี่ยวของ​กับ​กฎหมายและเนื้อหา
3. การแบงประเภท​ของกฎหมาย​ตามความ​ ​ของกฎหมาย​ได
สัมพันธข​ องคูก รณีท​ เ​ี่ กีย่ วของ​กบั ก​ ฎหมายและ
เนื้อหา​ของกฎหมาย แบงไ​ดเปน กฎหมาย
เอกชน กฎหมาย​มหาชน และ​กฎหมาย
ระหวาง​ประเทศ
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอ​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย​ประเภท​ตาง ๆ
1.2 ​วิเคราะห​และ​นำเสนอ​เกี่ยวกับป​ ญหา​ทางกฎหมาย​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   47

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่อมืองประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ประเภท​ของ​กฎหมาย​ เวลา 2 ชั่วโมง
48   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
ประเภท​ของ​กฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม​ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ประเภท​ของกฎหมาย เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสำคัญ
การ​แบงประเภท​ของ​กฎหมาย​แบง​ได​หลาย​ลักษณะ เชน แบง​โดย​พิจารณา​เนื้อหา​ของ​กฎหมาย​
และ​ความ​สัมพันธ​ของ​คู​กรณีที่​เกี่ยวของ​กับ​กฎหมาย​ ​แบงออก​เปน​กฎหมาย​เอกชน กฎหมาย​มหาชน
และ​กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ แต​ถา​แบง​โดย​พิจารณา​ถึง​ลักษณะ​ของ​การ​ใช​กฎหมายจะ​แบงออกเปน​
กฎหมายสาร​บัญญัติ และ​กฎหมาย​วิธีส​บัญญัติ
2. ผล​การ​เรียนรู
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายประเภทต่าง ๆ ที่จะนำมาบังคับใช้ในสังคม ทั้งสังคมภายในประเทศ
และสังคม​นานาประเทศ
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายความแตกต่างของกฎหมายประเภทต่าง ๆ ได้ (K)
2. จำแนกประเภทของกฎหมายตามลักษณะแห่งการใช้ได้ (K)
3. จำแนกประเภทของกฎหมายตามความสัมพันธ์ของคู่กรณีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายได้ (K)
4. เห็น​ความ​สำคัญ​ของการ​ศึกษา​ประเภท​ของกฎ​หมาย (A)
5. วิเคราะห์แตกต่างระหว่างกฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติได้ (P)
6. วิเคราะห์แตกต่างระหว่างกฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน และกฎหมายระหว่างประเทศได้ (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
ประเภท​ของกฎหมาย ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ประเภทของกฎหมายแบ่งตามลักษณะการใช้
2. ​ประเภทของกฎหมายแบ่งตามความสัมพันธ์ของคู่กรณีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและเนื้อหาของ
กฎหมาย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   49

6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับประเภท​ของกฎหมาย
ศิลปะ • ทำแผนที่ความ​คิดเกี่ยวกับ​ประเภท​ของกฎหมาย พรอม​ทั้ง​ตกแตงใ​ห
สวย​งาม
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจง​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​แตละ​กลุม​จะ​ได​ชวยกัน​วิเคราะห​
ความ​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย​แตละ​ประเภท อันน​ ำไปสู​ความ​เขาใจ​ใน​กฎหมาย​แตละ​ฉบับ​ที่​บังคับใช​อยู​
ใน​สังคม​ไทย​ใน​ปจจุบัน​มาก​ยิ่งขึ้น
2. ​ครู​ใหน​ ักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​แจก​หมายเลข 1–5 ใหก​ ับ​นักเรียน​ทุกคน คนละ 1 หมายเลข โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร​จะ​ได​
หมายเลข​ใด
4. ครู​ใหนักเรียน​ที่​ได​หมายเลข​เดียวกัน​ให​มา​นั่ง​รวมกัน​เปนกลุม​ตาม​แผนผัง​ที่​ครู​เขียน​ไว​บน​
กระดานดำ
5. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน และ​เลขานุการ​กลุม ​กำหนด​หนาที่​รับผิดชอบ​ของ
สมาชิกใน​กลุม เพื่อ​ทำการศึกษา​คน​ควา​เกี่ยวกับป​ ระเภท​ของกฎหมาย
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
6. ครูให​นักเรียน​ที่​เปน​ตัวแทน​แตละ​กลุม​ออกมา​จับสลาก​หัวขอ​เรื่อง​ที่จะ​ศึกษา​คนควาตามที่​
กำหนด​ให ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษาคนควาเ​รื่อง กฎหมาย​สาร​บัญญัติ
กลุม​ที่ 2 ศึกษาคนควา​เรื่อง กฎหมาย​วิธีส​บัญญัติ
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​คนควา​เรื่อง กฎหมาย​เอกชน
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​คนควาเ​รื่อง กฎหมาย​มหาชน
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​​คนควาเรื่อง กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ
ประเด็นก​ าร​ศึกษา
1) ความ​หมาย
2) กฎหมาย​แตละ​ฉบับท​ ี่อยู​ใน​กลุม​กฎหมาย​ประเภท​นี้
3) ความ​แตกตางจาก​กฎหมาย​ประเภท​อื่น
4) การ​บังคับใชก​ ฎหมาย​ประเภท​นใี้​น​สังคม​ปจจุบัน
7. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​กำหนด​หนาที่​ของ​สมาชิก​แตละ​คนใน​การ​ทำงาน​รวมกัน เชน
1) การ​แสดง​ความ​คิดเห็น
2) การ​จดบันทึกค​ วาม​คิดเห็นข​ อง​กลุม
3) การ​คนควา​เพิ่มเติม
4) การ​เตรียม​สื่อ​ประกอบการ​รายงาน​หนา​ชั้นเรียน และ​จัด​ทำเปน​รายงาน​กลุม
50   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
8. หลังจาก​ที่แตละ​กลุม​ศึกษาคนควา​เสร็จ​แลว ครู​ให​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​ออกมา​รายงาน​
หนา​ชั้นเรียน​จน​ครบ​ทุก​กลุม ​พรอม​ทั้งเปดโอกาส​ให​เพื่อน​ซักถาม​และ​แสดง​ความ​คิดเห็น​เพิ่มเติม
9. ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​เปลี่ยนกัน​ออกมา​แสดง​ความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับ​การ​รายงาน​ของ​กลุม
อื่น ๆ ติชม​การ​ทำงาน​เพื่อ​นำไปสู​การ​ปรับปรุงแ​ กไข​ใน​ครั้งต​ อไป
10. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​สง​ตัวแทน​ออกมา​จับสลาก เมื่อ​ได​หมายเลข​ใด ครู​จะ​มอบ​ปญหา​
กฎหมายทีค่​ รู​เตรียม​มา​ให​กับ​นักเรียน​เพื่อ​ไป​ศึกษา​วิเคราะห​ใน​กลุม
11. ​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​ชวยกัน​วิเคราะห​ปญหา​กฎหมายที่ได​รับจาก​ครู ตาม​ประเด็น​ปญหา
ดังนี้
1) ปญหา​นี้เปน​ปญหา​ขัดแยงด​ วย​เรื่อง​อะไร
2) ปญหา​นี้​เกี่ยวของ​กับก​ ฎหมาย​อะไร
3) ​กฎหมาย​ที่​นำมาใชก​ ับ​ปญหา​นี้เปนก​ ฎหมาย​ประเภท​ใด
12. ครู​ใหนักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในเรื่องนั้น ๆ อย่างหลากหลาย
ตามหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
13. ครู​ใหนักเรียน​ที่​เปน​เลขานุการ​กลุม บันทึก​ขอ​เสนอแนะ​ของ​แตละคน​ไว​ และ​สมาชิก​ของ
กลุมชวยกัน​สรุปเ​ปนความ​คิดเห็นข​ อง​กลุม แลว​บันทึก​ลง​ใน​ใบ​งาน​เรื่อง ปญหา​กฎหมาย
14. ​​ครู​ใหตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​ออกไป​รายงาน​หนา​ชั้นเรียน​ถึง​การ​วิเคราะห​ปญหา​กฎหมาย​
และ​การ​แกไข​ปญหา​ของ​กลุม
15. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​ของนักเรียน​
ตาม​แบบ​ประเมิน​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​หรือเ​ปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
16. ครู​ให​นักเรียน​ทำแผนที่​ความคิดเ​กี่ยวกับ​ประเภท​ของ​กฎหมาย ​พรอมทั้งต​ กแตงใ​ห​สวยงาม
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
17. ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรู​ท่ี​ได​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง ประเภท​ของ​กฎหมาย ไป​เผยแพร​
ความรูใหแ​ ก​คนใน​ชุมชน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
18. ครู​ให​นักเรียน​ชวยกัน​​วิเคราะห​เปรียบเทียบ​กฎหมาย​แตละ​ประเภท และ​นำ​กฎหมาย​นั้น ๆ
มา​ใช​และ​เปนแนว​ทางใน​การ​ปฏิบัติ​ใน​สังคม พรอมทั้ง​บันทึก​ความรู​ที่​ไดรับ​ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ความรู
เรื่อง ประเภท​ของ​กฎหมาย
19. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลัง​เรียน และ​ชวยกัน​เฉลย​คำ​ตอบ​เพื่อ​ตรวจสอบ​และ​ประเมิน
ผล​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
​ นักเรียนรวบรวมข่าวจากหนังสือพิมพ์เกีย่ วกับการยกร่างกฎหมายประเภทต่าง ๆ การแก้ไขกฎหมาย
และการประกาศใช้กฎหมาย นำมาติดไว้ในสมุดข่าว คนละ 10 เรื่อง (กำหนดส่งสัปดาห์ละ 2–3 ข่าว)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   51

9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. บัตรหมาย​เลข 1–5 เทากับ​จำนวนนักเรียน
3. แบบบันทึก​ความรูเรื่อง ประเภท​ของกฎหมาย
4. ใบงานเรื่อง ปญหา​กฎหมาย
5. สื่อคอมพิว​เตอรชวยสอนประเภท PowerPoint และ E-Book
6. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
กระบวนการ​จัด​ทำ
กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​
หน่วยการเรียนรู้ที่
4
เวลา 3 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
2. การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำ
กฎหมาย
1) กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ที่​บัญญัติขึ้น
โดย​ฝาย​นิติบัญญัติ
2) กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ที่​บัญญัติ​ขึ้น
โดย​ฝาย​บริหาร
3) กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​ที่​บัญญัติ​ขึ้น
โดย​องคกร​ปกครอง​สวนทองถิ่น
3. ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​
หรือ​ลำดับ​ศักดิ์​ของกฎหมาย
ภาระงาน/ชิ้น​งาน
1. ศึกษา​และ​วเิ คราะห​เกีย่ วกับ​ทม่ี า
ของกฎหมายและการยก​ราง
ทักษะ/กระบวนการ
กฎหมาย กระบวนการ​ 1. การ​สื่อสาร
2. ​ศึกษา​และ​อภิปราย​เกี่ยวกับก​ าร 2. การคิด
จัด​ทำกฎหมาย
พิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการ 3. การแก​ปญหา
​ลาย​ลักษณอักษร
จัด​ทำกฎหมาย 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
3. ศึกษา​และ​นำเสนอ​เกี่ยวกับ 5. การ​ใชเทคโนโลยี
ลำดับชั้น​ของกฎหมาย
​ ลายลักษณอักษร
คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
1. ​รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. มี​วินัย
3. ใฝ​เรียน​รู
4. มี​จิตสาธารณะ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   53

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กระบวนการ​จัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้และเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการ​จดั ท​ ำ ​ตลอด​จน​ขนั้ ต​ อน​ตา ง ๆ ของการ​รา ง​และ​การ​ประกาศ​ใช
​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กระบวนการจั ด ทำกฎหมายลายลั ก ษณ์ การจัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​มี
อักษรแต่ละประเภทจะมีวิธีการที่แตกต่างกัน ทั้ง กระบวนการ​อยางไร​บาง
เรื่องของการเสนอร่ าง การพิจารณา การตรา
และการประกาศใช้
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก กฎหมายอนุบัญญัติ 1. อธิบ​ าย​วิธี​การยก​รางกฎหมาย​ได
​กฎ​ หมาย​แมบท 2. อธิบาย​เกี่ยวกับก​ ารพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน
2. ​เมื่อ​จะ​มี​การ​ออกกฎหมาย​ใด ๆ มาบังคับใช​ ​การจัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ได
​จำเปน​ตอง​มี​การยก​รางกฎหมาย​กอน​ที่จะ​ 3. ​จำแนกและระบุ​ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ได
​นำเขา​สู​กระบวนการ​พิจารณา​ของ​องคก​ร​ที่มี
​หนาที่นั้น​ตอ​ไป
3. การ​พจิ ารณา​และ​ขนั้ ต​ อน​ใน​การ​จดั ท​ ำ​กฎหมาย
ลายลักษณ​อักษร​จะ​มี​ความ​แตกตาง​กัน​ไป
ตามประเภท​ของกฎหมายแตละฉบับ เชน
​รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด
ขอบัญญัตทิ​ องถิ่น ซึ่ง​ขั้นต​ อน​โดยทั่วไป​จะ
ประกอบ​ดวย​การเสนอ​รางกฎหมาย การ
​พิจารณา​รางกฎหมาย กา​รตรากฎหมาย และ
​การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย
4. ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​แตละ​ประเภท​จะ​มี
​ลำดับ​ชน้ั ​หรือ​ลำดับศ​ กั ดิ​ข์ องกฎหมาย​ไมเทากัน
​ใน​สวนกฎหมาย​ไทย​จะ​มลี​ ำดับ​ชั้นเรียง​ตาม
​กฎหมายทีม่ ล​ี ำดับ​สงู สุดไ​ป​จนถึง​ทม่ี ​ลี ำดับร​อง
​ลงมา คือ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ
​พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา
​ก​ฎกระทรวง และ​ระเบียบ​ตาง ๆ
54   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาและวิเคราะหเ​กี่ยวกับ​ที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
1.2 ​ศึกษา​และ​อภิปราย​เกี่ยวกับ​การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
1.3 ​ศึกษา​และนำเสนอ​เกี่ยวกับล​ ำดับ​ชั้นข​ องกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและ​หลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ​ที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย​ เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ​การพิจารณา​และ​ขั้นต​ อน​ในการจัด​ทำกฎหมาย เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ​ลำดับช​ ั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร เวลา 1 ชั่วโมง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   55

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
ที่มา​ของ​กฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กระบวนการ​จัด​ทำ
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
เมื่อ​จะ​มี​การ​ออกกฎหมาย​ใด ๆ มา​บังคับใช ​จำเปน​ตอง​มี​การ​ยก​รางกฎหมาย​กอน​ที่จะ​นำ​เขาสู​
กระบวนการ​พิจารณา​ของ​องคกร​ที่​มี​หนาทีน่​ ั้น​ตอไป
2. ผล​การ​เรียนรู
รู​และเขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัดทำ​ ตลอด​จนขั้นตอน​ตาง ๆ ของ​การ​ราง​และ​การ​ประกาศใช​
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายที่มาของร่างกฎหมายและการยกการร่างกฎหมายได้ (K)
2. ​ตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการยกร่างกฎหมาย (A)
3. ​จำแนกกระบวนการยกร่างกฎหมายได้ (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับที่มา ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
ของกฎหมายและ​การยก​ราง ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
ก​ฎหมาย ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม

5. สาระ​การ​เรียนรู
• ที่มาของกฎหมายและการยกร่างกฎหมาย
56   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • สืบ​คน​ขอมูลเกี
​​ ่ยวกับ​​ที่มา​ของกฎหมายและ​การยก​ราง​กฎหมายจาก
​อินเทอรเน็ต
ศิลปะ • เขียน​แผนที่​ความคิดเกี่ยวกับท​ ี่มา​ของกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
พรอม​ทั้งต​ กแตง​ใหสวย​งาม
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา หลังจาก​นักเรียน​ได​ศึกษา​
หนวย​การ​เรียนรู​นี้​แลว นักเรียน​สามารถ​สราง​ความ​รูความ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​
ของ​ฝาย​ตาง ๆ และ​เปรียบเทียบ​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​แตละ​ฉบับไ​ด
2. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ครู​สนทนา​กับ​นักเรียน​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัดทำ​และ​ขั้นตอน​ตาง ๆ ของ​การ​ราง​และ​การ​
ประกาศใช​กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร เชน
คำ​ถาม​ครู : ใน​การ​จัดทำ​กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​ของ​ไทย​มี​กระบวนการ​ใน​การ​จัดทำ​อยางไร
: กอน​ที่จะ​มี​การ​ประกาศใชก​ ฎหมาย​แตละ​ฉบับ กฎหมาย​นั้น ๆ เรียกวา​อะไร
: อ​ งคกร​ใด​ตามรัฐธรรมนูญฉ​ บับป​ จ จุบนั ท​ ม​ี่ ห​ี นาทีใ​่ น​การ​ตดั สินว​ า ก​ ฎหมาย​ทปี่ ระกาศ
ใช​จะ​ขัด​หรือแ​ ยง​กับ​รัฐธรรมนูญห​ รือไม
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ครู​ใหนักเรียน​ศึกษา​คนควา​จาก​ตำรา เอกสาร หรือ​สื่อการเรียน​รู​ตาง ๆ เชน
1) หนังสือ​เรียน รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ​ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ​
วัฒนา​พานิช จำกัด
2) ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550
3) สื่อ​คอมพิวเตอรช​ วย​สอน เชน E-Book PowerPoint
4) หนังสือ​พิมพ​รายวัน วารสาร​ตาง ๆ
5) อินเทอรเน็ต
ประเด็น​ที่​ตอง​ศึกษา
1) ที่มา​ของ​รางกฎหมาย​และ​การ​ยก​รางกฎหมาย​ประเภท​ตาง ๆ
2) การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​กฎหมาย​ของ​ฝาย​ตาง ๆ ไดแก
(1) ฝาย​นิติบัญญัติ
(2) ฝายบริหาร
(3) องคกร​ปกครอง​สวนทองถิ่น
5. ครูสุ่มนักเรียนแสดงความคิดเห็นและวิเคราะห์ให้เพื่อนฟังหัวข้อละ 1–2 คน แล้วให้นักเรียน
แต่ละคนสรุปความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกความรู้
6. ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุปค​ วามรูที่ไดจ​ าก​การ​ทำกิจกรรม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   57

7. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกตพฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน


​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน​
8. ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับทีม่ าของกฎหมายและการยกร่างกฎหมาย และ​ชว ย​กนั เฉลย​
คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
9. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปใช้ในการติดตามและทำความเข้าใจ
ในกระบวนการยกร่างกฎหมายของไทย
ขั้น​ที่ 5 สรุป
10. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนเรื่อง ที่มาของกฎหมายและการ
ยกร่างกฎหมาย แล้วให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
​ ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน จัดทำป้ายนิเทศเรื่อง ที่มาของกฎหมายและการยกร่าง
กฎหมาย
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ​แบบบันทึกความรู้
3. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กระบวนการ​จัด​ทำ
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​จะ​มี​ความ​แตกตางกัน​ไป​ตาม​
ประเภท​ของ​กฎหมาย​แตละ​ฉบับ เชน รัฐธรรมนูญ พระ​ราช​บัญญัติ พระราชกำหนด ขอบัญญัตทิ​ องถิ่น
ซึ่ง​ขั้นตอน​โดย​ทั่วไป​จะ​ประกอบดวย​การ​เสนอ​รางกฎหมาย การ​พิจารณา​รางกฎหมาย การ​ตรากฎหมาย
และการ​ประกาศใชก​ ฎหมาย
2. ผล​การ​เรียนรู
รู​และเขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัดทำ​ ตลอด​จนขั้นตอน​ตาง ๆ ของ​การ​ราง​และ​การ​ประกาศใช​
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายที่มาของร่างกฎหมายและการยกการร่างกฎหมายได้ (K)
2. ​ตระหนักถึงความจำเป็นของการพิจารณาและขั้นตอนต่าง ๆ ในการจัดทำกฎหมาย (A)
3. คนควา​ขอมูล​และ​อภิปราย​เกี่ยวกับก​ ารพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมายได้ (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่อง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
​การพิจารณา​และ​ขั้นต​ อน​ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
ในการจัด​ทำก​ฎหมาย ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   59

5. สาระ​การ​เรียนรู
• การพิจารณาและขั้นตอนในการจัดทำกฎหมาย
1. กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
2. กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
3. กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่บัญญัติขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับการพิจารณาและขั้นตอนในการจัดทำ
กฎหมาย
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเกีย่ วกับการพิจารณาและขัน้ ตอนในการจัดทำ
กฎหมาย
ศิลปะ • จัดป​ าย​นิเทศ​เรื่อง การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแ​ จงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จดุ ประสงคก​ าร​เรียนรูใ​ หน​ กั เรียน​ทราบ​ถงึ ก​ ระบวนการ​จดั ทำ​กฎหมาย
ของ​ฝาย​ตาง ๆ และ​เปรียบเทียบ​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​แตละ​ฉบับ
2. ครูใ​หน​ กั เรียน​ดส​ู อื่ ค​ อมพิวเตอรช​ ว ย​สอน​เกีย่ วกับก​ าร​จดั ทำ​กฎหมาย​ของ​ฝา ย​ตา ง ๆ ใน​ปจ จุบนั
แลว​ซัก​ถามนักเรียน​ใน​ประเด็นเ​กี่ยวกับเ​รื่อง​ที่​ศึกษา ตัวอยางคำ​ถาม เชน​
คำ​ถาม​ครู : นักเรียน​คิดวา​กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​มี​ขั้นตอน​การ​จัดทำ​ที่​ยุงยาก​
ซับซอน​กวาก​ ฎหมาย​ฉบับอ​ ื่น ​เพราะ​เหตุใด
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
3. ครู​ใหนักเรียน​จับคู​กับ​เพื่อน​ที่นั่ง​ใกลเคียง​กัน​ชวยกัน​ศึกษา​คนควา​ใน​เรื่อง​กระบวนการ​จัดทำ​
กฎหมาย​แตละ​ฉบับ ดังนี้
1) รัฐธรรมนูญ
2) พระ​ราช​บัญญัติ
3) พระราชกำหนด
4) ประมวล​กฎหมาย
5) พระ​ราช​กฤษฎีกา
6) กฎกระทรวง
7) ขอบัญญัติ​กรุงเทพมหานคร
8) ขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด
ฯลฯ
60   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​คู​รับผิดชอบ​ศึกษา​คนควา​กระบวนการ​จัดทำ​กฎหมาย​คู​ละ 1 เรื่อง จาก​
แหลง​การ​เรียนรู​ตาง ๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต
5. ครู​ใหนักเรียน​สรุป​เนื้อหา​เพิ่มเติม​โดย​สังเขป​ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ความรูเรื่อง การ​พิจารณา​และ​
ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​กฎหมาย
6. ครู​ใหนักเรียน​ทเี่​ปน​ตัวแทน​ของ​แตละ​คอู​ อกมา​นำเสนอ​ผล​การ​ศึกษา​หนา​ชั้นเรียน
7. ครู​และ​เพื่อน​คน​อื่น ๆ ใหค​ วาม​คิดเห็นเ​พิ่มเติม​จากที่​ตัวแทน​แตละ​กลุม​ออกมา​รายงาน
8. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน​
9. ครู​ให​นักเรียน​ทำใบ​งาน​เรื่อง การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
10. ​ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการพิจารณาและขัน้ ตอนในการจัดทำกฎหมาย และช่วยกัน
เฉลยคำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
11. ครู​ให​นักเรียน​ติดตาม​กระบวน​การ​จัดทำ​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ฉบับ​หนึ่ง​จาก​สื่อ​ตาง ๆ เชน
อินเทอรเน็ต หนังสือ​พิมพ แลว​วิเคราะห​วา​เปนไปตาม​หลักการ​ที่​ได​ศึกษา​มา​หรือไม ​แลว​บันทึก​ไว​เปน​
ความรูข​ อง​ตน​เอง
ขั้น​ที่ 5 สรุป
12. ครู​และ​นักเรียน​รวมกัน​สรุป​เนื้อหา​ที่​เรียน​ไป​ทั้งหมด​ใน​เรื่อง การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​
จัดทำ​กฎหมาย แลว​ให​นักเรียน​สรุปล​ ง​ใน​แบบ​บันทึก​ความ​รูเรื่อง การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​
กฎหมาย
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครู​นำ​นักเรียน​ไป​ทัศนศึกษา​เกี่ยวกับก​ าร​พิจารณา​กฎหมาย​ของ​รัฐสภา ณ อาคาร​รัฐสภา แลว​ให​
นักเรียน​บันทึก​ความรู​ที่​ไดล​ ง​ใน​สมุดบันทึก
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเกี่ยวกับการจัดทำกฎหมายของฝ่ายต่าง ๆ ในปัจจุบัน
2. ​ใบงานเรื่อง การพิจารณาและขั้นตอนในการจัดทำกฎหมาย
3. แบบบันทึกความรู้เรื่อง การพิจารณาและขั้นตอนในการจัดทำกฎหมาย
4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ​ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   61

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กระบวนการ​จัด​ทำ
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​แตละ​ประเภท​จะ​มี​ลำดับชั้น​หรือ​ลำดับ​ศักดิ์​ของ​กฎหมาย​ไม​เทากัน ใน​
สวน​กฎหมาย​ไทย​จะ​มี​ลำดับชั้น​เรียง​ตามกฎหมาย​ที่​มี​ลำดับสูงสุด​ไป​จน​ถึงที่​มี​ลำดับ​รอง​ลงมา คือ
รัฐธรรมนูญ พระ​ราช​บัญญัติ พระราชกำหนด พระ​ราช​กฤษฎีกา กฎกระทรวง และ​ระเบียบ​ตาง ๆ
2. ผล​การ​เรียนรู
​ รูและเขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัด​ทำ ตลอด​จน​ขั้น​ตอน​ตาง ๆ ของการรางและ​การ​ประกาศ​ใช
กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษรได้ (K)
2. ​เห็นความสำคัญของการจัดลำดับชั้นกฎหมาย (A)
3. ​อภิปราย​และจำแนกกฎหมายแต่ละลำดับชั้นได้ (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่อง ลำดับชั้น • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
​ของกฎหมาย​ลายลักษณ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
อักษร ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3. ทดสอบ​หลังเรียน
5. สาระ​การ​เรียนรู
• ลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ​สรุปความรู้เรื่อง ลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในรูปแบบของ
PowerPoint​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   63

7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแ​ จงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จดุ ประสงคก​ าร​เรียนรูใ​ หน​ กั เรียน​ทราบ​วา นักเรียน​จะ​ตอ ง​เรียง​ลำดับชัน้ ​
หรือ​ลำดับ​ศักดิ์​ของ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ได
2. ​ครูใหน​ ักเรียน​บอกชื่อก​ ฎหมาย​ทนี่​ ักเรียน​รูจักม​ า​คนละ 1 ชื่อ และ​ใหน​ ักเรียน​บอก​ความ​สำคัญ​
ของ​กฎหมาย​ที่​นักเรียน​กลาว​ถึง
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
3. ครู​ใหน​ ักเรียน​เสนอ​ความคิดเ​ห็นวา​จะ​เรียง​ลำดับชั้น​หรือล​ ำดับ​ศักดิ์​ของ​กฎหมาย​อยางไร
4. ​ครูแบง​นักเรียน​ออก​เปน 5 กลุม โดย​ให​นักเรียน​จับสลาก​หมายเลข 1–5 ผู​ที่​ได​หมายเลข
​เดียวกัน​ให​ไป​นั่ง​ใน​กลุม​เดียวกัน
5. ​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน​และ​เลขานุการ​กลุม แบงงาน​กัน​ทำตาม​ความ​ถนัด​ของ​
แตละบุคคล
6. ​​ครู​ใหนักเรียน​ลงมือ​ศึกษา​ตาม​หัวขอ​ที่​แบง​กัน​ไว โดยทำการศึกษา​จาก​สื่อการเรียน​รูตาง ๆ
เชน หนังสือเรียน หนังสือ​ใน​หองสมุด อินเทอรเน็ต
7. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​สรุปผล​การ​ศึกษา​และ​ขอ​คิดเห็น​ของ​กลุม​ลง​ใน​สมุด
8. ​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุมส​ ง​ตัวแทน​ออกมา​รายงาน​หนา​ชั้นเรียน พรอมกับเปดโอกาส​ให​เพื่อน​
ซักถาม​ขอ ส​ งสัย แลวใ​หแ​ ตละคน​บนั ทึกค​ วามรูท​ ไ​ี่ ดรบั ล​ ง​ใน​แบบ​บนั ทึกค​ วามรูเ รือ่ ง ลำดับชัน้ ข​ อง​กฎหมาย​
ลายลักษณอักษร
9. ครู​ใหนักเรียน​ชวยกัน​สรุป​เนื้อ​หาเรื่อง ลำดับชั้น​ของ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร เพิ่มเติม​จาก
ที่​เพื่อน​รายงาน​ไป​แลว
10. ใน​ขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสน​อผลงาน
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมิน​พฤติกรรม​ในการ​ทำงาน​เปนราย​บุคคล​และ​เปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
11. ครู​ให​นักเรียน​ทำกิจกรรม​เกี่ยวกับ​ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​และ​ชวย​กันเฉลย
​คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
12. ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรูจาก​การเรียน​เรื่อง ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​
ไป​เผยแพร​ให​ความรูแกค​ นใน​ครอบครัว​และเพื่อนบาน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
13. ครูแ​ ละ​นกั เรียน​ชว ยกันว​ เิ คราะหเ​พิม่ เติมเ​นือ้ หา​ทน​ี่ กั เรียน​ยงั ไ​มไดก​ ลาว​ถงึ และ​ใหน​ กั เรียน​สรุป​
ความรู​ทไี่​ดรับ​จาก​การ​​ศึกษา​ใน​รูปแบบ​ของ PowerPoint
14. ครูใ​หน​ กั เรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลังเ​รียน และ​ชว ยกันเ​ฉลย​คำ​ตอบ​เพือ่ ต​ รวจสอบ​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
​ครูใ​ห​นักเรียน​แบงกลุม กลุมล​ ะ 3–5 คน ทำ​รายงาน​เรื่อง ลำดับชั้น​ของ​กฎหมาย​ไทย ​แลว​สง​
ตัวแทน​นำเสนอ​ผล​งาน​หนา​ชั้นเรียน
64   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบบันทึกความรู้เรื่อง ลำดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
2. ​แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
3. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
การบังคับใชกฎหมาย
และการ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
หน่วยการเรียนรู้ที่
5
เวลา 3 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. การบังคับใชกฎหมาย
1) การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย
2) วันเริ่ม​บังคับใชกฎหมาย​
3) อาณาเขต​ที่​กฎหมาย​ใชบังคับ
4) บุคคล​ทกี่​ ฎหมาย​ใชบังคับ
5) บุคคล​และ​สถาบันท​ ี่​เกี่ยวของ​กับ​การ​บังคับ
ใชกฎหมาย
2. การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
1) ​การยกเลิกก​ ฎหมาย​โดย​ตรง​หรือโดย​ชัดแ​ จง
2) ​การยกเลิกก​ ฎหมาย​โดย​ปริยาย
3) การยกเลิก​กฎหมาย​โดย​ศาล​รัฐธรรมนูญ
4) การยกเลิก​กฎหมาย​โดย​คำพิพากษา​ของศาล
5) ผล​บาง​ประการ​ของการยกเลิกก​ ฎหมาย

ภาระงาน/ชิ้น​งาน ทักษะ/กระบวนการ
• ศึกษา​คนควา​และ​นำเสนอ​ผล 1. การ​สื่อสาร
การบังคับใชกฎหมาย 2. การคิด
การ​ศึกษา​เกี่ยวกับ​การบังคับใช
และ​การ​สิ้น​ผลการ 3. การแก​ปญหา
กฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการ
บังคับใชกฎหมาย
บังคับใชกฎหมาย​ 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ซื่อสัตย​สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ​เรียน​รู
4. มุงมั่น​ในการ​ทำ​งาน
66   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การบังคับใชกฎหมาย
และ​การ​สิ้น​ผล​การบังคับใชกฎหมาย
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รูและเขาใจ​เกี่ยวกับก​ ารบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
เมื่อรัฐสภา​ตรากฎหมายออกมา​จะ​มี​ 1. เมื่อรัฐต​ รากฎหมายออกมา​บังคับใชจ​ ะเกิดผ​ ล
ผลบังคับใชใน​สังคม และ​หาก​กฎหมาย​นั้น​ไม ​​​อยางไร
เหมา​ะสมที่จะ​ใชบังคับ​อีก​ตอ​ไป ตอง​มกี​ ารยกเลิก 2. ​หาก​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ฉบับ​หนึ่ง​ไมเหมาะสม​
ที่จะ​นำ​มา​ใชกับ​สถานการณ​ปจจุบัน ผูม​ ี​สวน
​เกี่ยวของ​ควร​ทำ​อยางไร
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก อำนาจ​อธิปไตย ทองทะเล- 1. อธิบาย​กระบวนการ​บังคับใชกฎหมาย​
​หลวง กฎหมายอิสลาม 2. ​อธิบาย​เกี่ยวกับว​ ิธี​การยกเลิก​กฎหมาย​
2. เมื่อ​รัฐต​ รากฎหมายออกมา ยอม​มี​ผล​บังคับ และผล​ของการยกเลิกก​ ฎหมาย
​ใชใน​สังคม และ​ตอง​ประกาศ​ใหป​ ระชาชน​รู
​โดยทัว่ ก​ นั เพือ่ จ​ ะ​ได​ปฏิบตั ​ติ าม​ได​ถกู ตอง
และเมื่อกฎหมาย​นั้น ๆ ไมม​ ี​ความเหมาะสม
ท​ จี่ ะ​ใชบงั คับเ​ปนกฎหมาย​ไดอ​ กี ต​ อ ไ​ป จะ​ตอ ง​
มี​การยกเลิก ซึ่ง​รัฐ​ก็ไดก​ ำหนด​วิธี​การ​สิ้น​ผล
การบังคับใชกฎหมาย​ไวด​ วย
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอ​ผลการ​ศึกษา​เกี่ยวกับก​ ารบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับ
  ใชกฎหมาย​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   67

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง​เรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผล
​การบังคับใชกฎหมาย เวลา 3 ชั่วโมง
68   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
การบังคับใชก​ ฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การบังคับใชกฎหมาย
และ​การสิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
เมื่อ​รัฐ​ตรากฎหมาย​ออกมา ยอม​มี​ผล​บังคับใช​ใน​สังคม และ​ตอง​ประกาศ​ให​ประชาชน​รู​โดย​ทั่วกัน
เพื่อจะ​ได​ปฏิบัติ​ตาม​ได​ถูกตอง และ​เมื่อก​ ฎหมาย​นั้น ๆ​ ไมมี​ความ​เหมาะสม​ที่จะ​ใช​บังคับเ​ปน​กฎหมาย​ได​
อีก​ตอไป จะ​ตอง​มี​การ​ยกเลิก​ซึ่ง​รัฐ​ก็ไดก​ ำหนด​วิธีการ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใช​กฎ​หมายไว​ดวย
2. ผล​การ​เรียนรู
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายและการสิ้นผลการบังคับใช้กฎหมายในสังคมไทย
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายถึงวิธีการประกาศใช้และวันเริ่มบังคับใช้กฎหมายได้ (K)
2. ​อธิบายถึงการสิ้นผลการบังคับใช้กฎหมายได้ (K)
3. ​บอกประโยชน์ของการอุดช่องว่างในกฎหมายได้ (K)
4. ​อธิบายและตีความหลักกฎหมายได้ (K, P)
5. ​ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการตีความหลักกฎหมาย (A)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับการ ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
บังคับใชกฎหมายและ​การ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. การบังคับใชกฎหมาย
2. ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใ​ชกฎหมาย​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   69

6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายและการสิ้นผลการ
บังคับใช้กฎหมาย
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ศึ ก ษาค้ น คว้ า ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายและการสิ้ น สุ ด การ
บังคับใช้กฎหมายจากอินเทอร์เน็ต
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแ​ จงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จดุ ประสงคก​ าร​เรียนรูใ​ หน​ กั เรียน​ทราบ​วา นักเรียน​จะ​ไดศ​ กึ ษา​เกีย่ วกับ
กฎหมาย​ใน​ประเด็น​ของ​การ​บังคับ การ​สิ้น​ผล​บังคับใช​ และ​กระบวนการ​ยุติธรรม​ทางแพง​ ​ทางอาญา
และ​ทาง​ปกครอง
2. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​สุม​นักเรียน​ทีละ 1 คน เพื่อให​ยกตัวอยาง​กฎหมาย​ที่​ตน​เอง​รูจัก และ​ทำ​ตอไป​จนได​จำนวน​
ประมาณ​ครึ่ง​หอง
4. นักเรียน​แสดง​ความคิดเ​ห็นวาน​ กั เรียน​รจู กั ก​ ฎหมาย​ทช​ี่ ว ยกันย​ กตัวอยางไดอยางไร จาก​ทไี่ หน
และ​ปฏิบัติ​ตาม​หรือไม ถาไ​ม​ปฏิบัตติ​ าม​จะ​มผี​ ล​อยางไร
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
5. ​ครูแบง​นักเรียน​ออก​เปน 6 กลุม แลว​ชี้แจง​ให​ศึกษา​คนควา​ตาม​กิจกรรม​ที่​ครู​กำหนด​ให
6. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​ศึกษา​คนควา​จาก​แหลง​การ​เรียนรูตาง ๆ เชน ​หนังสือ​ในหองสมุด
อินเทอรเน็ต ใน​หัวขอทีก่​ ำหนด​ให ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​การ​บังคับใชก​ ฎหมาย ใน​เรื่อง
– การ​ประกาศใชก​ ฎหมาย
– วันเ​ริ่ม​บังคับใช​กฎหมาย
กลุม​ที่ 2 ศึกษา​การ​บังคับใชก​ ฎหมาย ใน​เรื่อง
– อาณาเขต​ที่​กฎหมาย​ใชบ​ ังคับ
– บุคคล​ที่​กฎหมาย​ใชบ​ ังคับ
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​การ​บังคับใช​กฎหมาย ใน​เรื่อง
– บุคคล​และ​สถาบันท​ ี่​เกี่ยวของ​กับ​การ​บังคับใช​กฎหมาย
– กระบวนการ​ยุติธรรม​ทางแพง​และ​กระบวนการ​ยุติธรรม​ทางอาญา
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​การ​บังคับใชก​ ฎหมาย ใน​เรื่อง
– การ​ตีความ​กฎหมาย
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​การ​บังคับใชก​ ฎหมาย ใน​เรื่อง
– การ​อุดช​ องวาง​ของ​กฎหมาย
กลุม​ที่ 6 ​ศึกษา​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใชก​ ฎหมาย
7. เมือ่ ท​ ำ​กจิ กรรม​เสร็จท​ กุ ก​ ลุม แ​ ลว ครูใหน​ กั เรียน​จดั กลุม ใ​หม โดยใหก​ ลุม ใ​หมมส​ี มาชิกที​​ ม่ าจาก​
กลุม​เดิม​​อยาง​นอยกลุม​ละ 1 คน
70   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
8. ​ครู​ใหนกั เรียนเลือกตัวแทนกลุม่ ไว้เพือ่ ส่งเป็นตัวแทนออกมานำเสนอผลการศึกษาหน้าชัน้ เรียน
9. ​ครูให​แตละ​กลุมส​ งตัว​แทนออกมารายงานผลการศึกษา จนครบทั้ง 6 กลุ่ม
10. ​ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุปค​ วามรูจาก​การ​ศึกษา​และ​นำเสนอ​ผลงาน และครู​ให​นักเรียน​แตละ​
คน​บันทึก​ความรูที่ได​รับ​ลง​ใน​แบบบันทึก​ผลการ​ศึกษา​คนควา​เรื่อง การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผล
การบังคับใชกฎหมาย
11. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การ​นำเสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
12. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​ใบ​งานเรื่อง การ​บังคับใชแ​ ละ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใช​กฎหมาย
13. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ที่​เกี่ยวกับ​การ​บังคับใช​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใช​กฎหมาย และ
​ชวย​กันเฉลย​คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
14. ครูแ​ นะนำ​ใหน​ กั เรียน​สบื ค​ น ก​ ฎหมาย​ฉบับใ​ด​ฉบับห​ นึง่ แลวน​ ำ​มา​วเิ คราะหเ​กีย่ วกับก​ ารบังคับใช
​และ​การสิ้น​ผลการบังคับใชข​ องกฎหมาย​ฉบับด​ ัง​กลาว ตามความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้
ขั้น​ที่ 5 สรุป
15. ​นักเรียนดูสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน PowerPoint และ E-Book เกี่ยวกับการบังคับใช้และ
การสิ้นผลการบังคับใช้กฎหมาย
16. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนไปทั้งหมด แล้วให้นักเรียนแต่ละคนสรุปลงในแบบ
บันทึกความรู้
17. ครู​ให​นกั เรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลัง​เรียน และ​ชว ยกัน​เฉลยคำ​ตอบ​เพือ่ ​ตรวจสอบ​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรู​ข อง​นกั เรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
1. ​ให​นักเรียน​ทำแผนทีค่​ วามคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับก​ าร​บังคับใช​กฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล
​การ​บังคับใช​กฎหมาย​​ใน​รูป​แบบ​ของ PowerPoint หรือ E-Book
2. ใหน​ กั เรียน​ศกึ ษา​คน ควาจ​ าก​อนิ เทอรเน็ต วารสาร หนังสือเ​กีย่ วกับก​ ฎหมาย​ใหม ๆ ทีป​่ ระกาศใช
และ​นำ​ขอมูล​มา​จัดทำ​ปาย​นิเทศ​
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ​ใบงานเรื่อง การบังคับใช้และการสิ้นผลการบังคับใช้กฎหมาย
3. แบบบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าเรื่อง การบังคับใช้และการสิ้นผลการบังคับใช้กฎหมาย
4. แบบบันทึก​ความรู
5. ​สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน PowerPoint และ E-Book เกี่ยวกับการบังคับใช้และการสิ้นผล
การบังคับใช้กฎหมาย
6. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพว์ ฒ
ั นาพานิช
จำกัด
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   71

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
รัฐธรรมนูญ
หน่วยการเรียนรู้ที่
6
เวลา 3 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ความเปนมา​ของรัฐธรรมนูญ​ไทย
2. ความ​แตกตาง​ของรัฐธรรมนูญ​แหง
ราชอาณาจักร​ไทย​แตละ​ฉบับท​ ี่ได​มกี​ าร
ประกาศ​ใช
3. สาระสำคัญ​ของรัฐธรรมนูญ​แหง​
ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550
4. หลักเกณฑ​สำคัญที่​กำหนด​ไวใน
รัฐธรรมนูญ ซึง่ เ​ปนหลักใ​นการ​ปกครอง
ประเทศ
5. สรุป​โครงสราง​และ​อำนาจ​หนาทีข่​ อง
ฝาย​นิติบัญญัติ ฝาย​บริหาร และ​ฝาย
ตุลาการ

ภาระงาน/ชิ้น​งาน ทักษะ/กระบวนการ
• ศึกษา​คนควา​และ​ทำกิจกรรม 1. การ​สื่อสาร
เชน การนำ​เสนอ​ผลงาน การ 2. การคิด
รัฐธรรมนูญ​
เลนเกม การแสดง​ละคร​ หรือ 3. การแก​ปญหา
การแสดง​บทบาท​สมมุติ​​ 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ 5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ​รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ​ซื่อสัตย​สุจริต
3. มี​วินัย
4. มี​จิตสาธารณะ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   73

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 รัฐธรรมนูญ

ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
ร​ู้และเข้าใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ​วา​เปนกฎหมาย​สูงสุดที่วาดวย​การจัด​ระเบียบ​แหงอำนาจ​รัฐ​
และกำหนด​หลักประกัน​สทิ ธิ​และเสรีภาพ​ของ​ประชาชน​ใน​รฐั ซึง่ เปนกฎหมาย​ทม่ี ​ฐี านะ​เหนือ​กวา​บรรดา​
กฎหมายแ​ละ​กฎเกณฑ​ทง้ั ปวง​ทม่ี ​กี ารตรา​ออกมา​ใชบงั คับ
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
รัฐธรรมนูญ​เปนกฎหมาย​สูงสุดที่​ใช​ รัฐธรรมนูญคืออะไร เกี่ยวของ​กับ​เรื่อง​ใด
ปกครองประเทศ เกีย่ วของ​กบั ก​ าร​วาง​ระเบียบ​และ​ บาง
หลักเกณฑ​ในการ​ปกครอง​ประเทศ รวม​ทั้งเปน
หลักประกัน​ใน​สทิ ธิ เสรีภาพ และ​หนาที​ข่ อง
ประชาชน
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก คณะราษฎร ประชามติ 1. ​อธิบาย​ความรูเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
ก​ฎมณเฑียรบาล พระราชบัญญัติ​ประกอบ- 2. ​เปรียบเทียบ​ความ​แตกตาง​ของรัฐธรรมนูญ​
รัฐธรรมนูญ แตละ​ฉบับที่ประกา​ศใชมาแลว​
2. ​รัฐธรรมนูญ​เปนกฎหมาย​สูงสุดที่​ใชป​ กครอง
​ประเทศ โดย​มี​บทบัญญัต​เิ กีย่ วกับ​หลักเกณฑ
​การ​ปกครอง การ​ใช​อำนาจ การเปลีย่ น​ถา ย
อำนาจ การ​ใหหลักประกัน​สิทธิ เสรีภาพ และ
หนาที่​ของ​ประชาชน​ภายใน​ประเทศ ถือเ​ปน
กฎหมายแมบท​ของกฎหมายอื่น ๆ
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้าและทำกิจกรรม เชน ​การนำเสนอ​ผลงาน การเลน​เกม การแสดง​ละคร
หรือ​การแสดง​บทบาท​สมมุติเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ​
74   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมิน​ผลงาน​/กิจกรรม​เปน
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รัฐธรรมนูญ เวลา 3 ชั่วโมง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   75

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
รัฐธรรมนูญ
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 รัฐธรรมนูญ เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
ประเทศ​ไทย​เปน​ประเทศ​ที่​ปกครอง​ดวย​ระบอบ​ประชาธิปไตย​อัน​มี​พระมหากษัตริย​เปน​ประมุข
และ​มี​รัฐธรรมนูญ​เปน​กฎหมาย​หลัก​ที่​วาดวย​การ​จัด​ระเบียบ​แหง​อำนาจ​สูงสุด​ใน​การ​ปกครอง​ประเทศ
ตั้งแต​วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เปนตนมา ประชาชน​ภายใต​การ​ปกครอง​ใน​ระบอบ​ประชาธิปไตย​
ยอม​เปน​เจาของ​อำนาจ​ใน​การ​ปกครอง​ประเทศ​จึง​ตอง​เรียนรู​และ​ทำความ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​​รัฐธรรมนูญ
2. ผล​การ​เรียนรู
รูและเข​าใจ​เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ​วา​เปนกฎหมาย​สูงสุดที่วาดวย​การจัด​ระเบียบ​แหง​อำนาจ​รัฐ และ​
กำหน​ดหลักประกัน​สิทธิ​และเสรีภาพ​ของ​ประชาชน​ใน​รัฐ ซึ่ง​เปนกฎหมาย​ที่มี​ฐานะ​เหนือ​กวา​บรรดา​
กฎหมายและ​กฎเกณฑ​ทั้งปวง​ที่มกี​ ารตรา​ออกมา​ใชบ​ ังคับ
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. ​บอก​ความ​เปนมา​ของ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย​ตั้งแต​เปลี่ยนแปลง​การ​ปกครอง
พ.ศ. 2475 จนถึง​ปจจุบัน​ได (K)
2. อธิบาย​หลักเกณฑ​สำคัญ​ที่​กำหนด​ไว​ใน​รัฐธรรมนูญ ซึ่ง​เปนหลัก​ใน​การ​อำนวยการ​ปกครอง​
ประเทศได (K)
3. ตระหนักถึง​ความ​สำคัญ​ของ​รัฐธรรมนูญท​ มี่​ ี​ตอส​ ังคม​ไทย (A)
4. เปรียบเทียบ​ความ​แตกตาง​ของ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย​แตละ​ฉบับ ใน​สาระสำคัญ
ที่​เห็น​เดนชัด​ได (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
รัฐธรรมนูญ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
76   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญไทย
2. ​ความแตกต่างของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบับที่ได้มีการประกาศใช้​
3. สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
4. ​หลักเกณฑ์สำคัญที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นหลักในการปกครองประเทศ
5. สรุปโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟ​ ัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
การงาน​อาชีพ​ฯ • นำเสนอผลงานเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญในรูปแบบของ PowerPoint
หรือ E-Book
​ศิลปะ • ​แสดงบทบาทสมมุติหรือแสดงละครเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1​.​ ​ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา​ นักเรียน​แตละ​กลุม​จะ​ได​
ชวย​กัน​ศึกษาและ​วิเคราะห​เกี่ยวกับ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​วา​เปน​กฎหมาย​สูงสุด​ที่​วาดวย​การ​จัด​ระเบียบ​
แหง​อำนาจ​รัฐ ​และ​เปน​กฎหมาย​ที่​มี​ฐานะ​เหนือกวา​บรรดา​กฎหมาย​และ​กฎเกณฑ​ทั้งปวง​ที่​มี​การ​ตรา​
ออกมา​ใช
​ ​2​.​ ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
​ ​3​.​ ​ครู​แจก​บัตร​หมายเลข ​1​–​5​ ​ใหก​ ับ​นักเรียน​ทุกคน ​คนละ ​1​ ​หมายเลข ​โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร​จะ​
ได​หมายเลข​ใด
​ ​4​.​ ค​ รูใ​หน​ กั เรียนทีไ​่ ดห​ มายเลข​เดียว​กนั ม​ า​นงั่ ร​วม​กนั เ​ปนกลุม ต​ าม​แผนผังท​ ค​ี่ รูเ​ขียน​ไวบ​ น​​กระดาษ​
ดำ
​ ​5​.​ ​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน ​เลขานุการ ​และ​กำหนด​หนา​ที่​รับผิดชอบ​ของ​สมาชิก​
ใน​กลุม
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
6. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​ชวยกัน​วางแผนการ​ทำงาน​โดย​ศึกษา​จาก​ผล​การ​เรียนรู​เปนหลัก ครู
ชวย​ให​คำ​แนะนำ​จนไดป​ ระเด็นท​ ี่จะ​ศึกษา และ​มอบหมายให​แตละ​กลุม​รับผิดชอบ​กลุม​ละ​ประเด็น ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​ความ​เปนมา​ของ​รัฐธรรมนูญ​ไทย
กลุม​ที่ 2 ศึกษาความ​แตกตาง​ของ​รัฐธรรมนูญ​ไทย​ที่​ประกาศใช​ทั้ง 18 ฉบับ
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​สาระสำคัญข​ อง​รัฐธรรมนูญ​แหงร​ าชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2540
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​​หลักเกณฑส​ ำคัญ​ที่​กำหนด​ไว​ใน​รัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​ไทย
พุทธศักราช 2550
กลุม​ที่ 5 สรุป​โครงสรางและ​อำนาจ​หนาที่​ของ​ฝายนิติบัญญัติ ฝาย​บริหาร ​และ​ฝาย​ตุลาการ​
ตาม​รัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   77

7. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​กำหนด​หนาทีข่​ อง​สมาชิก​แตละ​คนใน​การ​ทำงาน​รวมกัน เชน


1) การ​แสดง​ความ​คิดเห็น
2) การ​จดบันทึกค​ วาม​คิดเห็น​ของ​กลุม
3) การ​คนควาเ​พิ่มเติม
4) การ​เขียน​บทพูดเ​พื่อ​ใชใ​น​การ​แสดงละคร​หรือ​บทบาท​สมมุติ
5) การ​ทำ​อุปกรณส​ ำหรับ​เลนเกม
8. ครู​ใหตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุมอ​ อกมา​เสนองาน​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน​ใน​ลักษณะ​ของ
1) การ​เสนอ​ผลงาน​ใน​รูป​แบบของ PowerPoint หรือ E-Book
2) การ​​เลน​เกม
3) การ​แสดงละคร​หรือ​การแสดงบทบาท​สมมุติ
9. เมื่อแต่ละกลุ่มเสนองานที่รับผิดชอบแล้ ว เปิดโอกาสให้ เพื่อนนักเรียนมีส่ วนร่วมในการ
เสนองานและซักถามแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
10. ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุป​ความรูที่ไดร​ ับจากการทำกิจกรรม
11. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
12. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​ใบ​งาน​เรื่อง รัฐธรรมนูญ
13. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ทเี่​กี่ยวกับร​ ัฐธรรมนูญและ​ชวย​กันเฉล​ยคำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
14. ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรู​ที่​ได​จาก​การ​ศึกษา เรื่อง รัฐธรรมนูญ ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​
ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
15. ​นกั เรียน​แตละ​กลุม ช​ ว ยกันส​ รุปเ​นือ้ หา​ใน​ประเด็นท​ ก​ี่ ลุม ข​ อง​ตน​รบั ผิดชอบ​ลง​ใน​แผนทีค​่ วามคิด
และ​ให​แตละคน​สรุป​ความรู​ที่​ไดรับ​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​ รัฐธรรมนูญ ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ความรูเรื่อง
รัฐธรรมนูญ
16. ครูใ​หน​ กั เรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลังเ​รียน และ​ชว ยกันเ​ฉลยคำ​ตอบ​เพือ่ ต​ รวจสอบ​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
​ ครูให้นักเรียนรวบรวมข่าวที่เกิดจากการนำกฎหมายรัฐธรรมนูญไปใช้ และวิเคราะห์ถึงผลดี
ผลเสียที่เกิดขึ้นพร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. บัตรหมาย​เลข
3. ใบงานเรื่อง รัฐธรรมนูญ
78   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4. แบบบันทึกความรู้เรื่อง รัฐธรรมนูญ
5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
หลักกฎหมายแพง
หน่วยการเรียนรู้ที่
7
เวลา 3 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. การ​ใชกฎหมายแพงเพื่อป​ ระโยชน​
ในการ​ดำเนิน​ชีวิต​ใน​สังคม
2. กฎหมายแพง​วา​ดวย​เรื่อง​บุคคล
3. นิติกรรม
4. กฎหมาย “หนี้”
5. เอกเทศ​สัญญา
6. ทรัพย
7. ครอบครัว
8. มรดก​

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
• ศึกษา​คนควา​และ​ทำ​กิจกรรม ทักษะ/กระบวนการ
เกีย่ วกับห​ ลักก​ ฎหมายแพง เชน 1. การ​สื่อสาร
การนำเสนอ​ผล​งาน การเลนเกม 2. การคิด
หลักกฎหมายแพง
การแสดงละคร หรือ​การ​แสดง​ 3. การแก​ปญหา
บทบาท​สมมุติเกี่ยวกับห​ ลัก​ 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
กฎหมายแพง 5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ​ซื่อสัตย​สุจริต
2. มี​วินัย
3. ใฝ​เรียน​รู​
4. มี​จิตสาธารณะ
80   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 หลักกฎหมาย​แพง
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้ เข้าใจ และเห็นความ​สำคัญ​ของกฎหมายแพง รวม​ทั้งสามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​เพื่อ​ให​เกิด​
ประโยชนสำหรับ​ตน​เอง ครอบครัว และ​สังคม​ได​อยาง​ถูกตอง
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมายแพงเ​ปนกฎหมาย​เอกชน​ทก​ี่ ำหนด กฎหมายแพงคืออะไร เกี่ยวของ​กับ
สิทธิ หนาที่ และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​บุคคล ประชาชน​อยางไร
ตั้งแต​ปฏิสนธิ​จนกระทั่งหลัง​ตาย
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก ​แกงได คน​วิกลจริต 1. ​บอก​ความหมาย​และ​ความ​สำคัญข​ องกฎหมาย
บำเหน็จบำนาญ ทรัพยสิน​ทาง​ปญญา แพง​ที่มี​ตอตน​เอง​และ​สังคม​
คาสินไหมทดแทน 2. ​อธิบาย​เกี่ยวกับ​หลักกฎหมายแพง​
2. ​กฎหมายแพง​เปนกฎหมาย​เอกชน​ทกี่​ ำหนด 3. ปฏิบัติ​ตน​ตาม​หลักกฎหมายแพง​ได​อยาง
​สิทธิ​ หนาที่ และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​เอกชน ​ถูกตอง​และเหมาะสม
​หรือ​บคุ คล​ตง้ั แต​ปฏิสนธิ​จนกระทัง่ ​หลังตาย
เปนกฎหมาย​ทรี่ ะบุเ​กีย่ วกับก​ าร​ใชสทิ ธิแ​ หงต​ น
​กำหนด​เกี่ยวกับ​ประเภท​ของ​บุคคล นิติกรรม
หนี้ เอกเทศ​สัญญา กำหนด​เกี่ยวกับเ​รื่อง​ของ
ทรัพย หลักการ​ปฎิบัติเกี่ยวกับครอบครัว
รวม​ทั้งบ​ ทบัญญัตใิ​น​เรื่อง​ของ​มรดก
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้าและทำกิจกรรมเกี่ยวกับ​หลักกฎหมายแพง เชน การนำเสนอ​ผลงาน ​การเลนเกม
​การแสดงละคร หรือก​ าร​แสดง​บทบาท​สมมุตเิ​กี่ยวกับหลักกฎหมายแพง
2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   81

3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 หลักกฎหมายแพง​ เวลา 3 ชั่วโมง
82   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
หลักกฎหมายแพง
ส​ ังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 หลักกฎหมายแพง เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
กฎหมายแพง​เปน​กฎหมาย​เอกชน​ที่​กำหนด​สิทธิ หนาที่ และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​เอกชน​หรือ
​บุคคล ตั้งแตป​ ฏิสนธิ​จนกระทั่งหลัง​ตาย เพื่อให​ปฏิบัติ​ตอกันต​ าม​แนวทาง​ที่​กฎหมาย​บัญญัติ​ไว เชน เมื่อ
ช​ าย​หญิงจ​ ะ​ทำการ​สมรส​อยูก นิ ด​ ว ยกันฉ​ นั ส​ ามีภ​ ริยา​ทถ​ี่ กู ตอง​ตามกฎหมาย​จะ​ตอ ง​มก​ี าร​จด​ทะเบียนสมรส
และ​หาม​จด​ทะเบียนสมรส​ซอน หรือ​บิดามารดา​มี​หนาที่​ตอง​อุปการะ​เลี้ยงดู​บุตร​ผูเยาว และ​บุตร​ตอง​
ตอบแทนคุณ​บิดามารดา​ใน​ฐานะ​ทายาท​ผูรับมรดก เปนตน
กฎหมายแพงด​ งั กลาว​ไดม​ ก​ี าร​บญ ั ญัตไ​ิ วเ​ปนห​ มวดหมูร​ วมกับก​ ฎหมาย​พาณิชย เรียกวา “ประมวล​
กฎหมายแพง​และ​พาณิชย” ​ซึ่งใ​ชบ​ ังคับ​อยูใ​น​ปจจุบัน​
2. ผล​การ​เรียนรู
รู้ เข้าใจ และเห็นความสำคัญของกฎหมายแพ่ง รวม​ทั้งสามารถนำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์
สำหรับตนเอง ครอบครัว และสังคมได้อย่างถูกต้อง
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบาย​องคประกอบ​ของ​หลักก​ ฎหมายแพงท​ ส​ี่ ำคัญท​ ป​ี่ ระชาชน​ควร​รู ซึง่ บ​ ญ
ั ญัตอ​ิ ยูใ​ นประมวล​
กฎหมายแพง​และ​พาณิชย​ได (K)
2. ระบุ​หลักเกณฑ​ของ​กฎหมาย​แตละ​เรื่อง เชน หลักเกณฑ​การ​ทำสัญญา​ซื้อขาย หลักเกณฑ​
การ​หมั้น การ​สมรส และ​ยกตัวอยาง​ได (K)
3. ระบุไ​ด​วาใ​น​กฎหมาย​แตละ​เรื่อง​ผูใด​มสี​ ิทธิ​และ​ผูใด​มี​หนาที่ (K)
4. เห็น​ความ​สำคัญ​และ​ปฏิบัตติ​ ามหลัก​กฎหมายแพง​ได​อยาง​ถูกตองและเหมาะสม (A, P)
5. เปรียบเทียบ​ความ​เปน​โมฆะ​และ​โมฆียะ​ที่​บัญญัติ​ไว​ใน​กฎหมาย​แตละ​เรื่อง​ได (P)
6. จำแนก​เนื้อหา​สาระ​ที่​สำคัญ​ของ​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย​แตละ​เรื่อง เชน นิติกรรม บุคคล
หนี้ สัญญา​ตาง ๆ ทรัพย ครอบครัว ​มรดก​ได (P)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   83

4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมายแพง ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
5. สาระ​การ​เรียนรู
1. การใช้กฎหมายแพ่งเพื่อประโยชน์ในการดำเนินชีวิตในสังคม
2. กฎหมายแพ่งว่าด้วยเรื่องบุคคล
3. นิติกรรม
4. กฎหมาย “หนี้”
5. เอกเทศสัญญา
6. ทรัพย์
7. ครอบครัว
8. มรดก
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับหลักกฎหมายแพ่ง
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • นำเสนอผลงานเกี่ยวกับหลักกฎหมายแพ่งในรูปแบบของ PowerPoint
หรือ E-Book
ศิลปะ • แสดงละครหรือแสดง​บทบาท​สมมุติเกี่ยวกับหลักกฎหมายแพ่ง
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​แตละ​กลุม​จะ​ได​
ชวยกัน​ศึกษา​วิเคราะห​กฎหมายแพง​หรือ​ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย เพื่อ​นำไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​
ถูกตอง และ​เกิด​ประโยชนต​ อ​ตน​เอง​และ​สังคม
2. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​แจก​บัตร​หมายเลข 1–6 ใหก​ ับ​นักเรียน​ทุกคน คนละ 1 หมายเลข โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร
​จะ​ได​หมายเลข​ใด
4. ครู​ใหนักเรียน​ที่​ได​หมายเลข​เดียวกัน​ให​มา​นั่ง​รวมกัน​เปนกลุม​ตาม​แผนผัง​ที่​ครู​เขียน​ไว​บน​
กระดานดำ
5. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน เลขานุการ และ​กำหนด​หนาที่​รับผิดชอบ​ของ​สมาชิก
​ใน​กลุม
84   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
6. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​ชวยกัน​วางแผนการ​ทำงาน​โดย​ศึกษา​จาก​จุดประสงค​การ​เรียนรู​
เปนหลัก ครู​ชวย​ให​คำ​แนะนำ​จนได​ประเด็น​ที่จะ​ศึกษา และ​มอบหมายให​แตละ​กลุม​รับผิดชอบ​
กลุม​ละ 1 ประเด็น ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 1 เรื่อง นิติกรรม
กลุม​ที่ 2 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 2 เรื่อง หนี้
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 3 เรื่อง เอกเทศ​สัญญา
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 4 เรื่อง ทรัพยสิน
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 5 เรื่อง ครอบครัว
กลุม​ที่ 6 ศึกษา​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย​บรรพ​ที่ 6 เรื่อง ​มรดก
7. ครู​ใหนักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคนในการทำงานร่วมกัน เช่น
1) เป็นตัวแทนกลุ่มในการนำเสนอ​ผลงานร่วมกับตัวแทนของกลุ่มอื่น
2) การแสดงความคิดเห็น
3) การค้นคว้าเพิ่มเติม
4) การเขียนบทพูดเพื่อใช้ในการแสดงบทบาท​สมมุติ​หรือก​ ารแสดงละคร
5) การทำอุปกรณ์สำหรับเล่นเกมหรือละคร
6) การทำสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน PowerPoint และ E-Book
8. ครู​ให​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุมอ​ อกมา​นำเสนอ​ผลงาน​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน ใน​ลักษณะ​ของ
1. การ​รายงาน​หนา​ชั้นเรียน​ดวย​สื่อ​คอมพิวเตอร​ชวย​สอนในรูป​แบบ​ของ PowerPoint และ
E-Book
2. การ​เลน​เกม
3. การ​แสดง​ละคร หรือ​การ​แสดงบทบาท​สมมุติ
9. เมื่อ​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​เสนองาน​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน​แลว ​เปดโอกาส​ให​เพื่อน​ทุกคน​
มี​สวนรวม​โดย​การ​ซักถาม​และ​แสดง​ความ​คิดเห็น​เพิ่มเติม
10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเปลี่ยนกันออกมาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมกลุม่ ที่ตัวแทน
ของแต่ละกลุ่มมาปฏิบัติหน้าชั้นร่วมกัน ติชมการทำงานเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขในครั้งต่อไป
11. ​ครูให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปเนื้อหาประเด็นที่กลุ่มของตนรับผิดชอบลงในแผนที่ความคิด
และสรุปเป็นรายบุคคลส่งครู
12. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุมท​ ำ​ใบ​ประเมินก​ าร​ทำงาน​ของ​กลุม​ตน​เอง
13. ​ครูใ​ห​นักเรียน​แตละคน​สรุปค​ วามคิดร​ วบยอด​ของ​งาน​ทำเปน​เกม​ปริศนา​อักษรไขว​สง​ครู
14. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสน​อผลงาน
ของนัก​เรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
15. ​ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง หลักกฎหมายแพ่ง
16. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับหลักกฎหมายแพ่ง และ​ชวย​กันเฉลย​คำตอบ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   85

ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
17. ​ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรู​ที่​ได​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง หลัก​กฎหมายแพง ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​
ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
18. ​ครู​ให​นักเรียน​แตละคน​บันทึก​ความรู​ที่​ไดรับ​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง หลัก​กฎหมายแพง ลง​ใน
​แบบ​บันทึก​ความรูเรื่อง หลักก​ ฎหมายแพง
19. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลัง​เรียน และ​ชวยกัน​เฉลย​คำ​ตอบ​เพื่อ​ตรวจสอบ​และ​ประเมิน
ผล​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครูใ​หน​ กั เรียน​รวบรวม​ปญ  หา​กฎหมาย​หรือค​ ำพิพากษา​ทเ​ี่ กีย่ วของ​กบั ห​ ลักกฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย
และ​แยก​ประเภท​วา​เรื่อง​ใด​เกี่ยวของ​กับ​หลักกฎหมาย​ใน​บรรพ​ใด​
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ใบงานเรื่อง หลักกฎหมายแพ่ง
3. แบบบันทึกความรู้เรื่อง หลักกฎหมายแพ่ง
4. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
หลักกฎหมายอาญา
หน่วยการเรียนรู้ที่
8
เวลา 3 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ​ความหมายของกฎหมายอาญา
2. ​ลักษณะ​สำคัญ​ของกฎหมายอาญา
3. ​โทษทางอาญา​และ​ความรับผิด​ทางอาญา
4. ​หลักเกณฑก​ ารพิจารณา​โทษทางอาญา
5. การ​พยายาม​กระทำความผิด
6. ​บุคคล​ผูกระทำความผิดใ​น​ทางอาญา
7. ​ความ​ผิด​อาญา​บาง​ลักษณะ​ที่​ประชาชน​
ควร​รู
8. ​ความ​ผิดลหุโทษ
9. อายุความ​

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
• ศึกษา​คนควา​ อภิปราย และ​ ทักษะ/กระบวนการ
นำเสนอ​ผลการ​ศึกษา​เกี่ยวกับ​ 1. การ​สื่อสาร
หลักกฎหมายอาญา 2. การคิด
หลักกฎหมายอาญา
3. การแก​ปญหา
4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ซื่อสัตย​สุจริต
2. มี​วินัย
3. อยู​อยาง​พอเพียง
4. มี​จิตสาธารณะ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   87

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หลักกฎหมายอาญา
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
​รูและ​​เขาใจ​ในหลักกฎหมายอาญา​วา​มี​ความ​สำคัญ​ในการควบคุม​พฤติกรรม​ของ​บุคคล​ใน
สังคมให​เคารพ​สิท​ธิ เสรี​ภาพ และ​ปฏิบัตติ​ อกัน​อยาง​ถูกตอง​ภายใต​กรอบแหงก​ ฎหมาย ไม​ประพฤติ
ฝาฝน​กฎหมาย ซึ่ง​จะ​มี​ความ​ผิดและ​ถูก​ลงโทษ
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมายอาญา​เปนกฎหมาย​มหาชน​ทก​่ี ำหนด กฎหมายอาญาคืออะไร มี​ความ​สำคัญ​ตอ
ความ​สัมพันธ​ระหวาง​รัฐ​กับเ​อกชน หาก​ประชาชน ประชาชน​และ​ประเทศชาติ​อยางไร
​ฝาฝน​หรือ​ไม​ปฏิบัติตามจะตอง​ถูก​ลงโทษตาม​ที่​
บัญญัตไ​ิ ว เพือ่ ค​ วบคุมใ​หสงั คม​เกิดค​ วาม​สงบ​และ
เปนระเบียบ​เรียบรอย
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก ​กฎหมาย​มหาชน สินบน 1. ​บอก​ความหมาย​และ​ความ​สำคัญข​ องกฎหมาย
​อั้งยี่ ผูสืบสันดาน ​อาญาที่มี​ตอตน​เอง​และ​สังคม​
2. ​กฎหมายอาญา​เปนก​ฎหมาย​หลักทีใ่​ช​ควบคุม 2. ​อธิบาย​เกี่ยวกับ​หลักกฎหมาย​อาญา เชน การ
​ความประพฤติ​ของ​ประชาชน​เพื่อ​ใหเ​กิด​ความ ​พิจารณา​โทษทางอาญา ลักษณะ​ความ​ผิดทาง
เ​ปนระเบียบ​เรียบรอย โดย​บญ ั ญัตลิ กั ษณะของ ​อาญา บท​ลงโทษ ความ​ผิดล​ หุโทษ​
การก​ระทำ​ผิด​พรอม​กับบ​ ทกำหนดโทษ​ไว เชน 3. ปฏิบัติ​ตน​ตาม​หลักกฎหมาย​อาญา​
ค​ วาม​ผดิ ตอชีวติ และรางกาย ความ​ผดิ เกีย่ วกับ
ทรัพยสิน ​ความ​ผิดเกี่ยวกับเ​พศ เปนตน ซึ่ง
​​ความ​ผิดแตละ​ประเภท​จะ​มี​ลักษณะ​ของการ
กระทำ​ผิดและ​บทกำหนดโทษ​ที่แตกตาง​กันไป
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
​• ศึกษาค้นคว้า​ อภิปราย และ​นำเสนอ​ผลการ​ศึกษา​เกี่ยวกับห​ ลักกฎหมายอาญา​
88   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 หลักกฎหมายอาญา​ เวลา 3 ชั่วโมง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   89

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
หลักกฎหมาย​อาญา
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หลักกฎหมายอาญา เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
ก​ ฎหมายอาญา​เปนก​ ฎหมาย​หลักท​ ใ​ี่ ชค​ วบคุมป​ ระพฤติข​ อง​ประชาชน​ใน​สงั คม​เพือ่ ใหเ​กิดค​ วาม​สงบ​
เรียบรอย โดย​บัญญัติ​ลักษณะ​ของ​การ​กระทำ​ที่​เปนความ​ผิด​ไว​พรอมกับ​กำหนด​โทษ​ไว​ดวย เมื่อ​มี​การ​
กระทำ​ความ​ผิด​อาญา​เกิดขึ้น รัฐม​ ี​อำนาจ​บังคับใชก​ ฎหมาย​ได​โดย​ตรง ซึ่ง​มี​วัตถุ​ประสงค​เพื่อใหผ​ ูกระทำ​
ความ​ผิด​ได​กลับ​ตัว​เปน​คนดี หรือ​เพื่อ​ปอง​ปราม​ให​เกิด​ความ​เกรงกลัว สำหรับ​ลักษณะ​ของ​การ​กระทำ​
ความ​ผิด​และ​บท​ลงโทษ​ของ​กฎหมายอาญา เชน ความ​ผิด​ตอ​ชีวิต ความ​ผิด​ตอ​รางกาย ความ​ผิด​ตอ​
ทรัพยสิน ​เปนตน
2. ผล​การ​เรียนรู
รู​และ​เขาใจ​ใน​หลัก​กฎหมายอาญาวา​มี​ความ​สำคัญ​ใน​การ​ควบคุม​พฤติกรรม​ของ​บุคคล​ใน​สังคม​
ให​เคารพ​สิทธิ​ เสรีภาพ และ​ปฏิบัติ​ตอกัน​อยาง​ถูกตอง​ภายใต​กรอบ​แหง​กฎหมาย ไม​ประพฤติ​ฝา​ฝน
กฎหมาย ​ซึ่ง​จะ​มีความผิด​และ​ถูกลงโทษ
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายความหมายของกฎหมายอาญาได้ (K)
2. บอกลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญาและหลักการพิจารณาโทษทางอาญาได้ (K)
3. วิเคราะห์ลักษณะความผิดอาญาบางลักษณะที่ประชาชนควรรู้ได้ (P)
4. เห็นความจำเป็นที่จะต้องนำกฎหมายอาญามาใช้บังคับพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม (A)
5. ตระหนักในความสำคัญและปฏิบัติตนตามหลักกฎหมายอาญา (A.P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับหลัก ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมายอาญา ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
90   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ความหมายของกฎหมายอาญา
2. ​ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา
3. ​โทษทางอาญาและความรับผิดทางอาญา
4. ​หลักเกณฑ์การพิจารณาโทษทางอาญา
5. ​​ความพยายามกระทำความผิด
6. ​บุคคลผู้กระทำความผิดในทางอาญา
7. ​ความผิดอาญาบางลักษณะที่ประชาชนควรรู้
8. ​ความผิด​ลหุโทษ
9. อายุความ
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับหลักกฎหมายอาญา
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ส​ ืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และออกแบบแผนที่ความคิดเกี่ยวกับ
หลักกฎหมายอาญา
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครูแ​ จงผล​การ​เรียนรูแ​ ละ​จดุ ประสงคก​ าร​เรียนรูใ​ หน​ กั เรียน​ทราบ​วา นักเรียน​จะ​ไดเ​รียน​เกีย่ วกับ​
หลัก​กฎหมายอาญา​วาม​ ี​ความ​สำคัญ​ใน​การ​ควบคุมพ​ ฤติกรรม​ของ​บุคคล​ใน​สังคม ถา​ใคร​ฝาฝน​ไม​ปฏิบัติ​
ตามกฎหมาย​จะ​มีความผิด​และ​ถูกลงโทษ
2. ​ครูใ​ห​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ใหน​ ักเรียน​ดภู​ าพ​ขาว​อาชญากรรม​จาก​สื่อ​ตาง ๆ เชน หนังสือพ​ ิมพ อินเทอรเน็ต เปนตน
4. ​นกั เรียน​ยกตัวอยาง​การ​กระทำ​ของ​บคุ คล​ทถ​ี่ อื ไดวา เปนความ​ผดิ ต​ าม​กฎหมายอาญา​นอกเหนือ​
จาก​ภาพ​ขาว​ที่​ดู​ไป​แลว​ใน​ขอ 3 รวมทั้งท​ ั้ง​อภิปราย​ถึงโ​ทษ​ที่จะ​ไดรับ​ตามกฎหมาย และ​ผล​กระทบ​ทสี่​ ังคม​
จะ​ไดรับ ถา​มี​สมาชิก​ของ​สังคม​ฝา​ฝนกฎหมาย​เปน​จำนวน​มาก
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
5. ​ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม ชี้แจงให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดให้
6. ครูแจกบัตรหมายเลข 1–6 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม (ถ้ามีนักเรียนมากกว่า 6 คนในกลุ่ม ครู
พิจารณาแจกบัตรหมายเลขให้นักเรียนที่เหลือตามความเหมาะสม)
7. ​ครู​ใหนักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่อง ความหมายและลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา
กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาโทษทางอาญา และความรับผิดทางอาญา
กลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่อง เหตุยกเว้นความผิด เหตุยกเว้นโทษ เหตุลดโทษ และเหตุบรรเทาโทษ
กลุ่มที่ 4 ศึกษาเรื่อง ความพยายามกระทำความผิดและบุคคลผู้กระทำความผิดในทางอาญา
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​เรื่อง​ ความ​ผิด​อาญา​บาง​ลักษณะ​ที่​ประชาชน​ควร​รู
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   91

กลุม​ที่ 6 ศึกษา​เรื่อง​ ความ​ผิด​ลหุโทษ และ​อายุความ


8. นักเรียน​แตละ​กลุมศ​ ึกษา​คนควา​เพิ่มเติม​จาก​ตำรา​ หนังสืออ​ าน​ประกอบ​ และ​สื่อ​ตาง ๆ ไดแก
1) หนังสือ​เรียน กฎหมาย​ทปี่​ ระชาชน​ควร​รู ม. 4–6 บริษัท สำนักพิมพ​วัฒนา​พานิช จำกัด
2) หนังสือ​กฎหมายอาญา​ของ​ทุก​มหาวิทยาลัย
3) คำ​พิพากษา​ฎีกา
4) สืบคน​ขอมูล​จาก​อินเทอรเน็ต
9. เมื่อ​ทำ​กิจกรรม​เสร็จ​ทุกก​ ลุม​แลว นักเรียน​ที่​ได​หมายเลข​เดียวกัน​เคลื่อน​ยาย​มา​นั่ง​รวมกัน​เปน
กลุม​ใหม ให​นักเรียน​ที่​มาจาก​กลุม​เดิม​แตละ​คนถายทอด​ความรู​ที่​ไดรับ​จาก​กลุม​เดิม​ให​เพื่อน​คน​อื่น ๆ
จน​ครบ​ทุกคน
10. ​​ครู​ใหนักเรียน​เลือก​ตัวแทน​กลุมไ​ว​เพื่อ​สงเ​ปน​ตัวแทน​ออกมา​อภิปราย​หนา​ชั้นเรียน
11. ​ครู​สุม​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​ออกมา​รายงานผล​การ​ศึกษา​กิจกรรม​กลุม​ละ 1 คน จน​ครบ
6 กลุม
12. ​​ครู​ใหนักเรียน​ชวยกัน​วิเคราะห​แสดง​ความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับ​ความ​ผิด​อาญา​ที่​เกิดขึ้น​ใน​สังคม​
ไทย​ปจจุบัน ​พรอมทั้ง​เสนอ​แนะแนวทาง​แกไข​พอสังเขป
13. ​ครู​ให​แตละ​กลุมสรุปส​ ิ่ง​ที่​​ได​ศึกษา อภิปราย แสดง​ความ​คิดเห็น​ลง​ใน​แผนที่​ความคิด
14. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
15. ​ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง หลักกฎหมายอาญา
16. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับหลักกฎหมายอาญา และ​ชวย​กันเฉลย​คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
17. ครู​แนะนำ​ใหน​ ักเรียน​นำ​ความรูท​ ี่​ได​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง หลัก​กฎหมายอาญา ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​
ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
18. ​ครู​และ​นักเรียน​รวม​กันสรุป​ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง หลักกฎหมายอาญา โดย​ให​
นักเรียน​สรุป​ลง​ในแบบบันทึกค​ วามรูเรื่อง หลักกฎหมายอาญา
19. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลัง​เรียน และ​ชวยกัน​เฉลย​คำ​ตอบ​เพื่อ​ตรวจสอบ​และ​ประเมิน
ผล​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ค​ รูใ​หน​ กั เรียน​รวบรวม​ขา ว​อาชญากรรม ปญหา​กฎหมายอาญา หรือค​ ำ​พพิ ากษา​ฎกี า​ทเ​ี่ กีย่ วของ​กบั ​
หลัก​กฎหมายอาญา แยกประเภท​วา​เรื่อง​ใด​เกี่ยวของ​กับห​ ลัก​กฎหมายอาญา​ใน​มาตรา​ใด ​แลว​จัด​ทำเปน​
ใบ​ความรู​เรื่อง หลัก​กฎหมายอาญา
92   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ภาพและข่าวจากหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับความผิดทางอาญา
3. คำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับคดีอาญา
4. หนังสือกฎหมายอาญาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
5. ใบงานเรื่อง หลักกฎหมายอาญา
6. แบบบันทึกความรู้เรื่อง หลักกฎหมายอาญา
7. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ​ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
กฎหมายเกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน
ราษฎรและ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน​
หน่วยการเรียนรู้ที่
9
เวลา 2 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. การแจง​เกิด
2. ​การแจงต​ าย
3. การยาย​ทอี่​ ยู
4. ทะเบียนบาน
5. ​การ​สราง​บาน​และ​การ​รื้อ​บาน
6. กฎหมายเกี่ยวกับบ​ ัตร​ประจำ​ตัว
ประชาชน

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
• ศึกษา​คนควา​ อภิปราย และ ทักษะ/กระบวนการ
นำเสนอ​ผลการ​ศึกษา​เกี่ยวกับ กฎหมายเกี่ยวกับ 1. การ​สื่อสาร
​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน การทะเบียนราษฎร 2. การคิด
ราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัว และบัตรประจำตัว 3. การแก​ปญหา
ประชาชน ประชาชน 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ​ซื่อสัตยสุจริ​ต
3. มี​วินัย
4. มี​จิตสาธารณะ
94   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
และบัตรประจำตัวประชาชน
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้ เข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรและ
บัตรประจำตัวประชาชน รวม​ทั้งสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรเป็น 1. ​กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรมีความ
กฎหมายที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับสถานะของ เกี่ยวข้องกับประชาชนอย่างไรบ้าง
บุคคลตั้งแต่การเกิด การตาย และการย้ายที่อยู่ 2. ​กฏหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน
กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน คืออะไร เกี่ยวข้องกับประชาชนอย่างไรบ้าง
เป็นกฎหมายทีก่ ำหนดใหบ้ คุ คลทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 15–
70 ป ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน เพื่อใช้เป็น
หลักฐานแสดงตน
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก เจ้าบ้าน พระปรมาภิไธย 1. ​อธิบายกฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
2. ​กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรเป็น และบัตรประจำตัวประชาชน
​กฎหมายที่มีความสำคัญเกี่ยวกับสถานะของ 2. ​ปฏิบัติตนตามกฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียน
​บคุ คล การเปลีย่ นแปลงประชากร เช่น การ ราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน
เกิด การตาย และการย้ายที่อยู่ เป็นต้น เป็น
ห​ น้าทีข่ องประชาชนทุกคนทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ าม
หลักเกณฑ์ให้ถกู ต้องตามกฎหมายนี้ ถ้าฝ่าฝืน
จะมีความผิดและถูกลงโทษ
3. ​พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน
​กำหนดให้บุคคลผู้มีสัญชาติไทยจะต้องมี
​บัตรประจำตัวประชาชน​เมื่อม​ ีอายุครบ 15 ปี
บริบูรณ์ โดยมีหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตน
​เพื่อขอมีบัตรตามที่กฎหมายนี้กำหนด​ไว
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6  95

ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้า อภิปราย และนำเสนอผลการศึกษาเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
​และบัตรประจำตัวประฃาชน
2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร​
และบัตรประจำตัวประชาชน เวลา 2 ชั่วโมง
96   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
และบัตรประจำตัวประชาชน
ส​ ังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
และบัตรประจำตัวประชาชน เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
กฎหมาย​วาดวย​การ​ทะเบียน​ราษฎร​เปน​กฎหมาย​ที่​มี​ความ​สำคัญ​เกี่ยวกับ​สถานะ​ของ​บุคคล การ​
เปลี่ยนแปลง​ประชากร เชน การ​เกิด การ​ตาย และ​การ​ยาย​ที่อยู เปนตน ​เปนหนาที่​ของ​ประชาชน​ทุก​คน
ทีจ่ ะ​ตอ งปฏิบตั ห​ิ รือก​ าร​ดำเนินการ​ใหถ​ กู ตอง​ตามกฎหมาย​วา ดวย​การ​ทะเบียน​ราษฎร ถาฝ​ า ฝนจ​ ะ​มคี วามผิด​
และ​ถูกลงโทษ สวนกฎหมาย​เกี่ยวกับบัตร​ประจำตัว​ประชาชน​​กำหนด​ให​บุคคล​ผู​มี​สัญชาติ​ไทยที่มี​อายุ
15 ปบริบูรณ ​จะ​ตอง​มี​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน โดย​​​ตอง​ปฏิบัติ​ตามหลักเกณฑ​ของ​การ​ปฏิบัติตน​เพื่อ
​ขอ​มี​บัตร​ตามที่กฎหมายกำหนด​ไว
2. ผล​การ​เรียนรู
รู ​เขาใจ และ​ตระหนักใ​น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​
ประชาชน รวม​ทั้งส​ ามารถ​นำไป​ปฏิบัตไิ​ด​อยาง​ถูกตอง
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. รู​และ​เขาใจ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน (K)
2. บอก​ระเบียบ​ปฏิบัตเิ​กี่ยวกับก​ าร​แจงเกิด แจง​ตาย และ​แจง​ยาย​ที่อยู การ​ขอ​มี​บัตร​ประจำตัว​
ประชาชน ​ตลอด​จน​การ​แจง​การ​สรางบาน​และ​การ​รื้อ​บาน​ได (K)
3. ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน
(A)
4. ปฏิบตั ติ น​ตาม​หลักกฎหมาย​เกีย่ วกับท​ ะเบียน​ราษฎร​และ​บตั ร​ประจำตัวป​ ระชาชน​ไดอ​ ยาง​ถกู ตอง
(P)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6  97

4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
หลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
ทะเบียนราษฎรและบัตร
ประจำตัวประชาชน
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
5. สาระ​การ​เรียนรู
1. การแจ้งเกิด
2. การแจ้งตาย
3. การย้ายที่อยู่
4. ทะเบียนบ้าน
5. การสร้างบ้านและการรื้อบ้าน
6. กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟัง พูด อ่าน และเขียนทีเ่​กี่ยวของกับกฎหมายเกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียนราษฎร​
และบัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ออกแบบแผนที่ความคิดที่ ​เกี่ยวของกับกฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียน
ราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​จะ​ได​ศึกษา​
กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร​และบัตร​ประจำตัว​ประชาชน เพื่อ​ใหตระหนักถึง​ความ​สำคัญ และ​
สามารถ​นำไป​ปฏิบัติ​ไดอ​ ยาง​ถูกตอง
2. ​ครูใ​ห​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​ให​นักเรียน​ดู​ตัวอยาง​สำเนา​ทะเบียนบาน สูติบัตร และ​มรณบัตร แลว​ซักถาม​นักเรียน​วา
เคย​เห็น​เอกสาร​เหลานี้​หรือไม และ​คิดวาเ​อกสาร​เหลานี้​มี​ความ​เกี่ยวของ​กับ​ตน​เอง​อยางไร
4. ครู​เฉลย​วา เอกสาร​เหลานี้​คือ สำเนา​ทะเบียนบาน สูติบัตร และ​มรณบัตร เปน​เอกสาร​ที่​ใช​เปน​
หลักฐาน​ทาง​ทะเบียน​ราษฎร ซึ่งป​ ระชาชน​ทุกคน​ตอง​รู​และ​ปฏิบัติ​ตาม
98   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
5. ครู​แจก​บัตรหมายเลข 1–6 ใหแ​ ก​นักเรียน​ทุกคน คนละ 1 หมายเลข โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร​
จะ​ได​หมายเลข​ใด
6. ครู​แบง​นักเรียน​ออก​เปน 6 กลุม โดย​สมาชิก​ของ​แตละ​กลุม​จะ​มี​บัตร​หมายเลข 1–6 อยูใ​น​มือ​
ทุกคน
7. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน เลขานุการ และ​กำหนด​หนาที่​รับผิดชอบ​ของ​สมาชิก
​ใน​กลุม
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
8. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​ชวยกัน​วางแผนการ​ทำงาน​โดย​ศึกษา​จาก​จุดประสงค​การ​เรียนรู​
เปนหลัก ครู​ชวย​ให​คำ​แนะนำ​จนได​ประเด็น​ที่จะ​ศึกษา และ​มอบหมายให​แตละ​กลุม​รับผิดชอบ​
กลุม​ละ 1 ประเด็น ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​เรื่อง การ​แจงเกิด
กลุม​ที่ 2 ศึกษา​เรื่อง การ​แจง​ตาย
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​เรื่อง การ​ยาย​ที่อยู
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​เรื่อง ทะเบียนบาน
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​เรื่อง การ​สรางบาน​และ​การ​รื้อ​บาน
กลุม​ที่ 6 ศึกษา​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับป​ ระจำตัว​ประชาชน
9. ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​กำหนด​หนาทีข่​ อง​สมาชิก​ทุก​คนใน​การ​ทำงาน​รวมกัน เชน
1) การเปน​ตัวแทน​กลุม​ใน​การนำ​เสนอผลงาน​รวมกับ​ตัวแทน​ของ​กลุม​อื่น
2) การ​แสดง​ความ​คิดเห็น
3) การ​คนควา​เพิ่มเติม
4) การ​เขียน​บทพูด​เพื่อ​ใชใ​น​การ​แสดงละคร หรือ​การแสดง​บทบาท​สมมุติ
5) การ​ทำ​อุปกรณส​ ำหรับ​เลนเกม​หรือล​ ะคร
10. เมือ่ ท​ ำ​กจิ กรรม​เสร็จท​ กุ ก​ ลุม แ​ ลว ครูใ​หน​ กั เรียน​ทไ​ี่ ดห​ มายเลข​เดียวกันเ​คลือ่ น​ยา ย​มา​นงั่ ร​วมกัน​
เปนกลุม​ใหม โดย​ให​นักเรียน​ที่​มาจาก​แตละกลุม​ถายทอด​ความรู​ที่​ไดรับ​จาก​กลุม​เดิม​ให​เพื่อน​คน​อื่น ๆ
ตาม​กิจกรรม​และ​ประเด็นท​ ศี่​ ึกษา​มา​จน​ครบ​ทุก​กลุม
11. ครู​ให​นักเรียน​เลือก​ตัวแทน​กลุมไ​ว​เพื่อ​ออกมา​รายงาน​ผลการ​ศึกษา​หนา​ชั้นเรียน
12. ​ครู​ให​ตัวแทน​ของ​แตละ​กลุม​ออกมา​รายงานผล​การ​ศึกษา​กิจกรรม​กลุม​ละ 1 คน จน​ครบ
6 กลุม
13. เมื่อ​ตัวแทน​​ของ​แตละ​กลุม​รายงาน​ผลการ​ศึกษา​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน​แลว เปดโอกาส​ให​เพื่อน​
นักเรียน​ทุกคน​มี​สวนรวม​โดย​การ​ซักถาม และ​แสดง​ความ​คิดเห็น​เพิ่มเติม
14. ​ครู​และนักเรียนรวม​กันสรุปค​ วามรูที่ไดร​ ับจาก​การ​ทำกิจกรรม โดย​ให​นักเรียน​สรุป​เปนแผนที่
​ความคิด
15. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6  99

ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
16. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​ใบ​งานเรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​
ประชาชน
17. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ที่​เกี่ยวของกับ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​
ประจำตัวป​ ระชาชน
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
18. ​ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรู​ท่​ีได​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียน​ราษฎร
​และ​บตั ร​ประจำตัว​ประชาชน ไป​ปฏิบตั ​ใิ น​ชวี ติ ​ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
19. ​ครูใ​หนกั เรียน​ชว ยกันส​ รุปค​ วามรูท​ ไ​ี่ ดจ​ าก​การ​ศกึ ษา​เรือ่ ง กฎหมาย​เกีย่ วกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​
และ​บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน เพื่อ​เปนแนว​ทางใน​การ​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง แลว​ให​แตละคน​บันทึก​ลง​ใน
​แบบ​บันทึก​ความรูเรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​และ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน
20. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลัง​เรียน และ​ชวยกัน​เฉลยคำ​ตอบ​เพื่อ​ตรวจสอบ​และ​ประเมิน
ผล​การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ใ​หน​ กั เรียน​ทม​ี่ ป​ี ระสบการณใ​น​การ​ปฏิบตั ต​ิ ามกฎหมาย​เกีย่ วกับก​ าร​ทะเบียน​ราษฎร​เรือ่ ง​ใด​เรือ่ ง​หนึง่ ​
หรือ​หลาย​เรื่อง และ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน ออกมา​เลา​ประสบการณ​ของ​ตน​ให​
เพื่อน ๆ ฟงหนา​ชั้นเรียน แลว​ให​แตละ​คน​ซัก​ถาม​ประเด็น​ที่​ยัง​สงสัย​หรือ​ไมเขาใจ จาก​นั้น​ครู​สรุป
สาระสำคัญใ​ห​นักเรียน​ฟง
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ตัวอย่างสำเนาทะเบียนบ้าน สูติบัตร และมรณบัตร
3. บัตรหมายเลข
4. ใบงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน
5. แบบบันทึกความรู้เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน
6. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ​ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
100   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
กฎหมายเกี่ยวกับ
​การคุมครอง​เด็ก​
หน่วยการเรียนรู้ที่
10
เวลา 2 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน

ความรู
1. การ​ปฏิบัตติ​ อเ​ด็ก
2. ​การ​สงเคราะห​เด็ก
3. ​การคุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก
4. ​การ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​นักเรียน
และ​นักศึกษา
5. ​บทกำหนดโทษ

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
• ศึกษา​คนควา​ อภิปราย และ ทักษะ/กระบวนการ
นำเสนอ​ขอมูล​กฎหมาย 1. การ​สื่อสาร
เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก กฎหมายเกี่ยวกับ 2. การคิด
การคุมครอง​เด็ก 3. การแก​ปญหา
4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ซื่อสัตย​สุจริต
2. มี​วินัย
3. ใฝ​เรียน​รู
4. มี​จิตสาธารณะ
102   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​เด็ก
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้ เข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก ​รวม​ทั้งส​ ามารถ
นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยางถูกตอง
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติ​คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546
เปนกฎหมาย​ที่​คุมครอง​เด็กใ​ห​มคี​ วาม​ประพฤติ​ เปนกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับอะไร และ​มี
ที่เหมาะสม ปองกันม​ ิ​ใหเ​ด็ก​ถูกท​ ารุณกรรม​และ ประโยชน​ตอตัวเด็กอยางไร​บาง
เปนเครื่องมือ​ในการแสวง​หา​ผล​ประโยชนโ​ดย
มิ​ชอบ
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก สวัสดิภาพ ศาลเยาวชน- 1. ​อธิบายกฎหมายเกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก​
​และครอบครัว 2. ​ปฏิบัติตนตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง
2. ​กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองเด็กเ​ปน ​เด็ก
​กฎหมายที่คุมครอง​สวัสดิภาพ​และ​สงเสริม
​ความ​ประพฤติ​เด็ก​ให​ม​คี วามเหมาะสม โดยได​
กำหนด​ขั้น​ตอน​และ​ปรับปรุงว​ ิธปี​ ฏิบัตติ​ อเด็ก
​ใน​เรื่อง​ของ​การ​อุปการะ​เลี้ยงดู อบรมสั่ง​สอน
และวิธี​การ​ปฏิบัติ​เพื่อ​ใหเ​ด็กม​ ี​พัฒนาการที่
​ เหมาะสม ซึ่ง​จะ​สง​ผลใหสถาบัน​ครอบครัว
มี​ความ​มั่นคง ปองกันการ​ทารุณกรรม​เด็ก
​และ​ปองกัน​มิ​ใหเ​ด็กตกเปนเครื่องมือในการ
​แสวง​หา​ผล​ประโยชนโ​ดย​มิ​ชอบ​หรือถูกเ​ลือก​
​ปฏิบัติ​โดย​ไมเปน​ธรรม ​ตลอดจนสงเสริม
​ความรวมมือ​ในการคุมครอง​เด็ก​ระหว​าง
​หนวย​งาน​ของรัฐ​และเอกชน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   103

ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้า อภิปราย และนำเสนอขอมูลก​ ฎหมายเกี่ยวกับการ​คุมครองเด็ก
2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมิน​ผลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใช​ทักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ​ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​เด็ก​ เวลา 2 ชั่วโมง
104   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​เด็ก​
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​เด็ก เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก​เปน​กฎหมาย​ที่​คุมครอง​สวัสดิภาพ​และ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​
เด็ก​ให​มี​ความ​เหมาะสม โดย​ไดก​ ำหนด​ขั้นตอน​และ​ปรับปรุงว​ ิธีปฏิบัติ​ตอ​เด็กเ​กี่ยวกับ​การ​อุปการะ​เลี้ยงดู
อบรมสั่งสอน และ​วิธี​การ​สงเสริมให​เด็ก​มี​พัฒนาการ​ที่​เหมาะสม ซึ่ง​จะ​สงผลให​สถาบัน​ครอบครัว​มี​
ความ​มั่นคง ปองกัน​การ​ทารุณกรรม​เด็ก​และ​มิ​ให​เด็กตก​เปน​เครื่องมือ​ใน​การ​แสวงหา​ผล​ประโยชน​
โดย​มิชอบ​หรือ​ถูก​เลือก​ปฏิบัติ​โดย​ไม​เปนธรรม และ​สงเสริม​ความ​รวมมือ​ใน​การ​คุมครอง​เด็ก​ระหวาง​
หนวยงาน​ของ​รฐั แ​ ละ​เอกชน เพือ่ ใหส​ อดคลองกับอ​ นุสญ
ั ญา​วา ดวย​สทิ ธิเ​ด็ก รัฐธรรมนูญ และ​แผน​พฒ ั นา​
เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ
2. ผล​การ​เรียนรู
รู​ ​เขาใจ​ และ​ตระหนักใ​น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก รวม​ทั้ง​สามารถ​นำไป​
ปฏิบัติ​ได​อยางถูกตอง
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบาย​เนื้อหา​สาระ​ที่​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็กแ​ ตละ​เรื่อง เชน การ​ปฏิบัติ​
ตอ​เด็ก การ​สงเคราะห​เด็ก การ​คุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็กไ​ด (K)
2. ​ตระหนัก​และ​เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก (A)
3. แนะนำ​ให​ผูอื่น​รู​ถึง​สิทธิ​และ​หนาที่​ของ​ตน​ที่จะ​ไดรับ​การ​คุมครอง​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​
คุมครอง​เด็ก (P)
4. ​ปฏิบัติตน​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็กไ​ด​อยาง​ถูกตอง​และ​เหมาะสม (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมายเกี่ยวกับการ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
คุมครอง​เด็ก
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   105

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. การ​ปฏิบัติ​ตอ​เด็ก
2. ​การ​สงเคราะหเ​ด็ก
3. การ​คุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก
4. ​การ​สงเสริม​ความ​ประพฤติน​ ักเรียน​และ​นักศึกษา
5. ​บทกำหนดโทษ
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟง พูด อาน และ​เขียนเรือ่ งที​เ่ กีย่ วของ​กบั กฎหมาย​เกีย่ วกับ​การ​คมุ ครอง​เด็ก
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ออกแบบ​แผนทีค่​ วามคิด​ที่​เกี่ยวของ​กับกฎหมาย​เกี่ยวกับการ​คุมครอง​
เด็กใน​รูปแบบ​ของ​ PowerPoint
​ศิลปะ • ​แสดงละครหรือ​แสดง​บทบาท​สมมุติที่​เกี่ยวของ​กับกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​
คุมครอง​เด็ก
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​แตละ​กลุม​จะ​ได​
ชวยกันศ​ กึ ษา​วเิ คราะหใ​น​เรือ่ ง​ทเ​ี่ กีย่ วของ​กบั ก​ ฎ​ หมาย​เกีย่ วกับก​ ารคุม ครอง​เด็กว​ า เ​ปนก​ ฎหมาย​ทค​ี่ มุ ครอง​
สวัสดิภาพ​และ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​เด็ก​ให​มี​ความ​เหมาะสม ซึ่ง​จะ​สงผลให​สถาบัน​ครอบครัว​มี​ความ​
มั่นคง
2. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​แจก​หมายเลข 1–5 ใหก​ ับ​นักเรียน​ทุกคน คนละ 1 หมายเลข โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร​จะ​ได​
หมายเลข​ใด
4. ​ครู​ให​นักเรียน​ที่​ได​หมายเลข​เดียวกัน​ให​มา​นั่ง​รวมกัน​เปนกลุม​ตาม​แผนผัง​ที่​ครู​เขียน​ไว​บน​
กระดานดำ
5. ​ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน​และ​เลขานุการ​กลุม ​พรอมทั้งกำหนด​หนาที่​รับผิดชอบ​
ของ​สมาชิก​ใน​กลุม
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
6. ​ครูใ​หน​ กั เรียน​แตละ​กลุม ช​ ว ยกันว​ างแผนการ​ทำงาน​โดย​ศกึ ษา​จาก​จดุ ประสงคก​ าร​เรียนรูเ​ ปนหลัก
ครู​ชวย​ให​คำ​แนะนำ​จนได​ประเด็นท​ ี่จะ​ศึกษา และ​มอบหมายให​แตละ​กลุม​รับผิดชอบ​กลุม​ละ 1 ประเด็น
ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​เรื่อง​ การ​ปฏิบัตติ​ อเ​ด็ก
กลุม​ที่ 2 ศึกษา​เรื่อง ​การ​สงเคราะห​เด็ก
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​เรื่อง​ การ​คุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​เรื่อง ​การ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​นักเรียน​และ​นักศึกษา
กลุม​ที่ 5 ศึกษา​เรื่อง​ บท​กำหนด​โทษ
106   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
7. ครู​ให​นักเรียน​แตละ​กลุม​กำหนด​หนาทีข่​ อง​สมาชิก​แตละ​คนใน​การ​ทำงาน​รวมกัน เชน
1) การ​แสดง​ความ​คิดเห็น
2) การ​จดบันทึกค​ วาม​คิดเห็น​ของ​กลุม
3) การ​คนควาเ​พิ่มเติม
4) การ​เขียน​บทพูดเ​พื่อ​ใช​ใน​การ​แสดงละคร​หรือบ​ ทบาท​สมมุติ
5) การ​ทำ​อุปกรณ​สำหรับเ​ลนเกม
ฯลฯ
8. หลังจาก​ทแี่ ตละ​กลุม ป​ ฏิบตั กิ จิ กรรม​เสร็จแ​ ลว ครูใ​หต​ วั แทน​นกั เรียน​แตละ​กลุม อ​ อกมา​เสนองาน​
ที่​รับผิดชอบ​รวมกันใ​น​รูปแบบ​ใด​รูปแบบ​หนึ่ง ดังนี้
1) การ​รายงาน​หนา​ชั้นเรียน
2) การ​เลนเ​กม
3) การ​แสดงบทบาท​สมมุติ หรือก​ าร​แสดงละคร
9. เมื่อ​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​เสนองาน​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน​แลว เปดโอกาส​ใหเ​พื่อน​นักเรียน​
ทุกคน​มี​สวนรวม​โดย​การ​ซักถาม​และ​แสดง​ความ​คิดเห็น​เพิ่มเติม ครู​อธิบาย​เพิ่มเติม แลว​ให​แตละคน​
สรุปผล​ลง​ใน​แบบ​บันทึกผ​ ล​การ​นำเสนอ​ผล​งานเรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก
10. ​ครู​ให​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​เปลี่ยนกัน​ออกมา​แสดง​ความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับ​การ​รายงาน
การ​เสนอผลงาน หรือ​การ​แสดงละคร การแสดงบทบาท​สมมุติ ฯลฯ ติชม​การ​ทำงาน​เพื่อ​นำไปสู​การ
ปรับปรุงแ​ กไขใน​ครั้ง​ตอไป
11. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
12. ครู​ให​นักเรียน​ทำ​ใบ​งานเรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก
13. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ทเี่​กี่ยวของกับ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​เด็ก และชวย​กันเฉลย​
คำตอ​บ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
14. ​ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​นำ​ความรู​ที่​ได​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​เด็ก
ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
15. ​ครูและ​นักเรียน​ชวยกัน​สรุป​ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​
เด็กโดย​ให​นักเรียน​สรุปเปน​แผนทีค่​ วามคิดใน​​รูป​แบบ​ของ PowerPoint
16. ​ครูใ​หน​ กั เรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลังเ​รียน และ​ชว ยกันเ​ฉลยคำ​ตอบ​เพือ่ ต​ รวจสอบ​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   107

8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครู​ให​นักเรียน​รวบรวม​ขาว​จาก​สื่อ​ตาง ๆ ที่​เกี่ยวของ​กับ​กฎหมาย​การคุมครอง​เด็ก เชน การ​ใช​
แรงงานเด็ก การ​ลวงละเมิดท​ างเพศ​ตอเ​ด็ก เปนตน แลว​จัด​ทำเปน​สมุด​ขาว การ​คุมครอง​สิทธิ​เด็ก
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. บัตรหมายเลข
3. ​ใบงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก
4. ​แบบบันทึกผลการนำเสนอผลงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก​
5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
กฎหมายเกี่ยวกับ
​การคุมครองผู​บริโภค​
หน่วยการเรียนรู้ที่
11
เวลา 2 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน

ความรู
1. ​พระราชบัญญัติคุมครอง​ผู​บริโภค
​พ.ศ. 2522
2. ​พระราชบัญญัติ​วิธี​พิจารณา​คดี
ผู​บริโภค พ.ศ. 2551

ภาระงาน/ชิ้น​งาน
• ศึกษา​คนควาและนำเสนอ​ ทักษะ/กระบวนการ
เรื่อง​ที่​เกี่ยวของ​กับกฎหมาย 1. การ​สื่อสาร
กฎหมายเกี่ยวกับ 2. การคิด
เกีย่ วกับ​การคุมครองผูบ​ ริโภค การ​คุมครอง 3. การแก​ปญหา
ผู​บริโภค 4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. มี​วินัย
2. ใฝ​เรียน​รู
3. อยู​อยาง​พอเพียง
4. มี​จิตสาธารณะ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   109

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผู​บริโภค
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
​รู้ เข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของกฎหมายคุมครอง​ผู​บริโภค ​รวม​ทั้ง​สามารถ
​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยางถูกตอง
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ ารคุมครอง​ผู​บริโภค​ กฎหมาย​คุมครอง​ผบู​ ริโภค​เปนกฎหมาย​ที่
เปนกฎหมาย​ทอี่​ อกมาเพื่อ​คุมครอง​ผู​บริโภค​ให​ กำหนด​เกี่ยวกับ​เรื่อง​ใด และ​กอ​ให​เกิด​ประโยชน
ได​รับความเปน​ธรรมจาก​การเลือก​ใชสินคาห​ รือ​ ตอประชาชน​อยางไร
บริการตาง ๆ จาก​ผู​ผลิต​หรือจ​ ำหนาย​สินคาหรือ
บริการเหลา​นั้น
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก ​ผู​บริโภค ​คาฤชาธรรมเนียม 1. ​บอกหลักการ​สำคัญ​ของกฎหมาย​เกี่ยวกับ
2. ​กฎหมายคุมครองผู​บริโภค ไดแก ​การคุมครอง​ผบู​ ริโภค​
พ​ ระราชบัญญัตค​ิ มุ ครอง​ผบ​ู ริโภค พ.ศ. 2522 2. ​อธิบายวิธี​การคุมครอง​ผบู​ ริโภค​ตามที่​กำหนด
เปนกฎหมาย​ทก​ี่ ำหนด​เนือ้ หา​สาระ​เกีย่ วกับก​ าร ไวในกฎหมาย​คุมครอง​ผบู​ ริโภค​
คุมครอง​ผู​บริโภค สำหรับใ​น​สวน​ของการ
ด​ ำเนินคดีท​ เ​ี่ กีย่ วของกับก​ ารคุม ครอง​ผบ​ู ริโภค
ใน​ศาลยุติธรรมจะ​มี​พระราชบัญญัตวิ​ ิธี​
พิจารณา​คดี​ผู​บริโภค พ.ศ. 2551 มาร​อง​รับ
กฎหมาย​ฉบับน​ ก​ี้ ำหนด​ใหผ​ พู พิ ากษา​มบ​ี ทบาท
สำคัญใ​นการแสวง​หา​ขอเท็จจริง รวม​ทั้ง​การ
​ดำเนิน​กระบวนการ​พิจาร​ณาคดีใน​ศาล เชน
​การ​ซัก​ถาม​พยาน​เกี่ยวกับขอเท็จจริงเ​พื่อ​ให
​การ​ดำเนินคดี​มคี​ วาม​สะดวก​ รวดเร็ว
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอขอมูล​เกี่ยวกับกฎหมาย​เกี่ยวกับการ​คุมครองผู​บริโภค
110   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใช​ทักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ไดแก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย ​และ​มีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​ผู​บริโภค เวลา 2 ชั่วโมง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   111

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบ​ ริโภค​
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​ผู​บริโภค เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
​พระ​ราช​บัญญัติ​คุมครอง​ผูบริโภค พ.ศ. 2522 เปน​กฎหมาย​ที่​กำหนด​เนื้อหา​สาระ​เกี่ยวกับ
ก​ าร​คมุ ครอง​ผบู ริโภค สำหรับใ​น​สว น​ของ​การ​ดำเนินคดีท​ เ​ี่ กีย่ วของ​กบั ก​ าร​คมุ ครอง​ผบู ริโภค​ใน​ศาลยุตธิ รรม​
จะ​มพ​ี ระ​ราช​บญั ญัตว​ิ ธิ พ​ี จิ ารณา​คดีผ​ บู ริโภค พ.ศ. 2551 มา​รองรับ กฎหมาย​ฉบับน​ ก​ี้ ำหนด​ใหผ​ พู พิ ากษา​
มี​บทบาท​สำคัญ​ใน​การ​แสวงหา​ขอเท็จจริง รวมทั้ง​การ​ดำเนิน​กระบวนการ​พิจารณา​คดี​ใน​ศาล เชน การ​
ซักถาม​พยาน​เกี่ยวกับ​ขอเท็จจริง​เพื่อ​ใหการ​ดำเนินคดี​มี​ความ​สะดวก​รวดเร็ว
2. ผล​การ​เรียนรู
รู เขาใจ และ​ตระหนักใ​น​ควา​ม​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​คุมครอง​ผูบริโภค รวมทั้ง​สามารถ​นำไป​ปฏิบัติ​
ได​อยาง​ถูกตอง​
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบาย​เนื้อหา​สาระ​ที่​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​คุมครอง​ผูบริโภค​แตละ​เรื่อง​ได (K)
2. ​ตระหนัก​และ​เห็นความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค (A)
3. ​ปฏิบัติตน​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค​ได​อยาง​ถูกตอง (P)
4. ​แนะนำ​ให​ผูอื่น​รู​ถึง​สิทธิ​และ​หนาที่​ของ​ตน​ที่จะ​ไดรับ​การ​คุมครอง​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​
คุมครอง​ผูบริโภค (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมายเกี่ยวกับการ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
คุมครอง​ผู​บริโภค
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
112   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
2. ​พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟง พูด อาน และ​เขียนเรื่อง​ที่​เกี่ยวของ​กับกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​
ผู​บริโภค
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ออกแบบ​แผนทีค​่ วามคิดและ​สรุปค​ วามคิดร​วบ​ยอด​ทเ​ี่ กีย่ วของ​กบั ก​ ฎหมาย​
เกี่ยวกับก​ ารคุมครอง​ผู​บริโภค​ใน​รูปแบบ​ของ​ PowerPoint
​ศิลปะ • ​แสดงละครหรือ​แสดงบทบาท​สมมุติ​ที่เกี่ยว​ของกับกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​
คุมครอง​ผู​บริโภค
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ​ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​แตละ​กลุม​จะ​ได​
ชวยกัน​ศึกษา เพื่อใหเ​กิด​ความ​รูความ​เขาใจ​ใน​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค​ที่​สำคัญ​ 2 ฉบับ
คือ​ พระ​ราช​บัญญัตคิ​ ุมครอง​ผูบริโภค พ.ศ. 2522 และ​พระ​ราช​บัญญัตวิ​ ิธี​พิจารณา​คดี​ผูบริโภค พ.ศ.
2551
2. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​แจก​หมายเลข 1–5 ให​กับน​ ักเรียน​ทุกคน คนละ 1 หมายเลข โดย​ไม​เจาะจง​วา​ใคร​จะ​ได​
หมายเลข​ใด
4. ​ครู​ใหนักเรียน​ที่​ได​หมายเลข​เดียวกัน​ให​มา​นั่ง​รวมกัน​เปนกลุม​ตาม​แผนผัง​ที่​ครู​เขียน​ไว​บน​
กระดานดำ
5. ​​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​เลือก​ประธาน เลขานุการ และ​กำหนด​หนาที่​รับผิดชอบ​ของ​สมาชิก​
ใน​กลุม
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
6. ​ครู​ใหนักเรียน​แตละ​กลุม​ชวยกัน​วางแผนการ​ทำงาน โดย​ศึกษา​จาก​จุดประสงค​การ​เรียนรู​
เปนหลัก ครู​ชวย​ใหค​ ำ​แนะนำ​จนได​ประเด็นท​ ี่จะ​ศึกษา และ​มอบหมายให​แตละ​กลุม​รับผิดชอบ​กลุม​ละ​
ประเด็น ดังนี้
กลุม​ที่ 1 ศึกษา​เรื่อง​ สิทธิ​ของ​ผูบริโภค​
กลุม​ที่ 2 ศึกษา​เรื่อง ​คณะกรรมการ​คุมครอง​ผูบริโภค
กลุม​ที่ 3 ศึกษา​เรื่อง​ การ​คุมครอง​ผูบริโภค​ดาน​การ​โฆษณา
กลุม​ที่ 4 ศึกษา​เรื่อง​ การ​คุมครอง​ผูบริโภค​ในดาน​ฉลาก​และ​สัญญา
กลุม​ที่ 5 ​ศึกษา​เรื่อง​ การ​อุทธรณแ​ ละ​บท​กำหนด​โทษ
7. ​ครูใ​หนักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคนในการทำงานร่วมกัน เช่น
1) การแสดงความคิดเห็น
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   113

2) การจดบันทึกความคิดเห็นของกลุ่ม
3) การค้นคว้าเพิ่มเติม
4) การเขียนบทพูดเพื่อใช้ในการแสดงละคร หรือก​ ารแสดง​บทบาท​สมมุติ
5) การทำอุปกรณ์สำหรับเล่​นเกม
8. ครู​นำ​สื่อ​คอมพิวเตอร​ชวย​สอน​มา​​เปด​ให​นักเรียน​ดู และ​ให​นักเรียน​มี​สวนรวม​ใน​การ​คิด​
วิเคราะห​ความรู​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย​คุมครอง​ผูบริโภค
9. หลังจาก​ทแี่ ตละ​กลุม ป​ ฏิบตั กิ จิ กรรม​เสร็จแ​ ลว ​ครูใ​หแตละ​กลุม ส​ ง ต​ วั แทน​จำนวน 1 คน ออกมา​
นำ​เสนอผลงาน​รวมกับก​ ลุม​อื่น ๆ ใน​ลักษณะ​ของ
1) การ​รายงาน​หนาช​ ั้นเรียน
2) การเลนเ​กม
3) การ​แสดงบทบาท​สมมุติ​หรือก​ าร​แสดงละคร
10. เมื่อ​ตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​นำเสนอ​ผลงาน​ที่​รับผิดชอบ​รวมกัน​แลว ​เปดโอกาส​ให​เพื่อน​
นักเรียน​ทุกคน​มี​สวนรวม​โดย​การ​ซักถาม​และ​แสดง​ความ​คิดเห็น​เพิ่มเติม
11. ครู​ใหตัวแทน​นักเรียน​แตละ​กลุม​เปลี่ยนกัน​ออกมา​แสดง​ความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับ​การ​รายงาน
การ​นำเสนอผลงาน หรือ​การแสดง​ละคร หรือ​การ​แสดง​บทบาท​สมมุติ ฯลฯ ติชม​การ​ทำงาน​เพื่อน​ ำไปสู​
การ​ปรับปรุงแ​ กไข​ใน​ครั้ง​ตอไป
12. ​ครู​สรุป​ความรูจ าก​การ​ทำกิจกรรม​ให​นกั เรียน​ฟง แลว​ใหนกั เรียน​แตละ​กลุม ​ชว ยกัน​สรุป​เนือ้ หา​
ประเด็น​ท​่กี ลุม ​ของ​ตน​รบั ผิดชอบ​ลง​ใน​แผนที​่ความคิด (Mind Mapping) และ​สรุป​เปน​รายบุคคล​ลง​ใน​
แบบ​บนั ทึก​ความรูเ รือ่ ง กฎหมาย​เกีย่ วกับ​การ​คมุ ครอง​ผบู ริโภค
13. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครู​สงั เกต​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน​
ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมิน​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บคุ คล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
14. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​ใบ​งานเรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​ผูบริโภค
15. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ที่​เกี่ยวของกับ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​ผูบริโภค และ​ชวย​
กันเฉลยคำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
16. ครูแ​ นะนำ​ใหน​ กั เรียน​นำ​ความรูท​ ไ​ี่ ดจ​ าก​การ​ศกึ ษา​เรือ่ ง กฎหมาย​เกีย่ วกับก​ าร​คมุ ครอง​ผบู ริโภค
ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​ประจำวัน
17. ครู​แนะนำ​ให​นักเรียน​สำรวจ​สินคา​และ​บริการ​ตาง ๆ ที่​มี​อยูใ​น​ชุมชน​ของ​ตน​เอง​วา​มี​การ​ละเมิด​
สิทธิ​ของ​ผูบริโภค​หรือไม อยางไร ​แลวน​ ำ​ขอมูลม​ า​แลกเปลี่ยน​เรียน​รูกัน​ใน​ชั้นเรียน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
18. ครูใ​หน​ กั เรียน​แตละคน​สรุปค​ วามคิดร​วบยอด​ของการ​ศกึ ษา​เรือ่ ง กฎหมาย​เกีย่ วกับก​ ารคุม ครอง
​ผู​บริโภค ​เปน​เกม​ปริศนา​อักษรไขว/สื่อ​คอมพิวเตอร (PowerPoint) สงค​ รู
19. ​ครูใ​หน​ กั เรียน​ทำ​แบบทดสอบ​หลังเ​รียน และ​ชว ยกันเ​ฉลยคำ​ตอบ​เพือ่ ต​ รวจสอบ​และ​ประเมินผล​
การ​เรียนรู​ของ​นักเรียน
114   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครู​ให​นักเรียน​รวบรวม​ขาว​เกี่ยวกับ​การ​กระทำการ​ละเมิด​สิทธิ​ผูบริโภค แลว​นำ​ขาว​นั้น​มา​ชวยกัน​
วิเคราะหโ​ดย​ใช​ความรู​ที่​ได​จาก​การ​ศึกษา​​เรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​ผูบริโภค
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. บัตรหมายเลข
3. ​สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4. ​​แบบบันทึกความรู้เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
5. ​​ใบงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
6. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
กฎหมายเกี่ยวกับ
​การรับราชการ​ทหาร​
หน่วยการเรียนรู้ที่
12
เวลา 2 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์​เปาหมาย​การเรียน​รูและขอบ​ขาย​ภาระ​งาน
ความรู
1. ขั้น​ตอน​การ​รับราชการ​ทหาร
2. ​บุคคล​ผูได​รับ​การยก​เวน​ไม​ตอง​ไปแสดง​ตน​
เพื่อ​ลง​บัญชีท​ หารกอง​เกิน
3. ​บุคคล​ผูได​รับก​ ารยกเวน​ไม​ตอง​รับราชการ​
ทหารกองประจำการ
4. ​บุคคล​ผูได​รับ​การ​ผอนผันไ​มต​ อง​เขารับการ
ตรวจเลือก​เปน​ทหารกองประจำการ
5. บุคคล​ผูได​รับ​การ​ผอนผันไ​มต​ อง​เรียกเขารับ
ราชการ​ทหาร​ในการเรียกพลเพือ่ ตรวจ​สอบหรือ
​ ฝก​วิชา​ทหาร หรือเ​พื่อทดลอง​ความ​พรั่งพรอม
6. การเปลี่ยนแปลง​ตำบล​ทอี่​ ยู ชื่อตัว หรือ​
ชื่อสกุล

ภาระงาน/ชิ้น​งาน ทักษะ/กระบวนการ
• อภิปรายใน​เรื่อง​ที่​เกี่ยวของ​กับ 1. การ​สื่อสาร
​กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ กฎหมายเกี่ยวกับ 2. การคิด
ทหาร การ​รับราชการ​ทหาร 3. การแก​ปญหา
4. การ​ใช​ทักษะ​ชีวิต
5. การ​ใชเทคโนโลยี

คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม


1. ​รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ​ซื่อสัตย​สุจริต
3. มุงมั่น​ในการ​ทำ​งาน
4. มี​จิตสาธารณะ
116   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ทหาร
ขั้น​ที่ 1  ผลลัพธป​ลาย​ทาง​ที่​ตองการให​เกิด​ขึ้น​กับ​นักเรียน
​ผลการเรียน​รู
รู้ เข้าใจ และเห็นความสำคัญของการ​รับราชการ​ทหาร รวม​ทั้งปฏิบัตติ​ น​ตาม​กฎหมายเกี่ยวกับ​
การ​รับราชการ​ทหาร​ไดอยาง​ถูกตอง
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับราชการ​ทหาร กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร
กำหนด​หลักเกณฑ​ในการ​รับราชการ​ทหาร​ซึ่ง​เปน กำหนด​เรื่อง​อะไร​ไว​บาง
หนาที่ทชี่​ าย​ไทยทุก​คน​ตอง​ปฏิบัติ
ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คำ​สำคัญ ไดแก ภูมิลำเนา​ทหาร ทหาร- 1. ​บ​อกหลักการ​สำคัญข​ องกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร
​กองหนุน ​รับร​ าชการ​ทหาร​ได
2. ​กฎหมายเกี่ยวกับการ​รับราชการ​ทหารเปน 2. ​ปฏิบตั ติ นตามกฎหมายเกีย่ วกับการ​รบั ราชการ
​กฎหมายที่กำหนด​หนาทีข่​ องชนชาว​ไทย ทหาร​ได​อยาง​ถูกตอง
​โดย​เฉพาะ​อยา​​งยิง่ ช​ าย​ไทยทุก​คน ให​มหี นาท​ ่ี 3. ​อธิบาย​ขั้น​ตอน​ของการ​รับราชการ​ทหาร​ได
​ปองกัน​และ​รักษา​ความ​มั่นคง​ใหกับป​ ระเทศ
​ชาติ โดย​การเขารับราชการ​ทหาร​ตามที่​
กฎหมายกำหนด แต​ก็​มี​บุคคล​บาง​ประเภท​ที่​
กฎหมายใหการ​ผอนผันหรือ​ยกเวนใ​ห​ไมต​ อง​
เขารับราชการ​ทหาร ซึ่งอ​ าจ​จะเปนระยะ​เวลา​
หนึ่งหรือ​ตลอด​ไป​แลวแต​กรณี
ขั้น​ที่ 2  ภาระงาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซึ่ง​เปนหลักฐาน​ที่แสดง​วานักเรียน​มี​ผลการเรียน​รู
ตามที่​กำหนด​ไวอยาง​แทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
• อภิปรายใน​เรื่อง​ที่​เกี่ยวของ​กับก​ ฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร
2. วิธีการ​และเครื่องมือ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู
2.1 วิธี​การ​ประเมินผ​ ลการเรียน​รู 2.2 เครื่องมือประเมินผ​ ลการเรียน​รู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็น
เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   117

3) การประเมินด้านคุณธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม จริยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/ก​ระบวน​การ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ง​ที่​มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนำไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสำคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
3.2 สมรรถนะ​สำคัญ ไดแก ความ​สามารถ​ในการสื่อสาร ความ​สามารถ​ในการคิด ​ความ​สามารถ
​ในการแก้ปัญหา ความ​สามารถ​ในการ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต และความ​สามาร​ถในการใช้เทคโนโลยี
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ​ไดแก​ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
ขั้น​ที่ 3  แผนการ​จัดการ​เรียน​รู​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ทหาร​ เวลา 2 ชั่วโมง
118   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ทหาร
สังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ทหาร เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร​เปน​กฎหมาย​ที่​กำหนด​หนาที่​ของ​ชน​ชาวไทย โดยเฉพาะ​
อยางยิ่ง​ชาย​ไทย​ทุกคน ให​มี​หนาที่​ปองกัน​และ​รักษา​ความ​มั่นคง​ให​กับ​ประเทศชาติ​โดย​การ​เขา​รับ​
ราชการทหาร​ตามที่​กฎหมาย​กำหนด แต​ก็​มี​บุคคล​บาง​ประเภท​ที่​กฎหมาย​ใหการ​ผอนผันหรือ​ยกเวน​ให​
ไม​ตอง​เขา​รับ​ราชการทหาร ​ซึ่ง​อาจจะ​เปน​ระยะเวลา​หนึ่ง​หรือต​ ลอดไป​แลวแต​กรณี
2. ผล​การ​เรียนรู
รู ​เขาใจ และ​เ​ห็นค​ วาม​สำคัญ​ของ​การ​รับ​ราชการทหาร ​รวมทั้งป​ ฏิบัติตน​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​
รับ​ราชการทหาร​ได​อยาง​ถูกตอง
3. จุดประสงค​การ​เรียนรู
1. อธิบายความ​สำคัญแ​ ละ​ความ​จำ​เปนของ​การ​รับราชการท​หาร​ตามกฎหมาย​ได (K, A)
2. ​ระบุ​ขั้น​ตอนทีก่​ ฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหาร​กำหนด​ไว​ได (K)
3. ​ตระหนักใ​น​ความ​สำคัญข​ อง​การ​รับ​ราชการทหาร (A)
4. ​ปฏิบัติตน​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหารไดอยาง​ถูกตอง (P)
4. การ​วัด​และ​ประเมินผล​การ​เรียนรู
ดาน​ความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรียนและ​หลัง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
เรียน ทำงานเป็นรายบุคคลในดาน ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ซักถามความรู้เกี่ยวกับ ความมีวินัย ความใฝ​เรียน​รู เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
กฎหมายเกี่ยวกับการรับ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
รับราชการ​ทหาร
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   119

5. สาระ​การ​เรียนรู
1. ขั้นตอน​การ​รับ​ราชการทหาร
2. ​บุคคล​ผู​ไดรับก​ าร​ยกเวนไ​ม​ตอง​ไป​แสดงตน​เพื่อล​ งบัญชี​ทหาร​กองเกิน
3. บุคคล​ผู​ไดรับก​ าร​ยกเวน​ไมต​ อง​รับ​ราชการทหาร​กอง​ประจำการ
4. ​บุคคล​ผไู​ดรับก​ าร​ผอนผันไ​ม​ตอง​เขาร​ ับ​การ​ตรวจ​เลือก​เปนท​ หาร​กอง​ประจำการ
5. ​บุคคล​ผู​ไดรับ​การ​ผอนผัน​ไม​ตอง​เรียก​เขา​รับ​ราชการทหาร​ใน​การ​เรียก​พล​เพื่อ​ตรวจสอบ​หรือ
​ฝก​วิชา​ทหาร หรือเ​พื่อ​ทดลอง​ความ​พรั่งพรอม
6. ​การ​เปลี่ยนแปลง​ตำบล​ที่อยู ชื่อตัว ​หรือ​ชื่อสกุล
6. แนวทาง​การ​บูรณาการ
ภาษาไทย • ฟง พูด อาน และ​เขียน​เรื่องทีเ่​กี่ยวของ​กับก​ ฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการ
ทหาร
การ​งาน​อาชีพ​ฯ • ​ออกแบบ​แผนที่​ความคิด​ที่​เกี่ยวของ​กับ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการ
ทหาร
7. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู
ขั้น​ที่ 1 นำ​เขาสู​บทเรียน
1. ครู​แจงผล​การ​เรียนรู​และ​จุดประสงค​การ​เรียนรู​ให​นักเรียน​ทราบ​วา นักเรียน​จะ​ได​ศึกษา
​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร​เพื่อที่จะ​ได​มีความรู ความ​เขาใจ และ​เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​การ​
รับ​ราชการทหาร รวมทั้งป​ ฏิบัติตน​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร​ได​อยาง​ถูกตอง
2. ​ครู​ให​นักเรียน​ทำ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน
3. ​ครู​สนทนา​ซักถาม​นักเรียน​วา นัก​เรียนรู​ไหม​วา​ชาย​ไทย​ทุกคน​เมื่อ​มีอายุ​ครบ 20 ป​บริบูรณ​
มีห​ นาที่​ตอง​ทำ​อะไร หลังจากนั้น​นำ​ภาพ​เกี่ยวกับ​การ​ตรวจ​เลือก​เขา​รับ​ราชการทหาร​ให​นักเรียน​ดู พรอม
กับ​เฉลย​คำ​ตอบ​วา ชาย​ไทย​ทุกคน​เมื่อ​มีอายุ​ครบ 20 ป​บริบูรณ​จะ​ตอง​เขา​รับ​การ​ตรวจ​เลือก​รับ​
ราชการทหาร
ขั้น​ที่ 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ครู​อธิบาย​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร​ให​นักเรียน​ฟง แลว​ซัก​ถามนักเรียน​
เกี่ยวกับ​เรื่อง​ที่​อธิบาย
5. ​ครู​ให​นักเรียน​แบงกลุม กลุม​ละ 4–6 คน แลว​ให​แตละ​กลุม​รวมกัน​อภิปราย​ใน​ประเด็น​
ตอไปนี้
1) การ​รับ​ราชการทหาร​คือ​อะไร เกี่ยวของ​กับ​ตน​เอง​อยางไรบาง
2) การ​รับร​ าชการทหาร​มขี​ ั้นตอน​อยางไรบาง
3) เพราะ​เหตุใด​กฎหมาย​จึง​กำหนด​ใหม​ ี​การ​ยกเวนห​ รือผ​ อนผัน​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหาร
4) หาก​ไม​ปฏิบัติ​ตามกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร​จะ​มี​ผล​เสีย​ตอ​ตน​เอง​และ​สังคม​
อยางไรบาง
120   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
6. หลังจากที่​แตละ​กลุมอ​ ภิปราย​เสร็จสิ้น​แลว ครู​ให​นักเรียน​แตละคน​บันทึก​ผล​การ​อภิปราย​ของ​
กลุม​ตน​เอง​ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ผล​การ​อภิปราย​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​ราชการทหาร
7. ครู​ให​แตละ​กลุม​สง​ตัวแทน​นำเสนอ​ผล​การ​อภิปราย​หนา​ชั้นเรียน
8. เมื่อ​นำเสนอ​ผล​การ​อภิปราย​ครบ​ทุก​กลุม​แลว ครู​กลาว​ชมเชย​นักเรียน และ​สรุป​ความรู​
เพิ่มเติม
9. ใน​ขณะ​ปฏิบตั กิ จิ กรรม​ของนักเรียน ครูส​ งั เกต​พฤติกรรมในการ​ทำ​งาน​และ​การนำ​เสนอ​ผลงาน
​ของนักเรียน​ตาม​แบบ​ประเมิน​พฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล​และเปนกลุม
ขั้น​ที่ 3 ฝกฝน​ผูเรียน
10. ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร
11. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวของกับกฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร และ​ชวย​กัน
เฉลย​คำตอบ
ขั้น​ที่ 4 นำ​ไป​ใช
12. ครู​แนะนำ​ใหน​ ักเรียน​นำ​ความรู​ที่​ไดจ​ าก​การ​ศึกษาเรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับ​ราชการทหาร
ไป​ปฏิบัติ​ใน​ชีวิต​ประจำวัน
ขั้น​ที่ 5 สรุป
13. ​ครูแ​ ละ​นกั เรียน​ชว ยกันส​ รุปเ​นือ้ ห​ าเรือ่ ง กฎหมาย​เกีย่ วกับก​ าร​รบั ร​าชการทหาร แลวใ​หน​ กั เรียน​
สรุป​เปน​แผนที่​ความคิด
14. ​ครูใ​หน​ กั เรียน​ทำแบบ​ทดสอบ​หลังเรียน​และ​ชว ย​กนั เฉลย​คำตอบ​เพือ่ ต​ รวจ​สอบ​และ​ประเมินผ​ ล
การเรียน​รขู​ องนักเรียน
8. กิจกรรม​เสนอแนะ
ครู​ให​นักเรียน​แบงกลุม กลุม​ละ 5–7 คน ศึกษา​คนควา​เพิ่มเติม​เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับ​
ราชการทหาร และ​นำ​ขอมูล​มา​แลกเปลี่ยน​เรียน​รูกัน​ใน​ชั้นเรียน ​จากนั้น​รวมกัน​อภิปราย​แสดง​ความ​
คิดเห็น
9. สื่อ/แหลง​การ​เรียนรู
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ภาพเกี่ยวกับการตรวจเลือกเข้ารับราชการทหาร
3. ​​แบบบันทึกผลการอภิปรายเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร
4. ​​ใบงานเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร
5. หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู้ ​ม. 4–6 บริษทั สำนักพิมพ์วฒ
ั นาพานิช
จำกัด
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   121

10. กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู​

1. ความ​สำเร็จ​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางการ​พัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรค​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู
แนว​ทางแกไข
3. สิ่ง​ที่​ไมได​ปฏิบัตติ​ าม​แผน
เหตุผล
4. การ​ปรับปรุงแ​ ผนการ​จัดการ​เรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
ตอน​ที่ 3
เอกสาร/ความรูเสริมสำหรับ​ครู
​รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู
กลุม​สาระ​การเรียน​รูสังคมศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม
1. ผล​การ​เรียน​รู จุด​ประสงค​การ​เรียน​รู และ​สาระ​การ​เรียน​รู
รายวิชาเพิ่มเติม ส 302_ _ กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
2. ​โครง​งาน (Project Work)
3. ​แฟมสะสม​ผลงาน (Portfolio)
4. ​ผังการ​ออกแบบ​การจัดการ​เรียน​รูตาม​แนว​คิด​Backward Design
5. ​รู​ปแบบแผนการจัดการ​เรียน​รู​ราย​ชั่วโมง
6. ​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
7. ​แบบ​ทดสอบ​ปลาย​ป
8. ​ใบ​งาน แบบบันทึก และ​แบบ​ประเมิน​ตาง ๆ​
140   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

1. ผลการเรียนรู้ ​จุด​ประสงค​การเรียน​รู และ​สาระ​การเรียน​รู รายวิชาเพิ่ม​เติม ส 302_ _


กฎหมาย​ที่ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ผลการเรียนรู้ที่ 1 ตระหนักใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปนตอการ​
ดำรง​อยู​ข องสังคม
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อธิบายความหมายของกฎหมาย​ได 1.  ความ​หมายของกฎหมาย
2.  วิเคราะหลักษณะสำคัญของกฎหมาย​ได 2.  ลักษณะสำคัญของกฎหมาย
3.  เปรี​ยบ​เทียบ​ความ​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย 3.  ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา ศีลธรรม
​กับ​จารีตประเพณี ศีลธรรม และ​ศาสนา​ได​ จารีตประเพณี และกฎหมาย
4.  วิเคราะหไดวากฎหมาย​มี​ความ​สำคัญ​หรือ 4.  ความสำคัญของกฎหมาย
กอ​ให​เกิด​ประโยชนแ​ กนักเรีย​ น ครอบครัว 5.  ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศาสตร์
และสังคม​ได แขนงอื่น
5.  อธิบายความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมายและ
และศาสตรอ​ ื่น ๆ ได

ผลการเรียนรู้ที่ 2 รูและเขาใจ​เกี่ยวกับท​ ี่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย อันเปนพื้นฐาน​


สำคัญ​ในการ​ศึกษา​วิชากฎหมาย
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อธิบายถึงที่มา​ของกฎหมาย​หรือ​บอเกิด​ของ 1.  ที่มาของกฎหมาย
​กฎหมาย​ได 1.1  กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
2.  เปรียบเทียบ​ความ​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย 1.2  กฎหมาย​ที่ไมเปนลายลักษณ​อักษร
ลายลักษณ​อกั ษร​ทบ​่ี ญั ญัตข​ิ น้ึ โ​ดย​ฝา ย​ตา ง ๆ ได 2. ​ระบบกฎหมาย
3. ​วิเคราะห​ที่มา​ของกฎหมาย​ที่​ไมเปน 2.1  ระบบก​ฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
​ลายลักษณอ​ ักษร​ได 2.2  ระบบก​ฎหมาย​ทไ่ี มเปนลายลักษณ​อกั ษร
4. ​จำแนก​ระบบ​กฎหมาย​ที่​ใช​อยู​ใน​บาง​ประเทศ
​ที่​เกี่ยวของ​กับ​ประเทศ​ไทย​ได
5.  บอก​ที่มา​ของกฎหมาย​ที่​ใชอ​ ยู​ใน​ประเทศ​ไทย
ใน​ปจจุบัน​ได
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   141

ผลการเรียนรู้ที่ 3 รูและเขาใจ​เกี่ยวกับ​กฎหมายประเภท​ตาง ๆ ที่จะ​นำ​มาบังคับใชใน​สังคม


ทัง้ สังคม​ภายใน​ประเทศ​และ​สังคมนานาประเทศ
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  จำแนก​ประเภท​ของกฎหมาย​ตามลักษณะ​แหง 1.  ประเภทของกฎหมายแบง​ตามลักษณะ​แหง
การ​ใชได การ​ใชกฎหมาย
2. ​จำแนก​ประเภท​ของกฎหมาย​ตามความสัมพันธ 1.1  กฎหมาย​สารบัญ​ญัติ
ของคูกรณี​ที่​เกี่ยวของ​กับ​กฎหมาย​ได 1.2  กฎหมายวิธีสบัญญัติ
3. ​วิเคราะหค​ วาม​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย ​2.  ประเภท​ของกฎหมายแบง​ตามความ​สัมพันธ
​สารบัญญ ​ ัติและกฎหมาย​วิธสี​ บัญญัติได ​ของคูกรณี​ที่​เกี่ยวของ​กับก​ ฎหมายและเนื้อหา
4.  วิเคราะหความ​แตกตาง​ระหวาง​กฎหมาย​เอกชน ของกฎหมาย
​กฎหมาย​มหาชน และ​กฎหมายระหวาง 2.1 ​กฎหมาย​เอกชน
ประเทศ​ได 2.2 ​กฎหมาย​มหาชน
5. ​ระบุไ​ด​วากฎหมาย​ฉบับใ​ด​เปนไดท​ ั้ง​กฎหมาย 2.3  กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ
เอกชน​และ​กฎหมาย​สารบัญญ ​ ัติ หรือเ​ปนได
ทั้งก​ ฎหมาย​มหาชน​และ​กฎหมาย​วิธี​สบัญญัติ

ผลการเรียนรู้ที่ 4 รูและเขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัด​ทำ ตลอด​จนขั้น​ตอน​ตาง ๆ ของการ


รางและ​การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อธิบายที่มา​ของรางกฎหมาย​ได 1. ​ที่มา​ของรางกฎหมายและ​การยก​รางกฎหมาย
2. ​จำแนก​ขั้นตอน​ในการจัดท​ ำกฎหมาย​ ​2.  การพิจารณา​และ​ขน้ั ​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
ลายลักษณอ​ ักษร​ได​พอ​สังเขป 2.1 ​กฎหมายลายลักษณ​อักษร​ที่​บัญญัติ​ขึ้น
3. ​เปรียบเทียบ​กระบวนการ​จัด​ทำกฎหมาย โดย​ฝาย​นิติบัญญัติ
​ลายลักษณอ​ ักษร​ของ​ฝาย​ตาง ๆ ได 2.2 ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ทบี่​ ัญญัติ​ขึ้น
4.  สรุป​ขั้น​ตอน​ตาง ๆ ของการ​รางและ​การ​ โดย​ฝาย​บริหาร
ประกาศ​ใชกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​แตละ 2.3  กฎหมาย​ลายลักษณอักษรทีบ่​ ัญญัติ​ขึ้น
ฉบับ​ได โดยองคกร​ปกครอง​สวนทองถิ่น
5. ​จำแนก​ลำดับ​ชั้น​หรือ​ลำดับ​ศักดิข์​ องกฎหมาย 3. ​ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณอักษรหรือ
​ลายลักษณอ​ ักษร​ได ​ลำดับ​ศักดิ์​ของกฎหมาย
142   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ผลการเรียนรู้ที่ 5 รูและเขาใจ​เกี่ยวกับ​การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใช
กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1. ​อธิบาย​ถึงวิธี​การ​ประกาศ​ใชและ​วันเริ่ม 1.  การ​บังคับใชกฎหมาย
​บังคับใชกฎหมาย​ได 1.1  การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย
2. ​ระบุอ​ าณาเขต​และ​บุคคล​ที่​กฎหมาย​ 1.2 ​วันเริ่ม​บังคับใชกฎหมาย
ใชบังคับได 1.3  อาณาเขตที่กฎหมาย​ใชบังคับ
3. ​สามารถ​เขาใจ​หลักการ​ตีความ​ในกฎหมาย 1.4  บุคคล​ที่​กฎหมาย​ใชบังคับ
4.  บอก​ประโยชน​ของการ​อุดช​ อง​วาง​ 1.5  บุคคล​และ​สถาบันที่​เกี่ยวของ​กับ​การ
ในกฎหมาย​ได บังคับใชกฎหมาย
5. ​อธิบาย​ถึงการ​สิ้น​ผลการบังคับใช ​2.  การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
​กฎหมาย​ได 2.1 ​การยกเลิก​กฎหมาย​โดย​ตรง​หรือโ​ดยชัด​แจง
2.2 ​การยกเลิกก​ ฎหมาย​โดย​ปริยาย
2.3 ​การยกเลิกก​ ฎหมาย​โดย​ศาล​รัฐธรรมนูญ
2.4  การยกเลิกกฎหมาย​โดย​คำพิพากษา​ของ​ศาล
2.5  ผลบางประการ​ของการยกเลิกก​ ฎหมาย

ผลการเรียนรู้ที่ 6 รูและเขาใจ​เกี่ยวกับ​รัฐธรรมนูญ​วา​เปนกฎหมาย​สูงสุดที่วาดวยการจัด
ระเบียบแหงอำนาจ​รัฐและ​กำหนด​หลักประกัน​สิทธิ​และเสรีภาพ ​ซึ่ง​เปน
กฎหมาย​ที่มีฐานะเหนือกวาบรรดา​กฎหมายและ​กฎเกณฑ​ทั้งปวง​ที่มี​การ
ตรา​ออก​มา​ใช​บังคับ
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1. ​บอก​ความเปนมา​ของรัฐธรรมนูญแ​ หง 1.  ความ​เปนมา​ของรัฐธรรมนูญไ​ทย
​ราชอาณาจักร​ไทย ตั้งแตเ​ปลี่ยนแปลง​การ 2. ​ความ​แตกตาง​ของรัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร
ปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงป​ จจุบัน​ได ​ไทยแตละฉบับที่ได​มี​การ​ประกาศ​ใช
2. ​เปรียบเทียบ​ความ​แตกตาง​ของรัฐธรรมนูญ 3. ​สาระสำคัญข​ องรัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​ไทย
​แหงร​ าชอาณาจักร​ไทย​แตละ​ฉบับใ​น​สาระ ​พุทธศักราช 2550
สำคัญ​ที่​เห็น​เดน​ชัดไ​ด 4.  หลักเกณฑ​สำคัญ​ที่​กำหนด​ไวใน​รัฐธรรมนูญ
3.  สรุปส​ าระสำคัญข​ องรัฐธรรมนูญแ​ หง​ ซึ่งเปนหลัก​ในการจัดการ​ปกครอง​ประเทศ
​ราชอาณาจักร​ไทย​ฉบับป​ จจุบัน​ใน​แตละ 4.1  ฐานะ​ของ​พระ​มหากษัตริย
หมวด​ได​โดยสังเขป 4.2 ​รัฐสภา
4.  อธิบาย​หลักเกณฑ​สำคัญ​ที่​กำหนด​ไวใน 4.3 ​คณะรัฐมนตรี
​รัฐธรรมนูญ ซึ่ง​เปนหลักใ​นการ​อำนวย 4.4 ​ตุลาการ
การ​ปกครอง​ประเทศได 4.5 ​สิทธิ เสรีภาพ และ​หนาที​ข่ อง​ปวง​ชนชาว​ไทย
5. ​สรุปโ​ครงสราง​และ​อำนาจ​หนาทีข่​ อง​ฝาย ​5. ​สรุป​โครงสราง​และ​อำนาจ​หนาที​ข่ อง​ฝา ย​นติ บิ ญ
ั ญัติ
นิติบัญญัติ ฝาย​บริหาร และ​ฝาย​ตุลาการ ฝาย​บริหาร และ​ฝาย​ตุลาการ​
ที่​กำหนด​ไวใน​รัฐธรรมนูญฉ​ บับ​ปจจุบันไ​ด 5.1  สรุป​โครงสราง​และ​อำนาจ​หนาที่​ของ​
​ฝายนิติบัญญัติ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   143

จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
5.2 ​คณะ​กรรมการการเลือกตั้ง
5.3  สรุ​ปโครง​สราง​และ​อำนาจ​หนาที​ข่ อง​ฝา ย​บริหาร
5.4 ​สรุป​โครงสราง​และ​อำนาจ​หนาที​ข่ อง​ฝา ย​ตลุ าการ

ผลการเรียนรู้ที่ 7 รู เขาใจ และเห็นค​ วาม​สำคัญข​ องกฎหมายแพง รวม​ทงั้ สามารถ​นำ​ไปปฏิบตั ​ิ


เพือ่ ​ให​เกิดป​ ระโยชน​สำหรับ​ตน​เอง ครอบครัว และ​สังคมได​อยางถูกตอง
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อ​ธิบายองคประกอบ​ของหลักกฎหมายแพง​ 1.  การ​ใชกฎหมายแพง​เพื่อป​ ระโยชน​ในการ
ที่สำคัญแ​ ละประชาชน​ควร​รู ซึ่ง​บัญญัตอิ​ ยู​ใน ​ดำรง​ชีวิต​ใน​สังคม
ประมวลกฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย​ ได ​2.  กฎหมายแพงว​ า​ดวย​เรื่อง​บุคคล
2.  จำแนกเนื้อหาสาระ​สำคัญข​ องกฎหมายแพง 2.1 ​บุคคลธรรมดา
แตละ​เรื่อง เชน นิติกรรม บุคคล หนี้ สัญญา 2.2 ​นิติบุคคล
ตาง ๆ ทรัพย ครอบครัว และ​มรดก​ได 3.  นิติกรรม
3.  ระบุห​ ลักเกณฑ​ของกฎหมายแตละ​เรื่อง เชน 3.1  ความหมายของนิติกรรม
หลักเกณฑ​การ​ทำสัญญา​ซื้อขาย หลักเกณฑ 3.2 ​ประเภท​ของนิติกรรม
การ​หมั้น ฯ​ลฯ และ​ยกตัวอยาง​ได 3.3  สัญญา
4.  เปรียบเทียบ​ความเปนโมฆะ​และ​โมฆียะ​ 3.4  โมฆะกรรมและโมฆียกรรม
​ที่บัญญัตไิ​วในกฎหมายแตละ​เรื่อง​ได 4.  ก​ฎหมาย “หนี้”
5. ​ระบุไ​ด​วาในกฎหมายแตละ​เรื่อง​ผูใดมี​สิทธิ 4.1  ความหมายของหนี้
และ​ผูใด​มีหนา​ที่ 4.2 ​วัตถุแ​ หง​หนี้
4.3  บอ​เกิดแ​ หง​หนี้
4.4  การบังคับ​ชำระ​หนี้
4.5  ความ​ระงับแ​ หง​หนี้
5. ​เอกเทศ​สัญญา
5.1 ​ซื้อขาย      5.4  กูยืม​เงิน
5.2 ​เชาทรัพย      5.5  ค้ำประกัน
5.3  เชาซื้อ
6.  ทรัพย
6.1  ความหมายของคำ​วา ทรัพย​และ​ทรัพยสนิ
6.2 ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​ทรัพยแ​ ละ​ทรัพยสิน
6.3  ประเภท​ของ​ทรัพยสิน
6.4  บุคคล​สิทธิและ​ทรัพยสิทธิ
6.5  ทรัพยสินของแผนดิน
144   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
7.  ครอบครัว
7.1 ​การ​หมั้น
7.2 ​การ​สมรส
7.3  ความ​สัมพันธ​ระหวาง​สามีและภริ​ยา
7.4  ทรัพยสิน​ระหวาง​สามี​ภริยา
7.5 ​การ​สิ้นสุด​แหง​การ​สมรส
7.6 ​บิดา​มารดา​กับ​บุตร​
7.7  สิทธิหนา​ที่​ของ​บิดา​มารดา​และ​บุตร
7.8  บุตรบุญธรรม
8.  มรดก​
8.1 ​ผู​มี​สิทธิ​ได​รับมรดก
8.2 ​การแบงม​ รดก​ระหวาง​ทายาทโดยธรรม
8.3 ​ทายาท​เสียสิทธิ​ในการ​รับมรดก
8.4 ​พินัยกรรม

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 8 รูแ​ ละ​เขาใจ​ใน​หลักก​ ฎหมายอาญา​วา ม​ ค​ี วาม​สำคัญใ​น​การ​ควบคุมพฤติกรรม​


ของ​บคุ คล​ใน​สงั คม​ใหเ​คารพ​สทิ ธิ​เสรีภาพ และ​ปฏิบตั ติ อ กันอ​ ยาง​ถกู ตอง​
ภายใต​กรอบ​แหง​กฎหมาย ไม​ประพฤติ​ฝาฝนกฎหมาย ซึ่ง​จะ​มี​ความ​ผิด​
และ​ถูกล​ งโทษ
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1. ​อธิบาย​ความ​หมายของกฎหมายอาญา​ได 1.  ความหมายของกฎหมายอาญา
2.  บอก​ลกั ษณะ​สำคัญ​ของกฎหมายอาญา​ได 2.  ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา
3. ​จำแนก​ประเภท​โทษทางอาญา​และ​ความรับผิด 3.  โทษทางอาญา​และ​ความรับผิด​ทางอาญา
​ทางอาญา​ได 3.1  โทษทางอาญา
4. ​บอกหลักเกณฑ​การพิจารณา​โทษทางอาญา​ได 3.2  ความรับผิด​ทางอาญา
5.  วิเคราะห​ลักษณะ​ความ​ผิด​อาญา​บาง​ลักษณะ ​4.  หลักการ​พิจารณา​โทษทางอาญา
ที่​ประชาชน​ควร​รูได 4.1 ​ตอง​มี​การก​ระทำ
4.2 ​ตอง​เขา​องคประกอบ​ที่​กฎหมาย​กำหนด
4.3  ไม​มีอำนาจ​ตาม​กฎหมาย​ที่​ใหกระทำ​ได
4.4  ผูกระทำบังคับ​ตน​เอง​ได
4.5  ผูกระทำได​กระทำ​โดยเจตนา
4.6  ผูกระทำได​กระทำ​โดย​ประมาท
4.7  การกระทำ​นั้น​ไม​มีเหตุท​ ี่​กฎหมาย​ยกเวน
โทษ​ให
5.  การพยายาม​กระทำความผิด
6.  บุคคล​ผูกระทำ​ผิดใน​ทางอาญา
6.1  ตัวการ
6.2 ​ผูใชใหกระทำความผิด
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   145

จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
6.3  ผูสนับส​ นุนการก​ระทำความ​ผิด
7.  ความ​ผิด​อาญา​บาง​ลักษณะ​ทปี่​ ระชาชน​ควร​รู
7.1  ความ​ผิดเกี่ยวกับช​ ีวิต​และ​รางกาย
7.2 ​ความ​ผิดเกี่ยวกับท​ รัพย
7.3 ​ความ​ผิดเกี่ยวกับเ​พศ
8.  ความ​ผิด​ลหุโทษ
9. ​อายุความ​

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 9 รู เขาใจ และ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎ​หมาย​เกี่ยวกับ​การทะเบียน​


ราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัว​ประชาชน รวม​ทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​
ถูกตอง
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  บอก​ระเบียบ​ปฏิบัติ​ในการแจงเ​กิดและ 1.  การแจง​เกิด
​แจงต​ าย​ได 1.1 ​หลักเกณฑข​ องการแจง​เกิด
2. ​ระบุ​ขน้ั ​ตอน​ในการยาย​ท​อ่ี ยูไ ด 1.2  ความ​สำคัญ​ของสูติบัตร
3.  อ​ธิบายหลักเกณฑ​ในการแจง​การ​สราง​บาน 1.3  การ​เก็บร​ ักษา​สูติบัตร
​และ​การ​รื้อ​บาน​ได ​2. ​การแจง​ตาย
4. ​ระบุค​ วาม​ผิดและ​โทษ​ของการ​ฝาฝน​กฎหมาย 3.  การยาย​ที่​อยู
​ทะเบียนราษฎร​ได 4.  ทะเบียนบาน
5.  บอกประโยชน​ของการ​ปฏิบัตติ​ าม​กฎหมาย 5.  การสราง​บานและ​การ​รื้อ​บาน
ทะเบียนราษฎร​ได 6.  กฎหมาย​เกี่ยวกับบ​ ัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
6.  ระบุค​ ุณสมบัติ​และ​ขั้น​ตอน​ของการ​ทำบัตร 6.1  คุณสมบัติ​ของ​ผขู​ อมี​บัตร​และ​หลักเกณฑ
ประจำ​ตัวประชาชน​ได​ ในการขอมี​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
6.2  การทำบัตร​ประจำ​ตัวประชาชน​ในกรณี​ที่
ไมทราบ​วันเกิด
6.3 ​การ​ทำบัตรประจำ​ตวั ประชาชน​ของ​บคุ คล
ผูม​ ีแต​ชื่อตัว แต​ไม​มีชื่อส​ กุล
6.4  ความ​ผิดและ​โทษ

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 10 รู เขาใจ​ และ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​


เด็ก รวม​ทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อธิบาย​เนื้อหา​สาระ​ที่สำคัญ​ของ 1. ​การ​ปฏิบัติ​ตอ​เด็ก
พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็กแตละ​เรื่อง เชน ​2. ​การ​สงเคราะห​เด็ก
146   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
การ​ปฏิบัติ​ตอ​เด็ก การ​สงเคราะห​เด็ก การ 3. ​การคุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก
คุมครอง​สวัสดิภาพ​เด​็ก​ได 4.  การสงเสริมค​ วาม​ประพฤติน​ ักเรียน​
2. ​ปฏิบัตติ​ าม​พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็กไ​ด ​และนักศึกษา
3. ​แนะนำ​ให​ผูอื่น​รู​ถึง​สิทธิแ​ ละ​หนาที่​ของ​ตน​ที่จะ 5.  บทกำหนดโทษ
ได​รับก​ ารคุมครอง​ตาม​พระราชบัญญัติ
คุมครอง​เด็ก

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 11 รู เขาใจ​ และ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมายเกี่ยวกับก​ าร​คุมครอง​


ผู​บ ริโภค รวม​ทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  อธิบาย​เนื้อหา​สาระ​ที่สำคัญ​ของกฎหมาย 1. ​พระราชบัญญัตคิ มุ ครอง​ผ​บู ริโภค พ.ศ. 2522
​คุมครอง​ผู​บริโภคแตละ​เรื่อง เชน สิทธิ​ของ 1.1 ​การคุมครอง​สิทธิ​ของ​ผู​บริโภค
​ผู​บริโภค​ที่ได​รับ​การคุมครองได 1.2  คณะ​กรรมการ​คุมครอง​ผบู​ ริโภค
2. ​ปฏิบัตติ​ าม​กฎหมาย​คุมครอง​ผู​บริโภคได 1.3  การคุมครอง​ผบู​ ริโภค
​อยางถูกตอง 1.4  การอุทธรณ
3. ​แนะนำ​ให​ผูอื่น​รู​ถึง​สิทธิ​และ​หนาที่​ของ​ตน​ที่จะ 1.5  บทกำหนด​โทษ
ได​รับก​ ารคุมครอง​ตาม​กฎหมายคุมครอง ​2. ​พระราชบัญญัตวิ​ ิธี​พิจารณา​คดี​ผู​บริโภค
ผู​บริโภค พ.ศ. 2551

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 12 รู เขาใจ ​และ​เห็นค​ วาม​สำคัญ​ของ​การ​รับราชการ​ทหาร​ รวม​ทั้ง​ปฏิบัติ​ตน


ตาม​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหารได​อยาง​ถ​ูก​ตอง
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1. ​อธิบายความ​สำคัญ​และ​ความ​จำเปน​ของ 1.  ขั้น​ตอน​การเขารับราชการ​ทหาร
การ​รับราชการ​ทหาร​ได 1.1 ​การลง​บัญชี​ทหารกองเกิน
2. ​ระบุขั้นตอน​ที่​กฎหมาย​กำหนด​ไวเกี่ยวกับ 1.2  การตรวจ​คัดเลือก​ทหารกองเกินใ​ห​เปน
การ​รับราชการ​ทหาร​ได ทหารกองประจำการ
3. ​บอก​คุณสมบัติ​ของ​บุคคล​ที่มีหนา​ทตี่​ อง​เขา 3.  บุคคล​ผูได​รับ​การยกเวน​ไม​ตอง​รับราชการ
รับราชการ​ทหาร​​ได​ ทหาร​กอง​ประจำการ
4.  จำแนก​ประเภท​ของ​บุคคล​ผูได​รับ​การ​ผอนผัน 4.  บุคคล​ผไู ด​รบั ​การ​ผอ นผัน​ไม​ตอ ง​เข​ารับการ
และ​ได​รับก​ ารยกเวนก​ ารเขารับราชการ​ทหาร ตรวจเลือก​เปน​ทหารกองประจำการ
ได 5.  บุคคล​ผูได​รับการ​ผอนผันไ​ม​ตองเรียกเขา
​รับราชการทหาร​ในการเรียก​พลเพื่อต​ รวจ​สอบ
หรือ​ฝก​วิชา​ทหาร หรือ​เพื่อท​ ดลอง​ความ
พรั่งพรอม
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   147

จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
6. ​การเปลี่ยนแปลง​ตำบล​ที่​อยู ชื่อตัว หรือ
ชื่อสกุล

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 13 รู​และ​เขาใจ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติด​ใหโทษ รวม​ทั้ง​สามารถ​นำไป​ใช​


แก​ปญหา​และ​แนะนำ​ให​ผูอื่น​ปฏิบัติ​ตาม​กฎหมาย ​เพื่อหลีก​เลี่ยง​การ​
ก​ระ​ทำ​ผดิ ก​ฎห​ มาย​เกีย่ วกับย​ าเสพติดใ​หโทษ​ในสังคม​ไทย​และ​สงั คม​ระดับ​
โลก
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1. ​บอก​ความหมายของ​ยาเสพติดใหโทษ​ได 1.  ความ​หมายของ​ยาเสพติดใหโทษ
2.  จำแนก​ประเภท​ของ​ยาเสพติดใหโทษ​ได ​2. ​ประเภท​ของ​ยาเสพติดใหโทษ
3. ​ระบุอ​ ันตราย​และ​ลักษณะ​ของ​ผูติด​ยาเสพติด 3.  การขออนุญาต​และ​การ​ออก​ใบอนุญาต
ใหโทษ​บาง​ประเภท​ได เกี่ยวกับย​ าเสพติดใหโทษ
4.  ยกตัวอยาง​การก​ระทำความ​ผิดและ​อัตรา​โทษ 4. ​บทกำหนดโทษ
ตาม​กฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติดใหโทษ​ได 5.  บท​ลงโทษ​เกี่ยวกับย​ าเสพติดใหโทษที่สำคัญ
5. ​วิเคราะหโทษและพิษภัย​ของ​ยาเสพติดใหโทษ 6.  วิธี​สังเกต​อาการ​ของ​ผูใช​ยาเสพติดใหโทษ
ได 7.  สาเหตุ​ของการติด​ยาเสพติดใหโทษ
6. ​บอก​แนวทาง​ในการ​ปองกัน​และ​แกไข​ปญหา 8.  โทษพิษภัย​ของ​ยาเสพติดใหโทษ
ยาเสพติดให​โทษ​ใน​สังคม​ไทย​และ​สังคม​ระดับ 9.  การบำบัด​รักษา​ผูติด​ยาเสพติดใหโทษ
ประเทศ​ได 10.  การบำบัดรักษา​ฟน​ฟูสมรรถภาพ​ผูติด​
ยาเสพติดใหโทษ
11.  การ​ปองกัน​และ​ปราบปราม​ยาเสพติดใหโทษ
ของหนวย​งาน​ที่​เกี่ยวของ

ผล​การ​เรียนรูที​ ่ 14 ​ตระหนัก​ถึง​ปญหา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย ​และ​สามารถ​หาแนวทาง​


ปองกัน​แกไข​ได
จุด​ประสงค​การเรียน​รู สาระ​การเรียน​รู
1.  บอกปญหา​กฎหมาย​ที่​เกิดจ​ าก​ประชาชน 1. ​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ท​เ่ี กิด​จาก​ประชาชน​
ผูใชกฎหมาย​ได ผูใชกฎหมาย
2.  บอกปญหา​กฎหมาย​ที่​เกิด​จาก​เจาหนาที่ ​2. ​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ที่​เกิด​จาก​เจาหนาที่
ผูใชกฎหมาย​ได ผูใชกฎหมาย
3. ​บอกปญหา​ที่​เกิด​จาก​ตัว​บทกฎหมาย​ได 3. ​ปญหา​ที่​เกิดจ​ าก​ตัว​บทกฎหมาย
4.  บอกแนวทาง​แกไข​ปญหา​ตาง ๆ ที่​เกิดจ​ าก
การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​ได
148   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

2. โครง​งาน (Project Work)

โครงงาน​เปนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่​สงเสริม​ให​นักเรียน​ได​ลงมือ​ปฏิบัติ​และ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง
ตาม​แผนการ​ดำเนินงาน​ที่​นักเรียน​ได​จัด​ขึ้น โดย​ครูช​ วย​ให​คำ​แนะนำ ปรึกษา กระตุนใ​ห​คิด และ​ติดตาม​
การ​ปฏิบัติ​งาน​จน​บรรลุ​เปาหมาย โครงงาน​แบงออก​เปน 4 ประเภท คือ
1. โครงงาน​ประเภท​สำรวจ รวบรวม​ขอมูล
2. โครงงาน​ประเภท​ทดลอง คนควา
3. โครงงาน​ที่​เปนการ​ศึกษา​ความรู ทฤษฎี หลักการ​หรือ​แนวคิด​ใหม
4. โครงงาน​ประเภท​สิ่ง​ประดิษฐ
การ​เรียนรู​ดวย​โครงงาน​มขี​ ั้นตอน ดังนี้
1. กำหนด​หัวขอ​ที่จะ​ศึกษา นักเรียน​คิด​หัวขอ​โครงงาน ซึ่ง​อาจ​ได​มาจาก​ความ​อยากรู​อยาก​เห็น​
ของ​นักเรียน​เอง หรือ​ได​จาก​การ​อานหนังสือ บทความ การ​ไป​ทัศนศึกษา​ดูงาน เปนตน โดย​นักเรียน​
ตอง​ตั้งคำถาม​วา “จะ​ศึกษา​อะไร” “ทำไม​ตอง​ศึกษา​เรื่อง​ดังกลาว”
2. ศึกษา​เอกสาร​ที่​เกี่ยวของ นักเรียน​ศึกษา​ทบทวน​เอกสาร​ที่​เกี่ยวของ และ​ปรึกษา​ครู​หรือผ​ ทู​ ี่​มี
ความรู​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​สาขา​นั้น ๆ
3. เขียน​เคาโครง​ของ​โครงงาน​หรือ​สราง​แผนผัง​ความคิด โดย​ทั่วไป​เคาโครง​ของ​โครงงาน​จะ​
ประกอบดวย​หัวขอ​ตาง ๆ ดังนี้
1) ชื่อ​โครงงาน
2) ชื่อ​ผูทำ​โครงงาน
3) ชื่อ​ที่ปรึกษา​โครงงาน
4) ระยะเวลา​ดำเนินการ
5) หลักการ​และ​เหตุผล
6) วัตถุ​ประสงค
7) สมมุติฐาน​ของ​การ​ศึกษา (ใน​กรณีที่​เปน​โครงงาน​ทดลอง)
8) ขั้นตอน​การ​ดำเนินงาน
9) ปฏิบัติ​โครงงาน
10) ผล​ที่​คาดวาจ​ ะ​ไดรับ
11) เอกสาร​อางอิง/บรรณานุกรม
4. ปฏิบัติ​โครงงาน ลงมือ​ปฏิบัติ​งาน​ตาม​แผนงาน​ที่​กำหนด​ไว ใน​ระหวาง​ปฏิบัติ​งาน​ควร​มี​การ​
จดบันทึก​ขอมูล​ตาง ๆ ไว​อยาง​ละเอียด​วา​ทำ​อยางไร ไดผล​อยางไร มี​ปญหา​หรือ​อุปสรรค​อะไร และ​
มี​แนวทาง​แกไข​อยางไร
5. เขียน​รายงาน เปนการ​รายงาน​สรุปผล​การ​ดำเนินงาน เพือ่ ใหผ​ อู นื่ ไ​ดท​ ราบ​แนวคิด วิธด​ี ำเนินงาน
ผล​ที่​ไดรับ และ​ขอ​เสนอแนะ​ตาง ๆ เกี่ยวกับ​โครงงาน ซึ่ง​การ​เขียน​รายงาน​นี้​ควร​ใช​ภาษา​ที่​กระชับ
เขา​ใจงาย ชัดเจน และ​ครอบคลุม​ประเด็นท​ ี่​ศึกษา
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   149

6. แสดงผล​งาน เปน​การนำ​ผล​ของ​การ​ดำเนินงาน​มา​เสนอ อาจ​จัด​ได​หลาย​รูปแบบ เชน การ


​จัด​นิทรรศการ การ​ทำเปน​สื่อ​สิ่งพิมพ สื่อ​มัลติ​มิ​เดีย หรือ​อาจ​นำเสนอ​ใน​รูป​ของ​การ​แสดงผล​งาน การ​
นำเสนอ​ดวยวาจา บรรยาย อภิปราย​กลุม สาธิต

3. แฟมสะสม​ผลงาน (P​ortfolio)
แฟม​สะสม​ผล​งาน หมายถึง แหลง​รวบรวม​เอกสาร ผล​งาน หรือ​หลักฐาน เพื่อ​ใช​สะทอน​ถึง
​ผล​สัมฤทธิ์ ความ​สามารถ ทักษะ และ​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน มี​การ​จัด​เรียบเรียง​ผล​งาน​ไว​อยางมีระบบ
โดย​นำ​ความรู ความคิด และ​การ​นำเสนอ​มา​ผสม​ผสาน​กนั ซึง่ น​ กั เรียน​เปนผ​ ค​ู ดั เลือก​ผล​งาน​และ​มส​ี ว นรวม​
ใน​การ​ประเมิน แฟมส​ ะสม​ผล​งาน​จงึ เ​ปนห​ ลักฐาน​สำคัญท​ จี่ ะ​ทำใหน​ กั เรียน​สามารถ​มองเห็นพ​ ฒ ั นาการ​ของ​
ตน​เอง​ได​ตาม​สภาพ​จริง รวมทั้ง​เห็น​ขอบกพรอง และ​แนว​ทางใน​การ​ปรับปรุงแ​ กไข​ให​ดีขึ้น​ตอไป
ลักษณะ​สำคัญ​ของ​การ​ประเมินผล​โดย​ใช​แฟม​สะสม​ผล​งาน
1. ครู​สามารถ​ใช​เปน​เครื่องมือ​ใน​การ​ติดตาม​ความ​กาวหนา​ของ​นักเรียน​เปน​รายบุคคล​ได​เปน​
อยาง​ดี เนื่องจาก​มี​ผล​งาน​สะสม​ไว ครู​จะ​ทราบ​จุดเดน จุดดอย​ของ​นักเรียน​แตละคน​จาก​แฟม​สะสม​
ผล​งาน และ​สามารถ​ติดตาม​พัฒนาการ​ไดอ​ ยาง​ตอเนื่อง
2. มุง​วัด​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​ใน​การ​ผลิต​หรือ​สราง​ผล​งาน​มากกวา​การ​วัด​ความ​จำ​จาก​การ​ทำ​
แบบทดสอบ
3. วัด​และ​ประเมิน​โดย​เนน​ผูเรียน​เปน​ศูนยกลาง คือ นักเรียน​เปน​ผู​วางแผน ลงมือ​ปฏิบัติ​งาน
รวมทั้ง​ประเมิน​และ​ปรับปรุง​ตน​เอง ซึ่ง​มี​ครู​เปน​ผูชี้แนะ เนน​การ​ประเมินผล​ยอย​มากกวา​การ​ประเมิน
ผล​รวม
4. ฝก​ให​นักเรียน​รูจัก​การ​ประเมินต​ น​เอง​และ​หา​แนวทาง​ปรับปรุงพ​ ัฒนา​ตน​เอง
5. ชวย​ใหน​ กั เรียน​เกิดค​ วาม​มนั่ ใจ​และ​ภาคภูมใิ จ​ใน​ผล​งาน​ของ​ตน​เอง รูว า ต​ น​เอง​มจ​ี ดุ เดนใ​น​เรือ่ ง​
ใด
6. ชวย​ใน​การ​สื่อ​ความ​หมาย​เกี่ยวกับค​ วามรู ความ​สามารถ ตลอดจน​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน​ให​
ผู​ที่​เกี่ยวของ​ทราบ เชน ผูปกครอง ฝาย​แนะแนว ตลอดจน​ผูบริหาร​ของ​โรงเรียน
ขั้นตอน​การ​ประเมินผล​โดย​ใช​แฟม​สะสม​ผล​งาน
การ​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน​มี 10 ขั้นตอน ซึ่งแ​ ตละ​ขั้นตอน​มี​รายละเอียด ดังนี้
1. การ​วางแผน​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน การ​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน​ตอง​มี​สวนรวม​ระหวาง​ครู
นักเรียน และ​ผูปกครอง
ครู  การ​เตรียมตัวข​ อง​ครู​ตอง​เริ่มจาก​การ​ศึกษา​และ​วิเคราะหห​ ลักสูตร คูมือค​ รู คำ​อธิบาย​รายวิชา
วิธีการ​วัด​และ​ประเมินผล​ใน​หลักสูตร รวมทั้ง​ครู​ตอง​มีความรู​และ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​การ​ประเมิน​โดย​ใช​
แฟม​สะสม​ผล​งาน จึง​สามารถ​วางแผน​กำหนด​ชิ้นงาน​ได
นักเรียน  ตอง​มี​ความ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​จุดประสงค​การ​เรียนรู เนื้อหา​สาระ การ​ประเมินผล​โดย​ใช​
แฟมส​ ะสม​ผล​งาน การ​มส​ี ว นรวม​ใน​กจิ ก​ รรมการ​เรียนรู การ​กำหนด​ชนิ้ งาน และ​บทบาท​ใน​การ​ทำงาน​กลุม
โดย​ครู​ตอง​แจง​ให​นักเรียน​ทราบ​ลวงหนา
150   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ผูป กครอง  ตอง​เขามา​มส​ี ว นรวม​ใน​การ​คดั เลือก​ผล​งาน การ​แสดง​ความ​คดิ เห็น และ​รบั รูพ​ ฒ ั นาการ​
ของ​นักเรียน​อยาง​ตอเนื่อง ดังนั้น​กอน​ทำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน ครู​ตอง​แจงใ​ห​ผูปกครอง​ทราบ​หรือข​ อ​ความ​
รวมมือ รวมทั้ง​ให​ความรู​ใน​เรื่อง​การ​ประเมินผล​โดย​ใช​แฟม​สะสม​ผล​งาน​แก​ผูปกครอง​เมื่อ​มี​โอกาส
2. การ​รวบรวม​ผล​งาน​และ​จัด​ระบบ​แฟม ใน​การ​รวบรวม​ผล​งาน​ตอง​ออกแบบ​การ​จัดเก็บ​หรือ
​แยก​หมวดหมู​ของ​ผล​งาน​ให​ดี เพื่อ​สะดวก​และ​งาย​ตอ​การนำ​ขอมูล​ออกมา​ใช แนวทาง​การ​จัด​หมวดหมู​
ของ​ผล​งาน เชน
1) จัด​แยก​ตามลำดับว​ ันแ​ ละ​เวลา​ที่​สราง​ผล​งาน​ขึ้น​มา
2) จัด​แยก​ตาม​ความ​ซับซอน​ของ​ผล​งาน เปนการ​แสดงถึง​ทักษะ​หรือ​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน
​ที่​มากขึ้น
3) จัด​แยก​ตาม​วัตถุ​ประสงค เนื้อหา หรือ​ประเภท​ของ​ผล​งาน
ผล​งาน​ที่อยู​ใน​แฟม​สะสม​ผล​งาน​อาจ​มี​หลาย​เรื่อง หลาย​วิชา ดังนั้น​นักเรียน​จะ​ตอง​ทำ​เครื่องมือ​
ใน​การ​ชวย​คนหา เชน สารบัญ ดัชนีเ​รื่อง จุด​สี แถบ​สี​ติด​ไว​ที่​ผล​งาน​โดย​มี​รหัส​ที่​แตกตางกัน เปนตน
3. การ​คัดเลือก​ผล​งาน ใน​การ​คัดเลือก​ผล​งาน​นั้น​ควร​ให​สอดคลองกับ​เกณฑ​หรือ​มาตรฐาน​ที่​
โรงเรียน ครู หรือน​ กั เรียน​รว มกันก​ ำหนด​ขนึ้ ม​ า และ​ผค​ู ดั เลือก​ผล​งาน​ควร​เปนน​ กั เรียน​เจาของ​แฟมส​ ะสม​
ผล​งาน หรือ​มี​สวน​รวมกับค​ รู เพื่อน และ​ผูปกครอง
ผล​งาน​ทเี่​ลือก​เขาแฟม​สะสม​ผล​งาน​ควร​มลี​ ักษณะ​ดังนี้
1) สอดคลองกับ​เนื้อหา​และ​วัตถุ​ประสงค​ของ​การ​เรียนรู
2) เปนผล​งาน​ชิ้นท​ ดี่​ ีที่สุด มีความหมาย​ตอ​นักเรียน​มาก​ที่สุด
3) สะทอน​ใหเ​ห็น​ถึง​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน​ใน​ทุกด​ าน
4) เปน​สอ่ื ​ทจ่ี ะ​ชว ย​ให​นกั เรียน​ม​โี อกาส​แลกเปลีย่ น​ความคิด​เห็นกับ​ครู ผูป กครอง และ​เพือ่ น ๆ
สวน​จำนวน​ชิ้นงาน​นั้น​ให​กำหนด​ตาม​ความ​เหมาะสม ไม​ควร​มี​มาก​เกินไป เพราะ​อาจจะ​ทำ​ให
ผล​งาน​บาง​ชิ้น​ไม​มีความหมาย แตถ​ าม​ นี​ อยเกินไป​จะ​ทำ​ใหการ​ประเมิน​ไมมี​ประสิทธิภาพ
4. การ​สรางสรรค​แฟม​สะสม​ผล​งาน​ให​มี​เอกลักษณ​ของ​ตน​เอง โครงสราง​หลัก​ของ​แฟม​สะสม
​ผล​งาน​อาจ​เหมือนกัน แต​นักเรียน​สามารถ​ตกแตง​รายละเอียด​ยอย​ให​แตกตางกัน ตาม​ความคิด​
สรางสรรคข​ อง​แตละบุคคล โดย​อาจ​ใชภ​ าพ สี สติกเกอร ตกแตงใ​ห​สวยงาม ​เนน​เอกลักษณข​ อง​เจาของ​
แฟม​สะสม​ผล​งาน
5. การ​แสดง​ความ​คิดเห็น​หรือ​ความรูสึก​ตอ​ผล​งาน ใน​ขั้น​ตอนนี้​นักเรียน​จะ​ได​รูจัก​การ​วิพากษ​
วิจารณ หรือส​ ะทอน​ความคิดเ​กี่ยวกับผ​ ล​งาน​ของ​ตน​เอง ตัวอยาง​ขอความ​ที่​ใช​แสดง​ความรูสึก​ตอ​ผล​งาน
เชน
1) ได​แนวคิดจ​ าก​การ​ทำ​ผล​งาน​ชิ้น​นมี้​ า​จากไหน
2) เหตุผล​ที่​เลือก​ผล​งาน​ชิ้น​นคี้​ ือ​อะไร
3) จุดเดนแ​ ละ​จุดดอย​ของ​ผล​งาน​ชิ้นน​ ี้​คือ​อะไร
4) รูสึก​พอใจ​กับผ​ ล​งาน​ชิ้นน​ ี้​มาก​นอย​เพียงใด
5) ได​ขอคิด​อะไร​จาก​การ​ทำ​ผล​งาน​ชิ้นน​ ี้
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   151

6. การ​ตรวจสอบ​ความ​สามารถ​ของ​ตน​เอง เปนการ​เปดโอกาส​ใหน​ กั เรียน​ไดป​ ระเมินค​ วาม​สามารถ​


ของ​ตน​เอง โดย​พิจารณา​ตามเกณฑย​ อย ๆ ทีค่​ รูแ​ ละ​นักเรียน​ชวยกัน​กำหนด​ขึ้น เชน นิสัยก​ าร​ทำงาน
ทักษะ​ทาง​สงั คม การ​ทำงาน​เสร็จต​ าม​ระยะเวลา​ทก​ี่ ำหนด การ​ขอ​ความ​ชว ยเหลือเ​มือ่ ม​ ค​ี วาม​จำเปน เปนตน
นอกจากนี้​การ​ตรวจสอบ​ความ​สามารถ​ของ​ตน​เอง​อีก​วิธี​หนึ่ง คือ การ​ให​นักเรียน​เขียน​วิเคราะห​จุดเดน
จุดดอยของ​ตน​เอง และ​สิ่ง​ทตี่​ อง​ปรับปรุง​แกไข
7. การ​ประเมินผล​งาน เปน​ขั้น​ตอนที่​สำคัญ​เนื่องจาก​เปนการ​สรุป​คุณภาพ​ของ​งาน​และ​ความ​
สามารถ​หรือ​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน การ​ประเมินแ​ บงออก​เปน 2 ลักษณะ คือ การ​ประเมิน​โดย​ไม​ให​
ระดับ​คะแนน และ​การ​ประเมินโ​ดย​ให​ระดับค​ ะแนน
1) การ​ประเมิน​โดย​ไม​ให​ระดับ​คะแนน ครู​กลุม​นี้​มี​ความ​เชื่อ​วา แฟม​สะสม​ผล​งาน​มี​ไว​เพื่อ
ศ​ กึ ษา​กระบวนการ​ทำงาน ศึกษา​ความ​คดิ เห็นแ​ ละ​ความรูส กึ ข​ อง​นกั เรียน​ทม​ี่ ต​ี อ ผ​ ล​งาน​ของ​ตน​เอง ตลอดจน​
ดู​พัฒนาการ​หรือ​ความ​กาวหนา​ของ​นักเรียน​อยาง​ไม​เปนทางการ ครู ผูปกครอง และ​เพื่อน​สามารถ​ให​
คำ​ชี้แนะ​แก​นักเรียน​ได ซึ่ง​วิธีการ​นี้​จะ​ทำให​นักเรียน​ได​เรียนรู​และ​ปฏิบัตงิ​าน​อยาง​เต็มที่ โดย​ไม​ตอง​กังวล​
วา​จะ​ได​คะแนน​มาก​นอย​เทาไร
2) การ​ประเมิน​โดย​ใหร​ ะดับ​คะแนน มีท​ ั้งก​ าร​ประเมิน​ตาม​จุดประสงคก​ าร​เรียนรู การ​ประเมิน​
ระหวาง​ภาคเรียน และ​การ​ประเมิน​ปลาย​ภาค ซึ่ง​จะ​ชวย​ใน​วัตถุ​ประสงค​ดาน​การ​ปฏิบัติ​เปนหลัก การ​
ประเมินแ​ ฟมส​ ะสม​ผล​งาน​ตอ ง​กำหนด​มติ ก​ิ าร​ใหคะแนน (Scoring Rubrics) ตามเกณฑท​ ค​ี่ รูแ​ ละ​นกั เรียน​
รวมกัน​กำหนด​ขึ้น การ​ให​ระดับค​ ะแนน​มี​ทั้งก​ าร​ใหคะแนน​เปนราย​ชิ้น​กอน​เก็บเ​ขาแฟม​สะสม​ผล​งาน และ​
การ​ใหคะแนน​แฟม​สะสม​ผล​งาน​ทั้ง​แฟม ซึ่ง​มาตรฐาน​คะแนน​นั้น​ตอง​สอดคลองกับ​วัตถุ​ประสงค​การ​
จัดทำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน และ​มุงเนน​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน​แตละคน​มากกวา​การ​นำไป​เปรียบ​เทียบกับ​
บุคคลอื่น
8. การ​แลกเปลีย่ น​ประสบการณก​ บั ผ​ อู นื่ มีว​ ตั ถุป​ ระสงคเ​พือ่ เ​ปดโอกาส​ใหน​ กั เรียน​ไดร​ บั ฟงค​ วาม​
คิดเห็น​จาก​ผู​ที่​มี​สวน​เกี่ยวของ ไดแก เพื่อน ครู และ​ผูปกครอง อาจ​ทำได​หลาย​รูปแบบ เชน การ​จัด​
ประชุม​ใน​โรงเรียน​โดย​เชิญผ​ ู​ที่​มสี​ วน​เกี่ยวของ​มา​รวมกัน​พิจารณา​ผล​งาน การ​สนทนา​แลกเปลี่ยน​ระหวาง​
นักเรียน​กับ​เพื่อน การ​สง​แฟม​สะสม​ผล​งาน​ไป​ใหผ​ ู​ที่​มี​สวน​เกี่ยวของ​ชวย​ให​ขอ​เสนอแนะ​หรือค​ ำ​แนะนำ
ใน​การ​แลกเปลี่ยน​ประสบการณ​นั้น​นักเรียน​จะ​ตอง​เตรียม​คำ​ถาม​เพื่อ​ถาม​ผู​ที่​มี​สวน​เกี่ยวของ ซึ่ง​
จะ​เปน​ประโยชน​ใน​การ​ปรับปรุงง​าน​ของ​ตน​เอง ตัวอยาง​คำ​ถาม เชน
1) ทาน​คิดอ​ ยางไร​กับผ​ ล​งาน​ชิ้นน​ ี้
2) ทาน​คิดวาค​ วร​ปรับปรุง​แกไข​สวน​ใด​อีกบ​ าง
3) ผล​งาน​ชิ้นใ​ด​ที่​ทาน​ชอบมาก​ที่สุด เพราะอะไร
ฯลฯ
9. การ​ปรับ​เปลี่ยน​ผล​งาน หลังจากที่​นักเรียน​ได​แลกเปลี่ยน​ความ​คิดเห็น และ​ได​รับคำ​แนะนำ​
จาก​ผท​ู ม​ี่ ส​ี ว น​เกีย่ วของ​แลว จะ​นำมา​ปรับปรุงผ​ ล​งาน​ใหด​ ขี นึ้ นักเรียน​สามารถ​นำ​ผล​งาน​ทด​ี่ กี วาเ​ก็บเ​ขาแฟม​
สะสม​ผล​งาน​แทน​ผล​งาน​เดิม ทำให​แฟม​สะสม​ผล​งาน​มี​ผล​งาน​ที่​ดี ทันสมัย และ​ตรง​ตาม​จุดประสงค​
ใน​การ​ประเมิน
152   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
10. การ​ประชา​สัมพันธ​ผล​งาน​ของ​นักเรียน เปนการ​แสดง​นิทรรศการ​ผล​งาน​ของ​นักเรียน โดย​
นำ​แฟม​สะสม​ผล​งาน​ของ​นักเรียน​ทุกคน​มา​จัดแสดง​รวมกัน และ​เปดโอกาส​ให​ผูปกครอง ครู และ​
นักเรียน​ทั่วไป​ได​เขา​ชม​ผล​งาน ทำให​นักเรียน​เกิด​ความ​ภาคภูมิใจ​ใน​ผล​งาน​ของ​ตน​เอง ผู​ที่​เริ่มตน​ทำ
​แฟม​สะสม​ผล​งาน​อาจ​ไมต​ อง​ดำเนินการ​ทั้ง 10 ขั้นต​ อนนี้ อาจ​ใช​ขั้นตอน​หลัก ๆ คือ การ​รวบรวม​ผล​งาน​
และ​การ​จัด​ระบบ​แฟม การ​คัดเลือก​ผล​งาน และ​การ​แสดง​ความ​คิดเห็น​หรือค​ วามรูสึก​ตอ​ผล​งาน
องคประกอบ​สำคัญ​ของ​แฟม​สะสม​ผล​งาน มีด​ ังนี้

1. สวน​นำ ประกอบดวย
– ปก
– คำนำ
– สารบัญ
– ประวัตสิ​ วนตัว
– จุด​มุงหมาย​ของ​การ​ทำ​
​แฟมสะสม​ผลงาน
2. สวน​เนื้อหา​แฟม ประกอบดวย
– ผลงาน
– ความ​คิดเห็น​ที่​มี​ตอ​ผลงาน
– Rubrics ประเมิน​ผลงาน

3. สวนขอมูล​เพิ่มเติม ประกอบดวย
– ผล​การ​ประเมินก​ าร​เรียนรู
– การ​รายงาน​ความ​กาวหนา​โดย​ครู
– ความ​คิดเห็น​ของ​ผทู​ ี่​มี​สวน​เกี่ยวของ
เชน เพื่อน ผูปกครอง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   153

4. ผังการ​ออกแบบ​การจัดการ​เรียน​รูตาม​แนว​คิด​Backward Design
​ผัง​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู ​(Backward Design Template)
หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ผลการเรียน​รู

ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า…
1. 1.
2. 2.
ความรูของนักเรียนที่นำไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่
นักเรียนจะรูวา… ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. 1.
2. 2.
3. 3.
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้
 ตามที่กำหนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
1.1
1.2
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมิน​ผลการเรียน​รู ​ 2.2    เครื่องมือป​ ระเมิน​ผลการเรียน​รู
1) 1)
2) 2)
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1​
3.2
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
154   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

5. รูป​แบบแผน​การจัดการ​เรียน​รู​ราย​ชั่ว​โมง
​เมื่อค​ รูอ​ อก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แนวคิด ​Ba​ c​k​w​ a​ r​d​ ​​De​ s​i​g​ n​ ​​แลว ​ครูส​ ามารถ​เขียน​แผนการ​
จัดการ​เรียนรู​ราย​ชั่วโมง​โดย​ใช​รูป​แบบ​ของ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูแ​ บบ​เรียง​หัวขอ ​ซึ่ง​มี​รายละเอียด​ดังนี้
​ ​ชื่อ​แผน.​.​.​(​ระบุชื่อแ​ ละ​ลำดับ​ทขี่​ อง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู)​
​ ​ชื่อเรื่อง.​.​.​(​ระบุช​ ื่อเรื่อง​ที่​จะ​ทำการ​จัดการ​เรียนรู)​
​ ​สาระ​.​.​.​(​ระบุส​ าระ​ที่​ใชจ​ ัดการ​เรียนรู)​
​ ​ชั้น.​.​.​(​ระบุช​ ั้นท​ ี่​จัดการ​เรียนรู)​
​ ​หนวย​การ​เรียนรู​ที่.​.​.​(ร​ ะบุชื่อ​และ​ลำดับ​ที่​ของ​หนวย​การ​เรียนรู)​
​ ​เวลา.​.​.​(ร​ ะบุ​ระยะเวลา​ที่​ใช​ใน​การ​จัดการ​เรียนรูต​ อ ​1​​แผน)​
​ ​สาระสำคัญ.​.​.​(เ​ขียน​ความคิดร​ วบยอด​หรือม​ โนทัศน​ของ​หัวเรื่อง​ที่​จะ​จัดการ​เรียนรู)​
​ ผลการเรียน​รู.​.​.​(ร​ ะบุ​ผลการเรียน​รูที่​ใชเ​ปน​เปาหมาย​ของ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู)​
​ ​จุดประสงคก​ าร​เรียนรู.​.​.​(​กำหนด​ใหส​ อดคลองกับ​สมรรถนะ​สำคัญ​และ​คุณลักษณะ​อัน​พึง
​ประสงค​ของ​นักเรียน​หลังจาก​สำเร็จ​การ​ศึกษา ​ตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน ​พุทธศักราช​
2​5​5​1​​ซึ่ง​ประกอบดวย​ดาน​ความรู​ความคิด ​(​K​n​o​w​l​e​d​g​e​:​​K​)​​ดาน​คุณธรรม ​จริยธรรม ​และ​คานิยม
​(​A​f​f​ec​​t​i​v​e:​​A​ )​​​และ​ดาน​ทักษะ/​กระบวนการ (​​Pe​ ​r​fo​ ​r​m​an​ ​c​e​:​​P​)​)​
​ ​การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู.​.​.​(​ระบุ​วิธีการ​และ​เครื่องมือวัด​และ​ประเมินผล​ที่​สอดคลองกับ​
จุดประสงคก​ าร​เรียนรูท​ ั้ง ​3​​ดาน)​
​ ​สาระ​การ​เรียนรู..​​.​(​ระบุ​สาระ​และ​เนื้อหา​ที่​ใชจ​ ัดการ​เรียนรู ​อาจ​เขียน​เฉพาะ​หัวเรื่อง​ก็ได)​
​ ​กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู.​.​.​(​กำหนด​ให​สอดคลองกับ​ธรรมชาติ​ของ​กลุม​สาระ​และ​การ​บูรณาการ​
ขาม​สาระ)​
​ ​กิจกรรม​เสนอ​แนะ.​.​.​(ร​ ะบุ​รายละเอียด​ของ​กิจกรรม​ที่​นักเรียน​ควร​ปฏิบัติ​เพิ่มเติม)​
​ ​แนวทาง​บูรณาการ.​.​.​(เ​สนอ​แนะ​และ​ระบุ​กิจกรรม​ของ​กลุม​สาระ​อื่น​ที่​บูรณาการ​รวม​กัน)​
​ ​สื่อ/​แหลง​การ​เรียนรู.​.​.​(​ระบุส​ ื่อ ​อุปกรณ แ​ ละ​แหลง​การ​เรียนรู​ที่​ใช​ใน​การ​จัดการ​เรียนรู)​
​ ​บันทึก​ผล​หลัง​การ​จัดการ​เรียนรู.​.​.​(​ระบุ​รายละเอียด​ของ​ผล​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แผน​ที่กำหนด​ไว​
อาจ​นำเสนอ​ขอเดน​และ​ขอดอย​ใหเ​ปน​ขอมูล​ทสี่​ ามารถ​ใช​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​การ​ทำ​วิจัย​ใน​ชั้นเรียน​ได)​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   155

6. แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 1  ความ​หมาย​และ​ลักษณะ​สำคัญ​ของกฎหมาย
คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ขอ​ใด​มี​ความ​แตกตางจาก​กฎหมาย​ใน 6. ​แมวา จะ​รสู กึ ร​อ น​และ​อดึ อัด แตจ​ อ ย​กส​็ วม
ลักษณะ​ทเ​่ี ปนก​ ฎเกณฑข​ อ บังคับข​ อง​สงั คม หมวกนิรภัยทุกครัง้ เ​มือ่ ข​ บั รถจักรยานยนต
ก ศาสนา กรณี​นี้​แสดง​ให​เห็น​ถึงความ​สำคัญ​ของ
ข ศีลธรรม กฎหมาย​ใน​ขอ​ใด
ค จารีตป​ ระเพณี ก เปนกติกา​ของสังคม
ง คานิยม​ของ​สังคม ข ​กำหนด​หนาที่​ให​แก​สมาชิก​ของสังคม
2. ขอ​ใด​มิใช ​สภาพ​บังคับ​ทางอาญา ค ใหค​ วามคุม ครอง​สมาชิกข​ องสังคม​ใหได
ก ปรับ ค ริบ​ทรัพยสิน รับความ​ปลอดภัยท​ ง้ั ใ​น​ชวี ติ แ​ ละรางกาย
ข กักกัน ง ประหาร​ชีวิต ง ​ถูก​ทุกขอ
3. คำ​สั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่​ใชได​เสมอ​ 7. ศาสตร​แขนง​ใด​ไม มีความ​สัมพันธกับ​วิชา​
หมายความวา​อยางไร กฎหมายนอย​ที่สุด
ก ใชได​กับ​ทุกคน ก รัฐศาสตร ค เศรษฐศาสตร
ข ใชได​ตลอดกาล ข คณิตศาสตร ง ประวัติ​ศาสตร
ค ใชได​กับ​ทุกส​ ถานที่ 8. คำ​วา “​รัฎฐาธิปตย” ของ​ไทย​ใน​ปจจุบัน​
ง ใชได​จนกวาจ​ ะ​ถูกย​ กเลิก หมายถึง​ใคร
4. ขอ​ใด​เปน​กฎหมาย​ที่​มาจาก​ขอหาม​ทาง ก ศาล ค นายกรัฐมนตรี
​ศาสนา​หรือ​ศีลธรรม ข รัฐสภา ง พระมหากษัตริย
ก การ​หยา 9. “ความ​ไมรู​กฎหมาย​ไม​เปน​ขอแกตัว”
ข การ​ฟอง​ลมละลาย หมายความวา​อะไร
ค การ​รับบ​ ุตร​บุญธรรม ก บุคคล​จะ​ปฏิเสธ​ความ​รับผิด​เมื่อ​ฝา​ฝน
ง การ​ฆา ผ​ อู นื่ ต​ าม​ประมวล​กฎหมายอาญา กฎหมาย​ไมได
5. ขอใ​ด​คอื ส​ ภาพ​บงั คับข​ อง “จารีตป​ ระเพณี” ข บุคคล​ผูรู​กฎหมาย​สามารถ​แกตัว​ให​
ก การ​ถู​กริบ​ทรัพยสิน ตน​พนความผิด​ได
ข การ​ถูก​ไล​ออกจาก​สังคม ค บุคคล​ผู​ไม​มีความรู​ทาง​กฎหมาย​เมื่อ​
ค การ​ถูกลงโทษ​ดวย​การ​เฆี่ยนตี ทำผิด ตอง​รับผิด
ง การ​ถูก​ติฉินนินทา​จาก​บุคคลอื่น​ ง บุคคล​ที่​กระทำ​การ​ใด​ลง​ไป​โดย​ไม​รูวา​
​ในสังคม เปนความ​ผิด บุคคล​นั้น​ไม​ตอง​รับผิด
156   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
10. ขอ​ใด​ผิด 13. ขอใ​ด​เรียงลำดับโ​ทษ​ใน​กฎหมายอาญา​จาก
ก ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มกี​ ฎหมาย ​หนัก​ที่สุด​ไป​จนถึง​เบา​ที่สุด​ได​ถูกตอง
ข กฎหมายแพง​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ ก ประหาร​ชีวิต จำคุก ปรับ กักขัง
ค สภาพ​บังคับ​ทางแพง​คือ​การ​ชดใช​ ริบ​ทรัพยสิน
คาเสียหาย ข ประหาร​ชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ
ง กฎหมาย​จราจร​วิวัฒนาการ​มาจาก​ ริบ​ทรัพยสิน
ขอหาม​ทาง​ศีลธรรม ค ประหาร​ชวี ติ กักขัง จำคุก ริบท​ รัพยสนิ
11. ศีลธรรม​และ​กฎหมาย​มี​สวน​คลายคลึง​กัน ปรับ
​ใน​เรื่อง​ใด ง ประหาร​ชีวิต กักขัง จำคุก ปรับ
ก สภาพ​บังคับ ริบ​ทรัพยสิน
ข จำนวน​บุคคล​ที่​ฝาฝน
ค ความ​เชื่อถือ​ของ​บุคคล​ใน​สังคม 14. สาเหตุ​ที่​ทำให​กฎหมาย​ของ​แตละ​ประเทศ​
ง เปน​กฎเกณฑ​ขอบังคับข​ อง​สังคม หรือแ​ ตละ​สงั คม​มค​ี วาม​แตกตางกันค​ อื อ​ ะไร
12. จารีตป​ ระเพณีเ​ปนก​ ฎเกณฑข​ อ บังคับท​ ใ​ี่ ช​ ก มี​จารีต​ประเพณีแ​ ตกตางกัน
ไดดี​ใน​สังคม​ที่​มี​ลักษณะ​อยางไร ข มี​จำนวน​ประชากร​แตกตางกัน
ก สังคม​ยุค​เริ่มแรก ค มี​ระบบ​การเมือง​การ​ปกครอง​แตกตาง
ข สังคม​ดอยพัฒนา กัน
ค สังคม​กำลัง​พัฒนา ง มีร​ฐั สภา​ซงึ่ เ​ปนผ​ อ​ู อกกฎหมาย​แตกตาง
ง สังคม​ทพี่​ ัฒนา​แลว กัน
15. คำ​กลาว​ที่วา “ทุกคน​ตอง​เสมอภาค​กัน​ภายใต​กฎหมาย”
หมายความวา​อยางไร
ก ทุกคน​ตอง​อยู​ภายใตก​ ฎหมาย​เดียวกัน
ข ทุกคน​มี​สภาพ​และ​บทบาท​อยาง​เดียวกันเ​สมอ
ค บุคคล​เมื่อ​ทำความ​ผิด​จะ​ตอง​ได​รับโทษ​อยาง​เดียวกัน
ง กฎหมาย​ทุก​ฉบับต​ อง​ใช​บังคับ​แก​บุคคล​ทุก​เพศ ทุก​วัย
โดย​เสมอภาค​กัน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   157

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 2  ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ขอ​ใด​เปน “บอเกิด” ของ​กฎหมาย 6. ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชยก​ ำหนด
ก ความ​เชื่อ ​วา ถาไ​มมก​ี ฎหมาย​ลายลักษณอ​ กั ษร​มา​ใช​
ข คำ​พิพากษา​ของ​ศาล บังคับ​กับ​กรณี​ใด สามารถ​ใช​กฎหมาย​ใด​
ค กฎหมาย​สิบสอง​โตะ แทน​ได​เปน​อันดับแรก
ง หลักกฎหมาย​โบราณ ก กฎหมาย​ทั่วไป
2. ขอ​ใด​มิใช ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ที่​ ข กฎหมาย​ศาสนา
บัญญัติ​ขึ้น​โดย​ฝาย​นิติบัญญัติ ค กฎหมาย​ใกลเคียง​กัน
ก รัฐธรรมนูญ ง กฎหมาย​จารีต​ประเพณี
ข พระ​ราช​บัญญัติ 7. ขอ​ใด​เปนการ​ยก​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี​
ค ประมวล​กฎหมาย มา​ปรับ​ใชกับ​คดีอาญา
ง ประกาศ​กระทรวง ก สามี​ลักทรัพยภ​ ริยา
3. กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ที่​รัฐ​ตอง​บัญญัติ​ขึ้น​ใน ข นัก​มวย​ชก​คูตอสู​ตายคา​เวที
ภาวะฉุกเฉินเ​รงดวน​เพือ่ ร​กั ษา​ความ​มนั่ คง​ ค ผู​สืบสันดาน​พยายาม​ฆา​บุพการี
และ​ปลอดภัย​แหง​รัฐ ง หมอผาตัดเ​อาไต​ของ​คนไข​ไป​ขาย
ก รัฐธรรมนูญ 8. ขอ​ใด​เปน​หลักกฎหมาย​ทั่วไป
ข พระ​ราช​บัญญัติ ก การ​ครอบครอง​ปรปกษ
ค พระราชกำหนด ข ผูรับโ​อน​ยอม​ไมมี​สิทธิ​ดีกวา​ผโู​อน
ง พระ​ราช​กฤษฎีกา ค ผูเ ยาวย​ อ ม​ไมมส​ี ทิ ธิท​ ำ​นติ กิ รรม สัญญา
4. ขอ​ใด​เปน​กฎหมาย​ท​ม่ี าจาก​จารีต​ประเพณี ง ผูไ​ร​ความ​สามารถ​ตอง​ให​ผูอนุบาล​ทำ​
ก การ​หยา นิติกรรม​แทน
ข คดีอุทลุม 9. ประเทศ​ใด​ตอ ไปนีใ​้ ชร​ะบบ​กฎหมาย​อสิ ลาม
ค นิติกรรม สัญญา ก ประเทศ​กรีก
ง การ​รับบ​ ุตร​บุญธรรม ข ประเทศ​อิสราเอล
5. จารีต​ประเพณี​ที่จะ​นำมาใช​เปน​หลัก ค ประเทศ​เลบานอน
กฎหมาย​ได​จะ​ตอง​มี​ลักษณะ​อยางไร ง ประเทศ​ไทย​ใน​จังหวัด​ปตตานี สตูล
ก ยอมรับ​เฉพาะ​ใน​สงั คม​ใด​สงั คม​หนึง่ ใ​นรัฐ ยะลา และ​นราธิวาส
ข ไม​ขัดตอ​ศีลธรรม​และ​กฎหมาย​ของ​ 10. ระบบ​กฎหมาย​ใด​ตอไปนี้​เปนระบบ​
บานเมือง กฎหมาย​ทใ​่ี ชใน​ประเทศ​แถบภาคพืน้ ย​ โ​ุ ร​ป
ค เปลี่ยนแปลง​ไดต​ าม​สภาวะ​แวดลอม ก ระบบ​กฎหมายอิสลาม
​ในปจจุบัน ข ระบบ​กฎหมาย​สังคมนิยม
ง ปฏิบัติ​ติดตอกันม​ า​เปนเวลา​ชานาน ค ระบบ​กฎหมาย​จารีตประเพณี
​ตั้งแต​100 ​ป​ขึ้น​ไป ง ระบบ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
158   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
11. ขอ​ใด​เปนกฎหมาย​ที่​มี​ความ​สำคัญ​และ​มี​ 13. เนื้อหา​ของ​กฎหมาย​ระบบ​ลายลักษณ​-
อิทธิพล​ตอ​ระบบ​กฎหมาย​ที่​ใช​อยู​ใน อักษร​มกั อ​ ยูใ​ น​รปู ข​ อง​บทบัญญัตท​ิ เ​ี่ รียกวา​
ประเทศ​แถบ​ภาคพื้น​ยุโรป​ใน​ปจจุบัน อะไร
ก กฎหมาย​ศาสนา ก พระ​ราช​กำหนด
ข กฎหมาย​ของ​กรีก ข พระราช​บัญญัติ
ค กฎหมาย​สิบสอง​โตะ ค ประมวล​กฎหมาย
ง กฎหมาย​ของ​พระเจา​ฮัม​มูรา​บี ง คำ​พิพากษา​ของ​ศาล
12. ประเทศ​ใด​ตอไปนี้​ใช​ระบบ​กฎหมาย​ 14. บอเกิด​ของ​กฎหมาย​ระบบ​ที่​ไม​เปน​
​จารีตประเพณี ลายลักษณ​อักษร​มาจาก​อะไร
ก ไทย–ญี่ปุน ก ศาสนาคริสต
ข โปแลนด–อังกฤษ ข กฎหมาย​โรมัน
ค สหรัฐอเมริกา–ญี่ปุน ค หลักกฎหมาย​ทั่วไป
ง อังกฤษ–สหรัฐอเมริกา ง คำ​พิพากษา​ของ​ศาล

15. เพราะ​เหตุใด​รัฐสภา​ของ​ประเทศ​อังกฤษ​จึง​ตองการ
บัญญัติ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ออกมา​ใช​บังคับ
ก นำมาใชบ​ ังคับเ​พื่อให​เปน​รูปธรรม
ข ใชเ​ปนหลักใ​น​การ​พิพากษา​คดีความ​ของ​ศาล
ค อธิบาย​รายละเอียด​ของ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ
ง เปลี่ยนแปลง​ยกเลิก​กฎหมาย​เดิม​ที่​ใช​บังคับอ​ ยู
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   159

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 3  ประเภท​ของกฎหมาย

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. กฎหมาย​ใด​เปนได​ทั้ง​กฎหมาย​เอกชน​ 5. ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย​ของ
​และกฎหมาย​สาร​บัญญัติ ไทย​บรรพ​ใด​ทบ​ี่ ญ ั ญัตเ​ิ กีย่ วกับน​ ติ สิ มั พันธ​
ก ประมวล​กฎหมายอาญา ของ​บคุ คล​กบั บ​ คุ คล​ในทาง​การ​คา พ ​ าณิชย
ข ​พระธรรมนูญศ​ าลยุติธรรม ก บรรพ 1
ค ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย ข บรรพ 2
ง ประมวล​กฎหมาย​วธิ พ​ี จิ ารณา​ความ​อาญา ค บรรพ 3
2. การ​แบงประเภท​ของ​กฎหมาย​ตาม​ลกั ษณะ​ ง บรรพ 4
แหง​การ​ใช​กฎหมาย จะ​แบง​กฎหมาย​ได​
ตาม​ขอ​ใด 6. กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​จัด​เปน​กฎหมาย​
ก กฎหมาย​เอกชน–กฎหมาย​มหาชน ประเภท​ใด
ข กฎหมาย​เอกชน–กฎหมาย​ระหวาง ก กฎหมาย​เอกชน
​ประเทศ ข กฎหมาย​มหาชน
ค กฎหมาย​สาร​บัญญัติ–กฎหมาย​วิธี ค กฎหมาย​วิธีส​บัญญัติ
ส​บัญญัติ ง กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ
ง กฎหมาย​สาร​บญ ั ญัต–ิ กฎหมาย​ระหวาง
ประเทศ 7. กฎหมาย​พระ​ธรรมนูญ​ศาลยุติธรรม​เปน​
กฎหมาย​เกี่ยวกับ​เรื่อง​อะไร
3. ขอใ​ด​เปนก​ ฎหมาย​เอกชน​ทก​่ี ำหนด​เกีย่ วกับ
ก กฎหมาย​ที่​เกี่ยวกับก​ าร​ปกครอง​รัฐ
​ สิทธิ​และ​หนาที่​ของ​บุคคล​ตั้งแต​ปฏิสนธิ​
ข กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ฟองรอง​คดีแพง
จนกระทั่ง​ตาย
ค กฎหมาย​เกี่ยวกับ​สิทธิ​และ​หนาที่​ของ​
ก กฎหมายแพง
บุคคล
ข กฎหมาย​พาณิชย
ง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ศาล​และ​อำนาจศาล​
ค กฎหมาย​ปกครอง ใน​การ​พิจารณา​คดี
ง กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ
4. กฎหมาย​ภาษีอากร หรือ​ประมวล​รัษฎากร 8. พระ​ราช​บัญญัติ​จราจร​ทางบก จัด​เปน​
จัด​อยู​ใน​กฎหมาย​ประเภท​ใด กฎหมาย​ประเภท​ใด
ก กฎหมาย​เอกชน ก กฎหมายแพง
ข กฎหมาย​มหาชน ข กฎหมาย​เอกชน
ค กฎหมาย​ปกครอง ค กฎหมาย​มหาชน
ง กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ง กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ
160   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
9. กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ตอไปนี้มิใช ​กฎหมาย 10. หญิง​ไทย​ทำการ​สมรส​โดย​ถูกตอง​ตาม
อาญา กฎหมาย​กับ​ชาย​ชาวอังกฤษ และ​ตอมา
ก พระ​ราช​บัญญัติ​ปาไม กฎหมาย​ของ​ประเทศ​อังกฤษ​รับรอง​ให
ข พระ​ราช​บัญญัติ​ลิขสิทธิ์ หญิง​นั้น​ถือ​สัญชาติ​อังกฤษ​ตาม​สามี​ได
ค พระ​ราช​บัญญัติ​สิทธิบัตร เชนนี้ รัฐบาล​องั กฤษ​ปฏิบตั ต​ิ ามกฎหมาย​ใด
ง พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา ก ประมวล​กฎหมายแพง
ข ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย
ค กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ​แผนก​คดีเ​มือง
ง กฎหมาย​ระหวาง​ประเทศ​แผนก​คดีบ​ คุ คล
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   161

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 4  กระบวนการ​จัด​ทำกฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. การ​ออกกฎหมาย​ฉบับ​ใด​ไม​ตอง​ขอ​ 6. ประชาชน​ผู​มี​สิทธิ​เลือกตั้ง​จำนวน​ไม​นอย
ความ​เห็นชอบ​จาก​รัฐสภา​ไมวา​กรณี​ใด ๆ กวา 10,000 คน ​มี​สิทธิ​เขาชื่อ​กัน​รองขอ​
ก รัฐธรรมนูญ ค พระราชกำหนด ตอ​ประธาน​รัฐสภา​ให​ทำตาม​ขอ​ใด​ได
ข กฎกระทรวง ง พระ​ราช​บัญญัติ ก แกไข​รัฐธรรมนูญ
2. กฎหมาย​ใน​ขอ ใ​ด​ทค​ี่ ณะ​รฐั มนตรีส​ ามารถ ข พิจารณา​ราง​พระ​ราช​บัญญัติ
​นำ​ขนึ้ ท​ ลู เกลาฯ ถวาย​พระมหากษัตริยเ​ พือ่ ​ ค ถอดถอน​ผู​ดำรง​ตำแหนง​ทาง​การเมือง​
ทรง​ลง​พระ​ปรมาภิไธย​และ​ประกาศใช​ไป​ ออกจาก​ตำแหนง
พลาง​กอน​แลวจึง​ขอ​ความ​เห็นชอบจาก ง ถูก​ทุก​ขอ
รัฐสภาภายหลัง 7. ใน​กรณีที่​วุฒิสภา​ไม​เห็นชอบ​ดวย​กับ​ราง​
ก รัฐธรรมนูญ ค พระ​ราช​บัญญัติ พระ​ราช​บญ ั ญัตท​ิ ผ​่ี า น​การ​พจิ ารณา​จากสภา​
ข กฎกระทรวง ง พระราชกำหนด ผูแ ทน​ราษฎร​แลว วุฒสิ ภา​ม​สี ทิ ธิ​ตาม​ขอ ​ใด
3. องคกร​ใด​ตอ ไปนี​ม้ ​หี นาที​ต่ ดั สิน​วา ​กฎหมาย ก ยับยั้งไ​ว 180 วัน
อื่น ๆ ขัด​หรือ​แยง​กับ​รัฐธรรมนูญ​หรือไม ข แกไข​ราง​พระ​ราช​บัญญัตนิ​ ั้น
ก รัฐสภา ค สงคืน​สภา​ผูแทน​ราษฎร​ทันที
ข รัฐบาล ง สงให​นายกรัฐมนตรี​พิจารณา
ค ศาล​รัฐธรรมนูญ 8. กรณี​ใด​จะ​ทำให​ทราบ​ได​ทนั ทีวา ​
ง คณะกรรมการ​กฤษฎีกา พระมหากษัตริยไ​ มท​ รง​เห็นชอบ​ดว ย​กบั ร​า ง​
4. องคกร​ใด​เปน​ผูจัดทำ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ พระ​ราช​บัญญัติ​ที่​กำลัง​พิจารณา​กัน​อยู
ปจจุบัน ก พระราชทาน​คืน​มายัง​รัฐสภา​เมื่อ​พน
ก รัฐสภา 180 วัน
ข สภา​ราง​รัฐธรรมนูญ ข พระราชทาน​คืน​มายัง​รัฐสภา​เมื่อ​พน
ค สภา​นิติบัญญัติ​แหงชาติ 20 วัน
ง คณะ​มนตรีค​ วาม​มั่นคง​แหง​ชาติ ค ไม​ทรง​ลง​พระ​ปรมาภิไธย​ใน​ราง​
5. ใคร​เปน​ผูลงนาม​รับสนอง​พระ​บรม​ราช- พระราช​บัญญัตนิ​ ั้น
โองการ​ใน​การ​ประกาศใชร​ฐั ธรรมนูญฉ​ บับ​ ง พระราชทาน​ราง​พระ​ราช​บัญญัติ​
ปจจุบัน คืน​มายัง​รัฐสภา​ทันที
ก นาย​มี​ชัย ฤชุพ​ ันธ 9. กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ไมใช ​กฎหมาย​ที่​ออก​โดย
ข นาย​นรนิติ เศรษฐบุตร ​ฝาย​นิติบัญญัติ
ค นายอนันท ปน​ยาร​ชุน ก รัฐธรรมนูญ​ ค พระราชกำหนด
ง นาย​อุกฤษ มงคล​นาวิน ข พระ​ราช​บญ ั ญัต ิ ง ประมวล​กฎหมาย
162   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
10. เพราะอะไร​จึง​ตอง​มี​การ​บัญญัติ​กฎหมาย 15. ใคร​คือ​ผูเสนอ​ราง​เทศบัญญัติ​ตอ​สภา
​ลำดับร​อง​หรือก​ ฎหมาย​บริวาร​ขน้ึ ม​ า​บงั คับใช เทศบาล​เพื่อ​พิจารณา​วา​จะ​อนุมัติ​ให​ตรา​
ก เพื่อ​ยกเลิก​กฎหมาย​เกา เทศบัญญัติ​นั้น​หรือไม
ข เพื่อ​ใช​เปนหลักใ​น​การ​บริหาร​ประเทศ ก ​นายอำเภอ
ค เพื่อ​อธิบาย​รายละเอียด​ของ​กฎหมาย ข นายกเทศมนตรี
​แมบท ค ​ผูวา​ราชการ​จังหวัด
ง กฎหมาย​หลักม​ จ​ี ำนวน​นอ ย​ไมเ​พียงพอ ง ประ​ชา​ชนทุก​คนที​อ่ าศัย​อยู​ใ น​เขตเทศบาล
กับ​การ​บังคับใช 16. กอน​ที่​ราง​เทศบัญญัติ​จะ​ประกาศใช​เปน​
11. ผูเสนอ​ราง​พระ​ราช​กฤษฎีกา​ตอ​ กฎหมาย จะ​ตอ ง​ไดรบั ค​ วาม​เห็นชอบ​จากใคร
คณะรัฐมนตรี​เพื่อ​ที่คณะ​รัฐมนตรี​จะ ก นายอำเภอ
พิจารณาให​ความเห็น​ชอบ​คือ​ใคร ข นายกรัฐมนตรี
ก คณะ​รัฐมนตรี ค ​นายกเทศมนตรี
ข นายกรัฐมนตรี ง ​ผวู​ าราชการ​จังหวัด
ค ประธาน​รัฐสภา 17. กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ไมใช ​กฎหมาย​ที่​บัญญัติ​
ง รัฐมนตรี​ผู​รักษาการ โดย​องคกร​ปกครอง​สวน​ทองถิ่น
12. ใคร​เปน​ผู​ตรา​กฎกระทรวง ก ประกาศ​กระทรวง
ก คณะ​รัฐมนตรี ข ขอบัญญัตเิ​มือง​พัทยา
ข นายกรัฐมนตรี ค ขอบัญญัตกิ​ รุงเทพมหานคร
ค พระมหากษัตริย ง ขอบัญญัตอิ​ งคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด
ง รัฐมนตรีผ​ ู​รักษาการ 18. การ​ประกาศใช​บังคับ​ขอบัญญัติ​องคการ
13. ใคร​คือ​ผู​ทำหนาที่​พิจารณา​วา​ควร​จะ​มี​ บริหาร​สวน จังหวัด​เปนกฎหมาย​จะ​ตอง​ทำ​
ขอบัญญัตกิ​ รุงเทพมหานคร​ใน​เรื่อง​นั้น ๆ อยางไร
มา​บังคับใช​หรือไม ก ประกาศ​ใน​กฎกระทรวง
ก ผูวา​กรุงเทพมหานคร ข ประกาศ​ใน​ราชกิจจานุเบกษา
ข สภา​กรุงเทพมหานคร ค ปดประกาศ ณ ศาลา​กลาง​จงั หวัด 15 วัน
ค สมาชิกสภา​กรุงเทพมหานคร ง ปดประกาศ ณ ทีท่ ำการ​องคการ​
ง รัฐมนตรีว​ าการ​กระทรวง​มหาดไทย บริหาร​สว นจังหวัด 15 วัน
14. ขอบัญญัติ​กรุงเทพมหานคร​จะ​มี​ผล​บังคับ 19. ใคร​คอื ผ​ เู สนอ​รา ง​ขอ บัญญัตเ​ิ มืองพัทย​ าเพือ่
ใช​เปน​กฎหมาย​ได​เมื่อใด ใหส​ ภา​เมืองพัทย​ า​เปน ผ​ พ ู จิ ารณา​วา ส​ มควร
ก ประกาศ​ใน​กฎกระทรวง​แลว จะ​อนุมัติ​เปน​กฎหมาย​หรือไม
ข ประกาศ​ใน​ราชกิจจานุเบกษา​แลว ก ปลัด​เมืองพัทย​ า สภา​เมืองพัทย​ า
ค ปดประกาศ ณ ศาลา​วาการ ข นา​ยก​เมืองพัทย​ า สมาชิกสภา​เมืองพัทย​ า
​กรุงเทพมหานคร ค นายกเมืองพัทย​ า ผูว​ า ราชการ​จงั หวัดชลบุรี
ง ประกาศ ณ สำนักงาน​เขต​กรุงเทพ- ง สมาชิกสภา​เมืองพัทย​ า ผู​วาราชการ​
มหานคร​แลว จังหวัด​ชล​บุรี
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   163

20. กฎหมาย​ใน​ขอ​ใด​ตอไปนี้ รัฐมนตรี​วาการ​ 23. ใน​กรณีที่​มี​การ​จับกุม และ​ปรับ​ไม​เกิน


กระทรวง​มหาดไทย​ไมต​ อ ง​ใหความเห็นช​ อบ 2,000 บาท​ แก​ผู​ที่​ทิ้ง​ขยะ​ไม​ลง​ที่​ทิ้ง​ใน
​ กอน​ดำเนินการ​ประกาศใช​บังคับ​เปน เขต​กรุงเทพมหานคร​กรณีดงั กลาว​เปนไป
​กฎหมาย ตามขอบังคับ​ใน​กฎหมาย​ใด
ก เทศบัญญัติ ก เทศบัญญัติ
ข ขอบัญญัติ​จังหวัด ข พระ​ราช​บัญญัติ
ค ขอบัญญัติ​กรุงเทพฯ ค ประกาศ​กระทรวง
ง ทั้ง 3 ฉบับไ​ม​ตอง​ใหความเห็นช​ อบ ง ขอบัญญัตกิ​ รุงเทพมหา​นคร
24. เมือ่ ป​ ระกาศ​ยบุ สภา​รัฐบาลจะ​ตรากฎหมาย​
ประเภท​ใด​ออกมา​เพื่อ​ประกาศ​ให​
21. การ​ประกาศใชบ​ งั คับก​ ฎหมาย​ฉบับใ​ด​ตอ ง​ ประชาชน​รับรู
ประกาศใน​ราชกิจจานุเบกษา ก พระราชกำหนด
ก เทศบัญญัติ ข พระ​ราช​บัญญัติ
ข ขอ​บัญญัตเิ​มือง​พัทยา ค พระ​ราช​กฤษฎีกา
ค ขอบัญญัตอิ​ งคการบริหาร​สวน​ตำบล ง ประกาศ​คณะปฏิวัติ
ง ​ขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด 25. ถา​พระ​ราช​บัญญัติ​หรือ​พระราชกำหนด​
หรือ​ประมวล​กฎหมาย​ใด​ถูก​ยกเลิก
กฎหมาย​ที่​ออก​โดย​อาศัย​อำนาจ​ของ
22. กฎหมาย​ฉบับใ​ด​มล​ี ำดับชัน้ ห​ รือล​ ำดับศ​ กั ดิ​์ ​กฎหมาย​ดังกลาว​ตอง​ถูก​ยกเลิก​ไป​ดวย
เทากับ​พระ​ราช​บัญญัติ กฎหมาย​ทถ​ี่ กู ย​ กเลิกย​ กเวน ก​ ฎหมาย​อะไร
ก รัฐธรรมนูญ ก กฎกระทรวง
ข กฎกระทรวง ข พระ​ราช​กฤษฎีกา
ค พระราชกำหนด ค ประกาศ​กระทรวง
ง พระ​ราช​กฤษฎีกา ง ประกาศคณะปฏิวัติ
164   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 5 
การบังคับใชกฎหมายและการสิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ขอ​ใด​คือ​หลัก​ของ​การ​เริ่ม​บังคับใช​ 3. โดย​หลักกฎหมาย​ไทย​ยอม​ใช​บังคับ​ใน​
กฎหมาย​ไทย ราชอาณาจักร​ไทย ยกเวน ​ขอ​ใด​ที่​ยังคง​
ก ใช​ตั้งแต​วันท​ ี่ประกาศ​ใน​ ตอง​ใชก​ ฎหมาย​ไทย​บงั คับเ​มือ่ ม​ ค​ี ดีเ​กิดขึน้
ราชกิจจานุเบกษา ก คน​ไทย​ลกั ทรัพยค​ น​องั กฤษ​ในประเทศ​
ข ใช​เพื่อ​เปนโทษ​ตอ​ผูตองหา​หรือ​จำเลย มาเลเซีย
​ไมได ข ตำรวจ​ไทย​จับ​ทูต​ของ​ประเทศ​ลาว​ที่มา
ค ใชย​ อ นหลังเ​พือ่ เ​ปนคุณต​ อ ผ​ ตู อ งหา​หรือ ​ประจำ​อยู​ในประเทศ​ไทย
​จำเลย​ได ค ชาว​สวีเดน​ถูกฆ​ า​ตาย​บน​สายการบิน​
ง มี​ผล​บังคับใชถ​ ัดจาก​วันท​ ี่ประกาศ​ใน ไทย ​ซึ่งบิน​อยูเ​หนือ​นานฟาฝรั่งเศส
​ราชกิจจานุเบกษา ง ไมมี​ขอ​ใด​ถูก
4. “ถาม​ ก​ี าร​กระทำ​ความ​ผดิ ใ​น​ราชอาณาจักร
​ไทย​ตอ ง​อยูภ​ ายใตบ​ งั คับข​ อง​กฎหมาย​ไทย”
ขอความ​นี้​ใชบังคับ​ไดกับ​กรณี​ตอ​ไป​นี้
2. หนังสือ​ราชกิจจานุเบกษา​มี​ความ​สำคัญ​ ยกเวน​ขอ​ใด
อยางไร ก มอส​จบั ตัวแ​ นน​ไป​เรียก​คา ไถ 1 ลาน​บาท
ก เปนห​ นังสือท​ ร​ี่ วบรวม​กฎหมาย​ทกุ ฉ​ บับ ข มีก​ าร​ลกั ทรัพยบ​ น​สายการ​บนิ ไ​ทย​ขณะ​
​ของ​ไทย​ไวใ​นทีเ่​ดียวกัน ​บิน​อยูเหนือน​ านฟา​ญี่ปุน
ข หนังสือท​ ี่​รวบรวม​เอา​บทบัญญัติ​ ค มี​การ​ฆา​กัน​ตาย​บน​เรือ​สินคา​จีน​ขณะ​
เกี่ยวกับ​กฎหมาย​ที่​เปนเรื่อง​เดียวกัน จอด​เทียบ​ทาที่ทาเรือค​ ลองเตย
​ไว​ดวยกัน ง ขอ ​ก และ​ขอ ค ​ถูก
ค เปน​หนังสือ​ของ​ทาง​ราชการ เรื่อง​ที่ 5. โดย​หลักกฎหมาย​แลวจะ​ตอง​ใช​บังคับ​แก​
ประกาศ​ใน​หนังสือ​นี้​ถือวา​ประชาชน บุคคล​ทกุ คน​ทอี่ ยูภ​ ายใน​ราชอาณาจักร แต​
​ได​รับทราบ​แลว มีบ​ คุ คล​ทไ​่ี ดรบั ก​ าร​ยกเวนต​ ามทีร่ ฐั ธรรมนูญ
ง เปน​หนังสือ​ประกาศ​ของ​ทาง​ราชการ ​ กำหนด บุคคล​ดังกลาว​คือ​ใคร
​ที่​ตองการ​ให​ประชาชน​เฉพาะ​ใน​เขต​ ก พระสงฆ ค สมาชิก​รัฐสภา
กรุงเทพ​มหานครทราบ ข คน​ตางดาว ง ขาราชการ​พลเรือน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   165

6. การ​พิจารณา​คดี​ใน​ขอ​ใด​ที่​กำหนด​ให​มี 10. ตุลาการ​ศาล​รัฐธรรมนูญ​หมายถึง​อะไร


“ดะ​โตะ​ยุติธรรม” 1 นาย ทำหนาที่​ ก คณะบุคคล​ผมู อี ำนาจ​ชข้ี าด​วา การ​กระทำ​
พิจารณา​รวมกับ​ผูพิพากษา​ใน​ศาล​นั้น ๆ ใด​เปนการ​ขัดตอ​รัฐธรรมนูญ​หรือไม
ก คดี​มรดก​ใน​จังหวัด​ชายแดน​ภาคใต​ ข คณะบุคคล​ผมู อี ำนาจ​พจิ ารณา​ขอ เสนอ
ของไทย ​ขอ​แกไข​บทบัญญัตริ​ ัฐธรรมนูญ
ข คดี​ครอบครัว​และ​มรดก​ของ​มุสลิม​ ค คณะ​ผพู พิ ากษา​ผพู จิ ารณา​คดีต​ า ง ๆ วา
ในประเทศ​ไทย ​มี​การ​กระทำ​ใด​ที่​ขัดตอ​รัฐธรรมนูญ​
ค คดี​ครอบครัว​ใน​จังหวัด​ปตตานี สตูล หรือไม
ยะลา และ​นราธิวาส ง คณะบุคคล​ซึ่ง​มี​อำนาจ​วินิจฉัย​ชี้ขาด
ง คดี​ครอบครัวแ​ ละ​มรดก​ใน​จังหวัด ใน​กรณีที่​มี​ขอโตแยง​วา​กฎหมาย​ใด​มี​
สงขลา​สตูล นราธิวาส และ​ปตตานี ขอความ​ขัด​หรือ​แยง​กับ​บทบัญญัติ​ใน​
7. ตุลาการ​ศาล​รัฐธรรมนูญและ​คณะ รัฐธรรมนูญ​หรือไม
กรรมการ​ตุลาการ แตกตางกัน​หรือไม 11. ใน​คดีใ​ด​ตอ ไปนีถ​้ า พ
​ นักงาน​อยั การ​มค​ี วาม
อยางไร ​เห็นวาส​ มควรจะ​ยก​คดีข​ นึ้ ว​า กลาว​โดย​เปน​
ก ไม​แตกตางกัน เพราะ​มอี​ งค​คณะ​ โจทก​ฟอง​คดีแทน​ผูเสียหาย พนักงาน​
ผูพิพากษา​ทำหนาทีค่​ ลาย​กัน อัยการ​ยอม​ทำได​ตาม​ประมวล​กฎหมาย
ข ไม​แตกตางกัน เพราะ​เปน​องคกร​ที่​ แพง​และ​พาณิชย
เกี่ยวของ​กับ​การ​ตัดสิน​คดีความ​ทั่วไป ก คดี​มรดก
ค แตกตางกัน เพราะ​องคกร​หนึ่ง​ขึ้นกับ​ ข คดีอุทลุม
ฝายบริหาร แตอ​ ีก​องคกร​ขึ้นกับ​ฝาย ค คดี​ฟองหยา
​นิติบัญญัติ ง คดีฟ​ อ ง​ใหบ​ ดิ า​หรือม​ ารดา​รบั ผ​ เู ยาวเ​ปน
ง แตกตางกัน เพราะ​องคกร​หนึง่ ต​ ดั สินคดี​ ​ทายาท
ทีเ่ กีย่ วของ​กบั ร​ฐั ธรรมนูญ แตอ​ กี อ​ งคกร​ 12. หนวยงาน​ใด​ของ​รัฐ​ที่​มี​หนาที่​บังคับ​คดี​ให​
แตงตัง้ โ​ยกยาย​ใหคณ ุ ใ​หโทษ​ผพู พิ ากษา เปนไปตาม​คำ​พพ ิ ากษา​ของ​ศาล​ใน​คดีแพง
8. “คดี​ถึงที่สุด” หมายความวา​อยางไร เชน การ​บงั คับ​จำนอง การ​ขาย​ทอดตลาด
ก คดี​ทศี่​ าล​มี​คำ​สั่งให​ยกฟอง ก ศาล
ข คดี​ทจี่​ ำเลย​ถูกต​ ัดสิน​ประหาร​ชีวิต ข ตำรวจ
ค คดี​ทคี่​ ูความ​ไมอ​ ุทธรณ​หรือฎ​ ีกา​ตอไป ค กรม​ราชทัณฑ
ง คดีท​ ค​ี่ คู วาม​ฝา ย​ใด​ฝา ย​หนึง่ ถ​ งึ แ​ กค​ วาม​ ง กรม​บังคับ​คดี
ตาย 13. บุคคล​ใด​ตอไปนี้​มี​หนาที่​ใช​กฎหมาย​
9. หนวยงาน​ใด​ของ​รฐั ท​ ม​ี่ อ​ี ำนาจ​หนาทีใ​่ น​การ​ และบังคับ​ใหเปนไป​ตามกฎหมาย
ควบคุม กักขัง และ​ลงโทษ​จำเลย​ตาม​ ก สายสืบ​ของ​ตำรวจ
คำ​พิพากษา​ของ​ศาล ข คณะกรรมการ​ตุลาการ
ก ศาล ค กรม​บังคับ​คดี ค สมาชิกสภา​ผูแทน​ราษฎร
ข ตำรวจ ง กรม​ราชทัณฑ ง เจาพนักงาน​ฝายปกครอง
166   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
14. เพราะ​เหตุใด​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี​จึง​ 19. ใน​ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย
ไม​อาจ​ตีความ​ได มาตรา 4 ได​บัญญัติ​ไว​ถึง​กฎหมาย​ที่จะ​นำ
ก เพราะ​เปน​บรรทัดฐาน​ที่ยอมรับ​กัน​ใน​ มาใช​แทน​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ได
สังคม คือ​กฎหมาย​ใด
ข เพราะ​ขอความ​ใน​กฎหมาย​จารีต​ ก กฎหมายอาญา
ประเพณี​ไม​แนนอน ข กฎหมาย​ปกครอง
ค เพราะ​การนำ​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี​ ค กฎหมาย​สาร​บัญญัติ
มา​บังคับใชไ​มแ​ นนอน ง กฎหมาย​จารีต​ประเพณี
20. ขอ​ใด​ถูกตอง
ง เพราะ​มี​ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​
ก กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ของ​ไทย​มี​
พาณิชย มาตรา 4 เปนหลักอ​ ยูแ​ ลว
ที่​มาจาก​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี
15. สถาบัน​ใด​ไมมี​บทบาท​ใน​การ​ตีความ​ ข กฎหมาย​ที่จะ​นำมาใช​ตัดสินคดี​ได​คือ​
กฎหมาย​ใน​ปจจุบัน กฎหมาย​จารีตป​ ระเพณีเ​ฉพาะ​ทองถิ่น
ก รัฐสภา ค กฎหมาย​จารีตป​ ระเพณีน​ ำมาใช​แทน​
ข ศาลยุติธรรม กฎหมาย​ลายลักษณ​อกั ษร​ได​ใน​บางกรณี
ค พระ​มหากษัตริย ง กฎหมาย​จารีต​ประเพณี​มี​ความ​สำคัญ
ง คณะ​กรรมการก​ฤษฎีกา ทีส่ ดุ เ​พราะ​ปฏิบตั ส​ิ บื ต​ อ กันม​ า​เปนเวลา​
​16. องคกร​ใด​มี​หนาที่​ใน​การ​ตีความ​กฎหมาย ชานาน
ก รัฐสภา 21. ใน​กรณีท​ศ่ี าล​รฐั ธรรมนูญ​ชข้ี าด​วา ​พระ​ราช​-
ข คณะกรรมการกฤษฎีกา บัญญัติ​ฉบับ​หนึ่ง​ขัดกับ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​
ค ประชาชน​ที่​ตอง​ใช​กฎหมาย ปจจุบนั พระ​ราช​บญ ั ญัติ​ฉบับ​นั้น​ก็​ไมมีผล​
ง ทุก​องคกร​มี​หนาทีใ่​น​การ​ตีความ บังคับใช​เปน​กฎหมาย​อีก​ตอไป กรณี​
17. ตาม​หลักกฎหมาย​ไทย นัก​กฎหมาย​จะ​ใช​ ดังกลาว​หมายถึง​อะไร
กฎหมาย​ใด​ทำการ​อดุ ช​ อ งวาง​ของ​กฎหมาย​ ก กฎหมาย​ขัดกัน
ที่​อาจจะ​เกิดขึ้น​ได​ใน​ภายหลัง ข การ​ยกเลิก​กฎหมาย​โดย​ปริยาย
ก หลักกฎหมาย​ทั่วไป ค ลำดับ​ศักดิ์​ของ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​
สูงกวา​พระ​ราช​บัญญัติ
ข กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ
ง ศาล​รัฐธรรมนูญ คือ ศาล​พิเศษ​มี​ฐานะ
ค ประมวล​กฎหมายอาญา
​ใหญ​กวา​ศาล​ธรรมดา
ง ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย 22. ขอ​ใด​เปนการ​ยกเลิก​กฎหมาย​โดย​ปริยาย
18. กฎหมาย​ใด​ที่จะ​นำมาใช​อุด​ชองวาง​แหง​ ก กฎหมาย​แมบท​ถูก​ยกเลิก
กฎหมาย​ได​ตามที่​บัญญัติ​ไว​ใน​ประมวล​ ข กฎหมาย​เกา​ที่​ได​บัญญัติ​ไว​นาน​แลว
กฎหมายแพง​และ​พาณิชย มาตรา 4 และ​ไมมี​โอกาส​ใช​อีก
ก กฎหมาย​ทั่วไป ค การ​ประกาศ​ยกเลิกก​ ฎหมาย​ฉบับน​ นั้ ๆ
ข กฎหมายอาญา โดย​ระบุ​วัน เวลา ไว​ชัดเจน
ค กฎหมาย​ปกครอง ง ทั้ง 3 ขอเ​ปนการ​ยกเลิก​กฎหมาย​โดย​
ง กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ปริยาย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   167

23. ขอ​ใด​มิใช ​การ​ยกเลิก​กฎหมาย​โดย​ปริยาย 24. มีก​ าร​กลาวอาง​กนั เ​สมอ​วา กฎหมาย​บางฉบับ


ก กฎหมาย​แมบท​ถูกย​ กเลิก ​มช​ี อ งวาง ก​ รณีน​ ี้ “ชองวาง​แหงก​ ฎหมาย”
ข กฎหมาย​ใหมแ​ ละ​เกาม​ ข​ี อ ความ​ขดั ห​ รือ นั้น​คือ​อะไร
แยงกัน ก กฎหมาย​มี​ขอความ​ลาสมัย
ค กฎหมาย​ที่​ได​บัญญัติ​ไว​นาน​แลว และ​ ข ไมมี​กฎหมาย​ที่จะ​นำมา​ปรับ​ใชได
ไมมี​โอกาส​ได​ใช​อีกต​ อไป ค กรณีที่​กฎหมาย​ขัดหรือแยง​กับ​
ง กฎหมาย​ใหม​และ​เกา​มี​บทบัญญัติ​ใน​ รัฐธรรมนูญ​มี​ผล​ให​กฎหมาย​นั้น​
กรณี​หนึ่ง ๆ อยาง​เดียวกัน ใช​บังคับ​ไมได
ง กรณีทกี่​ ฎหมาย​กอใ​ห​เกิดช​ องวาง​
ระหวาง​คน​รวย​และ​คน​จน​มากขึ้น​
​ในสังคม
25. ใน​กรณีที่​กฎหมาย​มี​ถอยคำ​ที่​ไม​ชัดเจน ผู​ที่จะ​นำ​กฎหมาย​
มา​ใช​บังคับ​ควร​ปฏิบัติ​อยางไร
ก ควร​แกไข​กฎหมาย​กอน
ข ควร​ตีความ​กฎหมาย​กอน
ค ควร​อุด​ชองวาง​ของ​กฎหมาย​กอน
ง ควร​ยกเลิกก​ ารนำ​กฎหมาย​ฉบับ​นั้น​ไป​ใช​บังคับ
168   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 6  รัฐธรนมูญ

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ขอ​ใด​ถือเปน​กฎหมาย​หลัก​ที่​บงบอกถึง​ 4. ขอ​ใด​ถูกตอง
อำนาจ​รัฐ ความ​รับผิดชอบ​ของ​ผูปกครอง ก การ​ละเมิดร​ ฐั ธรรมนูญ มีความผิดฐ​ าน​
ตลอดจน​สิทธิ เสรีภาพ และ​หนาที่​ของ​ ละเมิด
ประชาชน ข รัฐธรรมนูญ​เปน​กฎหมาย​ที่​ออก​โดย​
ก รัฐธรรมนูญ ฝาย​นิติบัญญัติและ​ฝายบริหาร
ข กฎหมาย​ปกครอง ค ประเทศ​ทปี่​ กครอง​ดวย​ระบอบ​
ค พระ​ธรรมนูญ​ศาลยุติธรรม เผด็จการ​หรือ​คอมมิวนิสตก็​อาจจะ​มี​
ง ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย รัฐธรรมนูญ​ใชได
2. รัฐธรรมนูญ​มี​ฐานะ​เหนือกวา​กฎหมาย​ ง การ​ศึกษา​หลักประกันส​ ิทธิ เสรีภาพ​
ธรรมดา​ยกเวน ​ขอ​ใด ขั้นพื้นฐาน​ของ​ประชาชน ควร​ศึกษา​
ก รัฐธรรมนูญแ​ กไข​เพิ่มเติม​ยาก​กวา​ จาก​ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย
กฎหมาย​ธรรมดา
ข การ​ละเมิด​รัฐธรรมนูญ​มีความผิด​ฐาน​ 5. บุคคล​จะ​มี​สิทธิ​ไดรับ​คา​ทดแทน​ตาม
ทำลาย​เอกสาร​ของ​ทาง​ราชการ กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​ใน​กรณี​ใด
ค บทบัญญัตแ​ิ หงก​ ฎหมาย​ใด​ขดั ห​ รือแ​ ยง​ ก ถูก​บุคคลอื่น​ทำ​ละเมิด
กับ​รัฐธรรมนูญ กฎหมาย​นั้น​ไมมีผล​ ข ถูก​เจาหนาที่​ของ​รัฐท​ ำ​ละเมิด
บังคับใช ค สูญเสีย​บุตร คูสมรส หรือบ​ ิดามารดา​
ง ศาล​รัฐธรรมนูญ​เปน​ผู​วินิจฉัยตีความ ใน​หนาที่​ราชการ
วากฎหมาย​ตาง ๆ ขัดหรือแ​ ยง​กับ ง ถูก​ศาล​พิพากษา​จำคุก แต​ภายหลัง​รื้อ​
รัฐธรรมนูญห​ รือ​ไม สวน​กรณี​อื่น ๆ คดี​ขึ้น​มา​พิจารณา​ใหม​และปรากฏ​วา​
ศาลยุติธรรม​เปนผ​ ู​วินิจฉัยต​ ีความ เปนผูบ​ ริสุทธิ์
3. มนุษย​ทุกคน​ที่เกิด​มา​ไมวา​จะมี​เชื้อชาติ
ศาสนา​หรือภ​ าษา​ใด​ยอ ม​ไดรบั ก​ าร​คมุ ครอง​ 6. กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​ทุก​ฉบับ​ของ​ประเทศ​
ใน​ฐานะ​ที่​เปน​มนุษย​อยาง​เทาเทียม​กัน ไทยบัญญัต​เิ รือ่ ง​ใด​ไว​ไม​แตกตาง​กนั ​มาก​นกั
การ​คมุ ครอง​ดงั กลาว​เปนส​ ทิ ธิม​ นุษย​ชนซึง่ ​ ก การ​กำหนด​อำนาจ​หนาที่​ของ​รัฐสภา
ปรากฏ​อยูใ​ น​รฐั ธรรมนูญแ​ หงร​าชอาณาจักร ข การ​กำหนด​ระเบียบ​แหงอ​ ำนาจ​สูงสุด
​ไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา​ใด ค การ​กำหนด​เรือ่ ง​การ​ปกครอง​สว น​ทอ งถิน่
ก มาตรา 4 ค มาตรา 10 ง การ​กำหนด​เรื่อง​สิทธิ เสรีภาพ และ​
ข มาตรา 8 ง ทุก​มาตรา หนาที่​ของ​บุคคล
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   169

7. ขอ​ใด​มิใช ​สถานะ​ของ​รัฐธรรมนูญ 10. นับแต​ที่​ประเทศ​ไทย​เปลี่ยนแปลง​การ​


ก เปน​กฎหมาย​ที่​กำหนด​เกี่ยวกับ​ ปกครอง​เปนร​ะบอบ​ประชาธิปไตย และ​ใช​
​แนวนโยบาย​แหง​รัฐ รัฐธรรมนูญ​เปนหลัก​ใน​การ​ปกครอง​
ข เปน​กฎหมาย​ที่​วาดวย​ระเบียบ​แหง​ ประเทศ​มา​ตั้งแต พ.ศ. 2475 จนถึง​
อำนาจ​สูงสุด​ของ​รัฐ ปจจุบัน มี​การ​ประกาศใช​รัฐธรรมนูญ​
ค เปน​กฎหมาย​ที่​กำหนด​สิทธิ เสรีภาพ รวมทั้งหมด​กี่​ฉบับ
และ​หนาที่​ของ​บุคคล ก 15 ฉบับ ค 17 ฉบับ
ข 16 ฉบับ ง 18 ฉบับ
ง เปน​กฎหมาย​ที่​ตรา​ขึ้น​โดย​พระมหา-
11. บุคคล​ใด​ตอไปนี้ไดรับ​การ​ยกเวน​ไม​ตอง
กษัตริย และ​ผาน​ความ​เห็นชอบ​ของ​
รับ​โทษ​หาก​กระทำ​ความ​ผิด​ทางอาญา​โดย​
ฝายบริหาร ไดรับ​เอกสิทธิ์​ตามกฎหมาย​รัฐธรรมนูญ
ก ประธาน​ศาลฎีกา
8. ขอ​ใด​ผิด ข ตุลาการ​ศาล​รัฐธรรมนูญ
ก ประเทศ​ใด​มี​รัฐธรรมนูญใ​ชบ​ ังคับ​ ค รัฐมนตรี​วาการ​กระทรวง
ประเทศ​นั้นม​ ี​การ​ปกครอง​ใน​ระบอบ​ ง สมาชิกสภา​ผูแทน​ราษฎร
ประชาธิปไตย 12. โครงสราง​ของ​รฐั สภา​ไทย​ตาม​รฐั ธรรมนูญ​
ข การ​เลือกตั้ง​ตามทีก่​ ำหนด​ไวใ​น​ แหงร​าชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันถูกก​ ำหนด​ มี​ลักษณะ​อยางไร
ใหเปน “หนาที่” ของประชาชน​ทุกคน ก มี​คณะ​รัฐมนตรีไม​เกิน 35 คน
ค บทบัญญัตแ​ิ หงก​ ฎหมาย​ใด​ขดั ห​ รือแ​ ยง​ ข มี​วุฒิสภา ประกอบดวย​สมาชิก​จำนวน
กับ​รัฐธรรมนูญ กฎหมาย​ฉบับ​นั้น​ใช​ 150 คน​ที่​มาจาก​การ​แตงตั้งและ​การ
บังคับ​ไมได เลือกตั้ง
ง สมาชิกว​ ฒุ สิ ภา​บางสวนตามทีก​่ ำหนด​ไว​ ค มี​สภา​ผูแทน​ราษฎร ประกอบดวย​
ใน​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ปจจุบัน​มาจาก​การ​ สมาชิก​จำนวน 400 คน​ที่​มาจาก​การ​
เลือกตั้งข​ อง​ราษฎร
เลือกตั้ง​ของ​ประชาชน
ง ขอ ก และ​ขอ ค คือ​คำ​ตอบ​ที่​ถูกตอง
13. ขอ​ใด​มิใช ​อำนาจ​หนาที่​ของ​รัฐสภา
9. เมื่อ​มี​ความ​จำเปน​เพื่อ​ประโยชน​แหง​รัฐ ก การ​ตรากฎหมาย
ตามที่​กำหนด​ไว​ใน​รัฐธรรมนูญ​ปจจุบัน ข การแตงตั้งน​ ายกรัฐมนตรี
พระมหากษัตริยจ​ ะ​ทรง​เรียกประชุมร​ฐั สภา​ ค การ​ควบคุมก​ าร​บริหาร​ราชการ​แผนดิน
เปนการ​ประชุม​สมัย​วิสามัญ​ได โดย​ออก​ ง การ​ใหความเห็น​ชอบ​เรื่องสำคัญ​ของ
เปน​กฎหมาย​ใด ​แผนดิน
ก กฎกระทรวง 14. ขอ​ใดมิใช ​ศาล​ตามที่​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​
ข พระราชกำหนด ปจจุบัน​กำหนด​ไว
ค พระ​ราช​บัญญัติ ก ศาลทหาร ค ศาลภาษีอากร
ง พระ​ราช​กฤษฎีกา ข ศาลปกครอง ง ศาล​รัฐธรรมนูญ
170   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
15. มาตรา 4 ของ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ปจจุบัน​ 18. ใคร​เปน​ผู​วินิจฉัย​ตีความ​รัฐธรรมนูญ
บัญญัติ​วา “ศักดิ์ศรี​ความ​เปน​มนุษย สิทธิ รวมทั้งมี​อำนาจ​วินิจฉัย​วา “ราง​พระ​ราช​-
และ​เสรีภาพ​ของ​บุคคล ยอม​ไดรับ​ความ​ บัญญัติ” หรือ​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​มี​ขอความ​
คุม ครอง” มีความหมาย​ตรง​กบั ข​ อ เ​ลือก​ใด ขัด​หรือ​แยง​ตอ​รัฐธรรมนูญ
ก สภาพ​บุคคล ก วุฒิสมาชิก
ข สิทธิม​ นุษย​ชน ข ศาล​รัฐธรรมนูญ
ค สิทธิแ​ ละ​หนาที่ ค คณะกรรมการ​ตุลาการ
ง สิทธิ​ของ​บุคคล ง สมาชิกสภา​ผูแทนราษฎร
19. รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย
16. เมือ่ ป​ ระชาชน​มป​ี ญ
 หา​ขดั แยงก​ บั เ​จาหนาที​่ พุทธศักราช 2550 กำหนด​ให​วุฒิสภา
ของ​รฐั ท​ ก​่ี ระทำการ​โดย​ใชอ​ ำนาจ​หนาทีก่ ดขี​่ ที่​มาจาก​การ​เลือกตั้ง​มี​จำนวน​กี่​คน
ขมเหง ประชาชน​สามารถ​นำ​คดีข​ น้ึ ฟ ​ อ งรอง ก 100 คน
​ ตอ​หนวยงาน​ใด​ได ข 150 คน
ก ศาลปกครอง ค 200 คน
ข ศาล​สถิตย​ ุติธรรม ง มีเ​ทากับจ​ ำนวน​จงั หวัดข​ อง​ประเทศ​ไทย
ค กร​ะทรวง​ยุติธรรม 20. เหตุผล​แทจริง​ที่​ทำให​เรา​ยึดถือ​กัน​วา
ง ฎีกา​ตอ​นายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญ​เปน​กฎหมาย​สูงสุด​นั้น​เพราะ
อะไร
17. ถา​มี​ปญหา​เกี่ยวกับ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ ก รัฐธรรมนูญบ​ ญ ั ญัตข​ิ นึ้ ม​ า​กอ น​กฎหมาย​
ปจจุบัน ไมวา​เรื่อง​ใด​ก็ตาม ปญหา​นั้น​จะ​ อื่น ๆ ของ​รัฐ
แกไข​ได​ดวย​วิธี​ใด ข เปนก​ ฎหมาย​ที่​มี​การ​จัดทำ​แกไข​ยาก​
ก ให​ศาล​เปน​ผู​วินิจฉัย​ตีความ กวา​กฎหมาย​อื่น ๆ
ข ให​ศาลรัฐธรรมนูญ​เปน​ผ​ตู คี วาม ค เปน​กฎหมาย​ที่​มี​เนื้อหา​สาระ​ยาว​กวา​
ค ให​คณะกรรมการ​ตลุ าการ​เปน​ผต​ู คี วาม กฎหมาย​ใด ๆ
ง ให​ประชาชน​ลง​ประชามติแสดง​ความ​ ง รัฐธรรมนูญ​ทำ​ใหการ​ปกครอง​ของ​รัฐ​
คิดเห็น​และ​ตัดสิน ตอง​อยูภ​ ายใต​กฎหมาย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   171

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 7  หลักกฎหมายแพง

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ขอ​ใด​เปน​กฎหมาย​ที่​วาดวย​สิทธิ​หนาที่​ 5. กฎหมาย​กำหนด​ใหบ​ คุ คล​ธรรมดา​สน้ิ ส​ ภาพ
และ​ความ​เกี่ยวของ​ระหวาง​บุคคล​ตั้งแต​ ​ บุคคล​ใน​กรณี​ใด
เกิด​จนกระทั่งหลังตาย ก เขียว​ตาย​ดวย​ภาวะ​หัวใจ​ลมเหลว
ก กฎหมายแพง ข ขาว​ถูก​ศาล​พิพากษา​ให​เปนบ​ ุคคล​
ข กฎหมาย​ปกครอง ลมละลาย
ค กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ค แดง​ถกู ศ​ าล​พพิ ากษา​ใหเ​ปนค​ น​ไรค​ วาม​
ง กฎหมาย​ทะเบียน​ราษฎร สามารถ
2. ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชยก​ ำหนด
ง ดำ​หายไป​จาก​ภูมิลำเนา​ใน​ภาวะ​ที่​นาจะ​
​ใหบุคคล​เริ่มมี​สิทธิเมื่อใด
เกิด​อันตราย เมื่อ​ครบ​กำหนด 5 ป
ก เมื่อ​คลอด​ออก​มาแลวเ​ริ่ม​หายใจ
ข คลอด​ออก​มาแลว​อยูรอด​เปน​ทารก ภริยา​ของ​ดำ​ไป​รอง​ขอให​ศาล​สั่งให​ดำ​
ค เมื่อ​บิดา​จด​ทะเบียน​รับรอง​วา​เปน​บุตร เปน​บุคคล​ผสู​ าบสูญ
ง ตัง้ แตเ​ปนท​ า​รกในครรภม​ ารดา และ​เมือ่
​เกิด​มารอด​เปนทารก 6. บุคคล​ตอ ไปนีเ้ ปนผ​ ท​ู ห​ี่ ยอน​ความ​สามารถ
3. ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชยบญ ั ญัต​ิ หรือถ​ กู กฎหมาย​จำกัดต​ ดั ทอน​ความสามารถ
วา “............เริม่ แ​ ตเ​มือ่ ค​ ลอด​และอยูร อด ​บางอยาง​ใน​การ​ทำ​นิติกรรมสัญญา​ตาง ๆ
​เปน ​ทารก และสิน้ สุด​เมือ่ ​ตาย” คำ​ท​ค่ี วร​มา​ ยกเวน ​บุคคล​ใน​ขอ​ใด
​เติมลง​ใน​ชอ งวาง​ใหถ​ กู ตอง​คอื ค​ ำ​ใน​ขอ ใ​ด ก ผูเยาว
ก สภาพ​บุคคล ข บุคคล​วิกลจริต
ข สิทธิ​ของ​บุคคล ค คน​ไร​ความ​สามารถ
ค หนาที่​ของ​บุคคล ง คน​เสมือน​ไร​ความ​สามารถ
ง เสรีภาพ​ของ​บุคคล
4. บุคคล​ธรรมดา​เริ่มมี​สิทธิ​ตามกฎหมาย​
7. บุคคล​ใด​ที่​กฎหมาย​กำหนด​ให​เปน​
ตั้งแต​เมื่อใด
ผูใหความ​ยินยอม​ใน​กรณีที่​คน​ไร​ความ​
ก เมื่อ​บรรลุ​นิติภาวะ
ข เมื่อ​ทำ​บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน สามารถ​จะ​ทำ​นิติกรรม สัญญา​ใดๆ
ค เมื่อ​คลอด​ออกจาก​ครรภม​ ารดา ก ผูพิทักษ
ง ตั้งแตป​ ฏิสนธิใ​น​ครรภม​ ารดา แตม​ ี​ ข ผูอนุบาล
เงื่อนไข​วา​เมื่อค​ ลอด​ออกจาก​ครรภ​ ค ผูแทน​โดย​ชอบธรรม
มารดา​แลว​ตอง​มีชีวิตรอด​เปน​ทารก ง ไมมี​ผูใด​ให​ความ​ยินยอม​ได
172   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
8. สิทธิ​เรียกรอง​เรื่อง​ใด ๆ ถา​ไมมี​กฎหมาย​ 12. การ​ใหเชา​ทรัพยสิน​ของ​ผูเยาว​ใน​กรณี​ใด
กำหนด​อายุความ​เอา​ไวโ​ดยเฉพาะ ใหถ​ อื วา จะ​ตอง​ไดรับ​อนุญาต​จาก​ศาล​กอน
​มี​กำหนด​อายุความ​อยางไร ก บิดา​ของ​ผูเยาว​เอา​บาน​ของ​ผูเยาว​ออก​
ก ไมมี​อายุความ ใหเชา​มี​กำหนด​ระยะเวลา 2 ป
ข ขาด​อายุความ ข มารดา​ของ​ผูเยาว​นำ​ที่ดิน​ของ​ผูเยาวให
ค อายุความ​เริ่ม​นับ ผูอื่นเชา​มี​กำหนด​ระยะเวลา 6 ป
ง อายุความ 10 ป ค ไมต​ อ ง​ขออนุญาต​ถา เ​ปนการ​ทำการแทน
9. ตาม​ประมวล​กฎหมายแพง​และ​พาณิชย ​ ผูเยาว​และ​เพื่อป​ ระโยชน​ของ​ผูเยาว
คำ​วา “แกงได” หมายถึง​อะไร ง ผูป กครอง​ของ​ผเู ยาวเ​อา​คอนโดมิเนียม​
ก สั​งกมะ​ทรัพย ของ​ผเู ยาวอ​ อก​ใหเชาม​ ก​ี ำหนด​ระยะเวลา
ข แดน​กรรมสิทธิ์ 1 ป
ค อาหาร​ที่​หาม​ซื้อขาย 13. แหมมอ​ ายุ 14 ป ทำ​พนิ ยั กรรม​ยก​ทรัพยสนิ ​
ง เครื่องหมาย​ที่​ใชแ​ ทน​ลายมือชื่อ ของ​ตน​ให​แก​มด พินัยกรรม​ฉบับ​ดังกลาว​
10. การ​ฟองคดี​ใด ๆ กฎหมาย​กำหนด​ระยะ มี​ผล​อยางไร​ตามกฎหมาย
เวลา​ใน​การ​ฟอง​ไว ถา​ลวงเลย​ระยะเวลา​ ก สมบูรณ​ตามกฎหมาย
ดังกลาว คูกรณี​อีก​ฝาย​มี​สิทธิ​ที่จะ​ปฏิบัติ​ ข เปนการ​สูญเปลา ไม​อาจ​บังคับ​กัน​ได​
อยางไร​โดย​ไมผิด ​กฎหมาย ตามกฎหมาย
ก ปฏิเสธ​ความ​รับผิดชอบ​นั้น​ได​โดย​อาง​ ค ใช​บังคับ​กัน​ได​ตามกฎหมาย​จนกวา​จะ​
เรื่อง​อายุความ ถูก​บอก​ลาง
ข ฝาย​ที่​ตอง​รับผิด​ไมมี​สิทธิ​ปฏิเสธ​ความ​ ง เมื่อ​ผูแทน​โดย​ชอบธรรม​ใหสัตยาบัน
รับผิดชอบ​ใด ๆ จะ​มี​ผล​สมบูรณ​ตามกฎหมาย
ค ยืน่ อ​ ทุ ธรณต​ อ ศ​ าลอุทธรณใ​น​ระยะเวลา​ 14. บุคคล​จะ​บรรลุ​นิติภาวะ​เมื่อใด
ที่​กฎหมาย​กำหนด ก อายุ​ครบ 18 ป​บริบูรณ
ง ปฏิเสธ​ความ​รับผิดชอบ​โดย​อาง​การ​ ข สมรส​เมื่อ​ทั้งช​ าย​และ​หญิงม​ ีอายุ​ครบ
ฟองคดี​ที่​มผี​ ล​เปน​โมฆะกรรม 17 ป​บริบูรณ
11. บุคคล​ตอไปนี้​เปน​ผูเยาวย​ กเวน ​ขอ​ใด ค สมรส​เมื่อ​ไดรับ​ความ​ยินยอม​จาก​บิดา​
ก นางสาว​เดือน อายุ 16 ป เปน และ​มารดา​ของ​ทั้งส​ องฝาย
​บุคคล​วิกลจริต ง สมรส​เมื่อช​ าย​อายุ​ครบ 17 ปบริบูรณ
ข เด็กชาย​อาทิตย อายุ 7 ป เปนอ​ า​ และ​หญิงอายุค​ รบ 15 ป​บริบูรณ
​ของนาย​เสาร 15. การ​สมรส​สิ้นสุด​เมื่อใด
ค เด็กหญิง​จันทร อายุ 14 ป พิการ​ ก ตาย หยา
ตาบอด​ทั้ง 2 ขาง ข ตาย แยกกัน​อยู
ง นาง​ดาว อายุ 18 ป ทำการ​สมรสแลว ค ฝาย​หนึ่ง​ฝาย​ใด​มีชู
ตอมา​หยาก​ ับ​สามี​เมื่อ​อายุไ​ด 19 ป ง ฝาย​หนึ่ง​ฝาย​ใด​วิกลจริต
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   173

16. อำนาจ​ปกครอง​ของ​บิด​ามารดา​หรือ​สิทธิ​ 18. บุคคล​ใด​ไมมี ​สิทธิ​เปน​ทายาท​โดย​ธรรม​


ของ​บิดามารดา​ที่​มี​ตอ​บุตร​ซึ่ง​เปนผูเยาว ของ​เจามรดก
มีหลาย​ขอ ยกเวน ​ขอ​ใด ก คูสมรส​ของ​เจามรดก
ก กำหนด​ที่อยู​ของ​บุตร ข บุตร​บุญธรรม​ของ​เจามรดก
ข บุตร​มี​สิทธิ​ใชช​ ื่อสกุล​ของ​บิดา​หรือ​ ค บุตร​นอกสมรส​ของ​เจามรดก
มารดา ง พอแ​ มบุญธรรม​ของ​เจามรดก
ค ทำโทษ​บุตร​ตามสมควร​เพื่อ​วากลาว​ 19. ขอ​ใด​ถูกตอง​ใน​การ​ลำดับชั้น​ของ​ผู​มี​สิทธิ​
ตักเตือน ได​รับมรดก​ใน​ฐานะ​ทายาท​โดย​ธรรม
ง เรียก​บุตร​คืน​จาก​บุคคลอื่น​ซึ่ง​กัก​บุตร ก ผู​สืบสันดาน บิดามารดา คูสมรส
​ไว​โดย​มิชอบ​ดวย​กฎหมาย ข บิดามารดา ผู​สืบสันดาน ปูยา​ตา​ยาย
ค ผู​สืบสันดาน บิดามารดา ปูยา​ตา​ยาย
ง ผู​สืบสันดาน บิดามารดา พี่นอง​รวม​
บิดามารดา​เดียวกัน
17. กรณี​ใด​ตอไปนี้​เปนการ​สมรส​ที่​ตก​เปน​ 20. ใน​กรณีทเ​ี่ จามรดก ไมไดท​ ำ​พนิ ยั กรรม​ยก​
โมฆะกรรม​ตามกฎหมาย ทรัพยสนิ ข​ อง​ตน​ใหแ​ กผ​ ใู ด ทัง้ ไ​มมท​ี ายาท​
ก นา​สมรส​กับห​ ลาน โดย​ธรรม​และ​ไมมค​ี สู มรส ทรัพยม​ รดก​นนั้ ​
ข ผูรับ​บุตร​บุญธรรม​สมรส​กับ​ จะ​ตก​ไดแก​ใคร
บุตรบุญธรรม ก แผนดิน
ค เอ​บังคับ​วาน​ให​ยินยอม​จด​ทะเบียน ข บุตร​บุญธรรม
สมรส​ดวย ค ผูจัดการ​มรดก
ง ชาย​และหญิงส​ มรสกัน โดย​อายุไ​มครบ ง เขา​มูลนิธิหรือ​องคกร​การ​กุศล​ชำระหนี้​
17 ป​บริบูรณ ให​เจาหนี้
174   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 8  หลักกฎหมายอาญา

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ความหมายทางอาญาของประเทศที่ใช้ 4. ไก่เจตนาจะตีศรี ษะนก จึงเงือ้ ไม้และตีไปที่
ประมวลกฎหมาย เช่น ประเทศไทย นก ปรากฏว่านกหลบทัน ไก่จึงตีพลาด
​จะให้ความสำคัญกับข้อใดมากที่สุด ไปถูกหนู ซึ่งยืนอยู่ใกล้ ๆ ได้รับบาดเจ็บ
ก คำพิพากษาของศาลฎีกา กรณีนี้ไก่ต้องรับผิดต่อหนูหรือไม่ เพราะ
ข ความเห็นของนักกฎหมาย อะไร
ค การตีความกฎหมายของผูใ้ ช้กฎหมาย ก ไม่ต้องรับผิด เพราะเป็นอุบัติเหตุ
อาญา
ข ไม่ตอ้ งรับผิด เพราะไก่ไม่มเี จตนาทำร้าย
ง ตัวบทกฎหมายอาญาที่เป็นลายลักษณ์
หนู
อักษร
2. การกระทำความผิดทางอาญาหมายถึงการ ค ต้องรับผิด เพราะมีเจตนาทำร้าย
กระทำในข้อใด และมีผลเกิด
ก การกระทำที่ฝ่าฝืนจารีตประเพณี ง ต้องรับผิด เพราะกระทำการโดย
ข กฎหมายอาญาไม่สามารถใช้ย้อนหลัง ประมาททำให้หนูได้รับบาดเจ็บ
เพื่อเป็นโทษ
ค การกระทำหรือละเว้นการกระทำที่
กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด 5. บทบัญญัติในข้อใดต่อไปนี้เป็นกฎหมาย
ง การกระทำหรือละเว้นที่กฎหมาย อาญา
บัญญัติว่าเป็นความผิดและกำหนด ก บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงิน
โทษไว้ ย่อมจะต้องรับผิดตามเนื้อความใน
3. ถ้าในกฎหมายอาญาไม่บญ ั ญัตไิ ว้โดยชัดแจ้ง ตั๋วเงินนั้น
ว่าการกระทำนัน้ เป็นความผิดและกำหนด ข บุคคลยอ่ มมีเสรีภาพในการเดินทาง
โทษไว้จะมีผลอย่างไร
และเสรีภาพในการเลือกถิน่ ทีอ่ ยูภ่ ายใน
ก ย่อมไม่เป็นความผิดจึงไม่มีคดีที่ต้อง
ราชอาณาจักร
วินิจฉัย
ข ต้องวินิจฉัยคดีนั้นโดยอาศัยหลัก ค นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน
กฎหมายทั่วไป ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไป
ค ต้องวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณี ในทางการที่จ้าง
แห่งท้องถิ่น ง ผูใ้ ดกระทำการใด ๆ เพือ่ ให้เกิดเหตุรา้ ย
ง ต้องวินิจฉัยคดีนั้นโดยอาศัยหลัก แกป่ ระเทศจากภายนอก ตอ้ งระวางโทษ
บทกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง จำคุกไม่เกิน 10 ปี
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   175

6. ในกรณีที่ตัวบทของกฎหมายอาญา 10. การกระทำของบุคคลในข้อใดแม้มคี วามผิด


ไมชัดเจนหรือเป็นที่สงสัย จะต้องตีความ แต่ไม่ต้องรับโทษทางอาญา
อย่างไร ก เพชรถูกสะกดจิตให้ไปข่มขืนพลอย
ก ตีความตามตัวอักษร ข ต้นไม้เสพยาบ้าจนขาดสติแล้วนำขวาน
ข ตีความโดยเคร่งครัด ไปตัดเสาไฟฟ้า
ค ตีความโดยเทียบเคียงกฎหมายที่ ค แก้วซึ่ง​เปนบุคคลวิกลจริต เอายาพิษ
ใกล้เคียง ใสลง​ในอาหารให้ขวดกิน
ง ตีความให้เป็นคุณหรือยกประโยชน์ให้ ง ทุกข้อไม่ต้องรับโทษ
แก่จำเลย 11. การกระทำของบุคคลในข้อใดต่อไปนี้จะ
7. นาย ก จะมี​ความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่ ต้องรับโทษทางอาญา
พิจารณาไดจ้ ากองคป์ ระกอบในขอ้ ใด ก ไก่สะกดจิตไข่ให้ไปตีหัวแหวน
ก มีการเอาทรัพย์ไปแล้ว เอามาคืนวางไว้ ข อ่างอายุ 7 ปี ใช้ปืนยิงโอ่งจนถึงแก่
ที่เดิม ความตาย
ข มีการเอาทรัพย์ของ ง ไปสับเปลี่ยนกับ ค สร้อยเอามีดแทงคนร้ายที่กำลังจะ
ของ จ เขามาข่มขืนตน
ค มีการเอาทรัพย์ของ ค ไปซ่อนเพื่อให้ ง ร.ต.อ. เด่น ไปจับกุมนายเด๋อตามคำสัง่
ผู้บังคับบัญชา
หาไม่พบ
12. ข้อใดถือได้ว่าเป็น “การกระทำ” ตามนัย
ง มีการเอาทรัพย์ของ ข ไปเพื่อเลี้ยงดู
ของกฎหมายที่จะเป็นเหตุไปสู่การที่จะให้
แม่ที่กำลังไม่สบาย
ผู้นั้นต้องรับโทษตามกฎหมายอาญา
8. “ไม่มคี วามผิด ไม่มโี ทษ ถาไม่มกี ฎหมาย”
ก แดงนอนละเมอไปลักทรัพย์ดำ
เป็นหลักสำคัญของกฎหมายใด
ข ขาวคิดจะฆ่าช้าง และตัดสินใจที่จะฆ่า
ก กฎหมายรัฐธรรมนูญ ช้างแล้ว
ข ประมวลกฎหมายอาญา ค แม่ปล่อยให้ลูกคลานตกบันไดลงมา
ค ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ คอหักตาย
ง พระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ออกโดยผ่าน ง เอ บี และซีร่วมกันวางแผนจะไปปล้น
รัฐสภา บ้านของดี แต่ล้มเลิกแผนการเพราะ
9. ข้อใดผิด สงสารดี
ก กฎหมายอาญาจะต้องตีความโดย 13. ผูใ้ ดกระทำผิดในขณะไม่สามารถรูผ้ ดิ ชอบ
เคร่งครัด หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะจิต
ข กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ว่าด้วย บกพร่อง โรคจิตฟั่นเฟือนตามกฎหมาย
ลักษณะความผิดและโทษ อาญาจะมีผลอย่างไร
ค กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่กำหนด ก ไม่ต้องรับผิด
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรัฐ ข ไม่ต้องรับโทษ
ง กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังที่เป็น ค เป็นคนไร้ความสามารถ
โทษหรือเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด ง เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
176   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
14. บุตรลักทรัพย์ของบิดา กฎหมายให้ถือว่า 17. การกระทำความผิดข้อใดแม้ผู้กระทำได้
เป็นความผิดอาญาประเภทใด กระทำนอกราชอาณาจักรไทยก็ตอ้ งรับโทษ
ก ความผิดลหุโทษ ในราชอาณาจักร
ข ความผิดอาญาแผ่นดิน ก ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
ค ความผิดที่ยอมความได้ ข ความผิดที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ง ความผิดที่กฎหมายยกเว้นโทษให้ ประชาชน
15. การกระทำผิดในความหมายของกฎหมาย ค ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของ
อาญาคือข้อใด ประชาชน
ก การนอนละเมอไปตีหัวบุคคลอื่น ง ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและแปลง
ข การเคลื่อนไหวร่างกายภายใต้จิตถูก เงินตรา
บังคับ 18. ทุกกรณีเป็นความผิดอาญายกเว้น ข้อใด
ค การคิดจะเข้าไปในบ้านของบุคคลอื่น ก ขับรถยนต์ชนรัว้ บ้านผูอ้ น่ื โดยไม่เจตนา
เพื่อทำร้ายเขา ข ขับรถยนต์โดยประมาท​จนชนผู้อื่น
ง แม่ยืนเฉย ๆ ดูลูกชายของตนคลานไป ถึงแก่ความตาย
บนถนนแล้วถูกรถชนตาย ค กำลังคิดเงื้อดาบจะฟันผูอื่นแต่กลับใจ
16. แดงสูบบุหรี่ก่อนนอนแล้วเผลอหลับไป เพราะกลัวบาป
เป็นผลให้เกิดไฟไหม้บ้านของแดง แล้ว ง ใช​ปนยิงผู้อื่นแต่กระสุนพลาดไปถูก
ลามไปไหม้บ้านของดำซึ่งอยู่ติดกันด้วย กระจกหน้าต่างรถยนต์แตก
แดงเองก็ถกู ไฟลวกหลายแห่งต้องรักษาตัว 19. อาภาลักทรัพย์สินของวีณาในเครื่องบิน
อยู่ที่โรงพยาบาล แดงให้การว่าขณะสูบ ไทยซึ่งกำลังบินอยู่เหนือน่านฟาประเทศ
บุหรีเ่ ขาไม่คดิ ว่าจะหลับ จนทำให้เกิดไฟไหม้ ไทย อาภาต้องรับโทษในประเทศไทย
ได้และเขาก็มิได้เจตนาจะให้เกิดไฟไหม้ เพราะเหตุใด
ด้วย กรณีนี้จะเกิดผลอย่างไร ก อาภากระทำความผิดในประเทศไทย
ก แดงต้องรับผิดอาญา แต​ไมต​ องถูก จึงต้องรับโทษตามกฎหมายไทย
ลงโทษ ข อาภากระทำความผิดในเครื่องบินไทย
ข แดงต้องรับผิดอาญา เพราะความ ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดต้องรับโทษตาม
ประมาท ทำให้เกิดความเสียหาย กฎหมายไทย
ค แดงไม่ตอ้ งรับผิดทางอาญา เพราะแดง ค อาภากระทำความผิดส่วนหนึ่งส่วนใด
มิได้ทำให้ผใู้ ดบาดเจ็บ นอกจากตัวของ ในประเทศไทย จึงต้องรับโทษตาม
แดง กฎหมายไทย
ง แดงไม่ต้องรับผิดอาญา เพราะขาด ง ผลแห่งการกระทำเกิดขึ้นในประเทศ
เจตนาอันเป็นสาระสำคัญของกฎหมาย ไทยและผู้กระทำคืออาภา มีความ
อาญา แต่แดงต้องใช้ค่าเสียหายทาง ประสงค์ให้ผลนั้นเกิดขึ้นในประเทศ
แพ่ง ไทย จึงต้องรับโทษตามกฎหมายไทย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   177

20. ผู้ใดต้องโทษปรับแต่ไม่สามารถชำระเงินค่าปรับตามจำนวนได้ ผู้นั้นจะต้องปฏิบัติ


หรือได้รับการปฏิบัติอย่างไร
ก ถูกนำตัวไปกักขังแทนค่าปรับ
ข นำเงินมาผ่อนชำระทั้งต้นและดอกเบี้ยต่อศาล
ค จะต้องถูกนำทรัพย์สินมามอบให้แก่เจ้าหน้าที่
ง ถูกยึดทรัพย์นำมาขายทอดตลาดเพื่อชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้
178   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเรียน​รูที่ 9  กฎหมายเกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร
และ​พระราชบัญญัตบิ​ ัตร​ประจำ​ตัวประชาชน

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ที่​กำหนด​ระเบียบ​ปฏิบัติ​ 4. ตามกฎหมาย​ทะเบียน​ราษฎร ถา​ไม​แจง​
เกีย่ วกับก​ าร​จดั ทำ​ทะเบียน​คน​และ​ทะเบียน กรณีต​ อ ไปนีน​้ ายทะเบียน​ภายใน​ระยะเวลา
บาน เปน​กฎหมาย​ที่​ใกล​ตัว​ประชาชน​ซึ่ง​ 15 วัน จะ​มี​โทษปรับ​ไม​เกิน 1,000 บาท
ทุกคน​จะ​ตอง​รู​และ​ปฏิบัติ​ตาม ยกเวน ขอ​ใด
ก กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ก การ​แจงเกิด
ข ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย ข การ​ยาย​ที่อยู
ค พระ​ราช​บัญญัติสำ​นะโน​ประชากร ค การ​แจง​คน​ตาย​นอกบาน
พ.ศ. 2536 ง การ​รื้อ​บาน​และ​การ​สรางบาน
ง พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ทะเบียน​ราษฎร 5. กรณี​ใด​ตอไปนี้ มี​ระยะเวลา​ใน​การ​ปฏิบัติ​
พ.ศ. 2534 ตามกฎหมาย​ทะเบียน​ราษฎร​เทากัน
ก แจงเกิด–แจงย​ าย
2. กรณีค​ นใน​บา น​ตาย และ​ผตู าย​มชี อื่ อ​ ยูใ​ น​ ข แจงเกิด–แจงต​ าย
ทะเบียนบาน ผู​แจง​การ​ตาย​จะ​ตอง​นำ​ ค แจง​ตาย–แจงย​ าย
เอกสาร​ใด​ไป​ดวย ง แจง​ตาย–แจงค​ น​เกิดใหม​ถูก​ทิ้งไ​ว
ก ใบ​สูติบัตร 6. ขอ​ใด​เปน​เอกสาร​ยืนยัน​สถานะ​ของ​เด็ก​ที่​
ข ใบ​มรณะบัตร มีอายุ​ยัง​ไมครบ 15 ป​บริบูรณ
ค บัตร​ประจำตัว​ประชาชน ก สูติบัตร
ง สำเนา​ทะเบียนบาน​ฉบับ​เจาบาน ข ทะเบียนสมรส
ค สำเนา​ทะเบียนบาน
3. หาก​พบเห็นเ​ด็กเ​กิดใหมซ​ งึ่ ถ​ กู ท​ งิ้ ไ​ว ผูพ
 บ ง บัตร​ประจำตัว​ประชาชน
​ตอ ง​แจงต​ อ เ​จาหนาทีซ​่ งึ่ เ​ปนพ
​ นักงาน​ฝา ย 7. กรณี​ใด​ตอไปนี้ กฎหมาย​มิได​กำหนด​ให​
ปกครอง ตำรวจ หรือ​นายทะเบียน​ ผูท​ เ​ี่ กีย่ วของ​ตอ ง​แจงต​ อ พ
​ นักงาน​เจาหนาที​่
ผูรับ​แจง​ภายใน​ระยะเวลา​เทาไร ภายใน​ระยะเวลา 15 วัน
ก 24 ชั่วโมง ก การ​แจงเกิด
ข 15 วัน ข การ​แจงต​ าย
ค 30 วัน ค การ​แจงย​ าย​ที่อยู
ง ทันทีโ​ดย​ไม​ชักชา ง การ​สรางบาน​และ​การ​รื้อบ​ าน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   179

8. ใน​ปจจุบัน เมื่อ​มี​เด็ก​เกิดใหม​ตาม​ 11. สัญชาติ​ชักชวน​สกุล​ไป​ลองเรือ​ที่​ทะเล​


โรงพยาบาล​ตาง ๆ โรงพยาบาล​ที่​เด็ก​เกิด​ อันดามัน​ดวยกัน สกุล​มี​โรคประจำตัว​คือ​
และ​บิดามารดา​ของ​เด็ก​จะ​ตอง​ปฏิบัติ​ โรคหัวใจ แต​สกุล​ก็​ยินยอม​ไป​ลองเรือ​กับ​
อยางไร จึงจ​ ะ​ถกู ตอง​ตามกฎหมาย​ทะเบียน​ สัญชาติ ในขณะที่​ทองเที่ยว​กัน​อยาง​สนุก
ราษฎร สนาน​ได​เกิด​คลื่น​ยักษ​ใน​ทะเล​อันดามัน
ทำให​เรือ​อับปาง ตอมา​มี​ผู​ไป​พบ​ศพ​ของ​
ก โรงพยาบาล​จะ​ออก​ใบ​สูติบัตร​ให​บิดา
สัญชาติแ​ ละ​สกุลท​ เี่ กาะ​แหงห​ นึง่ ผูพ ​ บ​ศพ​
มารดา​ไป​แจงเกิดท​ ส​ี่ ำนักท​ ะเบียน​ทอ งที​่ จะ​ทำ​อยางไร และ​ระหวาง​สัญชาติ​กับ​สกุล​
ที่​โรงพยาบาล​นั้นต​ ั้งอยู ใคร​ถึง​แก​ความ​ตาย​กอน​กัน
ข โรงพยาบาล​จะ​ออก​ใบรับรอง​การ​เกิดใ​ห​ ก แจง​การ​ตาย​ภายใน 24 ชั่วโมง สกุล​
บิดา​หรือ​มารดา เพื่อน​ ำไป​แจง​การ​เกิด​ ตาย​กอน
ทีส​่ ำนักงาน​ทะเบียน​ทอ งทีท​่ โ​ี่ รงพยาบาล​ ข แจง​การ​ตาย​ภายใน 72 ชั่วโมง ตาย​
ตั้งอยู พรอมกัน
ค บิดา​หรือม​ ารดา​จะ​ตอ ง​นำ​สำเนา​ทะเบียน ค แจง​การ​ตาย​ภายใน 24 ชั่วโมง ตาย​
บาน​ฉบับ​เจาบาน​ไป​แจงเกิด​ตอ​นาย พรอมกัน
ทะเบียน​ทอ งทีท​่ โ​ี่ รงพยาบาล​ตงั้ อยู และ​ ง แจงก​ าร​ตาย​ภายใน 48 ชัว่ โมง สัญชาติ​
ตาย​กอน
นำ​หลักฐาน​การ​แจงม​ า​รบั ใ​บ​สตู บิ ตั ร​จาก​
12. สม​และ​ศรี​ไป​เที่ยว​น้ำตก​เหว​นรก​ใน​เขต​
โรงพยาบาล​ทเี่​ด็ก​นั้น​เกิด เขา​ใหญ ตอมา​ศักดิ์​ไป​พบ​ศพ​ของ​บุคคล​
ง ปฏิบตั ต​ิ าม​ขอ ก ข หรือ ค ก็ได แลวแต​ ทั้งสอง ศักดิ์​จะ​ตอง​แจง​การ​ตาย​ตอ​ใคร
ความ​เหมาะสม และ​เมื่อใด
9. ถา​มี​การ​ตาย​ของ​คน​เกิดขึ้น​ใน​ทอง​ที่ ก แจงตำรวจ​ภายใน 24 ชั่วโมง
หางไกล​การ​เดิน​ทางลำบาก ผู​พบ​ศพ​อาจ ข แจง​ตอ​นายอำเภอ​ทองที่​นั้นภายใน
แจง​การ​ตาย​ตอ​นายทะเบียน​ได​เมื่อใด 48 ชั่วโมง
ก ภายใน 4 วัน ค แจง​ตอ​นายทะเบียนทองทีน่​ ั้น​ภายใน
ข ภายใน 7 วัน 24 ชั่วโมง
ค ภายใน 30 วัน ง แจง​ตอ​กำนัน​หรือ​ผูใหญ​ใน​ทองที่​นั้น
ภายใน 72 ชั่วโมง
ง ​ภายใน 48 ชั่วโมง
13. เอกสาร​ใด​ทแ​่ี สดงถึงช​ อ่ื ตัว ชือ่ สกุล สัญชาติ
10. การ​ยาย​บาน​จะ​ตอง​แจง​การ​ยาย​ตอ​นาย
วัน​เดือน​ปเกิด และชื่อตัว ชื่อสกุล และ
ทะเบียน​ทองที่​ที่​ตน​เขาไป​อยู​แหง​ใหม​ สัญชาติของ​บดิ ามารดา​รวม​ทง้ั สามารถใชเ​ปน
ภายใน​ระยะเวลา​เทาใด หลักฐาน​ได​ทกุ ​โอกาส​ตราบ​เทาทีม่ ​ชี วี ติ ​อยู
ก 7 วัน ก สูติบัตร
ข 10 วัน ข ทะเบียนบาน
ค 15 วัน​ ค บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน
ง 30 วัน ง ทะเบียนสมรส-ทะเบียนหยา
180   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
14. “.............แสดง​เลขหมาย​ประจำ​บาน 17. พระ​ราช​บัญญัติ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​
และ​รายการ​ของ​คน​ทั้งหมด​ผู​อยู​ใน​บาน” กำหนด​ให​ผู​ขอ​มี​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​
คำ​ใน​ชองวาง​ควร​เปน​คำ​ใน​ขอ​ใด จะ​ตอง​มี​คุณสมบัติ​อยางไร
ก สูติบัตร ก มี​เชื้อชาติ​ไทย
ข ทะเบียนบาน ข มีชื่อ​อยูใ​น​ทะเบียนบาน
ค สำเนา​ทะเบียนบาน ค มีอายุ​ตั้งแต 15 ป​บริบูรณ แต​ไม​เกิน
ง บัตร​ประจำตัว​ประชาชน 70 ป​บริบูรณ
ง มีชอื่ อ​ ยูใ​ น​ทะเบียนบาน​และ​มอี ายุต​ งั้ แต
15 ป ถึง 70 ป​บริบูรณ
18. การ​ยื่น​ขอ​มี​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​
15. ขอใด​กฎหมาย​ถอื วาเ​ปนก​ รณีข​ อง “ลูกตาย
ครั้งแรก​หรือ​การ​ขอ​ทำ​บัตร​ใหม เนื่องจาก​
ในทอง”
บัตร​หาย บัตร​ถกู ท​ ำลาย หรือเ​ปลีย่ น​ชอื่ ตัว
ก ลูก​ที่​คลอด​มาแลว​ตาย​ทันที ชื่อสกุล​ใน​ทุกกรณี จะ​ตอง​ทำ​ภายใน​
ข ลูก​ที่​คลอด​ออก​มาแลวม​ ี​ชีวิตไ​มถึง 24 กำหนด​กี่​วัน
ชั่วโมง ก 30 วัน ค 90 วัน
ค ลูกท​ อี่ ยูใ​ น​ครรภม​ ารดา​เกิน 28 สัปดาห ข 60 วัน ง 120 วัน
และ​คลอด​ออกมา​โดย​ไมมชี​ ีวิต 19. ขอใ​ด​เปนความ​ผดิ ท​ ม​่ี อ​ี ตั รา​โทษ​สงู สุดต​ าม​
ง ลูกท​ อี่ ยูใ​ น​ครรภม​ ารดา​เกิน 32 สัปดาห พระ​ราช​บัญญัติ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน
และคลอด​ออก​มาแลว​ถึง​แก​ความ​ตาย​ ก ปลอม​บัตรประจำ​ตัวประชาชน ​หรือ​
ในภายหลัง ใบรับ หรือใ​บ​แทน​ใบรับ
ข ผูเ​ สียส​ ญั ชาติไ​ทย​ไมส​ ง มอบ​บตั ร​ประจำ-​
ตัวประชาชนคืนให​พนักงาน​เจาหนาที่
16. การ​แจง​ตอ​นายทะเบียน​ทองถิ่น​นั้น ๆ ค ใช​หลักฐาน​อันเปน​เท็จ​ใน​การ​ทำ​บัตร​
เมื่อ​ปลูกบาน​แลวเสร็จ​ภายใน​ระยะเวลา ประจำตัวป​ ระชาชน
15 วัน กฎหมาย​มี​เหตุผล​อยางไร ง ไม​ทำ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​ใน​ระยะ
ก เพื่อ​ออก​หมายเลข​ประจำ​บาน​ให เวลา​ที่​กฎหมาย​กำหนด
ข เพือ่ ​ความ​สะดวก​ใน​การ​สำรวจ​สำมะโน​ 20. กรณีที่​บุคคล​ทำ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​
สูญหาย​จะ​ตอง​แจง​บัตร​สูญหาย​ตอ​ผูใด
ประชากร
ก ผูใหญบาน
ค เพื่อ​ทราบ​จำนวน​ที่​อยูอาศัย​ของ​
ข แจงต​ อ​บุคคล​ใด​ก็ได
ประชากร​ใน​เขต​นั้น ๆ
ค นายอำเภอ​ประจำ​ทองที่
ง เพื่อ​เขาไป​ตรวจสอบ​การ​ปลูก​สรางบาน​ ง พนักงาน​เจาหนาที่​งาน​บัตร​ประจำตัว​
วา​ถูกตอง​ตามกฎหมาย​หรือไม ประชาชน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   181

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 10  กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​เด็ก

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. เอกสารสำคัญ​ใน​ขอ​ใด​ไม​เกี่ยวของ​กับ 5. ตอไปนี้​เปน​เด็ก​ที่​พึง​ไดรับ​การ​สงเคราะห​
​พระ​ราช​บัญญัติ​คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 ตามกฎหมาย​คุมครอง​เด็ก ยกเวน​ขอ​ใด
ก กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ก เด็กพิการ
ข อนุสัญญา​วาดวย​สิทธิ​เด็ก ข เด็ก​เรรอน
ค ประมวล​กฎหมายแพงแ​ ละ​พาณิชย ค เด็ก​ที่อยูใ​น​สภาพ​ยากลำบาก
ง แผน​พฒ ั นา​เศรษฐกิจแ​ ละ​สงั คม​แหงชาติ ง เด็ก​ทุกคน​พึง​ไดรับ​การ​สงเคราะห
2. ขอ​ใด​มใิ ช ​ความ​หมาย​ของ​เด็ก​ใน​พระ​ราช​- 6. เด็ก​แวน​หรือ​เด็ก​สกอย​ที่​ปรากฏ​ขาว​ตาม
บัญญัติ​คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 หนา​หนังสือ​พิมพ​ใน​ปจจุบัน เมื่อ​กระทำ
ก มายด​อายุ 7 ป​บริบูรณ ผิดกฎหมาย​บุคคล​ใด​จะ​ตอง​เขารวม​
ข ปูอ​ ายุ 17 ป​บริบูรณ ทำการ​สมรสแลว รับผิดดวย
ค หมูอ​ ายุ 15 ป​บริบูรณ​ทำบัตร ก บุพการี
ประจำ​ตัวประชาชน​แลว ข นายจาง
ง ทุก​ขอ​มิใช​ความ​หมาย​ของ​เด็กใ​น​ ค บิดามารดา
พระ​ราช​บัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็ก ง ผูแทน​โดย​ชอบธรรม
3. ผูปกครอง​ตาม​ความ​หมาย​ใน 7. ใคร​คอื เ​จาพนักงาน​ทม​ี่ อ​ี ำนาจ​หนาทีใ​่ น​การ​
พระ​ราชบัญญัติ​คุมครอง​เด็ก​พ.ศ. 2546 คุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก​ที่อยู​ใน​เขต​พื้นที่​
ตรง​กับ​ขอ​ใด ที่​รับผิดชอบ
ก บุพการี ก อัยการ
ข บิดามารดา ข ตำรวจ
ค ผูแทน​โดย​ชอบธรรม ค ผู​วาราชการ​จังหวัด
ง ทุก​ขอ​คือ​ผูปกครอง ง รัฐมนตรี​กระทรวง​พัฒนา​สังคม​
4. ผูป กครอง​จะ​กระทำ​สง่ิ ใ​ด​มไิ ด ต​ าม​พระ​ราช- และ​ความ​มั่นคง​ของ​มนุษย
บัญญัติ​คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 8. หนวยงาน​ใด​ที่​ทำหนาที่​ให​ความ​คุมครอง
ก ใหการ​เลี้ยงดู​อยาง​ไม​เปนธรรม ​ฟนฟู​และ​พัฒนา​เด็ก
ข ทอดทิ้งเ​ด็กไ​ว​ใน​สถาน​รับ​เลี้ยงเด็ก ก สถาน​พินิจ
ค ให​บุคคลอื่น​ทำการ​อบรมสั่งสอน​แทน ข สถาน​แรก​รับ
ง ใหการ​ศึกษา​อบรม​โดย​ขัดตอค​ วาม ค สถาน​รับ​เลี้ยงเด็ก
ตองการ​ของ​เด็ก ง ทุก​ขอ​คือห​ นวยงาน​ทที่​ ำหนาที่
182   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
9. ศาล​ใด​ทม​ี่ อ​ี ำนาจ​ใน​การ​พจิ ารณา​พพ
ิ ากษา​ 10. ผูกระทำ​ความ​ผิด​ตาม​พระ​ราช​บัญญัติ​
คดี​ตามที่​กำหนด​ไว​ใน​พระ​ราช​บัญญัติ​ คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 ​มี​โทษ​อยางไร
คุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 ก จำคุก
ก ศาลแพง ข กักกัน
ข ศาลแขวง ค ริบทรัพย
ค ศาลอาญา ง ​ประหาร​ชีวิต
ง ศาลเยาวชน​และ​ครอบครัว
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   183

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 11  กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครอง​ผู​บริโภค

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ข้อใดมิใช่ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 5. สินค้าที่ควบคุมฉลากหมายถึงสินค้า
ก พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ประเภทใด
พ.ศ. 2522 ก สินค้าพื้นบ้านแปรรูป
ข พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี ข สินค้าที่ลอกเลียนแบบ
ผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ค สินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ
ค ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาคดีผบู้ ริโภค ง สินค้าที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่
ง ข้อ ก และ ข ถูก สุขภาพร่างกายหรือจิตใจ
2. หาก​มสี นิ ค้าทีอ่ าจเป็นอันตรายแก่ผบู้ ริโภค 6. ข้อใดถูก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุมครอง ก ธุรกิจทีถ่ กู ควบคุมสัญญาต้องทำสัญญา
ผูบ้ ริโภคจะตอ้ งดำเนินการตามขอ้ ใด เป็นหนังสือ
ก ชี้ให้เห็นถึงอันตรายในการบริโภค ข สัญญาซื้อขายหรือสัญญาให้บริการ
ข ทำการโฆษณาในข้อเท็จจริงไม่ปิดบัง ต้องทำเป็นหนังสือเสมอ
ค ทำการโฆษณาพร้อมกับให้คำแนะนำ ค การทำสัญญารับประกันสินค้าจะต้องทำ
หรือคำเตือนเกีย่ วกับวิธใี ชห้ รืออันตราย
เป็นหนังสือลงลายมือชือ่ เจ้าของกิจการ
ง ดำเนินการทุกข้อ
ง ไม่มีข้อใดถูก
3. ถ้าประชาชนต้องการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์
7. ถ้าผลการทดลองหรือพิสูจน์ปรากฏว่า
ในกรณีถกู เอารัดเอาเปรียบเกีย่ วกับสินค้า
สินคา้ นัน้ อาจเป็นอันตรายแกผ่ บู้ ริโภคและ
และบริการ จะยื่นเรื่องดังกล่าวได้ที่ใด
ไม่อาจป้องกันอันตรายที่จะเกิดจากสินค้า
ก สำนักนายกรัฐมนตรี
ข คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยฉลากได้จะต้องดำเนินการอย่างไร
ค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ก ห้ามขายสินค้านั้น
ง คณะกรรมการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ข ให้ทำลายสินค้านั้น
4. การนับ ชั่ง ตวง วัด ตรวจสินค้า และเก็บ ค ให้เปลี่ยนแปลงคุณภาพสินค้านั้น
หรือนำสินค้าในปริมาณพอสมควรเป็น ง สามารถ​ดำเนิน​การ​ไดทุกขอ
ตัวอย่างเพือ่ ทำการทดสอบโดยไม่ตอ้ งชำระ 8. คณะกรรมการชุดใดไม่เกี่ยวข้องกับ
ราคาสินค้าเป็นอำนาจหน้าที่ของใคร กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ก ตำรวจ ก คณะกรรมการว่าด้วยฉลาก
ข พนักงานเจ้าหน้าที่ ข คณะกรรมการว่าด้วยสัญญา
ค เจ้าพนักงานบังคับคดี ค คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา
ง เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ง คณะกรรมการว่าด้วยการอุทธรณ์
184   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
9. ข้อใดเป็นโทษทีผ่ ฝู้ า่ ฝืนกฎหมายคุม้ ครอง 10. กฎหมายในข้อใดที่กำหนดเกี่ยวกับการ
ผู้บริโภคจะได้รับ ดำเนินคดีคุ้มครองผู้บริโภค
ก เป็นลหุโทษ ก ประมวลกฎหมาย​วธิ พ​ี จิ ารณา​คดีผ​ บ​ู ริโภค
ข มีโทษทั้งทางแพ่งและทางอาญา ข พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
ค มีโทษทางแพ่งคือการชดใช้ค่าเสียหาย พ.ศ. 2522
ง มีโทษทางอาญาทั้งโทษจำคุกและโทษ ค พระราชบัญญัติวิธี​พิจารณา​คดี​
ปรับ ผู​บริโภค พ.ศ. 2551
ง ข้อ ก และ ข ถูก
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   185

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 12  กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการ​ทหาร

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. แดนมีอายุย่างเข้าปีที่ 18 ในวันที่ 30 4. ใครคือทหารกองหนุน
กันยายน พ.ศ. 2554 เขาจะต้องไปแสดง ก นายดำอายุ 30 ปี และรับราชการทหาร
ตนเพื่อลงบัญชีทหารกองเกิน ณ สถานที่ อยู่ในปัจจุบัน
ใด ข นายเขียวอายุ 19 ปี และรับราชการใน
ก อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี กระทรวง​กลาโหม
ซึ่งเป็นภูมิลำเนาของบิดา ค นายแดงอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ได้ขึ้น
ข อำเภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท ร- บัญชีทหารกองเกินไว้แล้ว
ปราการ ซึ่งเป็นภูมิลำเนาของตน​เอง ง นายตาลอายุ 24 ปี เปนอดีตทหารเกณฑ
ค เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็น ทีป่ ลดจากกองประจำการแลว
ภูมิลำเนาของยายซึ่งเป็นผู้ปกครอง 5. ข้อใดไม่ใช่ บุคคลที่เมื่อลงบัญชีทหาร
ง อำเภอพระประแดง อำเภอบางปลาม้า กองเกินแล้วไม่ต้องถูกเรียกมาตรวจเลือก
หรือ​เขต​พระนครก็ได้แล้วแต่ความ เข้ารับราชการทหารกองประจำการในยาม
สะดวก ปกติ หรืออาจกล่าวได้วา่ ไม่ตอ้ งมาคัดเลือก
ทหารตราบที่ยังมีสถานภาพเช่นนั้นอยู่
2. ผู้ใดไม่ต้องไปแสดงตนเพื่อขึ้นทะเบียน ก นักเรียนเตรียมทหารอมรเทพ ภาสุทัต
ทหารกองเกินต่อนายอำเภอ แต่จะมี ข นายแดงขาขาดข้างขวา และตาบอด
พนักงานไปจัดการให้มีการขึ้นทะเบียน
ข้างซ้าย
ทหาร ณ สถานที่ที่เป็นที่อยู่ของบุคคลนั้น
ค บาทหลวงมีชัย ไวปรีชา แห่งนิกาย
ก สามเณรเปรียญ
โรมันคาธอลิก
ข ผู้ซึ่งอยู่ในระหว่างรอลงอาญา
ง นักโทษชายดีน้ อย ต้ องคำพิพากษา
ค สาวประเภทสองทีผ่ ่าตัดแปลงเพศแล้ว
ถึงที่สุดให้จำคุก 10 ปี
ง ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ทางภาคเหนือของไทย
6. ข้อใดมิใช่ “ภูมลิ ำเนาทหาร” ตามพระราช-
บัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2496
3. ชายไทยเมื่อมีอายุย่างเข้าปีที่ 18 จะต้อง
ก ภูมิลำเนาของบิดา
ไปแสดงตนเพื่อลงบัญชีทหารกองเกินที่
ข ภูมิลำเนาของมารดา
อำเภอ ซึง่ เป็นภูมลิ ำเนาของตน การกระทำ
ค ภูมิลำเนาของคู่สมรส
ดังกล่าวคืออะไร
ง ภูมิลำเนาของบุคคลที่จะต้องไปแสดง
ก สิทธิ ค เสรีภาพ
ตนเพื่อลงบัญชีทหารกองเกิน
ข หน้าที่ ง ความเสมอภาค
186   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
7. กฎหมายฉบับใดกำหนดให้ชายทีม่ สี ญ
ั ชาติ 9. บุคคลใดที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเข้า
ไทยมีหน้าที่รับราชการทหาร รับราชการทหารกองประจำการ
ก รัฐธรรมนูญ ก นักบวชศาสนาอื่น
ข ประกาศของคณะปฏิวัติ ข ครูซึ่งประจำทำการสอน
ค พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ค พระภิกษุเปรียญธรรม 9 ประโยค
ง พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร ง บุคคลซึ่งได้สัญชาติไทยโดยการแปลง
สัญชาติ
10. ผูใ้ ดทีถ่ กู คัดเลือกเข้ารับราชการเป็นทหาร
กองประจำการ แล้วมีสิทธิได้รับยกเว้นให้
เข้ารับราชการทหารน้อยกว่า 2 ปี
ก นายศรรามสำเร็จการฝึกวิชาทหารตาม
8. ใครคือทหารกองเกิน กฎหมายในหลักสูตรการฝึกชั้นปีที่ 2
ก นายมาอายุ 21 ปี ทหารที่ปลดจาก ข นายเอกรัตน์สำเร็จการฝึกวิชาทหารตาม
กองประจำการ กฎหมายในหลักสูตรการฝึกชั้นปีที่ 1
ข นายบัวอายุ 30 ปี และรับราชการทหาร ค นายเต๋าสำเร็จการฝึกวิชาทหารตาม
อยู่ในปัจจุบัน กฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสริมการฝกึ วิชา
ค นายม่วงอายุ 18 ปี และแสดงตนเพื่อ ทหารตามหลักสูตรการฝึกวิชาทหารชัน้
รับราชการทหารแล้ว ปีที่ 4
ง นายมั่งอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ได้ขึ้นบัญชี ง ทั้งนายศรรามและนายเอกรัตน์ได้รับ
ทหารกองเกินไว้แล้ว การยกเว้น
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   187

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 13  กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให โทษ

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. ปจจุบัน​ปญหา​ระดับชาติ​อันเปน​ปญหา​ 6. ผล​กระทบ​ตอ​สังคม​ที่​เปน​ปญหา​สำคัญอัน
ระหวาง​ประเทศ​ที่​ยัง​ไม​สามารถ​แกไข​ได ​เนือ่ ง​มา​จาก​เยาวชน​ตดิ ​ยาเสพติด​คอื ​ขอ ​ใด
คือ​ปญหา​ใด ก เปน​บอเกิดป​ ญหา​อาชญากรรม
ก ปญหา​โรคเรื้อน ข ทำให​เสีย​ทรัพยแ​ ละ​บั่นทอน​สุขภาพ
ข ปญหา​ยาเสพติด ค ทำลาย​ความ​สงบสุข​ของ​ทุก​คนใน​
ค ปญหา​การ​ไมรูหนังสือ ครอบครัว
ง ปญหา​การ​บกุ รุกท​ ดี่ นิ เ​พือ่ ท​ ำการ​เกษตร ง ถูก​ทุกข​ อ
2. ปจจุบันยาเสพติด​ที่​แพรระบาด​ใน​สังคม​
​ไทย​มากที่สุด​คือ​ขอ​ใด 7. การ​แกไข​ปญหายา​เสพติด​โดย​วิธีปองกัน
ก ยา​อี ค กัญชา มีหลักปฏิบัติ​อยางไร
ข ยาบา ง ยา​เลิฟ ก นำ​ผูกระทำ​ผิดม​ า​ลงโทษ
3. ผู​ครอบครอง​ยาบา​น้ำหนัก​250 กรัม ข บำบัด​รักษา​ผทู​ ี่​ติด​ยาเสพติด
จะ​ตอง​ได​รับโทษ​อยางไร ค ให​ความ​รูเรื่อง​ยาเสพติด​แก​ประชาชน
ก จำคุก 1–10 ป ง ใหป​ ลูกพืชเ​ศรษฐกิจท​ ดแทน​พชื เ​สพติด
ข จำคุก 5 ป ถึง​ตลอดชีวิต
ค ปรับ 50,000–100,000 บาท 8. วิธีการ​ใด​ที่​โครงการ​พระ​ราช​ดำริ​เกี่ยวกับ
ง จำคุก​ตลอดชีวิต หรือป​ ระหาร​ชีวิต การแกไข​ปญหา​ยาเสพติด​นำมาใช​เพื่อ
4. ฐาน​ความ​ผิด​ที่​มี​อัตรา​โทษ​สูงสุด​ตาม​ แกไขปญหา​ยาเสพติด​ใน​สังคม​ไทย
พระ​ราช​บัญญัติ​ยาเสพติด​ใหโทษ พ.ศ. ก บำบัด​รักษา​ผู​มี​ยาเสพติด
2522 คือ​อะไร และ​ถูกลงโทษ​อยางไร ข นำ​ตัว​ผูกระทำ​ผิด​มา​ลงโทษ
ก เปน​ผูเสพ–จำคุก​ตลอดชีวิต ค ให​ความ​รูเรื่อง​ยาเสพติด​แก​ประชาชน
ข มี​ไว​ใน​ครอบครอง–จำคุก​ตลอดชีพ ง ใหป​ ลูกพืชเ​ศรษฐกิจท​ ดแทน​พชื เ​สพติด
ค เปนผ​ รู บั จาง​ลกั ลอบ​ขนสง–ประหาร​ชวี ติ
ง มี​ไว​ใน​ครอบครอง​เพื่อ​จำหนาย– 9. อัตรา​โทษหนัก​ที่สุด​ใน​ความ​ผิด​เกี่ยวกับ​
ประหาร​ชีวิต เฮโรอีน​คือ​ขอ​ใด
5. ยาเสพติดใ​หโทษ​ชนิดใ​ด​มโ​ี ทษ​รา ยแรงทีส่ ดุ ก ประหาร​ชีวิต
​ เมื่อ​เสพ​เขาสู​รางกาย ข จำคุก​ตลอดชีวิต
ก ฝน ค ยาบา ค จำคุก​ไม​เกิน 10 ป
ข ยา​อี ง เฮโรอีน ง จำคุก​ตั้งแต 6 เดือน ถึง 1 ป
188   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
10. เพราะ​เหตุใด​อัตรา​โทษ​สูงสุด​ใน​ความ​ผิด​ 12. ขอใ​ด​เปนย​ าเสพติดท​ อ​ี่ อกฤทธิก​์ ด​ประสาท
เกี่ยวกับ​ยาเสพติด​ใหโทษ​ตาม​พระ​ราช​- ก ยาบา
บัญญัติ​ยาเสพติด​ใหโทษ พ.ศ. 2522 จึง​ ข ดี​เอ็ม​ที
กำหนด​ไว​เชนนั้น ค เฮโรอีน
ก เพราะ​กฎหมาย​ถือวา​ยาเสพติด​ใหโทษ​ ง โคคา​อีน
เปน​สิ่ง​ที่​มี​ราคาแพง 13. ผล​การ​ตรวจ​พสิ จู นห​ า​สารเสพติดใ​น​รา งกาย
ข เพราะ​การ​เสพ​ยาเสพติด​เปนการ​บอน โดย​การ​ตรวจ​ปสสาวะ​ของ​ผู​ตองสงสัย
ทำลาย​ความ​มั่นคง​ของ​ชาติ ผล​การ​ตรวจ​พิสูจน​จะ​มี​ลักษณะ​อยางไร
ค เพราะ​ยาเสพติด​เปนภัยร​ ายแรง​ตอ​ ก สี​ของ​ปสสาวะ​จะ​เปน​สีมวง
สุขภาพ​อนามัย ถาน​ ำไป​จำหนาย​ใหผ​ อู นื่ ​ ข สี​ของ​ปสสาวะ​จะ​เปน​สีเขียว
ไป​เสพ​เทากับ​เปนการ​ฆา​มนุษย​จำนวน​ ค สี​ของ​ปสสาวะ​จะ​เปน​สี​เหลือง​เขม
มาก
ง สี​ของ​ปสสาวะ​สามารถ​บอก​ชนิด​ของ​ยา​
ง ทุก​ขอ​เปนสาเหตุ​ของ​การ​กำหนด​โทษ​
ได
สูงสุด
14. ขอ​ใด​มิใช ​ยาเสพติด​ใหโทษ​ที่​เรียกวา​
11. แนวทาง​แกไข​มิ​ให​มี​การ​ปลูก​ฝน​ซึ่ง​เปน​
สารระเหย
ยาเสพติด​ธรรมชาติ​ที่​สำคัญที่สุด ที่​นำมา​
เปลีย่ นแปลง​ดว ย​วธิ ท​ี าง​เคมีเ​ปนเ​ฮโรอีนไ​ด ก ทินเนอร
ซึ่ง​รัฐบาล​ไทย​ได​ดำเนินการ​แลว​ไดผล​ดี​ ข ยาทาเล็บ
คือ​ขอ​ใด ค แอลกอฮอล
ก ปราบปราม​มิ​ใหม​ กี​ าร​ปลูกฝ​ น​หรือ​พืช​ ง น้ำมัน​ไฟแช็ก
เสพติดอ​ ื่น ๆ 15. การ​บำบัด​รักษา​ผูติดยา​เสพติด​ใน​ปจจุบัน​
ข จัดโ​ครงการ​ปลูกพืชเ​มือง​หนาว​ทดแทน​ มี​ระบบ​การ​รักษา​หลาย​ระบบ​ยกเวน​ขอ​ใด
การ​ปลูก​ฝน ก ระบบ​แกไข
ค กำหนด​โทษ​ให​สูงขึ้น​แก​ผู​ที่​กระทำ​ผิด​ ข ระบบ​บังคับ
เกี่ยวกับ​ยาเสพติด​ใหโทษ ค ระบบ​สมัครใจ
ง รัฐบาล​ดำเนินการ​ใน​ทุกกรณี ง ​ระบบ​ตองโทษ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   189

​แบบ​ทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลังเรียน
หนวยการเ​รียน​รูที่ 14  กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให โทษ

คำชี้แจง เลือกคำตอบ​ที่​ถูกตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1. การ​กระทำ​ใน​ลกั ษณะ​ใด​สว นใหญม​ กั จะ​มี 4. สุภาษิต​กฎหมาย​สากล​กลาว​ไว​วา “ความ​
​สาเหตุ​มาจาก​ความ​ไมรู​กฎหมาย​ของ​ ไมรก​ู ฎหมาย​ไมเ​ปนข​ อ แกตวั ” หมายความ
ประชาชน วา​อยางไร
ก การ​ตดั ไ​มใ​น​ทดี่ นิ ข​ อง​ตน​เอง เพือ่ เ​อามา​ ก นักก​ ฎหมาย​จะ​อา งวาไ​มรก​ู ฎหมาย​ไมได​
สรางบาน เลย
ข แม​ที่​จำใจ​ลัก​เล็ก​ขโมย​นอย เพื่อ​นำมา​ ข คน​ทุกคน​ตอง​เรียนรู​กฎหมาย​ให​เขาใจ​
เปน​คา​อาหาร​ให​ลูก อยาง​ถูกตอง
ค เกษตรกร​บุกรุก​พื้นที่​ปาสงวน เพื่อ​ใช​ ค ผู​ที่​สอบตก​วิชา​กฎหมาย​จะ​แกตัว​วา​
พื้น​ที่ทำการ​เพาะปลูก ไมเขาใจ​กฎหมาย​เสมอ
ง นายทุนเ​งินกูเ​ รียกเก็บด​ อกเบีย้ ใ​น​อตั รา​ ง เมื่อ​ทำผิด​กฎหมาย​แลวจะ​อางวา​ไมรู​
สูงกวา​ที่​กฎหมาย​กำหนด กฎหมาย​เพื่อใหพ​ นผิด​ไมได​
2. เพราะ​เหตุใด​กฎหมาย​จึง​ตอง​มี​ความ​
ยืดหยุน​ใน​การ​นำมาใช​บังคับ​ใน​สังคม
ก เพื่อ​ปองกันไ​ม​ใหเ​นื้อหา​สาระ​ของ​ 5. ใคร​คอื ผ​ ท​ู จ่ี ะ​ทำใหก​ ฎหมาย​มค​ี วาม​ศกั ดิส์ ทิ ธิ​์
กฎหมาย​ลาสมัย เปน​ที่ยอมรับ​และ​เชื่อถือ​ของ​มหาชน
ข เพือ่ เ​ปดโอกาส​ใหผ​ ใู ชก​ ฎหมาย​มอ​ี ำนาจ​ ก ตำรวจ
หนาที่​กวางขวาง ข ผูพิพากษา
ค เพื่อให​กฎหมาย​มี​ชอง​โหว​นอยที่สุด ค ทนายความ
และ​ไม​แกไข​บอย​เกินไป ง ประชาชน​ทุกคน
ง เพื่อ​ใหอำนาจ​รัฐ​มคี​ วาม​เปนอิสระ​
และ​คลองตัวใ​น​การ​บริหาร
3. กฎหมาย​ทมี่​ ี​ชอง​วาง​และ​ลาสมัย​จะ​เปน​ 6. อะไร​คอื ส​ าเหตุส​ ำคัญทีส่ ดุ ซ​ งึ่ น​ ำ​ไป​สปู ญ
 หา​
ชองทาง​แสวงหา​ผล​ประโยชน​ของ​บุคคล​ อาชญากรรม​อัน​เปน​ปญหา​รายแรง​ใน
กลุม​ใด​มาก​ที่สุด ​ สังคมไทย​ปจจุบัน
ก รัฐบาล ก ปญหา​ยาเสพติด
ข นัก​การเมือง ข ปญหา​การ​วางงาน
ค ผูใช​กฎหมาย ค ปญหา​ความ​ยากจน
ง ประชาชน​ทั่วไป ง ปญหา​การ​ฉอ​ราษฎร​บัง​หลวง
190   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
7. ปญหา​การ​ใชก​ ฎหมาย​ใน​สงั คม​ไทย​ปจ จุบนั 11. ปญหา​การ​ใช​อิทธิพล​หรือ​สิทธิ​พิเศษ​ใน​
ที่​เกิดผล​กระทบ​รุนแรง​ที่สุด​ตอ​ชีวิต​ความ​ ขอ​ใด​ที่​มัก​มี​ผู​อาง​เพื่อที่จะ​ไม​ตอง​ปฏิบัติ​
เปน อยูข​ อง​ประชาชน​มส​ี าเหตุม​ าจาก​ปญ  หา ตามกฎหมาย
​ใด ก ปฏิเสธ​วา​ไมรู​กฎหมาย
ก เจาหนาทีข​่ อง​รฐั ป​ ระพฤติม​ ชิ อบ​ในหนาที​่
ข อาง​ชื่อ​รัฐมนตรี​บางคน​ที่​ตน​รูจัก
ราชการ
ข ประชาชน​และ​เจาหนาทีข​่ อง​รฐั ไ​มเ​คารพ​ ค เปน​ญาติกับ​นัก​แสดง​ที่มีชื่อ​เสียง
กฎหมาย ง เปนห​ วั คะแนน​ใหก​ บั พ​ รรค​การ​เมืองใหญ
ค ความ​ลาชาใ​น​การ​สอบสวน​และ​การ​ 12. ราชกิจจานุเบกษา​คือ​อะไร
พิจารณา​คดี​ของ​ศาล ก หนังสือก​ ฎหมาย​สำคัญ​ของ​ทหาร
ง การ​พิสูจน​ความ​ผิด พยานบุคคล และ​ ข กฎหมาย​แมบท​ที่​ออก​โดย​ฝายบริหาร
ความ​ปลอดภัยข​ อง​พยาน ค ประกาศ​ของ​ทางราช​การ​ที่​ตองการ​
8. พยาน​หลักฐาน​ทส​ี่ ำคัญทีส่ ดุ ใ​น​คดีอาญา​ท​ี่ เผยแพรใ​ห​รู​ทั่ว
ผูกลาวหา​หรือ​โจทก​จะ​ตอง​นำมา​พิสูจน​
ง หนังสือข​ อง​ทาง​การ​ทเ​ี่ ผย​แพรกฎหมาย
ความ​ผิด​ของ​จำเลย​เพื่อให​ศาล​ตัดสิน​
ลงโทษ​จำเลย​คือ​อะไร ฉบับ​ตาง ๆ ท​ ี่​ออกมาบังคับใชไป​ยัง​
ก พยานวัตถุ​และ​พยานบุคคล สวน​ราชการ​และ​ประชาชน
ข พยานเอกสาร​และ​พยานวัตถุ 13. ปจจุบัน​ศาล​ไทย​ใช​ระบบ​ใด​ใน​การ​พิสูจน​
ค พยานบุคคล​และ​พยานเอกสาร ความ​ผิด​ของ​จำเลย
ง ทัง้ พ​ ยานเอกสาร พยานวัตถุ และ​พยาน ก ระบบ​พยาน
บุคคล​ประกอบ​กัน ข ระบบ​ลูกขุน
9. ขั้นตอน​ตาง ๆ ที่​กฎหมาย​กำหนด​ไว กอ​
ค ระบบ​กลาวหา
ให​เกิด​ปญหา​ใน​ขอ​ใด​มาก​ที่สุด
ก ปญหา​เกี่ยวกับพ​ ยาน​และ​หลักฐาน ง ระบบ​พิสูจน​ความ​จริง
ข เจาหนาทีข่​ อง​รัฐท​ ี่​เกี่ยวของ​กับ 14. เพราะ​เหตุใด​จงึ ม​ ค​ี ำ​กลาว​ทวี่ า “ความ​ไมร​ู
​กระบวนการ​ยุติธรรม​รับสินบน กฎหมาย ไม​เปน​ขอแกตัว”
ค ความ​ลาชาใ​น​การ​สอบสวน​และ​การ​ ก เพราะ​กฎหมาย​ทอ​ี่ อกมา​จะ​ตอ ง​ใชบ​ งั คับ​
พิจารณา​คดีข​ อง​ศาล​ใน​คดีต​ าง ๆ แก​ทุกคน
ง โจทก​และ​จำเลย​ตองหา​ทนายความ ข เพราะ​กฎหมาย​ที่​ออกมา​ทุก​ฉบับ​
​มา​ตอสู​กันใ​น​ศาล​จนกวาฝ​ าย​ใด​ ประชาชน​จะ​ตอง​รแู​ ละ​ปฏิบัติ​ตาม
จะ​ไดรับ​ชัยชนะ
ค เพราะ​ประเทศชาติ​ตอง​มี​กฎหมาย​เพื่อ​
10. ขั้นตอน​ใน​การ​พิจารณา​คดีอาญา​ตามที่​
กฎหมาย​กำหนด​ไว ขัน้ ตอน​ใด​ทก​ี่ อ ใ​หเ​กิด​ แกปญหา​ขอขัดแยง​ที่​เกิดขึ้น
ปญหา​มาก​ที่สุด ง เพราะ​กฎหมาย​ทุก​ฉบับ​ประชาชน​
ก การ​คุมขัง ค การ​สืบสวน จะตอง​รู​และ​ปฏิบัติ​ตาม​และ​ตอง​ใช​
ข การ​จับกุม ง การ​สอบสวน บังคับแกท​ ุกคน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   191

15. “ความ​ยตุ ธิ รรม​ตามกฎหมาย อาจจะ​ไมใช​ 18. ใน​กรณีที่​มี​การ​จับกุม​ผูตองหา​ผิด​คน​มา​


ความ​ยตุ ธิ รรม​ตาม​ความ​เปนจริง” ขอความ​ ลงโทษ​ตาม​กระบวนการ​ยตุ ธิ รรม​ของ​
ดังกลาว​นาจะ​ตรง​กับ​คดี​ใน​ขอใด บานเมือง​ตามทีเ​่ ปนข​ า ว​ใน​หนาห​ นังสือพ
​ มิ พ​
ก คดี​บุกรุก​ที่​ปาเ​ขา​ยาย​เที่ยง แสดงใหเห็น​ถึง​สิ่ง​ใด​ตอไปนี้
ข คดี​จางวาน​ฆา​เชอรี่แอน ดันแคน ที​ม่ ี​ ก เจาหนาทีบ​่ า นเมือง​ปฏิบตั ส​ิ อง​มาตรฐาน
การ​จับ​ผบู​ ริสุทธิ์​เขาคุก ข เจาหนาทีบ​่ า นเมือง​ขาด​ความ​รบั ผิดชอบ​
ค คดี​เพชร​ซาอุฯ ทีม่​ ตี​ ำรวจ​ชั้น​ผูใหญ​เขา ตอห​ นาที่
ไป​เกี่ยวของ​ใน​คดี​หลาย​คน ค ความ​ยุติธรรม​ตามกฎหมาย อาจ​ไมใช​
ความ​ยุติธรรม​ที่​แทจริงก​ ็ได
ง คดี​วิสามัญโ​จ ดานชาง และ​พรรคพวก​
ง ถูก​ทุกข​ อ
ทั้งหมด 6 ศพ ทีจ่​ ังหวัด​สุพรรณบุรี
19. ขอ​ใด​ถูกตอง
ก กฎหมาย​ตอง​ใช​บังคับ​ได​ถาวร
16. ความ​ยตุ ธิ รรม​ตามกฎหมาย​อาจ​ไมใช ค​ วาม​ เปลี่ยนแปลง​ไมได
ยุติธรรม​ที่​แทจริง​ก็ได เพราะอะไร ข กฎหมาย​ไทย​สมัย​อยุธยา​สวนใหญ​ได
ก ความ​ยุติธรรม​คือค​ วาม​พอใจ รับ​อิทธิพล​มาจาก​ชนชาติ​ขอม
ข ฝาย​ที่​ถูก​อาจ​เปนผ​ ูแพ​คดีก​ ็ได ค กฎหมาย​ลาสมัย​เปน​กฎหมาย​เกา​ที่​ยัง​
ค กฎหมาย​เอื้อ​ประโยชน​ตอ​ฝาย​จำเลย​ สอดคลองกับ​สภาพสังคม​ใน​ปจจุบัน
เสมอ ง กฎหมาย​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ เพราะ​
ง ผูมีอำนาจ​ใน​สังคม​จะ​มี​สิทธิ​พิเศษ​ตาม ตองการ​ให​คนใน​สังคม​อยู​ใน​ระเบียบ
กฎหมาย​เสมอ ของสังคม
20. ขอใ​ด​เปนปญหา​ของกฎหมาย​ไทยทีเ​่ กิดข​ นึ้ ​
17. อาชญากรรม​ที่​เกิดขึ้น​ใน​สังคม​ปจจุบัน มี​ จาก​ตัว​บทกฎหมาย
สาเหตุ​มาจาก​ปญหา​ใด​มาก​ที่สุด ก ประชาชน​หลีก​เลี่ยง​กฎหมาย
ก ปญหา​เด็กจรจัด ข ​ขอความ​ในกฎหมาย​มี​ความคลุมเครือ
ข ปญหา​ยาเสพติด ไมชัดเจน
ค ปญหา​การ​หยาราง ค ​ประชาชน​ขา​ดความ​รูความ​เขาใจ​
ง ปญหา​การ​ฉอ​ราษฎร​บังห​ ลวง ในเรื่อง​กฎหมาย
ง ​เจาพนักงาน​ผูใชกฎหมาย​นำ​กฎหมาย
มาเปนเครื่องมือ​ขมเหง​ประชาชน
192   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

7. แบบ​ทดสอบ​ปลาย​ป

​แ บบ​ท ดสอบปลาย​ป 
ด้านความรู้
ตอนที่ 1 ​เลือก​คำตอบ​ที่​ถูก​ตอง​ที่สุด​เพียง​คำตอบ​เดียว
1.​ ​กฎหมาย​มี​ลักษณะ​สำคัญ​อยางไร ​ 4​.​ ​กฎหมาย​ที่​ใช​บังคับ​ใน​ปจจุบัน​สวน​ใหญ​
​ ก ​เปน​คำ​สั่ง​ที่​ทุกคน​ตอง​ปฏิบัติ​ตาม มี​ที่มา​จาก​อะไร
​ ข ​เปน​บอเกิด​ของ​ความ​เจริญ​ใน​สังคม ​ ก ​ศีลธรรม
​ค ​ประมุขข​ อง​รัฐ​เทา​นั้นท​ ี่​เปน​ผู​ตรา ​ ข ​ความ​เชื่อ
กฎหมาย ​ ​ ค ​จารีตป​ ระเพณี ​​​​​​
​ง ​เปนค​ ำ​สงั่ ห​ รือข​ อ บังคับท​ ม​ี่ ข​ี อ ย​ กเวนใ​ห​ ​ ง ​ผูมีอำนาจ​ปกครอง​รัฐ
บุคคล​บาง​ประเภท ​ 5​. ​ ​“​กฎหมาย​ตอง​เปน​คำ​สั่งของ​รัฏฐาธิปตย”​
ขอความ​นม​ี้ คี วามหมาย​สอดคลองกับข​ อ ใ​ด
​ ก ​พระม​หา​กษัตริยท​ รง​ตรา​พระ​ราช​บญ ั ญัติ
​2​.​​ ​เพราะ​เหตุ​ใด​บุคคล​จึง​กลา​ฝาฝน​ขอหาม​ ​ข ​นายกรั ฐ มนตรี ​ป ระกาศ​ใ ช ​พ ระราช-
ทาง​ศาสนา ​ศีลธรรม ​ตลอดจน​ กำหนด
​ ค ​เจาของ​บริษัท​สั่ง​ให​พนักงาน​แตง​
จารีตประเพณี​มากกวา​กฎหมาย
เครื่อง​แบบ​ทุกคน
​ ก ​ศาสนา​มี​ความ​เครงครัดน​ อยลง
​ ง ​ผู​อำนวยการ​โรงเรียน​สั่ง​ให​ครู​เขมงวด​
​ ข ​กฎหมาย​มี​สภาพ​บังคับท​ ี่รุน​แรง​กวา
เรื่อง​ความ​ประพฤติข​ อง​นักเรียน
​ ค ​สังคม​เจริญ​ขึ้นศ​ าสนา​มี​ความ​สำคัญ​
​6​. กฎหมาย​ที่​ใช​อยู​ในประเทศ​ไทย​ใน​
นอยลง ปจจุบัน​มี​ที่มา​อยางไร
​ ง ​กฎหมาย​เปนเรื่อง​ของโลก​ปจจุบัน ​ ​ ก ​มาจาก​จารีต​ประเพณี
ศาสนา​เปนเรื่อง​ของ​โลกหนา ​ข ​มาจาก​ฝาย​นิติบัญญัติ
​ค ​มาจาก​คำ​พิพากษา​ของ​ศาล
​ง ​มาจาก​การ​บญ ั ญัตข​ิ อง​องคกร​ทม​ี่ อ​ี ำนาจ​
​ 3​.​ ​ใน​สังคม​ชน​เผา​ของ​มนุษย​ใน​ยุค​เริ่ม​แรก​ ใน​การ​ปกครอง
ใช​สิ่ง​ใด​ใน​การ​ควบคุม​พฤติกรรม​ของ​ ​ 7​.​ ข​ อ ใ​ด​มใ​ิ ช ก​ ฎหมาย​ทบ​ี่ ญ
ั ญัตข​ิ นึ้ โ​ดย​องคกร​
สมาชิก​ใน​เผา ปกครอง​สวน​ทองถิ่น
​ ก ​กฎหมาย ​ก ​เทศบัญญัติ ​​​​​​​​​​​​​
​ ข ​คำ​สั่งของ​หัวหนา​เผา ​ข ​พระราชกำหนด ​
​ ค ​ความ​เชื่อ​เกี่ยวกับภ​ ูตผีปศาจ ​ ค ​ขอบัญญัตเิ​มือง​พัทยา
​ ง ​ไมมี​สิ่ง​ใด​เปน​ตัวควบคุม ​ ง ​ขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด ​​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   193

​ 8​.​ ก​ ฎหมาย​จารีตป​ ระเพณีส​ ามารถ​นำมา​ปรับ​ ​1​3​.​ ก​ ฎหมาย​เอกชน​ทบ​ี่ ญ ั ญัตถ​ิ งึ ค​ วาม​สมั พันธ​


ใชกับ​การ​พิจารณา​พิพากษา​คดี​ได​หรือ​ไม ระหวาง​บคุ คล​ในทาง​การ​คา ก​ ารอุตสาหกรรม
​ ก ​ได ​แต​เพื่อ​เปน​ประโยชนแ​ กผ​ ูตองหา​ คือ​กฎหมาย​ใด
เทา​นั้น ​ ก ​กฎหมาย​แพง ​​​​​​​​​
​ ข ​ ​ได ​เพราะ​ถา​ไมมี​กฎหมายลายลักษณ​ ​ ข ​กฎหมาย​พาณิชย ​​​​​
อักษรบัญญัติ​ไวก​ ็​ใชได ​ ค ​กฎหมาย​ปกครอง
​ ค ​ไมได ​เพราะ​กฎหมายอาญา​จะ​ตีความ​ ​ง ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ
เพื่อ​ลดโทษ​ไมได ​ 1​4​.​ ​คดี​ยักยอก​ทรัพย​ของ​ธนาคาร​กรุง​เทพ​-
​ ง ​ไมได​เลย ​เพราะ​กฎหมายอาญา​ตอง​ พาณิชย​การ​จน​ทำ​ให​กิจการ​ของ​ธนาคาร​
ตีความ​โดย​เครงครัด ตอง​ลม เลิกไป แ​ ละ​ผกู ระทำ​ความ​ผดิ ใ​น​คดี​
​ 9​.​ ​ประเทศ​ใด​ตอไปนี้​ใช​ระบบ​กฎหมาย​ หลบ​หนีไป​อยู​แคนาดา​ซึ่ง​ไทย​ไม​สามารถ​
ลายลักษณอ​ ักษรทั้งหมด รองขอ​ให​จับ​สง​ผูราย​ขาม​แดน​กลับ​มา​
​ ก ​ญี่ปุน–​เบลเยียม ​ ประเทศ​ไทย​ได ​เพราะ​เหตุ​ใด
​ ข ​อังกฤษ–​ฝรั่งเศส ​ ก ​ไมม​ขี อ ตกลง​เกีย่ วกับค​ ดีอาญา​ระหวาง​กนั
​ ค ​ไทย–​สหรัฐอเมริกา ​ ข ไ​มมข​ี อ ตกลง​เกีย่ วกับก​ ฎหมาย​ระหวาง​
​ ง ​เยอรมนี–​สหรัฐอเมริกา ประเทศ​แผนก​คดี​เมือง​ระหวาง​กัน ​
​ 1​0​.​ ​ขอ​ใด​เปน​กฎหมาย​ใน​สมัย​อยุธยา​ซึ่ง​เปน​ ​ ค ​ไมมข​ี อ ตกลง​เกีย่ วกับก​ ฎหมาย​ระหวาง​
กฎหมาย​ทมี่​ ี​ความ​สำคัญ​เทียบ​ได​กับ​ ประเทศ​แผนก​คดีอาญา​ระหวาง​กัน
รัฐธรรมนูญ​ใน​สมัย​ปจจุบัน ​ ​ ง ​ไมมขี​ อ ตกลง​เกีย่ วกับก​ ฎหมาย​ระหวาง​
​ ก ​พระ​ธัมสัตถัม ประเทศ​แผนก​คดี​บุคคล​ระหวาง​กัน
​ ข ​กฎมณเฑียรบาล ​​​​​​​​​​​​ ​ 1​5​.​ ​การ​แบงประเภท​ของ​กฎหมาย​ตาม​ความ​
​ ค ​กฎหมาย​ศักดินา สัมพันธข​ อง​คกู รณีท​ เ​ี่ กีย่ วของ​กบั ก​ ฎหมาย​
​ ง ​กฎหมาย​ตรา​สาม​ดวง ​ จะ​แบง​ได​ตาม​ขอ​ใด
​ 1​1​.​ ​กฎหมาย​ใด​เปนได​ทั้ง​กฎหมาย​มหาชน​ ​ ก ​กฎหมาย​เอกชน–​กฎหมาย​สาร​บัญญัติ
และ​กฎหมาย​วิธีส​บัญญัติ ​ ข ​กฎหมาย​มหาชน–​กฎหมาย​ระหวาง​
​ ก ​กฎหมาย​ปกครอง ประเทศ
​ข ​ประมวล​กฎหมายอาญา ​ ค ​กฎหมาย​สาร​บัญญัติ–​กฎหมาย​วิธี
​ ค ​ประมวล​กฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย ส​บัญญัติ
​ ง ​ประมวล​กฎหมาย​วธิ พ​ี จิ ารณา​ความ​อาญา ​ ง ​กฎหมาย​สาร​บญ ั ญัต–ิ ก​ ฎหมาย​ระหวาง​
​1​2​.​ ก​ าร​จะ​ดว​ู า อ​ งคกร​ตา ง ๆ​ ​ท​ เ​ี่ ปนผ​ ใ​ู ชอ​ ำนาจ​ ประเทศ ​
รัฐ​มี​ความ​สัมพันธ​กัน​อยางไร​จะ​ดู​ได​จาก​ ​ 1​6​.​ ใ​น​การ​จดั ทำ “​ ร​า งกฎหมาย”​จ​ ะ​ตอ ง​คำนึง​
กฎหมาย​ใด ​​​​​ ถึง​สิ่ง​ใด​เปนหลัก
​ ก ​รัฐธรรมนูญ ​​ ​ก ​แนวนโยบาย​แหง​รัฐ ​​​
​ข ​กฎหมาย​ปกครอง ​ ข ​ระบอบ​การ​ปกครอง
​ค ​พระ​ราช​บัญญัติ​ตาง ​ๆ​ ​ ค ​ลำดับชั้น​ของ​กฎหมาย
​ ง ​พระ​ธรรมนูญ​ศาลยุติธรรม ​ ง ​งบประมาณ​ของ​แผนดิน
194   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ 1​7​.​ ​ราชกิจจานุเบกษา​คือ​อะไร ​ 2​3​.​ ​ใน​การ​พิจารณา​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ตอไปนี้​
​ ก ​หนวยงาน​ที่​มีหนา​ที่​ออกกฎหมาย​ของ​ ตอง​พิจารณา​โดย​ดวน​และ​ลับ
ทาง​ราชการ ​ ก ​พระ​บรม​ราชโองการ
​ ข ​หนังสือ​ที่​ใชเ​ปน​สื่อ​ใน​การ​โฆษณา​ ​ ข ​ประกาศ​ของ​คณะปฏิวัติ
ผล​งาน​ของ​รัฐบาล ​ ค ​พระราชกำหนด​เกี่ยวกับภ​ าษีอากร
​ค ​หนวยงาน​ทม​ี่ หี นาท​ ปี่ ระกาศ​ขา วสาร​ของ​ และ​เงินตรา
ทาง​ราชการ ​ง ​พระ​ราช​บัญญัตเิ​กี่ยวกับ​การเงิน​
​ง ​หนังสือท​ ​ใ่ี ช​ประกาศ​กฎหมาย​และ​ขา วสาร และ​งบประมาณ
ของ​ทาง​ราชการ​เพื่อ​ใหป​ ระชาชน​รับรู
​ 1​8​.​ ​ขอ​ใด​ไม​ใช ​กฎหมาย​ที่​พระม​หา​กษัตริย​
ทรง​ตรา ​ 2​4​.​ ​การ​เสนอราง​ขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร
​ ก ​กฎกระทรวง ค ​พระ​ราช​บัญญัติ สวนจังหวัด เปน​อำนาจ​หนา​ที่​ของ​ใคร
​ข ​พระราชกำหนด ง ​พระ​ราช​กฤษฎีกา​​​ ​ ก ​สภาองคการ​บริหาร​สวนจังหวัด ​
​ 1​9​.​ ​กฎหมาย​ใด​ตอไปนี้​เปน​กฎหมาย​ที่​ นายกเทศมนตรี
พระ​มหากษัตริยท​ รง​ตรา​ขนึ้ โ​ดย​คำ​แนะนำ​ ​ข ​สภาองคการ​บริหาร​สวนจังหวัด
ของ​คณะ​รัฐมนตรี ผูวา​ราชการ​จังหวัด
​ ก ​รัฐธรรมนูญ ค ​พระ​ราช​กฤษฎีกา
​ ค ​ผูว​ าราชการ​จังหวัด ​รัฐมนตรี​วาการ​
​ ข ​พระ​ราช​บญ ั ญัต ิ ​ง ​พระ​บรม​ราชโองการ
มหาดไทย
​ 2​0​.​ ข​ อ ใ​ด​เปนความ​หมาย​ของ​ประมวล​กฎหมาย
​ง ​นายก​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด
​ ที่​ถูกตอง​ที่สุด
​สมาชิกส​ ภาองคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด
​ ก ​กฎหมาย​ทั่ว ​ๆ​​ไป ​​​
​ ข ​กฎหมาย​ลำดับ​รอง
​ ค ​กฎ​หมายเฉพาะ​เรื่อง
​ง ​​ ​กฎหมาย​ที่​รวมเปนห​ มวดหมู ​ 2​5​.​ ​เมื่อ​นำ​พระราชกำหนด​มา​พิจารณา​โดย​
​2​1​.​ ผูลงชื่อ​ตราราง​ขอบัญญัติ​เมืองพัท​ยา​ ขั้นตอน​ของ​การ​บัญญัติ​กฎหมาย​ของ​
คือ​ใคร รัฐสภา​แลว แ​ ตม​ ผ​ี ล​ทำ​ใหพ​ ระราชกำหนด​
​ ก ​นายก​เมืองพัท​ยา ​ ฉบับ​นั้น​ตก​ไป ​จะ​มี​ผล​กระทบ​อยางไร
​ ข ​สมาชิกสภา​เมืองพัท​ยา ​ ก ​พระราชกำหนด​นนั้ ม​ ฐ​ี านะ​เปนก​ ฎหมาย​
​ ค ​ประธาน​สภา​เมืองพัท​ยา ลำดับ​รอง
​ง ​ผู​วาราชการ​จังหวัดช​ ลบุรี ​ ข ​พระราชกำหนด​นั้น​มี​ฐานะ​เปน​
2​2​.​ ​ผู​มี​สิทธิ​เสนอ​ราง​พระราชกำหนด​ตาม​ที่​ พระราชกำหนด​ตามเดิม
บัญญัตไ​ิ วใ​น​รฐั ธรรมนูญฉ​ บับป​ จ จุบนั ค​ อื ใคร ​ ค ​เรื่อง​ที่​ดำเนินการ​ไป​แลว​ตาม
​ ก ​รัฐมนตรี พระราชกำหนด​นั้น​มี​ผล​สมบูรณ
​ ข ​สมาชิกว​ ุฒิสภา ​ง ​เรื่อง​ที่​ดำเนินการ​ไป​แลว​ตาม
​ ค ​ประชาชน​ทุกคน พระราชกำหนด​นั้น​ไมมีผล​ตาม
​ ง ​สมาชิก​รัฐสภา​ไม​นอยกวา 2​ ​0​​คน กฎหมาย ​ตั้งแ​ ตตน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   195

​ 2​6​.​ ​กฎหมาย​ทพ ​่ี ระม​หา​กษัตริย​ไ ด​ทรง​ลง​ ​ 2​9​. ​ บ​ คุ คล​ใด​ตอ ไปนีท​้ ต​ี่ ำรวจ​ไมมี อ​ ำนาจ​จบั กุม
พระ​ปรมาภิไธย​แลว ​หาก​มไิ ด​กำหนด​วนั ​ ​ ก ​นาย​ตรี​ขับ​รถชน​ผูอื่น​ไดรับ​บาดเจ็บ
ใชบงั คับเอา​ไว ​จะ​มี​ผล​บังคับ​ได​เมื่อ​ใด ​ สาหัส
​ก ​หลังจาก 1 ​เดือน ​นับแ​ ตว​ ันป​ ระกาศ​ ​ ข ​นายโท​เปนผ​ ตู​ องสงสัย​วา​จะ​ขมขืน​
ใน​ราช​นุเบกษา นางสาวดี้
​ ข ​ใน​วัน​ทไี่​ดต​ ีพิมพ​ลง​ใน​หนังสือ ​ ค ​นาย​จัตวา​เท​สิ่ง​ปฏิกูล​ลง​ใน​แมน้ำ​
ราชกิจจานุเบกษา เจาพระยา
​ ค ​ใน​วันถ​ ัดจาก​วัน​ทไี่​ดป​ ระกาศ​ใน ​ง ​นาย​เอกเปนล​ ูกหนี้​ของ​นาย​ตี๋
​ราชกิจจานุเบกษา แต​ไมยอม​ชำระหนี้​แก​นาย​ตี๋
​ ง ​ใน​วัน​ทพี่​ ระม​หา​กษัตริยท​ รง​ลง
​ พระ​ปรมาภิไธย​แลว​โดย​สมบูรณ ​ 3​0​.​ ​ขั้นตอน​แรก​ของ​กระบวนการ​ยุติธรรม​
​ 2​7​.​ ​การ​กระทำ​ใน​ขอ​ใด​ตอไปนี้​ตอง​ได​รับโทษ​ ใน​การ​ดำเนิน​คดีอาญา​คือ​อะไร
ใน​ราชอาณาจักร​ไทย ​ ก ​จับกุม​คุมขัง
​ ก ​คนไทยทำราย​รางกาย​คนจีน​บน​เรือ ​ ข ​สืบสวน​สอบสวน
สัญชาติ​อังกฤษ ในขณะ​ที่​เรือ​ลำ​นี้​ ​ ค ​สง​สำนวน​ฟองศาล
ลอยลำ​อยู​ใน​ทะเล​สากล ​ ง ​แจงความ​และ​จับกุม
​ ข ​เจาหนา​ที่​สถานทูต​ของ ​“​ประเทศ ​ก”​​
กระทำ​ผิด​ใน​ขอหา​ขมขืน​ขณะ​ท่​ีปฏิบัติ​ ​3​1​.​ ​คดี​ใด​ตอไปนี้​เปน​คดีอุทลุม
งาน​อยู​ใน​ประเทศไทย ​ก ​พุด​ฟอง​ขวด​ผู​เปน​ตา ​ใน​ฐาน​ที่​ไล​ตน​
​ ค ​เรือประมง​ของไทยชื่อ ​“เ​สริม​มงคล” ออกจาก​บาน
ทำการปลนทรัพย​เรือส​ ำราญ​ของไทย ​ ​ ข ​เข็ม​ฟอง​สม​ผเู​ปน​ยาย ​ใน​ฐาน​ทไี่​ม​แบง
ใน​ขณะ​ที่ลอยลำ​อยู​ใน​ทะเลหลวง มรดก​ให​ตน
​ ง ​การ​กระทำ​ทุก​ขอต​ อง​รับโทษ​ใน​ ​ ค ​แกวฟ​ อ ง​กลวย​มารดา​ของ​ตน​วา ไ​มยอม​
ราชอาณาจักร​ไทย สงเสียเ​ลีย้ งดูใ​นขณะ​ทต​ี่ น​ยงั เปนผ​ เู ยาว
​ 2​8​.​ ​นาย​ขาว​คน​ไทย​ลักทรัพย​นาย​จอหน​คน ​ ง ​ทุก​คดี​เปนค​ ดีอุทลุม
​อังกฤษ​ที่​ประเทศ​อังกฤษ ​แลว​นาย​ขาว​
เดินทาง​กลับป​ ระเทศ​ไทย ด​ งั นีห​้ าก​คดีม​ าสู​ ​ 3​2​.​ ​เมื่อ​ศาล​พิพากษา​ให​จำเลย​ชำระหนี้​ให​แก​
ศาล​ไทย ศ​ าล​จะ​ลงโทษ​นาย​ขาว​ไดห​ รือไ​ม​ โจทกแ​ ละ​คดีส​ น้ิ สุดลง​โดย​จำเลย​และ​โจทก​
เพราะ​เหตุ​ใด ไม​อุทธรณ ​หนวยงาน​ใด​จะ​ตอง​เขามา​
​ ก ​ไมได ​เพราะ​คน​ไทย​ไมใ​ช​ผูเสียหาย ดำเนินการ​ใหเ​ปนไปตาม​คำ​พพ ิ ากษา​ของ​
​ ข ​ไมได ​เพราะ​คดีไ​มได​เกิด​ในประเทศ​ไทย ศาล
​ ค ​ได ​เพราะ​การ​ลักทรัพย​เปนความ​ผิด​ ​ก ​กรม​ราชทัณฑ
ตามกฎหมาย​ไทย ​ ข ​กรม​บังคับค​ ดี
​ง ​ได ​เพราะ​นาย​ขาว​เปน​คน​ไทย​ตอง​อยู ​ ค ​สภา​ทนายความ
ภาย​ใต​กฎหมาย​ไทย​ไมวา ​จะ​อยู ​ณ ​ท​ใ่ี ด ​ ง ​สำนักงาน​ตำรวจ​แหงชาติ
196   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ 3​3​.​ ​เมื่อ​มี​ปญหา​ใน​ขอกฎหมาย​และ​ตอง​มี​การ​ ​3​6​.​ ก​ ฎหมาย​ทบ​ี่ ญ ั ญัตข​ิ นึ้ ม​ า​ใหม ถ​ า ม​ ข​ี อ ความ​
ตีความ​กฎหมาย​นั้น​เพื่อ​นำไป​ใช​บังคับ​ให​ ขัดแ​ ยงก​ บั ก​ ฎหมาย​เดิม ต​ าม​หลักการ​แลว​
เกิด​ความ​ยุติธรรม ​การ​ตีความ​นั้น​เปน​ จะ​ใช​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​บังคับ
หนา​ที่​ของ​ใคร ​ ก ​กฎหมาย​ที่​มี​อยูแ​ ตเดิม
​ก ​พระม​หา​กษัตริย ​ ข ​กฎหมาย​ที่​บัญญัตขิ​ ึ้น​มา​ใหม
​ ข ​ศาล​รัฐธรรมนูญ ​ค ​ให​ศาล​วินิจฉัย​ชี้ขาด​เปน​กรณี
​ ค ​คณะกรรมการ​กฤษฎีกา ​ง ​แลว​แต​ดุลยพินิจ​ของ​นัก​กฎหมาย
​ ง ​ทั้งข​ อ ​​ข ​​และ​ขอ ​​ค ​ 3​7​. ​ ​กฎหมาย​ใน​ขอ​ใด​ถูก​ยกเลิก​โดย​หลัก
กฎหมาย​ใหม ​เนื่องจาก​กฎหมาย​เกา​มี​
​ 3​4​.​ ก​ ฎหมายอาญา​มห​ี ลักเกณฑพ
​ เิ ศษ​แตกตาง​ ขอความ​ขัด​แยง​กัน
ไป​จาก​การ​ตคี วาม​ใน​กฎหมาย​อน่ื ๆ​ ​อ​ ยางไร ​ ก ​กฎหมาย​ทะเบียน​ราษฎร
​ก ​ตอง​ตีความ​ตาม​ตัวอักษร​เทา​นั้น ​ ข ประกาศ​ของ​คณะปฏิวัติ​เกี่ยวกับ​ระยะ
​ ข ​ตีความ​ตาม​เจตนารมณ​ของ​กฎหมาย เวลา​ใน​การ​ออก​นอก​เคหสถาน
​ค ​จะ​ตีความ​ไป​ในทาง​ที่​เปนโทษ​ ใน​ยามวิกาล
แกผูตองหา​หรือ​จำเลย​ไมได ​ ค การ​กำหนด​อายุ​ของ​ผมู​ ี​สิทธิ​เลือกตั้ง
​ง ​ตอง​ตีความ​อยาง​เครงครัด โ​ดย​ ใน​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ ​ฉบับ​ที่ ​1​5
เทียบเคียง​กับ​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี
และ​ฉบับ​ที่ ​16​ ​
​ ง ​เหตุ​หยา​ของ​สามี​และ​ภริยา​ใน​ประมวล​
​ 3​5​.​ ​ใน​ประมวล​กฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย ​
กฎหมาย​แพงแ​ ละ​พาณิชยฉ​ บับป​ จ จุบนั ​
มาตรา 4​ ​ที่​บัญญัติ​ไว​วา ​“​กฎหมาย​นั้น​
ทีม่​ ี​การ​แกไข​ใหม
ตอง​ใชใ​น​บรรดา​กรณีซ​ ง่ึ ต​ อ ง​ดว ย​บทบัญญัต​ิ
​ 3​8​.​ ​ขอ​ใด​คือ​จุด​เริ่มตน​และ​สิ้นสุด​ของ​
ใด ๆ​ ​แ​ หงก​ ฎหมาย​ตาม​ตวั อักษร.​..​​เมือ่ ไ​มม​ี
กระบวนการ​ยุติธรรม​ทาง​แพง
กฎหมาย​ทจ​่ี ะ​ยกมา​ปรับค​ ดีไ​ด ใ​หว​นิ จิ ฉัยค​ ดี​
นั้น​ตาม​จารีต​ประเพณี​แหง​ทองถิ่น”​​ ​ ก ​ตำรวจ–​ศาลฎีกา
หมายความวา​อยางไร ​ ข ​ประชาชน–​ศาลฎีกา
​ ก ​กฎหมาย​จารีต​ประเพณี​แหง​ทองถิ่น ​มี​ ​ ค ​ประชาชน–​กรม​ราชทัณฑ
ความ​สำคัญท​ ี่สุด ​ ง ​ทนายความ–​กรม​บังคับ​คดี
​ ข กฎหมาย​ที่​จะ​นำมา​ใชต​ ัดสินคดีไ​ด ​คือ​ ​ 3​9​.​ ใ​น​กรณีท​ จ​่ี ะ​ทำการ​ศกึ ษา​ถงึ ห​ ลักประ​กนั ส​ ทิ ธิ​
กฎหมาย​จารีต​ประเพณี และเสรีภาพ​ขั้น​มูลฐาน​ทั้งปวง​ของ​
​ ค ​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร ​มี​ที่​มาจาก​ ประชาชน ​เรา​ควร​ศึกษา​จาก​กฎหมาย​ใด
กฎหมาย​จารีต​ประเพณี ​ ก ​รัฐธรรมนูญ
​ง กฎหมาย​ที่​จะ​นำมา​ใชแ​ ทน​กฎหมาย​ ​ ข ​กฎหมาย​ปกครอง
ลายลักษณอ​ ักษร​ได​คือ ​กฎหมาย​ ​ ค ​ประมวล​กฎหมายอาญา
จารีตประเพณี ​ ง ​ประมวล​กฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   197

​ 4​0​.​ บ​ ทบัญญัตใ​ิ น​หมวด​ใด​ของ​รฐั ธรรมนูญฉ​ บับ​ ​ 4​4​.​ ​ขอ​ใด​ไม​ใช ​นิติกรรม​ฝายเดียว


ปจจุบนั ท​ แ​่ี ตกตางจาก​รฐั ธรรมนูญแ​ หงราช-​ ​ก ​การ​ให​โดย​เสนหา
อาณาจักร​ไทย พ ​ ทุ ธศักราช 2​ 5​ 4​ 0​ ​ม​ ากทีส่ ดุ ​ ข ​การ​ทำ​พินัยกรรม ​
​ ก ​พระม​หา​กษัตริย ​ ค ​การ​จด​ทะเบียน​รับรอง​บุตร
​ ข ​การ​ปกครอง​สวน​ทองถิ่น
​ ง ​การ​จด​ทะเบียน​รับ​บุตร​บุญธรรม
​ ค ​สิทธิ​และ​เสรีภาพ​ของ​ชน​ชาวไทย
​ ง ​จริยธรรม​ของ​ผู​ดำรง​ตำ​แหนง​ ​ 4​5​.​ ​นิติกรรม สัญญา​ใน​ขอ​ใด​มี​ผล​เปน​โมฆะ
ทาง​การเมือง​และ​เจาหนา​ที่​ของ​รัฐ ​ ​ ก ​เด็กชาย​ตยุ ท​ ำสัญญา​ซอื้ ท​ นี่ อน​จาก​รา น​
​ 4​1​.​ ​ขอ​ใด​คือ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​แรก​ของ​ไทย ขาย​ที่นอน ​
​ ก ​รัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​ไทย ​ ​ ข ​เด็กหญิง​ผิง​ทำ​พินัยกรรม​ยก​ทรัพยสิน​
พุทธศักราช 2​ ​5​4​0​ ของ​ตน​ให​มารดา ​
​ ข ​รัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​สยาม ​ ​ ค ​เด็กชาย​เอก​ทำการ​รับรอง​บุตร​ของ​ตน​
พุทธศักราช ​2​4​7​5​ โดย​ทำหนังสือ​รับรอง​บุตร​ตอหนา​นาย
​ค พระราชบัญญัตกิ​ าร​ปกครอง อำเภอ
แผนดิน​สยาม ​พุทธศักราช 2​ ​4​7​5​
​ง ​พระ​ราช​บัญญัติ​ธรรมนูญ​การ​ปกครอง​ ​ ง ​เด็กหญิง​กอย​ทำสัญญา​ซื้อขาย​บาน​กับ​
แผนดิน​สยาม​ชั่วคราว พ​ ุ​ทธศักราช นาง​กิ่ง ​โดย​บิดามารดา​ของ​เด็กหญิง​
2​4​7​5​ กอย​ยังม​ ิได​ให​ความ​ยินยอม
​ 4​2​.​ ​ใน​มาตรา ​1​3​0​​ของ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราช- ​ 4​6​.​ ข​ อ ใ​ด​เปนการ​ละเมิดต​ าม​ประมวล​กฎหมาย​
อาณาจักร​ไทย พ ​ ทุ ธศักราช 2​ 5​ 5​ 0​ ​ท​ บ​่ี ญ
ั ญัต​ิ แพง​และ​พาณิชย
วา “​ ใ​น​ทป่ี ระชุมส​ ภา​ผแ​ู ทน​ราษฎร ท​ ป่ี ระชุม ​ ก ​วรรณยุใ​ห​สุนัข​ของ​ตน​กัด​วีระ ​
​วุฒิสภา ​หรือ​ที่ประชุม​รวม​กัน​ของ​รัฐสภา​ ​ ข ​พัช​ชา​ไม​เลี้ยงดู​พีระ​ซึ่ง​เปน​บุตร​ของ​ตน
สมาชิก​ผู​ใด​จะ​กลาว​ถอยคำ​ในทาง​แถลง​ ​ ค ​แกว​หลับ​ใน​ขับรถ​พุงชน​ตนไม​ขางทาง​
ขอเท็จจริง แ​ สดง​ความ​คดิ เห็นห​ รืออ​ อกเสียง​
จน​รถ​เสีย
ลงคะ​แนน ย​ อ ม​เปน.​​.​​.​​โดย​เด็ดขาด ผ​ ใ​ู ดจะ​
นำไป​เปนเ​หตุฟ ​ อ งรอง​วา กลาว​สมาชิกผ​ นู นั้ ​ ​ ง ​ถูกท​ ุก​ขอ
ในทาง​ใด​มิได”​​ขอความ​หรือ​คำ​ใดที่​ควร ​ 4​7​.​ ​สัญญาประ​กันภัย​เปน​สัญญา​ที่​มี​ลักษณะ​
นำมา​เติม​ลง​ใน​ชอ งวาง อยางไร
​ ก ​เอกสิทธิ์ ค ​สิทธิ​มนุษย​ชน​ ​ ก ​สัญญา​ที่​ผูซื้อ​สินคา​นั้น​จะ​มี​กรรมสิทธิ์​
​ ข ​สิทธิบัตร ง ​สิทธิ​ประโยชน ใน​สนิ คาต​ อ เมือ่ ไ​ดช​ ำระ​ราคา​จน​ครบ​แลว
​ 4​3​.​ ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ปจจุบัน​กำหนด​เกี่ยวกับ​ ​ ข ​สัญญา​ที่​ผูรับประ​กันภัย​ตกลงวา​จะ​ใช​
รัฐสภา​ไว​อยางไร คาสินไหม​ทด​แทน​ให​เมื่อ​มี​วินาศภัย​
​ก ​เปนระบบ​สภา​เดียว​อยาง​แทจริง
เกิดขึ้น
​ ข เปนระบบ​3 สภา รวม​กันทำ​งาน
​ ค ​เปนระบบ 2​ ​ส​ ภา ค​ อื ส​ ภา​ผแ​ู ทน​ราษฎร​ ​ ค ​สัญญา​ทบี่​ ุคคล​หนึ่งร​ ับ​วา​จะชด​ใช​คา
และ​วุฒิสภา เสียหาย​ที่​เกิดขึ้น​หากวา​มี​การ​ทำผิด​
​ ง ​เปนระบบ ​2​ ​สภา ​ประกอบดวย​สภา สัญญา​เกิดขึ้น ​
​ผู​แทน​ราษฎร ​และ​องคมนตรีส​ ภา ​ ง ​ผิด​ทุกข​ อ
198   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​4​8​.​ อ​ อ ย​เขาไป​ปลูกบาน​อยูใ​ น​ทด่ี นิ ข​ อง​บมุ โ​ดย​ ​ 5​2​.​ ​การ​หมั้น​ใน​ขอ​ใด​มี​ผล​สมบูรณ​ตาม
มีก​ าร​แสดงเจตนา​ใหร​วู า ต​ น​เปนเ​จาของ​บา น กฎหมาย
​ และ​เจาของ​ท่ดี ิน​ดังกลาว ​และ​บุม​ก็​ไมได​ ​ ก ​พอ​แม​ของ ​น.​ส.​นารี​มอบ​บาน​ใหแ​ ก​พอ​
วากลาว​ใด ​ๆ​ ​เมือ่ ​ครบ ​1​0​ ​ป ​ออ ย​กไ็ ด​ แมข​ อง​นาย​ชาตรี เ​พือ่ เ​ปนห​ ลักฐาน​การ​
กรรมสิทธิ์​ใน​ท่ดี ิน​แปลง​น้ี ​กรณี​น้​ีออย​ได​ หมั้น​ของ ​น.​ส.​นารี​และ​นาย​ชาตรี
ที่ดิน​แปลง​น้ี​มา​เปน​กรรมสิทธิ์​ของ​ตน​ได​ ​ ข ​น.​ส.​อิ่ง​ออย​มอบ​แหวน​เพชร​ให​แก​นาย​
อยางไร นรินทร ​เพื่อประ​กัน​วา ​น.​ส.​อิ่งอ​ อย​จะ​
​ ก ​ภาระจำยอม ทำการ​สมรส​กับ​นาย​นรินทร ​
​ ข ​ลาภมิควรได ​ ค ​นาย​มงิ่ เ​มือง​มอบ​สญ ั ญา​เงินก​ ใ​ู หก​ บั น​ าย​
​ ค ​การ​จัดการ​งาน​นอก​สั่ง ทินกร ​ซง่ึ เ​ปนล​ กู หนีข​้ อง​ตน ​เพือ่ ประ​กนั
​ ง ​การ​ครอบครอง​ปรปกษ ​ วา​จะ​ทำการ​สมรส​กับ​ลูกสาว​ของ​นาย​
ทินกร
​4​9​.​ น​ าย​วนั ช​ ยั น​ ำ​เหรียญ 5​ ​บ​ าท ไ​ป​หยอด​ในตู​ ​ ง ​พอ​ของ​นาย​ปรีชา​มอบ​กำไล​หยก​ให​แก​
จำหนาย​นำ้ ดืม่ อ​ ตั โนมัตเ​ิ พือ่ ใ​หไ​ดน​ ำ้ ดืม่ 5​ แม​ของ น​ .​ส.​สาวิตรี ​เพื่อท​ ำการ​หมั้น
ลิตร ก​ าร​กระทำ​ของ​นาย​วนั ช​ ยั เ​ปนล​ กั ษณะ น.​ส.​สาวิตรีใ​หแ​ กน​ าย​ปรีชา​ตงั้ แ​ ตท​ งั้ สอง​
ยัง​อยูใ​น​ครรภ​มารดา
​ของ​การ​ทำสัญญา​ใน​ขอ​ใด
​ 5​3​.​ เ​ด็กท​ เ่ี กิดจ​ าก​บดิ ามารดา​ซง่ึ ม​ ไิ ดท​ ำการ​สมรส
​ ก ​สัญญา​เชาซื้อ
​โดย​ชอบ​ดว ย​กฎหมาย จ​ ะ​เปนบ​ ตุ ร​โดย​ชอบ​
​ ข ​สัญญา​ซื้อขาย
ดวย​กฎหมาย​ของ​บิดา​ได​ใน​กรณี​ใด
​ ค ​สัญญาจาง​ทำ​ของ
​ ก ​สูตบิ ตั ร​ของ​เด็กร​ะบุว​า เ​ด็กเ​ปนบ​ ตุ ร​ของตน
​ง ​สัญญา​แลกเปลี่ยน
​ ข ​บิดามารดา​ได​จด​ทะเบียนสมรส​กัน​
ภายหลัง
5​0​.​ ​ทรัพยสิน​ใด​ที่​สามารถ​จำนำ​ได ​ ค ​มีเ​อกสาร​ของ​บดิ า​แสดงวาเ​ด็กเ​ปนบ​ ตุ ร​
​ก ​สวนผลไม ของ​ตน
​ ข ​บาน​พรอม​ที่ดิน ​ ง ​มีพ​ ฤติการณป​ รากฏ​และ​ยอมรับก​ นั โ​ดย​
​ค ​ตั๋วเงิน​หรือ​ตั๋ว​สัญญา​ใช​เงิน ทั่วไป​วา​เปน​บุตร​ของ​บิดา
​ง ​สิทธิ​อาศัย​ใน​อสังหาริมทรัพย​ซึ่งไ​ด​ ​ 5​4​.​ ก​ าร​รบั บ​ ตุ ร​บญุ ธรรม​จะ​มผ​ี ล​สมบูรณเ​มือ่ ใ​ด
จด​ทะเบียน​ไว​แลว ​ ก ​เมื่อ​มี​การ​จด​ทะเบียน​รับ​บุตร​บุญธรรม
​ ข ​เมือ่ ผ​ รู บั บ​ ตุ ร​บญ ุ ธรรม​นำ​เด็กน​ น้ั ม​ า​เลีย้ ง
​5​1​.​ ​ทรัพยสนิ ​ใน​ขอ ​ใด​ซอ้ื ขาย​กนั ​ได​ตาม ​ เปนบ​ ุตร
กฎหมาย ​ ค ​เมื่อ​คูสมรส​ของ​ผูรับ​บุตร​บุญธรรม​ให​
​ ก ​ที่​ชายหาด ความ​ยินยอม ​
​ ข ​หุน​ของ​บริษัท ​ ง ​เมื่อ​พอ​แม​ของ​เด็ก​แสดง​ความ​ยินยอม​
​ ค ​ที่ดิน​รกราง​วางเปลา โดย​ทำเปนห​ นังสือม​ อบ​เด็กใ​หเ​ปนบ​ ตุ ร​
​ ง ​รถยนต​ของ​ทาง​ราชการ บุญธรรม​ของ​ผูรับ​บุตร​บุญธรรม​แลว
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   199

​ 5​5​.​ ​ทรัพยสิน​ใน​ขอ​ใด​เปน​สินสมรส ​ 5​9​.​ ​คำ​กลาว​ที่วา ​“​ไม​มีความผิด ​ไมมี​โทษ ​ถา​


​ ก ​แหวน​เพชร​ซึ่ง​เปนแ​ หวนหมั้นข​ อง ไมมี​กฎหมาย”​​หมาย​ถึง​อะไร
ภรรยา ​ ก ​ไมมก​ี ฎหมาย​ใด​ทบ​ี่ ญ ั ญัตค​ิ วาม​ผดิ แ​ ละ​
​ ข ​รถยนตท​ บ​ี่ ดิ า​ของ​สามีย​ ก​ใหแ​ กส​ ามีโ​ดย​ โทษ​ไว
เสนหา ​ ​ ข ​แม​ไมมี​กฎหมาย​บัญญัติ​วาการ​กระทำ​
ค ​ที่ดนิ ที​ภ่ รรยา​ซอื้ ม​ า​หลังจาก​ที่​สมรส​กบั ​ นั้น​เปนความ​ผิด​และ​กำหนด​โทษ​ไว ​ก็​
สามี​แลว สามารถ​ลงโทษ​ผูกระทำ​นั้น​ได ​
​ ง ​ที่ดิน​ของ​สามี​ที่​มารดา​สามี​ยก​ให​กอน​ ​ ค ​ถา​ไมมี​กฎหมาย​บัญญัติ​วาการ​กระทำ​
นัน้ เ​ปนความ​ผดิ แ​ ละ​กำหนด​โทษ​ไว จ​ ะ​
ทำการ​สมรส
ถือ​วาการ​กระทำ​นั้น​เปนความ​ผิด​และ​
ลงโทษ​ผูกระทำ​นั้น​ไมได
​ 5​6​.​ น​ ติ กิ รรม​ใน​ขอ ใ​ด​จะ​มผ​ี ล​เมือ่ ผ​ ทู ำ​นติ กิ รรม​ ​ ง ​ไมมี​คำ​ตอบ​ที่​ถูกตอง
นั้น​ตาย​แลว ​6​0​.​ ​วัฒนา​ถูก​ศาล​พิพากษา​ให​ประหาร​ชีวิต​ใน​
​ก ​เช็ค ความ​ผดิ ฐ​ าน​มย​ี าเสพติดไ​วใ​น​ครอบครอง​
​ ข ​ตั๋วเงิน เพือ่ จ​ ำหนาย ร​ ะหวาง​รอ​การ​ประหาร​มก​ี าร​
​ ค ​พินัยกรรม แกไข​กฎหมาย​ใหล​ งโทษ​ความ​ผดิ ด​ งั กลาว​
​ ง ​สัญญาประ​กัน​ชีวิต จาก​ประหาร​ชีวิต​มา​เปน​จำคุก​ตลอดชีวิต​
กฎหมาย​ทแ​่ี กไข​ใหมน​ ม​้ี ผี ลตอว​ฒ ั นา​หรือไ​ม
​ 5​7​.​ ​ใคร​มิ​ใช ​ผู​สืบสันดาน​ของ​เจาของ​มรดก ​ ก ​ไมมผี ล เ​พราะ​กฎหมาย​ไมมผี ล​ยอ นหลัง
​ ก ​บุตร​ของ​หลาน​เจาของ​มรดก ​ ข มี​ผล ตอง​เปลี่ยน​โทษประหาร​ชีวิต​เปน​
​ ข ​บุตร​นอกสมรส​ของ​เจาของ​มรดก ​ จำคุก​ตลอดชีวิต
​ ค ​ผูรับบ​ ุตร​บุญธรรม​ของ​เจาของ​มรดก ​ค มีผ​ ล ตอง​ปลอย​วฒ ั นา เ​พราะ​กฎหมาย​
​ ง ​ผูท​ ศ​ี่ าล​พพิ ากษา​วา เ​ปนบ​ ตุ ร​ของ​เจาของ​ ทั้งสอง​ฉบับ​แยง​กันเอง
มรดก ​ ง ไม​มี​ผล วัฒนา​ตอง​ไดรับ​โทษประหาร​
ชีวิต​ตามกฎหมาย​ฉบับ​เดิม ​เพราะ​
​5​8​.​ ​“​ผ​ใู ด​จะ​ตอ ง​รบั โทษ​ทางอาญา​ตอ เมือ่ ​ผ​นู น้ั ​ กฎหมาย​ใหม​มิได​ยกเลิกก​ ฎหมาย​เกา
​ 6​1​.​ ​ผู​ที่​ตอง​โทษปรับ ​แต​ไม​สามารถ​ชำระเงิน​
ตอง​มก​ี าร​กระทำ”​ค​ ำ​วา “​ ก​ าร​กระทำ”​ต​ าม​
คาปรับต​ าม​จำนวน​ได ผ​ น​ู นั้ ต​ อ ง​ปฏิบตั ห​ิ รือ​
ขอความ​ดงั กลาว​มคี วามหมาย​ตรง​กบั
ไดรับ​การ​ปฏิบัติ​อยางไร
พฤติกรรม​ใน​ขอ​ใด ​ ก ​ถูก​นำ​ตัว​ไป​กักขัง​ไว​ที่​สถานีตำรวจ
​ ก ​อุ​นอนละเมอ​ไป​ตบหนา​หนอย ​ แทน​คาปรับ
​ ข ​ชุมพร​คิด​และ​ตัดสิน​ใจ​วาจ​ ะ​ฆา​วินัย ​ ​ ข ​นำ​เงินม​ า​ผอนชำระ​ทั้งเ​งินตน​และ​
​ ค ​เทวัญ​ใช​เวทมนตร​บังคับ​ให​เทวี​ฆาตัว ดอกเบี้ยต​ อ​ศาล ​
ตาย ​ ค ถูกย​ ดึ ท​ รัพยสนิ แ​ ลวน​ ำมา​ขาย​ทอดตลาด
​ ง ​กิง่ ป​ ลอย​ใหล​ กู ชาย​คลาน​ตก​นำ้ ตาย โ​ดย ​ เพื่อช​ ำระ​ให​เจาหนี้
​ที่​ไมได​เปน​ผู​ผลัก ​แต​ก็​ไมได​ให​ความ​ ​ ง ​จะ​ตอง​ถูก​นำ​ทรัพยสิน​มา​มอบ​ใหแ​ ก​
ชวยเหลือ​ใด ​ๆ​ เจาหนา​ที่​ตำรวจ​เพื่อเ​ปนหลักประ​กัน
200   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ 6​2​.​ ​เกง​จาง​กอง​ไป​ฆา​นิด ​เมื่อ​กอง​รับ​คาจาง​ ​ 6​5​.​ ส​ าเหตุข​ อง​การ​กระทำ​ความ​ผดิ ใ​น​ขอ ใ​ด​จะ​
พรอม​ทง้ั ​ให​เกง​พาไป​ชต้ี วั ​เรียบรอย​แลว ​ถงึ ​ ทำ​ใหผ​ กู ระทำ​ความ​ผดิ ไ​ดร​บั โทษ​ทางอาญา
วัน​กำหนด​ท่​ีกอง​จะ​ลงมือ​ฆา​นิด ​กอง​เกิด​ ​ หนักขึ้น
เปลีย่ น​ใจ​สงสาร​นดิ แ​ ละ​ไดส​ ารภาพ​เรือ่ งราว​ ​ ก ​เจตนา ค ​พยายาม
ทัง้ หมด​ให​ตำรวจ​ทราบ ​กรณี​น​เ้ี กง​และ​กอ ง​ ​ ข ​ประมาท ง ​บันดาลโทสะ
จะ​ถกู ลงโทษ​ตามกฎหมาย​อยางไร ​ 6​6​.​ แ​ บม บ​ มุ บ​ มี ม​ เ​ี จตนา​รว ม​กนั ฆ​ า แ​ กว โ​ดย​
​ ก ​กอง​ถูกลงโทษ ​2​ ​ใน ​3​ ​ของ​โทษ​ที่​ แบม​ขบั รถ​ใหบ​ มุ เ​ปน ค​ น​ยงิ แ​ ละ​บมี เ​ปน ค​ น
กำหนด​ไว ​ เขาไป​ดว​ู า แ​ กวต​ าย​หรือไ​ม ห​ าก​ไมต​ าย​ใหยงิ
​ ข ​ทั้งเ​กง​และ​กอง​ถูกลงโทษ ​2​​ใน ​3​​ของ​ ซ้ำใ​หต​ าย บ​ คุ คล​ทง้ั ส​ าม​มพ ​ี ฤติกรรม​ตรง​กบั ​
โทษ​ที่​กำหนด​ไว ขอ​ใด
​ ค ​เกง​ถูกลงโทษ ​2​ ​ใน ​3​ ​ของ​โทษ​ที่​ ​ ก ​ตัวการ
กำหนด​ไว ​สวน​กอง​ไม​มีความผิด ​ข ​ตัวการ​รวม​
​ ง ​ทัง้ เ​กงแ​ ละ​กอ ง​ไมถ​ กู ลงโทษ เ​พราะ​กอ ง​ ค ​ผูส​ นับสนุน
ยัง​มิได​ลงมือกระทำ​ความ​ผิด ง ​ผูใชใหกระทำความผิด
​ 6​3​.​ ค​ วาม​ผดิ เ​กีย่ วกับท​ รัพยใ​น​ขอ ใ​ด​มโ​ี ทษหนัก​
​ 6​7​.​ ​การ​กระทำ​อัน​เปนความ​ผิด​ฐาน ​“​ผู​ใช”​
ที่สุด
ตามหลัก​กฎหมายอาญา​คือ​ขอ​ใด
​ ก ​ผู​ใด​ลักทรัพย​โดย​ฉกฉวย​เอา​ซึ่งหนา
​ ก ​เอ​ฆา​บี​เพื่อเ​อา​ใจ​ซี
​ข ​ผู​ใด​ชิงทรัพย​โดย​รวมมือก​ ัน​กระทำ​
​ ข ​แหวนยุ​ใหป​ น​ตบหนา​กอย
ความ​ผิด​ดวย​กันต​ ั้ง​แต 3​ ​​คน​ขึ้น​ไป
​ ค ​มิ่ง​กับ​มุน​รวมมือ​กัน​ปลน​ราน​ทอง
​ ค ​ผูใ​ ด​เอา​ทรัพยข​ อง​ผอู นื่ ห​ รือท​ ผ​ี่ อู นื่ เ​ปน​
​ ง ​ตุ​เปดบ​ าน​ของ​นายจาง​ให​แดง​เขาไป​
เจาของ​รวม​อยูด​ วย​ไป​โดย​ทุจริต ​
ลักทรัพย
​ง ​ผู​ใด​ลักทรัพย​โดย​ใชกำลัง​ประทุษราย​
หรือ​ขูเข็ญ​วา​ใน​ทัน​ใด​นั้น​จะ​ใชกำลัง​ ​ 6​8​.​ ​ครู​ลงโทษ​ศิษย​ตามสมควร​เพื่อ​วากลาว​
ประทุษราย สั่งสอน ​จะ​ตอง​รับผิด​ทางอาญา​หรือ​ไม ​
64. การก​ระทำ​ผิดในกรณี​ใด​ศาลอาจ​ลด​โทษ​ เพราะ​เหตุ​ใด
นอย​กวาท​ ก​ี่ ฎหมาย​กำหนด​ไวเพียง​ใด​กไ็ ด ​ ก ​ไม​ตอง​รับผิด ​เพราะ​มี​กฎหมาย​ยกเวน​
ก ตอยบันดาล​โทสะชก​ผูอื่นจ​ น​บาดเจ็บ โทษ​ให​ครู
สาหัส ​ ข ​ตอง​รับผิด ​เพราะ​เปนการ​ทำราย​ตาม​
ข นักศึกษา​อายุ 19 ป ใช​ปนย​ ิงค​ ูอริ หลักกฎหมาย
เสียชีวิต ​ ค ​ตอง​รับผิด ​เพราะ​บิดามารดา​หรือ​
ค เด็ก​นักเรียน​อายุ 15 ป ลัก​ทรัพยข​ อง ผูปกครอง​เทา​นั้น​ที่​จะ​ลงโทษ​บัตร​ได
โรงเรียน ​ง ​ไม​ตอง​รับผิด ​เพราะ​ไดรับ​มอบอำนาจ​
ง แกวลัก​ทรัพย​ผูอื่นโดยอางวาตน​เอง​ การ​ปกครอง​ดู​แล​จาก​บิดามารดา​หรือ​
ไมรูกฎหมาย ผูปกครอง​ของ​เด็ก
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   201

​6​9​.​ เ​หตุใ​ด​ทผ​ี่ กู ระทำ​ผดิ จ​ ะ​อา ง​ขนึ้ ต​ อ สูเ​ พือ่ ใ​ห​ 7​4​.​ ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ทะเบียน​ราษฎร​กำหนด​
พน​จาก​ความ​รับผิด​ได ให​ใคร​เปน​ผู​แจงเกิด ​กรณี​ที่​เปนการ​เกิด​
​ก ​อายุ​ของ​ผูกระทำ​ผิด นอกบาน
​ ข ​เพศ​ของ​ผูกระทำ​ผิด ​ก ​บิดา ค ​มารดา​บุญธรรม
​ ค ​อาชีพ​ของ​ผูกระทำ​ผิด ​ ข ​เจาบาน ​ง ​เจาหนา​ที่​อนามัย
​ ง ​การ​ศึกษา​ของ​ผูกระทำ​ผิด ​ 7​5​.​ ​บุคคล​ซึ่ง​มี​แต​ชื่อตัว ​ไมปรากฏ​ชื่อสกุล​ใน​
​ 7​0​.​ ​ความ​ผิด​ลหุโทษ​คือ​อะไร หลักฐาน​ทะเบียนบาน ป​ ระสงคจ​ ะ​ยนื่ ข​ อ​ม​ี
​ ก ​การ​ภาค​ทันฑ บัตร​ประจำตัว​ประชาชน ​จะ​ตอง​ปฏิบัติ​
​ ข ​ความ​ผิด​ทมี่​ ี​โทษ​สถาน​เบา ​
อยางไร​กอน​เปนลำดับ​แรก
​ ค ​ความ​ผดิ ร​า ย​แรง​แตไ​ดรบั ก​ าร​ผอ นโทษ​
​ ก ​เปลี่ยน​แปลง​รายการ​ใน​ทะเบียนบาน
ใหเ​บาลง
​ ง ​การ​พยายาม​กระทำ​ความ​ผิด​แต​ทำ​ไม ​ข ​ยืน่ ค​ ำขอ​มบ​ี ตั ร​ตอ พ​ นักงาน​เจาหนาท​ ไ​ี่ ว​
สำเร็จ จ​ ึง​ได​รับโทษ​สถาน​เบา เปน​หลักฐาน
​ 7​1​.​ ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ทะเบียน​ราษฎร​กำหนด​ ​ ค ​ตั้ง​ชื่อสกุล ​หรือ​ขอ​ใช​ชื่อสกุล​รวมกับ​
ให​ใคร​เปนผ​ ู​แจง​ยาย​กรณี​ที่​มี​บุคคล​ บุคคลอื่น​ให​เรียบรอย
ยาย​เขา​หรือ​ยายออกจาก​ทะเบียนบาน ​​ ​ ง ​แจงความ​ตอ​พนักงาน​เจาหนา​ที่​เพื่อ​ขอ​
​ ก ​เจาบาน ​​ มี​บัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน
​ข ​เจาของ​บาน ​7​6​. ​ ​กฎหมาย​คุมครอง​เด็ก​เปน​กฎหมาย​
​ ค ​บุคคล​ผู​ตองการ​ยาย ประเภท​ใด
​ ง ​บุคคล​ผูมีสวน​ไดเสียห​ รือเ​กี่ยวของ ​ ก ​กฎหมาย​แพง
​ 7​2​.​ ก​ รณีท​ ม​ี่ เ​ี ด็กเ​กิดใ​น​บา น ก​ ฎหมาย​ทะเบียน​ ​ ข ​กฎหมาย​เอกชน
ราษฎร​กำหนด​ให​ใคร​เปน​ผู​แจง​การ​เกิด ​ ค ​กฎหมาย​มหาชน
​ ก ​บิดา ค ​เจาบาน ​ ง ​กฎหมาย​วิธีสบ​ ัญญัติ
​ ข ​มารดา ง ​เจาหนา​ที่​อนามัย ​ 7​7​.​ ก​ าร​ปฏิบตั ต​ิ อ เ​ด็กไ​มวา ก​ รณีใ​ด ๆ​ ​ส​ งิ่ ส​ ำคัญ​
​ 7​3​.​ ก​ รณีท​ ม​่ี ค​ี น​ตาย​นอกบาน ก​ ฎหมาย​ทะเบียน ที่สุด​ที่​ควร​คำนึง​ถึง​คือ​อะไร
​ ราษฎร​กำหนด​ให​เจาบาน​ท​่ผี ตู าย​อาศัย​อยู​ ​ ก ​วัย​ของ​เด็ก
จะ​ตอ ง​ปฏิบัติ​อยางไร
​ ข ​การ​ศึกษา​ของ​เด็ก
​ ก ​กฎหมาย​ทะเบียน​ราษฎร​มไิ ดก​ ำหนด​ให​
​ ค ​ฐานะ​ทาง​สังคม​ของ​เด็ก
ปฏิบัติ​อยาง​ใด
​ ข ​เจาบาน​จะ​ตอง​ไป​แจง​การ​ตายภาย​ใน​ ​ง ​ประโยชน​สูงสุด​ที่​เด็กจ​ ะ​ไดรับ
ระยะเวลา​ที่​กฎหมาย​กำหนด ​ 7​8​.​ ​ผูลงนาม​รับสนอง​พระ​บรม​ราชโองการ​
​ ค ​เจาบาน​แจง​การ​ตาย​ตอต​ ำรวจ ​และ​นำ​ ในพระ​ราช​บัญญัติ​คุมครอง​เด็ก​ที่​ใช​อยู
หลักฐาน​การ​ตาย​ไป​ขอ​ใบ​มรณบัตร​จาก​ ในปจจุบัน​คือ​ใคร
นายทะเบียน​ทอง​ทที่​ ี่​มี​คน​ตาย ​ ก ​นาย​ชวน ​หลีก​ภัย
​ ง ​เจาบาน​ใหผ​ พ​ู บ​ศพ​แจงก​ าร​ตาย​ตอ น​ าย ​ ข ​นาย​อนันต ​ปน​ยาร​ชุน
ทะเบียน​ทอง​ที่​ที่​มี​คน​ตายภาย​ใน​ระยะ ​ค ​นาย​อภิสิทธิ์ ​เวช​ชา​ชีวะ ​
เวลา​ที่​กฎหมาย​กำหนด ​ ง ​พันตำรวจโท​ทักษิณ ช​ ิน​วัตร
202   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ 7​9​.​ ​ใคร​คือ​ประธาน​คณะกรรมการ​คุมครอง​ ​ 8​4​.​ ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครอง​ผูบริโภค​
สวัสดิภาพ​เด็ก ​ กำหนด​ให​สามารถ​อุทธรณ​คำ​สั่งของ​
​ ก ​ผู​วาราชการ​จังหวัด ​ คณะกรรมการ​เฉพาะ​เรือ่ ง​ไดภาย​ใน​กำหนด
​ ข ​ผูพิพากษา​ศาลเยาวชน​และ​ครอบครัว ระยะเวลา​เทา​ใด
​ ค ​ปลัด​กระทรวง​พัฒนา​สังคม​และ​ ​ ก ​7​​วัน ค ​1​5​​วัน
ความมั่นคง​ของ​มนุษย ​ ข ​1​0​​วัน ง ​3​0​​วัน​
​ง ​รัฐมนตรี​กระทรวง​พัฒนา​สังคม​และ​ ​ 8​5​.​ ​ผูพิพากษา​มี​บทบาท​เกี่ยวกับ​การ​ดำเนิน
ความ​มั่นคง​ของ​มนุษย ​​​ คดี​คุมครอง​ผูบริโภค​อยางไร
​ 8​0​.​ ​เพื่อ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​ที่​เหมาะสม​ ​ ก ​การ​สืบสวน
โรงเรียน​และ​สถานศึกษา​ตอง​จัด​สิ่ง​ใด​ ​ ข ​การ​สอบสวน
ตอไปนี้​ใหแ​ ก​นักเรียน​หรือ​นักศึกษา ​ ค ​แสวงหา​ขอเท็จจริง
​ ก ​กิจกรรม​บำเพ็ญป​ ระโยชน ​ง ​การ​ซักคาน​พยาน​เกี่ยวกับข​ อเท็จจริง
​ ข ​ฝกอบรม​จิต​และ​ปฏิบัตสิ​ มาธิ ​ 8​6​.​ ​การ​รับ​ราชการทหาร​ของ​ชาย​ไทย​ทุกคน​
​ ค ​จัด​ประชุมผ​ ูปกครอง​อยาง​สม่ำเสมอ ถูก​กำหนด​ไว​ใน​กฎหมาย​ฉบับ​ใด
​ง ​การ​แนะ​แนว​ใหคำปรึกษา​และ​ฝก อบรม ​ ก ​รัฐธรรมนูญ
​ 8​1​.​ ​ใคร​คือ​ประธาน​คณะกรรมการ​คุมครอง​
​ ข ​ประมวล​กฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย
ผูบริโภค
​ ค ​พระ​ราช​บัญญัตริ​ ับ​ราชการทหาร
​ ก ​อัยการ​สูงสุด ​
พ.ศ. 2497
​ ข ​นายกรัฐมนตรี
​ ง ​ขอ ​ก ​และ ​ค ​ถูก
​ ค ​ประธาน​ศาลปกครอง
​ง ​รัฐมนตรี​วาการ​กระทรวง​ยุติธรรม ​ 8​7​.​ ​บุคคล​ตอไปนี้ ​เมื่อ​ลงบัญชี​ทหาร​กองเกิน​
​8​2​.​ ​ประชาชน​ที่​เปน​ผูบริโภค​มี​สิทธิ​ไดรับ​การ​ แลว​ไม​ตอง​ถูก​เรียกตัว​มา​คัดเลือก​ทหาร​
คุมครอง​ใน​เรื่อง​ใด ตราบ​ที่​ยังมี​สถานภาพ​เชน​นั้น​อยู​ยกเวน​
​ก ​สิทธิท​ จ​่ี ะ​ไดรบั ค​ วาม​พอใจ​จากการ​ใชสนิ คา บุคคล​ใน​ขอ​ใด
​ข สิทธิ​ที่จะ​มีอิสระ​ใน​การ​เลือกหา​สินคา​ ​ ก ​นักเรียน​โรงเรียน​เตรียม​ทหาร
หรือ​บริการ ​ ข ​สาว​ประเภท​สอง​ที่​ผาตัดแ​ ปลงเพศ​แลว
​ ค สิทธิ​ที่​จะ​ไดรับ​ความ​สะดวก​ใน​การ​ใช​ ​ค ​ครูช​ าย​ใน​โรงเรียน​มธั ยมศึกษา​แหงห​ นึง่
สินคา​และ​บริการ ​ง ​บุคคล​ซึ่งไ​ดรับ​สัญชาติ​ไทย​โดย​การ​
​ ง ​สิทธิ​ที่​จะ​ไดรับ​ของสมนาคุณ​จาก​การ แปลง​สัญชาติ
บริโภคและ​บริการ ​ 8​8​.​ ​บุคคล​ใด​มิ​ได รับ​การ​ผอนผัน​ใน​การ​เขา​
​ 8​3​.​ ​สิ่ง​สำคัญ​ที่สุด​ที่​ตอง​ระบุ​ให​ผูบริโภค​ทราบ​ รับ​ราชการทหาร
เกี่ยวกับ​สินคา​คือ​อะไร ​ ก ​พระภิกษุ ​สามเณร
​ ก ​ราคา​สินคา ​ข ​นักเรียน​โรงเรียน​เตรียม​ทหาร
​ข ​วัน​เดือน​ปท​ ี่​ผลิต ​ ค ​กะเทย​ซึ่ง​ทำการ​ผาตัด​แปลงเพศ​แลว
​ ค ​วิธี​ใช​อยาง​ละเอียด ​ ง ​ครู​ซึ่ง​ทำ​หนา​ที่​สอนหนังสือ​ใน​โรงเรียน​
​ ง ​วัน​เดือน​ป​ที่​หมดอายุ อยูเ​ปนประจำ
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   203

​8​9​.​ ​รฐั ธรรมนูญ​กำหนด​ให​ชาย​ไทย​ท​อ่ี ายุ ​20​​ป​ ​ 9​4​.​ ​ยาบา ​มีชื่อ​เรียก​ทาง​ยา​วา​อะไร


บริบรู ณ ​หรือ​ยา งเขา​ป​ท ่ี ​21​​มหี นา​ท​จ่ี ะ​ตอ ง​ ​ ก ​ดีเฟด​รีน
ปฏิบตั ​อิ ยางไร​ตาม ​ข ​โคคา​อีน
​ ก ​เสีย​ภาษีอากร ค ​แอล​เอสดี
​ ข ​ปฏิบัติ​ตามกฎหมาย ง ​แอมเฟตามีน
​ค ​ทำ​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน ​ 9​5​. ​ ​การ​ปอง​กัน​ยาเสพติด​ให​กลุม​เยาวชน​และ​
​ ง ​แสดงตน​เพื่อ​เขาร​ ับ​ราชการทหาร สถานศึกษา​ใน​ปจ จุบนั อ​ ยูใ​ น​รปู ความ​รว มมือ​
​ 9​0​.​ ​ผู​ใด​ได​ลงบัญชี​ทหาร​กองเกิน​แลว​จะ​ถือวา​ กัน​ตาม​ขอ​ใด
เปน​ทหาร​กองเกิน​ตั้ง​แต​เมื่อ​ใด ​ก ​กลุม​เพื่อน​เพื่อเ​พื่อน ​​​​​​​​​​
​ ก ​เมื่อ​อายุ​ครบ 2​ ​0​ป​ ​บริบูรณ ​ ข ​โครงการ​ดินสอ​สีขาว
​ข ​ตั้ง​แตว​ ัน​ที่ ​1​​มกราคม​ของ​ป​ถัดไป ​ ค ​กลุม​ปลอด​ยาเสพติด
​ ค ​ตั้งแ​ ต​วัน​ที่​ไดล​ งชื่อ​ใน​บัญชีท​ หาร​ ​ ง ​โครงการ​โรงเรียน​สีขาว
กองเกิน ​ 9​6​. ​ ​ขอ​ใด​เปน​ปญหา​ที่เกิด​จาก​ผู​ใช​กฎหมาย​
​ ง ​ตั้ง​แตว​ ันท​ ี่ ​1​ ​มกราคม​ของ​ป​ที่​จะ​ตอง​ กระทำการ​ฉอ ร​ าษฎรบ​ งั ห​ ลวง​อยาง​ชดั เจน​
ลงบัญชีท​ หาร​กองเกิน ที่สุด
​ 9​1​.​ ข​ อ ใ​ด​เปนย​ าเสพติดป​ ระเภท 1​ ​ต​ าม​ทร​ี่ ะบุ​ ​ ก ​ประชาชน​ตั้ง​ศาลเตี้ย​เพื่อ​ตัดสิน​ปญหา​
ไว​ใน​พระ​ราช​บัญญัติ​ยาเสพติด​ใหโทษ ​​ ดวย​ตน​เอง ​
​ก ​ฝน ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​ข ​ศุลกากร​รวมมือ​กับ​พอคา​ขนสินคา​หนี
​ ข ​เฮโรอีน ภาษี​เขา​ประเทศ
​ ค ​มอรฟน ​ ​ ค ​ประชาชน​ตัด​ไม​ทำลายปา​เพราะ
​ ง ​อะ​ซี​ติด​แอน​ไฮ​ไดรด ​​​​​​​​​​​​​ ​เจาหนา​ที่​ดู​แล​ไม​ทั่ว​ถึง
​ 9​2​.​ ​พระ​ราช​บัญญัติ​ยาเสพติด​ใหโทษ ​พ.​ศ.​ ​ ง ​สรรพากร​เรียกเก็บภ​ าษีร​า นคาข​ อง​เพือ่ น​
​2​5​2​2​​กำหนด​ให ​“​ยาบา”​​เปน​ยาเสพติด​ ตน​เอง​นอยกวา​ราน​อื่น​ที่​มี​ขนาด​เดียว
ใหโทษ​ประเภท​ใด กัน
​ก ​ประเภท ​​1​ ค ​ประเภท ​​3​ ​9​7​.​ ​ศาล​ของ​ไทย​ใช​ระบบ​ใด​ใน​การ​ตัดสินคดี
​ข ​ประเภท ​​2​ ง ​ประเภท ​​4​ ​ ก ​จำเลย​ตอง​พิสูจน​ความ​บริสุทธิ์​ของ​ตน​
​ 9​3​.​ ​ฐาน​ความ​ผิด​ที่​เปนอัตรา​โทษ​สูงสุด​ตาม​ที่​ ใหศ​ าล​เชื่อ
พระ​ราช​บัญญัติ​ยาเสพติด​ใหโทษ ​พ.​ศ.​ ​ ข ​คณะลูกขุน​ตอง​ลงมติ​เปน​เอกฉันท​วา​
2​5​2​2​​กำหนด​ไว​คือ​อะไร จำเลย​มีความผิด​หรือไ​ม
​ ก ​เปน​ผูเสพ ​​​​​​​​​​​​ ​ ค ​โจทก​ตองหา​พยาน​หลักฐาน​มา​พิสูจน​
​ ข ​เปนผ​ ูรับจาง​ลักลอบ​ขนสง ​​​​​​​​​​ ความ​ผิดข​ อง​จำเลย​ใหศ​ าล​เชื่อ
​ ค ​มี​ยาเสพติด​ไวใ​น​ครอบครอง ​ ง ​โจทก​และ​จำเลย​ตองหา​ทนายความ​มา​
​ ง ​มี​ไว​ใน​ครอบครอง​เพื่อ​จำหนาย ​​​​​ ตอสูก​ ัน​ใน​ศาล​จนกวา​คดี​จะ​สิ้นสุด
204   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​ 9​8​.​ ​เปาหมาย​สำคัญ​ใน​การ​กำหนด​กฎหมาย ​ 9​9​.​ ​กรณี​ใด​ตอไปนีไ้​มมี ​กฎหมาย​อนุญาต​ให​
ขึ้น​มา​ใชกับ​คน​ใน​สังคม​คือ​อะไร กระทำ​ได
​ก ​เพื่อ​ให​ผูปกครอง​เอารัด​เอาเปรียบ​ ​ ก ​คดีอาญา​ที่​ศาลทหาร​เปน​ผูตัดสิน​
ประชาชน​ไดน​ อย​ที่สุด จะ​หาม​มิ​ให​มี​การ​อุทธรณฎ​ ีกา
​ ข ​เพื่อ​ให​คน​ใน​สังคม​ปฏิบัตติ​ าม​หลัก ​ ข ​ถา​จำเลย​ไมมี​คาปรับ​ให​เอา​ตัว​ไป​กักขัง​
ศาสนา​เครงครัดม​ ากขึ้น แทนใน​อัตรา​วัน​ละ ​2​00​ ​​บาท
​ ค ​เพื่อ​สงเสริม​อำนาจ​ของ​ฝายปกครอง​ ​ ค ​ทรัพยสนิ ซ​ ง่ึ ศ​ าล​มค​ี ำ​สง่ั ใ​หร​บิ ​คือ​ทรัพย​
บานเมือง​ใหเ​ดนชัดข​ ึ้น ​ ของกลาง​ที่​ใช​ใน​การ​กระทำ​ความ​ผิด
​ ง ​เพือ่ ค​ วาม​สงบสุขแ​ ละ​ความ​เปนร​ะเบียบ​ ​ ง ​จัดตัง้ ศ​ าล​ขน้ึ เ​พือ่ พ​ จิ ารณา​คดีใ​ด​คดีห​ นึง่ ​
เรียบรอย​ของ​สังคม หรือค​ ดี​ที่​มี​ขอหา​ฐาน​ใด​ฐาน​หนึ่ง​
โดยเฉพาะ
​ 1​0​0​.​ ขอ​ใด​คือ​ปญหา​ที่เกิด​จาก​ตัวบท​กฎหมาย​
ใน​สังคม​ไทย
​ก ​บท​ลงโทษ​ของ​กฎหมายรุน​แรง
​ข ​กฎหมาย​มมี​ าก​ฉบับ​และ​ซ้ำซอน​กัน
​ ค ​กระบวนการ​ยุติธรรม​มี​ขั้นตอน​ยุงยาก
​ง ​ผู​บังคับ​ใชก​ ฎหมาย​ขาด​ความ​ยุติธรรม

ตอนที่ 2 ​ตอบ​คำ​ถาม
1. กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​ของ​ไทย​มี​กี่​ประเภท อะไร​บาง
3 ประเภท ไดแก
1) กฎหมาย​ลายลักษณอ​ ักษร​ที่​บัญญัตขิ​ ึ้น​โดย​ฝาย​นิติบัญญัติ ไดแก รัฐธรรมนูญ ​พระ​ราช​บัญญัติ
และ​พระราชบัญญัตปิ​ ระกอบ​รัฐธรรมนูญ
2) กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ทบี่​ ัญญัติ​ขึ้น​โดย​ฝายบริหาร ไดแก พระราชกำหนด พระ​ราช​กฤษฎีกา
และ​กฎกระทร​วง
3) กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร​ทบี่​ ัญญัติ​ขึ้น​โดย​องคกร​ปกครอง​สวน​ทองถิ่น ไดแก เทศบัญญัติ
ขอบัญญัตอิ​ งคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด ขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล ขอบัญญัตกิ​ รุงเทพมหานคร
และ​ขอบัญญัตเิ​มืองพัทย​ า
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   205

2. การ​พิจารณา​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​จัดทำ​พระ​ราช​บัญญัตมิ​ ี​วิธีการ​อยางไรบาง
เริ่มจาก​การ​เสนอ​ราง​พระ​ราช​บัญญัติ​นั้น​ตอ​รัฐสภา โดย​ตอง​เสนอ​ตอ​สภา​ผูแทน​ราษฎร​กอน เมื่อ​สภา
ผ​ แู ทน​ราษฎร​พจิ ารณา​รา ง​พระ​ราช​บญ ั ญัตแ​ิ ละ​ลงมติเ​ห็นช​ อบแลว สภา​ผแู ทน​ราษฎร​จะ​เสนอ​รา ง​พระ​ราชบัญญัต​ิ
นัน้ ใ​หว​ ฒ
ุ สิ ภา​พจิ ารณา​ตอ เมือ่ ว​ ฒ
ุ สิ ภา​พจิ ารณา​รา ง​พระ​ราช​บญ
ั ญัตน​ิ นั้ แ​ ลว หาก​เห็นชอบ​ดว ย​ ใหน​ ายกรัฐมนตรี​
นำ​ขึ้น​ทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อ​ทรง​ลง​พระ​ปรมาภิไธย และ​ประกาศใช​เปน​พระ​ราช​บัญญัติ​ตอไป หาก​วุฒิสภา​
ไม​เห็นชอบ​ดวย​จะ​สง​คืนให​สภา​ผูแทน​ราษฎร​พิจารณา​ใหม หาก​สภา​ผูแทน​ราษฎร​ลงมติ​ยืนยัน​ราง​เดิม
ให​ถือวา​ราง​พระ​ราช​บัญญัติ​นั้น​ไดรับ​ความ​เห็นชอบ​จาก​รัฐสภา​แลว สามารถ​ดำเนินการ​ให​นายกรัฐมนตรี​
นำ​ขึ้น​ทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อ​ทรง​ลง​พระ​ปรมาภิไธย และ​ประกาศใช​เปนพ​ ระ​ราช​บัญญัติ​ตอไป

3. รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ปจจุบัน​กำหนด​ใหค​ ณะ​รัฐมนตรี​มี​โครงสราง​อยางไร และ​อำนาจ​หนาที่​ของ​


คณะ​รัฐมนตรีม​ ี​อะไร​บาง
คณะ​รัฐมนตรีป​ ระกอบดวย​นายกรัฐมนตรี 1 คน และ​รัฐมนตรี​อื่นอ​ ีกไ​ม​เกิน 35 คน รวมเปน​
คณะ​รัฐมนตรี จำนวน 36 คน มี​อำนาจ​หนาที่ ดังนี้
1) กำหนด​แนวนโยบาย​ใน​การ​บริหาร​ราชการ​แผนดิน
2) กำกับ​ดูแล​ให​หนวยงาน​ของ​รัฐ​บริหาร​ราชการ​แผนดินใ​ห​เปนไปตาม​นโยบาย​ที่​กำหนด​ไว
3) แตงตั้ง​ขาราชการ​ระดับสูงใ​น​หนวยราชการ​ตาง ๆ
4) แตงตั้ง​คณะกรรมการ​และ​ขาราชการ​ฝาย​ตาง ๆ
5) วาง​ระเบียบ​ปฏิบัติ​ราชการ​ทั่วไป

4. มานะ​ยืมเงิน​มานี 10,000 บาท ควร​ทำสัญญา​กู​ยืมเงิน​ไว​หรือไม เพราะอะไร


แนว​คำ​ตอบ
ควร​ทำสัญญา เพราะ
1) หาก​ฝาย​ใด​ฝาย​หนึ่งต​ อง​ตาย​จากไป​ก็​ยังมี​คน​รับผิดชอบ​ใน​เงินจ​ ำนวน​นี้
2) สัญญา​กย​ู มื เงินเ​ปนส​ ญ
ั ญา​ทก​ี่ ฎหมาย​ยอมรับ หาก​มานะ​ยงั ไ​มมเี งินค​ นื ใ​น​ขณะนีก​้ ต​็ อ ง​ใชคนื ใ​น​อนาคต
3) ถาหาก​มี​การ​ผิด​สัญญา​เกิดขึ้น​ก็​จะ​เปนห​ ลักฐาน​ใน​การ​ฟองคดี​ได
206   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
5. นาย​เอก​พูดจา​ขมขู​นาง​ราตรี​วา​จะ​บีบคอ​นาง​ราตรี​ให​ตาย หาก​ไมยอม​สง​เงิน​ที่​มี​อยู​ทั้งหมด​มา​ให​ตน
นาง​ราตรีเ​กิดค​ วาม​กลัวจ​ งึ ย​ นิ ยอม​นำ​เงินท​ งั้ หมด​ทต​ี่ น​มใ​ี หแ​ กน​ าย​เอก​ไป กรณีน​ น​ี้ าย​เอก​มคี วามผิดฐ​ าน​
ใด เพราะอะไร
มีความผิดฐ​ าน​กรรโชก เหตุผล​คือ นาย​เอก​ได​ขมขืนใจ​นาง​ราตรี​ให​มอบ​ทรัพยสิน​มา​ให​ตน โดย​ใชว​ ิธีการ​
ขู​วาจ​ ะ​ทำราย คือ ขมขู​วาจ​ ะ​บีบคอ จน​ทำใหน​ าง​ราตรี​ยอม​มอบ​ทรัพย​ให​แกต​ น

6. หาก​เพื่อน​ของ​นักเรียน​มีอายุ 17 ป แต​ยัง​ไมมบี​ ัตร​ประจำตัวป​ ระชาชน นักเรียน​ควร​แนะนำ​ให​เพื่อน​


ไป​ขอ​มี​บัตร​ประจำตัว​ประชาชน​ที่ใด และ​ใหเ​พื่อน​เตรียม​อะไร​ไป​บาง
ที่วาการ​อำเภอ ที่วาการ​กิ่งอ​ ำเภอ สำนักงาน​เขต สำนักงาน​เทศบาล หรือ​เมืองพัทย​ า แหงใด​แหง​หนึ่งก​ ็ได​
ตาม​ความ​สะดวก สำหรับห​ ลักฐาน เอกสาร และ​พยานบุคคล​ที่จะ​ตอง​เตรียม​ไป ไดแก
1) สูติบัตร
2) นำ​บิดา มารดา ผูปกครอง เจาบาน หรือ​บุคคล​ที่​นา​เชื่อถือ เชน กำนัน ผูใหญ​บาน ขาราชการ เปนตน
ไป​ใหค​ ำ​รับรอง​ตอ​เจาหนาที่

7. เมื่อ​นักเรียน​อายุ​ยางเขา 18 ป นักเรียน​มี​หนาที่​ตอง​ปฏิบัติ​ตาม​พระ​ราช​บัญญัติ​รับ​ราชการทหาร
พ.ศ. 2497 อยางไรบาง
ตอง​ไป​แสดง​ตน​เพือ่ ล​ ง​บญ
ั ชีท​ หารกองเกิน ณ อำเภอ​ทอ งทีท​่ ต​ี่ น​มภี มู ลิ ำเนา​ทหาร​อยูใ​ น​ปน นั้ ถาไ​มสามารถ​
ไปลง​บัญชี​ทหารกองเกิน​ได​ดวย​ตน​เอง ตองให​บุคคล​ที่​บรรลุนิติภาวะ​หรือ​บุคคล​ที่นาเชื่อถือ​ไดเปนผู
ดำเนิน​การ​แทน

คะแนน
สรุป​ผลการ​ประเมิน
เต็ม ได
ตอน​ที่ 1
ตอน​ที่ 2
รวม
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   207

ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ​คำนิยม


สำหรับ​ครู​ประเมิน​นักเรียน
คำชี้แจง  สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วใส่คะแนนลงในช่องว่างให้ตรงกับความเป็นจริง
รายการ คะแนน
พฤติกรรมที่แสดงออก หมายเหตุ
ประเมิน 3 2 1
1. มี​วินัย 1. มี​การ​วางแผนการ​ทำงาน​และ​จัด​ระบบ​การ​ทำงาน 3 หมายถึง
นักเรียน​แสดง
2. ทำงาน​ตาม​ขั้นตอน​ตาง ๆ ทีไ่​ด​วางแผน​ไว พฤติกรรม​นั้น
อยาง​สม่ำเสมอ
3. ตรวจสอบ​ความ​ถกู ตอง ความ​เรียบรอย หรือ​คณ
ุ ภาพ​ของ​งาน 2 หมายถึง
2. ใฝ​เรียนรู 4. มี​ความ​กร​ะตือรือรนแ​ ละ​สนใจ​ที่จะ​แสวง​หาความรู นักเรียน​แสดง
พฤติกรรม​นั้น
5. ชอบ​สนทนา ซักถาม ฟง หรืออ​ าน​เพื่อให​ไดค​ วามรู​เพิ่มขึ้น เปน​ครั้งคราว
1 หมายถึง
6. มี​ความ​สุขท​ ไี่​ด​เรียนรู​ใน​สิ่งท​ ตี่​ น​เอง​ตองการ​เรียนรู นักเรียน​แสดง
3. อยู​อยาง​พอ​เพียง 7. ใชจาย​ทรัพยสิน​ของ​ตน​เอง เชน เงิน เสื้อผา สิ่งของ อยางประหยัด พฤติกรรม​นั้น
นอย​ครั้ง
8. ใช​น้ำ ไฟฟา และ​ทรัพยากร​ธรรมชาติอ​ ื่น ๆ อยาง​ประหยัด​และคุมคา
9. มี​สวนรวม​ใน​การ​ดูแล​และ​รักษา​ทรัพยสินข​ อง​สวนรวม
4. รัก​ความ​เปนไทย 10. ใช​ภาษาไทย​ได​อยาง​ถูกตอง
11. รูจัก​ออนนอม​ถอมตน​และ​มี​สัมมาคารวะ
12. รวม​กิจกรรม​ที่สำคัญเ​กี่ยวกับ​ชาติ ศาสนา พระ​มหากษัตริย
13. มี​สวนรวม​ใน​การ​เผยแพร​และ​อนุรักษ​วัฒนธรรม​และขนบ​ธรรมเนียม​
ประเพณีไ​ทย
5. มี​จิต​สาธารณะ 14. เสียสละ มีน​ ้ำใจ รูจัก​เอื้อเฟอ​เผื่อแผ​ตอ​ผูอื่น
15. เห็นแก​ประโยชนส​ วนรวม​มากกวา​ประโยชนส​ วน​ตน
6. มี​ความรับผิดชอบ 16. ยอมรับ​ผล​การ​กระทำ​ของ​ตน​เอง​ทั้งทีเ่​ปนผลดีแ​ ละ​ผลเสีย
17. ทำงาน​ที่​ไดรับ​มอบหมายให​สมบูรณต​ ามกำหนด​และ​ตรงตอเวลา
7. ซื่อสัตย​สุจริต 18. บันทึก​ขอ มูล​ตาม​ความ​เปนจริง​และ​ไม​ใช​ความ​คดิ เห็น​ของตนเองไปเกีย่ วของ
19. ไม​แอบอาง​ผลงาน​ของ​ผูอื่น​วาเ​ปนของ​ตน
20. เคารพ​หรือ​ปฏิบตั ​ติ าม​ขอ ตกลง กฎ กติกา หรือ​ระเบียบ​ของ​กลุม ที​ก่ ำหนด​ไว
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

เกณฑ​การ​ตัดสิน​คุณภาพ
หมายเหตุ การ​หา​คะแนน​เฉลี่ย​หาได​จาก​การนำ​เอา​คะแนน​รวม
ชวงคะแนน​เฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 ใ​น​แตละ​ชอ ง​มา​บวก​กนั แลวห​ าร​ดว ย​จำนวน​ขอ จากนัน้ น​ ำ​คะแนน​
ระดับ​คุณภาพ 3 = ดีมาก 2 = พอใช 1 = ควร​ปรับปรุง เฉลี่ย​ที่​ได​มา​เทียบกับ​เกณฑ​การ​ตัดสิน​คุณภาพ​และ​สรุปผล
​การ​ประเมิน

สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย 3 ลงใน ​)


3 2 1
ระดับคุณภาพที่ได้

208   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ด้านทักษะ/กระบวนการ
สำหรับ​ครู​ประเมิน​นักเรียน
คำชี้แจง  สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วใส่คะแนนลงในช่องว่างให้ตรงกับความเป็นจริง
รายการ คะแนน
พฤติกรรมที่แสดงออก หมายเหตุ
ประเมิน 3 2 1
1. การสื่อสาร 1. ใช้วิธีการสื่อสารในการนำเสนอข้อมูลความรู้ได้อย่างเหมาะสม 3 หมายถึง
นักเรียน​แสดง
2. เลือกรับข้อมูลความรู้ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง พฤติกรรม​นั้น
2. การใช้เทคโนโลยี 3. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรูจ้ ากสือ่ และแหล่งการเรียนรูต้ า่ ง ๆ ได้ด้วยตนเอง อยาง​สม่ำเสมอ
2 หมายถึง
4. เลือกใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ได้อย่างถูกต้อง นักเรียน​แสดง
​ เหมาะสมและมีคุณธรรม พฤติกรรม​นั้น
เปน​ครั้งคราว
3. การคิด 5.​ สรุปความคิดรวบยอดหรือสาระสำคัญของเรื่องที่ศึกษา 1 หมายถึง
6.​ แปลความ ตีความ หรือขยายความของคำ ข้อความ ภาพ และสัญลักษณ์ นักเรียน​แสดง
​ ​ ในเรื่องที่ศึกษา พฤติกรรม​นั้น
นอย​ครั้ง
7. วิเคราะห์หลักการและนำหลักการไปใช้ได้อย่างสมเหตุสมผล
4. การแก้ปัญหา 8. ตั้งคำถามหรือตั้งสมมุติฐานต่อเรื่องที่ศึกษาอย่างมีระบบ
9. ​รวบรวมข้อมูลความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีศ่ กึ ษาจากสือ่ และแหล่งการเรียนรู้
ต่าง ๆ
​ ตรวจสอบและประเมินความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลความรู้ที่ได้จาก
10.​
​ การเก็บรวบรวม
11. นำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการตรวจสอบและประเมินมาวิเคราะห์หรือ
​ ​แยกแยะเพื่อความสะดวกในการทดสอบสมมุติฐาน
12. ทดสอบสมมุตฐิ านและสรุปเป็นหลักการด้วยภาษาของตนเองทีเ่ ข้าใจง่าย
13. นำขอ้ มูลความรูท้ ไ่ี ดไ้ ปใชแ้ กป้ ญ
ั หาตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำ​วนั
5. ทักษะกระบวนการกลุ่ม 14. มีสว่ นรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายการทำงานกลุม่
15. ร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่การทำงานกับสมาชิกในกลุ่ม
16. เป็นทั้งผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
17. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ
18. ช่วยลดข้อขัดแย้งและแก้ปัญหาของกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
19. สร้างสรรค์ผลงานเสร็จทันเวลาและมีคุณภาพ
20. ภูมิใจและพึงพอใจในผลงานและการทำงานกลุ่ม
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

เกณฑ​การ​ตัดสิน​คุณภาพ
หมายเหตุ การ​หา​คะแนน​เฉลี่ย​หาได​จาก​การนำ​เอา​คะแนน​รวม​
ชวงคะแนน​เฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 ใน​แตละ​ชอ ง​มา​บวก​กนั แลวห​ าร​ดว ย​จำนวน​ขอ จากนัน้ น​ ำ​คะแนน​
ระดับ​คุณภาพ 3 = ดีมาก 2 = พอใช 1 = ควร​ปรับปรุง เฉลี่ย​ที่​ได​มา​เทียบกับ​เกณฑ​การ​ตัดสิน​คุณภาพ​และ​สรุปผล
​การ​ประเมิน

สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย 3 ลงใน ​)


3 2 1
ระดับคุณภาพที่ได้

คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   209

8. ใบ​งาน แบบบันทึก แล​ะ​แบบ​ประเมินต​ าง ๆ

ใบงานที่ 1
เรื่อง ที่ไหนมีสังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ​ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และจำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. เพราะ​อะไร​ทุก​คนจึง​ตอง​รู​กฎหมาย

2. กฎหมาย​มี​ลักษณะ​สำคัญ​อยางไร​บาง

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
210   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบงานที่ 2
เรื่อง ความ​จำเปน​ที่สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ที่ไหน​มี​สังคม ที่นั่น​มี​กฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และจำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง เติม​ขอความ​ลง​ใน​ชอง​วาง

ความ​จำเปน​ที่สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย
สังคม​ตอง​มี​กฎหมาย เนื่องจาก

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   211

ใบงานที่ 3
เรื่อง ความ​จำเปน​ที่จะ​ตอง​รูกฎหมาย และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​ที่มี​ตอสังคม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความหมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง เติม​ขอความ​ลง​ใน​ชอง​วาง

ความ​จำเปน​ที่​จะ​ตองรู​กฎหมาย และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​ที่มี​ตอสังคม
​ทุก​คนจำเปน​ที่จะ​ตอง​รู​กฎหมาย เนื่องจาก​

ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​ตอการ​ดำรง​อยู​ของสังคม คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
212   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบงานที่ 4
เรื่อง ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ความสัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง เติม​ขอความ​ลง​ใน​ชอง​วาง

ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น
1. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสนา คือ

2. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศีลธรรม​และ​จริยธรรม คือ​

3. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับจ​ ารีตประเพณี คือ​

4. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับป​ ระวัติศาสตร คือ​

5. ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับร​ ัฐ​ศาสตร คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   213

ใบงาน
เรื่อง ปญหากฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ประเภท​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​รู​และ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กฎหมาย​ประเภท​ตาง ๆ ที่จะ​นำ​มา​บังคับใช​ใน​สังคม ทั้ง


สังคม​ภายใน​ประเทศ​และ​สังคม​นานา​ประเทศ
คำชี้แจง ชวย​กันว​ ิเคราะห​ปญหา​กฎหมาย บันทึกข​ อเสนอ​แนะ​ของแตละ​คนไว แลว​สรุป​เปนความ
​คิดเห็น​ของกลุม จาก​นั้นบ​ ันทึก​ลง​ใน​ใบ​งาน
1. ​ปญหา​นี้เปนปญหา​ความ​ขัดแยงด​ วย​เรื่อง​อะไร

2. ปญหานี้​เกี่ยวของ​กับก​ ฎหมายอะไร

3. กฎหมาย​ที่นำ​มา​ใชกับป​ ญหา​นี้​เปนกฎหมาย​ประเภท​ใด

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
214   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบงาน
เรื่อง การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​รู​และ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัด​ทำ ตลอด​จน​ข้นั ​ตอน​ตาง ๆ​ ของ​การ​ราง


และ​การ​ประกาศ​ใช​กฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. การพิจารณา​และ​การจัดท​ ำพระราชบัญญัตมิ​ ขี​ ั้น​ตอน​อยางไร
ผู​มี​สิทธิ​เสนอ​ราง​พระราชบัญญัติจะ​ตอง​เสนอ​ราง​พระราชบัญญัติ​ตอสภา​ผูแทนราษฎรกอน และเมื่อ
ส​ ภา​ผแู ทนราษฎร​พจิ ารณา​รา ง​พระราชบัญญัตแ​ิ ละ​ลงมติเ​ห็นชอบ​แลว สภา​ผแู ทนราษฎร​จะเสนอ​รา ง​พระราช-
บัญญัติ​นั้น​ตอวุฒิสภา​เพื่อ​ให​วุฒิสภา​พิจารณา​ให​แลว​เสร็จ​ภายใน 60 วัน แต​หาก​เปน​พระราชบัญญัติ​
เกี่ยวดวย​เรื่อง​การเงิน​จะ​ตอง​พิจารณา​ให​แลว​เสร็จ​ภายใน 30 วัน และ​หลังจาก​พิจารณา​แลว หากวุฒิสภา​
เห็นชอบ​ ให​นายกรัฐมนตรี​นำ​ขึ้น​ทูลเกลาฯ ถวายพระ​มหากษัตริ​ยเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และ​ประกาศ​
ใชเปน​พระราชบัญญัติ​ตอ​ไป​ แต​หากวุฒิสภา​พิจารณา​แลว​ปรากฏ​วาไมเห็นชอบ​ดวย วุฒิสภา​มี​สิทธิ​ยับยั้ง
และสง​พระราชบัญญัติ​นั้น​คืน​กลับไปยัง​สภา​ผูแทนราษฎร​เพื่อ​พิจารณา​ใหม แต​หาก​สภา​ผูแทนราษฎร​ลงมติ​
ยืนยัน​ราง​เดิม ให​ถือวา​ราง​พระราชบัญญัติ​นั้น​ได​รับความเห็นชอบ​จาก​รัฐสภา​แลว และ​ให​นายกรัฐมนตรี​
นำ​ขึ้นท​ ูลเกลาฯ ถวายพระมหากษัตริยเ​พื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและ​ประกาศ​ใชเปนพ​ ระราชบัญญัติ​ตอไ​ป
2. ​พระราชกำหนด​มฐี​ านะ​เปนพ​ ระราชบัญญัตไิ​ด​อยางไร
หลังจาก​ที่​ประกาศ​ใช​พระราชกำหนด​นั้นแลว คณะรัฐมนตรี​จะ​ตอง​นำราง​พระราชกำหนด​นั้น​เสนอ​ตอ
​รัฐสภา เพื่อ​รับความเห็นชอบ​จาก​รัฐสภา หาก​รัฐสภา​อนุมัติ พระราชกำหนด​นจี้​ ะ​มี​ผล​บังคับใชเปนพระราช-
บัญญัตติ​ อ​ไป

3. การจัด​ทำขอบัญญัติ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​มี​กระบวนการ​อยางไร​บาง
ผูม​ ส​ี ทิ ธิเ​สนอ​รา ง​ขอ บัญญัตอ​ิ งคการ​บริหาร​สว น​จงั หวัดต​ อ ง​นำราง​ขอ บัญญัตฯ​ิ เสนอ​ตอ สภา​องคการ​บริหาร​
สวน​จังหวัด และเมื่อ​สภา​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​พิจารณา​และให​ความเห็นชอบใน​ราง​ขอบัญญัติ​ฯ แลว
ประธาน​สภา​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​จะสง​ราง​ขอบัญญัติ​ฯ นั้นให​ผูวา​ราชการจังหวัด​พิจารณา​ให​ความ
เห็นชอบ หาก​เห็นชอบ​ดวย ผูวา​ราชการ​จังหวัดจ​ ะ​สง​ราง​ขอบัญญัตฯิ​ นั้น​ใหน​ ายกองคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​
ลงนา​มใชบังคับ​เปน​ขอบัญญัตอิ​ งคการ​บริหาร​สวน​จังหวัดตอ​ไป​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   215

ใบงาน
เรื่อง การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผล​การบังคับใชกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ รู​และ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​การ​บังคับใช​กฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใชกฎหมาย​
ใน​สังคม​ไทย
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​วันเริ่ม​บังคับใชกฎหมายแตละ​ฉบับข​ อง​ประเทศ​ไทยมี​กี่กรณี อะไร​บาง
3 กรณี ไดแก
1) ให​ใชบังคับใน​วัน​ถัด​จาก​วัน​ประกาศ​ใน​ราชกิจจานุเบกษา​เปนตนไ​ป
2) ให​ใชบังคับ​ตั้งแตว​ ัน​ประกาศ​ใน​ราชกิจจานุเบกษา​เปนตนไ​ป
3) วันเริ่ม​บังคับใชกฎหมาย​ในกรณีพ​ ิเศษ

2. ​ประชาชน​เกี่ยวของ​กับ​การบังคับใชกฎหมายอยางไร
มี​ความเกี่ยวของ​ตั้งแต​ปฏิสนธิ​จนกระทั่ง​หลังตาย กฎหมาย​ไดกำหนด​สิทธิ​และ​หนาที่​ให​ประชาชน​ตอง​
ปฏิบัติตามกฎหมาย กำหนด​หาม​มิ​ให​ประชาชน​ปฏิบัติ​ตน​ที่​เปนการ​ขัดตอกฎหมาย ดังนั้น ประชาชน​จำเปน​
ตอง​รูกฎหมาย​เพื่อ​ใหสามารถ​ปฏิบัตติ​ น​ได​อยาง​ถูกตองตา​มก​ฎหมาย

3. การยกเลิกกฎหมาย​โดย​ตรง​มกี​ ี่กรณี อะไร​บาง


2 กรณี ไดแก
1) กฎหมาย​ฉบับ​นั้น​กำหนด​วันสิ้นสุด​การบังคับใชไวในกฎหมาย​นั้นเ​อง
2) กฎหมาย​ใหม​บัญญัติยกเลิกกฎหมาย​เกา

4. เมื่อ​พระราชบัญญัติ​ฉบับ​ใด​ฉบับ​หนึ่ง​ถูก​ยกเลิก​ไป กฎหมายอื่น ๆ ที่​เปนกฎหมาย​ลูกของ​พระราช-


บัญญัตฉิ​ บับ​นั้น​จะ​มผี​ ลก​ระทบ​หรือ​ไม​อยางไร
มี​ผลก​ระทบ เนื่องจาก​เมื่อกฎหมายแมบท​ถูกย​ กเลิกไ​ป กฎหมาย​ที่มี​ศักดิต์​ ่ำ​กวา​ซึ่ง​ออกมาโดย​กฎหมาย
แมบท​นั้น​ยอม​ถูก​ยกเลิกต​ าม​ไป​ดวย เวนแตจ​ ะ​มี​การบัญญัติ​ไวเปนอยาง​อื่น​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
216   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบงาน
เรื่อง รัฐธรรมนูญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รัฐธรรมนูญ

ผลการเรียนรู้ รู​และ​เข​้า​ใจ​เกี่ยวกับ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​วา​เปน​กฎหมาย​สูงสุด​ที่วาดวย​การ​
จัดร​ะเบียบ​แหงอ​ ำนาจ​รฐั แ​ ละ​กำหนด​หลักประกันส​ ทิ ธิแ​ ละเสรีภาพ​ของ​ประชาชน​
ใน​รัฐ ซึ่งเปนก​ ฎหมาย​ที่​มี​ฐานะ​เหนือ​กวา​บรรดากฎหมาย​และ​กฎเกณฑท​ ั้งปวง​
ทีม่​ ี​การ​ตรา​ออกมา​ใชบังคับ
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550 มีค​ วามเปนมา​อยางไร
แนว​คำตอบ
รัฐธรรมนูญฉ​ บับน​ เ​ี้ กิดข​ นึ้ โ​ดยสภา​รา ง​รฐั ธรรมนูญท​ มี่ าจากการคัดเลือก​ของสมาชิกสมัชชาแหงช​ าติ จำนวน
200 คน หลังจาก​นั้น​คณะ​มนตรี​ความ​มั่นคง​แหงช​ าติ​คัดเลือก​ให​เหลือจ​ ำนวน 100 คน ตามบทบัญญัตขิ​ อง
รัฐธรรมนูญแ​ หง​ราชอาณาจักร​ไทย (ฉบับ​ชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 เปนผูจัดท​ ำขึ้น แลวท​ ำประชามติ​เพื่อ​
สอบ​ถาม​ความคิดเห็น​จาก​ประชาชน​ทั้งประเทศ ซึ่ง​ผล​ปรากฏ​วา​ประชาชน​สวน​ใหญ​มี​มติ​รับราง​รัฐธรรมนูญ
ฉบับ​นี้ จึงไ​ด​ประกาศ​ใชเปนรัฐธรรมนูญ​ฉบับท​ ี่ 18 ของไทยใน​วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550
2. ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550 กำหนด​โครงสราง​ของรัฐสภา​ไวอยางไร
กำหนด​ใหรัฐสภา​ประกอบดวย 2 สภา ไดแก
1) สภา​ผูแทนราษฎร ประกอบดวย​สมาชิก​ที่มา​จากการเลือกตั้งจาก​ประชาชน มี​จำนวน 480 คน แบง
เปน​สมาชิก​ที่มา​จากการ​เลือกตั้ง​แบบแบงเขต จำนวน 400 คน และ​สมาชิกท​ ี่มา​จาก​การเลือกตั้งแ​ บบสัดสวน
​จำนวน 80 คน
2) วุฒิสภา ประกอบดวย​สมาชิก​ที่มา​จาก​การเลือกตั้งข​ อง​ประชาชน​ใน​แตละ​จังหวัด จังหวัด​ละ 1 คน
​และ​สมาชิกท​ ี่มา​จาก​การ​สรร​หา​ของคณะ​กรรมการ​สรร​หา ซึ่ง​เมื่อร​ วมจำนวน​สมาชิกท​ ั้งสอง​ประเภท​แลว จะ​มี
​จำนวน 150 คน
3. ​รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2550 กำหนด​ใหป​ ระชาชน​ชาว​ไทย​มีหนา​ที่​
อยาง​ไร​บาง
รักษา​ชาติ ศาสนา พระ​มหากษัตริย และ​การ​ปกครอง​ระบอบ​ประชาธิป​ไต​ยอันมีพ​ ระ​มหากษัตริยท​ รงเปน
ประมุข ปฏิบัติตามกฎหมาย ​ไป​ใชสิท​ธิเลือกตั้ง ​ปองกัน​ประเทศ ​รับราชการ​ทหาร ชวยเหลือ​ราชการ
รับการ​ศึกษา​อบรม ​พิทักษ ปกปอง และ​สืบสาน​ศิลปวัฒนธรรมของชาติ​และ​ภูมิ​ปญญา​ทองถิ่น และ​
อนุรักษท​ รัพยากรธรรมชาติ​และ​สิ่งแวดลอม

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   217

ใบงาน
เรื่อง หลักกฎหมายแพง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 หลักกฎหมายแพง

ผลการเรียนรู้ ​รู ​เขาใจ​ และ​เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมายแพง ​รวม​ท้งั ​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ


เพื่อ​ให​เกิดป​ ระโยชนส​ ำหรับ​ตน​เอง ครอบครัว และ​สังคม​ได​อยาง​ถูกต​อง
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​เด็ก​ที่​เกิด​มา​มีชีวิต​อยูไดเพียง​วันเดียว​แลว​เสียชีวิต​ลง​ไป มี​สิทธิ​ในกองมรดก​ของแม​หรือ​ไม เพราะ
อะไร
แนว​คำตอบ
​มี เนื่องจาก​ประมวลกฎหมาย​แพง​และ​พาณิชย มาตรา 15 วรรค​ที่ 1 บัญญัติใหบุคคล​ธรรมดา​มี​สภาพ
​บุคคล​ตั้งแต​เมื่อคลอด​จาก​ครรภ​มารดา แม​มีชีวิต​อยู​รอด​เพียงนาที​เดียวก็​ถือวา​มี​สภาพบุคคล​แลว ดังนั้น
​เมื่อ​มี​สภาพ​บุคคล​แลว จึง​มี​สิทธิ​รับมรดก​ของแม เนื่องจากเปนทายาทโดยธรรม​ของแม​

2. ​ผูเยาวคือใคร ปจจุบัน​นักเรียน​ยัง​เปนผูเยาวอ​ ยูหรือ​ไม เพราะ​อะไร


แนว​คำตอบ
​ผูเยาว คือ บุคคล​ที่​ออนอายุ ออนประสบการณ หยอน​ความ​สามารถ​ในการจัดการ​งาน​และ​ทรัพยสิน
​โดย​กฎหมาย​กำหนด​ให​ผูเยาวจ​ ะบรรลุนิติภาวะ​เมื่อ​อายุ 20 ปบร​ ิบูรณ หรือ​เมื่อ​ทำการสมรส
ใน​ปจจุบันเ​รา​ยังเ​ปนผูเยาวอ​ ยู เนื่องจาก​อายุ​ยังไ​มครบ 20 ปบร​ ิบูรณ และ​ยัง​ไมไดทำการสมรส

3. ​การเชาซื้อ​คือ​อะไร แตกตาง​จาก​การ​ซื้อขาย​ผอนสง​อยางไร
การเชาซื้อ คือ สัญญา​ที่​เจาของ​ทรัพยสิน​เอา​ทรัพยสิน​ของ​ตน​ออก​ให​ผูอื่น​เชา​หรือ​ใชสอย​หรือ​เพื่อ​ให​ได
​รบั ประโยชนแ​ ละ​ให​คำมัน่ ​วาจะ​ขายทรัพยส​ นิ นัน้ หรือ​จะ​ใหทรัพยสนิ ​ที่​เชา​ตกเปนส​ ิทธิแ​ ก​ผเู ชาซือ้ เ​มื่อ​ไดใชเงิน
​จน​ครบ​ตามที่​ตกลง​กันไว โดย​การแบงช​ ำระ​เปนงวด ๆ จน​ครบ​ตาม​ขอ​ตกลง
สัญญา​เชาซื้อ​ตาง​จาก​สัญญา​ซื้อขาย​ผอนสง​ใน​เรื่อง​ของกรรมสิทธิใ์​น​ทรัพยสิน เพราะ​สัญญา​เชาซื้อ
กรรมสิทธิจ์​ ะ​ยัง​ไม​โอน​ไปยังผ​ ูเชาซื้อจ​ นกวา​จะ​ชำระ​ราคา​จน​ครบถวน​ตามที่​ตกลง​กันไว​แลว สวนการ​ซื้อ​ผอน
สง​นั้น​กรรมสิทธิ​์ใน​ทรัพยสิน​จะ​โอน​ไป​เปน​ของ​ผู​ซื้อ​ทันที​ขณะ​ทำสัญญา​กัน แต​ก็​มี​สวน​คลายคลึง​กัน​ใน​เรื่อง
ของการ​ชำระ​ราคา​เปนงวด ๆ
218   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4. อสังหาริมทรัพยค​ ือ​อะไร พืชไ​ร​ประเภท​ขาวโพด มันสำปะหลัง ออย ถือเ​ปนอสังหาริมทรัพยห​ รือ​ไม
เพราะ​อะไร
ที่ดิน​และ​ทรัพยสิน​อันติดอยูกับ​ที่ดิน​มี​ลักษณะ​เปนการ​ถาวร​หรือ​ประกอบ​เปนอัน​หนึ่ง​อันเดียวกับที่ดิน
นั้น และ​ยัง​หมาย​รวม​ถึงทรัพยสิทธิ​อันเกี่ยวกับที่ดิน​หรือ​ติดอยูกับ​ที่ดิน หรือ​ประกอบ​เปนอัน​เดียวกับ​ที่ดิน
​นั้น​ดวย
พืช​ไร​ประเภท​ขาวโพด มันสำปะหลัง ออย ไม​ถือ​เปนอสังหาริ​มทรัพย เนื่องจาก​เปนไมลมลุก ซึ่ง​เปน
พันธุไมอายุไ​มเกิน 3 ป จึงไ​ม​ถือวา​เปนอสังหาริมทรัพย เพราะ​ตนไมจ​ ะเปนอสังหาริมทรัพย​ได​ตอเ​มื่อ​เปน
พันธุไ​ม​ที่มีอายุย​ ืนยาว​กวา 3 ป​ขึ้น​ไป

5. นายกีรติ อายุ 21 ป จดทะเบียน​สมรส​กับ​นางสาว​ปาจรีย อายุ 17 ป โดยพอ​แม​ของ​ทั้งสองฝายให


ความยินยอม​แลว แตต​ อ มา​ไดม​ ผ​ี ม​ู าเปดเผย​วา กอน​ทจี่ ะจดทะเบียน​สมรส​กบั น​ างสาว​ปาจรีย นายกีรติ
​ มีภรรยา​แลว​คือ นางสาว​วรรณพร โดยจัด​งาน​สมรส​กันอยาง​เปดเผย แต​ยัง​มิได​จดทะเบียน​สมรส​
กัน กรณี​นี้​การจดทะเบียน​สมรส​ระหวาง​นายกีรติ​กับ​นางสาวปาจรี​ยจะ​มี​ผล​สมบูรณ​ตาม​กฎหมาย​
หรือไม อยางไร
สม​บูรณ เนื่องจาก​นางสาว​ปาจรียจ​ ดทะเบียน​สมรส​กับน​ ายกีรติ และ​ถึงแมนางสาว​ปาจรีย​จะ​มีอายุเ​พียง
17 ป แต​พอแ​ มก็ได​ให​ความยินยอม​แลว สวนการ​ที่นายกีรติ​เคย​สมรส​กับ​นางสาว​วรรณพรมากอนนั้น ไม
​อยู​ในกรณี​ของการ​สมรส​ซอน เนื่องจาก​นายกีรติ​และ​นางสาว​วรรณพรมิไดจดทะเบียนสมรสกัน จึง​ทำให​
การสมรส​ไม​มี​ผล​สมบูรณ​ตาม​กฎหมาย นายกีรติ​และ​นางสาว​วรรณพรจึงยัง​มิได​ถือวา​เปน​สามี​ภรรยา​กัน​
อยางถูกตองตา​มก​ฎหมาย ทำให​การจดทะเบียน​สมรส​ระหวาง​นายกีรติ​กับ​นางสาว​ปาจรีย​มี​ผล​สมบูรณ​ตาม
​กฎหมาย

6. ที่มา​ของหนี้​หรือ​บอเกิด​แหงห​ นี้​มีอะไร​บาง
1) สัญญา
2) การจัดการ​งาน​นอก​สั่ง
3) ลาภมิควรได
4) ละเมิด
5) บทบัญญัติ​แหง​กฎหมาย

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   219

ใบงาน
เรื่อง หลักกฎหมายอาญา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 หลักกฎหมายอาญา

ผลการเรียนรู้ ร​ู เ​ขาใจ แ​ ละ​เห็นค​ วาม​สำคัญข​ อง​กฎหมาย​อาญา​วา ม​ ค​ี วาม​สำคัญใ​นการ​ควบคุม​


พฤติกรรม​ของ​บุคคล​ใน​สังคม​ให​เคารพ​สิทธิ​ เสรีภาพ และ​ปฏิบัติ​ตอ​กัน​อยาง​
ถูกตอง​ภายใตก​ รอบ​แหงก​ ฎหมาย ไมป​ ระพฤติฝ​ า ฝนก​ ฎหมาย ซึง่ จะ​มค​ี วาม​ผดิ ​
และ​ถูก​ลงโทษ
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​กฎหมายอาญา​คือ​อะไร
กฎหมาย​ที่บัญญัติวาการ​กระทำ​หรือ​การ​งด​เวน​การก​ระทำใด​เปนความ​ผิด และ​กำหนดบท​ลงโทษ​สำหรับ
​การก​ระทำความ​ผิดนั้น​ไว
ตัวอยาง​การก​ระทำที่​เปนความ​ผิดตา​มหลักของกฎหมายอาญา เชน ประมวลกฎหมาย​อาญา มาตรา 288
ระบุ​วา ผูใด​ฆา​ผูอื่น​เปนการก​ระทำที่​เปนความ​ผิด สำหรับ​โทษที่จะ​ได​รับจาก​การก​ระทำ​ผิดตา​มมาตรานี้​คือ
​ตอง​ระวาง​โทษ​ประหารชีวิต จำ​คุก​ตลอด​ชีวิต หรือจ​ ำ​คุก​ตั้งแต 15–20 ป

2. ​กฎหมายอาญา​มี​ลักษณะ​สำคัญ​อย​าง​ไร
กฎหมายอาญา​มี​ลักษณะ​สำคัญ ดังนี้
1) เปนกฎหมาย​ที่​กำหนด​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​บุคคล​หรือ​ประชาชน​กับรัฐ​ใน​ฐานะ​ที่รัฐมีอำนาจ​เหนือ
2) เปนกฎหมาย​ที่​บัญญัตเิ​กี่ยวกับล​ ักษณะ​ความ​ผิด และลักษณะ​โทษ
3) เปนกฎหมาย​ที่​ตอง​มี​ความชัดเจน แนนอน เพื่อ​เปนหลักประกัน​วา สิ่ง​ที่​กฎหมาย​บัญญัติ​ตรง​ตาม
ความ​ประสงคข​ อง​ฝาย​นิติบัญญัตอิ​ ยาง​แทจริง
4) เปนกฎหมาย​ที่ตองใชบังคับก​ ับก​ ารก​ระ​ทำทีเ่​กิด​ขึ้นใน​ราชอาณาจักร
5) เปนกฎหมาย​ที่ไมมีผลยอนหลัง​ไป​ใน​ทาง​ที่​เปนโทษ​แกบุคคล​ผูกระทำ​ผิด
6) เปนกฎหมาย​ทตี่​ องตีความ​โดยเครงครัด

3. ​โทษทางอาญา​มี​กี่​ประการ อะไร​บาง
5 ประการ ไดแก ประหารชีวิต จำ​คุก กักขัง ปรับ และ​ริบทรัพยสิน
220   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4. ​นายเอก​โมโห​ที่นายตอย​ชก​ตอย​นอง​ของ​ตน​เอง จึง​เดินเขาไป​ชก​ตอย​นาย​ตอย​โดย​หวัง​ให​นาย​ตอย​
ไดรับบาดเจ็บ​เชน​เดียวกับ​นอง​ของ​ตน แต​เมื่อนายเอก​ตอย​นายตอย​ลมลง ศีรษะของนายตอย​ได
กระแทกกับ​พื้น​อยาง​รุนแรง เปนเหตุ​ใหน​ ายตอย​เลือด​คั่ง​ใน​สมอง​และเสียชีวิต​ลง​ใน​เวลา​ตอมา กรณี
นี้​นายเอกมี​ความ​ผิด​ฐาน​ใด เพราะ​อะไร และ​ตอง​ได​รับ​โทษ​อยางไร
นายเอกมี​ความ​ผิด​ฐาน​ฆา​คน​ตายโดย​ไมเจตนา เนื่องจาก​นายเอกเจตนา​ให​นายตอย​ไดร​ ับ​บาดเจ็บเ​ทานั้น
​ไม​มีเจตนา​ให​นายตอย​เสียชีวิต ซึ่งน​ ายเอก​ตอง​ระวาง​โทษ​จำ​คุกต​ ั้งแต 3–15 ป

5. ​นาย​แกว​รวม​กับ​นายอิ่ม​และ​นายเอม​ขมขู​ให​นางนอย​มอบ​สรอย​คอทองคำ​ที่สวม​คออยู​ใหกับ​พวก​ตน
มิ​เชน​นั้น​จะบีบคอนางนอย​จน​เสียชีวิต นางนอยเกิด​ความ​กลัว​จึง​มอบ​สรอย​คอทองคำ​ของ​ตน​ใหทั้ง
สามคนนั้น​ไป กรณีน​ ี้​นาย​แกว นายอิ่ม และ​นายเอม​จะ​มี​ความ​ผิด​ฐาน​ใด ​เพราะ​อะไร
​ความ​ผิด​ฐาน​ปลนทรัพย เนื่องจาก​เปนการ​ลัก​ทรัพย​โดย​ขูเข็ญว​ า​ใน​ทันใดนั้นจะ​ใชกำลัง​ประทุษราย เพื่อ
​ให​ยื่น​ทรัพย​นั้นแก​พวก​ตน และมี​ผูรวม​กระทำ​ผิดตั้งแต 3 คน​ขึ้นไ​ป

6. ความ​ผิด​ลหุโทษ​คือ​อะไร มีอะไร​บาง ใหย​ กตัวอยาง​มา 5 ขอ


แนว​คำตอบ
ความ​ผิด​ซึ่ง​ตอง​ระวาง​โทษ​จำ​คุก​ไมเกิน 1 เดือน หรือ​ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือท​ ั้ง​จำ​ทั้งปรับ เชน
1) ไม​ปฏิบัติ​ตามคำสั่ง​ของเจาพนักงาน​ซึ่งม​ ีอำนาจ​ตาม​กฎหมาย​โดย​ไม​มีเหตุห​ รือ​ขอแกตัวอ​ ันส​ มควร
2) ฉีกหรือ​ทำลาย​ประกาศ​ของเจาพนักงาน​ซึ่งก​ ระทำ​การตาม​หนาที่
3) สงเสียง​หรือ​ทำให​เกิดเ​สียงอื้ออึง โดย​ไม​มีเหตุ​อัน​สมควร จน​ทำให​ประชาชน​ตกใจ​หรือ​เดือดรอน
4) ทะเลาะ​อื้ออึง​ใน​ทางสาธารณะ หรือส​ าธารณสถาน
5) ทำให​เกิด​ปฏิกูล​ใน​บอน้ำ สระ​น้ำหรือ​ทขี่​ ัง​น้ำอันม​ ี​ไว​สำหรับ​ประชาชน​ใชสอย

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   221

ใบงาน
เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
​แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน

ผลการเรียนรู้ ร​ ู ​เขาใจ ​และ​ตระ​หนักใ​น​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​วา​ดวย​การทะเบียน​ราษฎร​


และ​บัตร​ประจำ​ตัว​ประชาชน รวม​ทั้งส​ ามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​เมื่อมีเด็กเกิด​ใน​บาน เจาบาน​จะ​ตอง​ทำ​อยางไร
เจาบาน​ตอง​แจงก​ ารเกิด​ตอ​นายทะเบียน​แหงท​ องทีท่​ ี่มี​คนเกิดน​ ั้น ภายใน 15 วัน​นับต​ ั้งแตว​ ันที่​เกิด เมื่อ
​แจง​เด็กเกิด​ใน​บานแลว นายทะเบียน​จะ​ออก​สูติบัตร​ให​แกผ​ ูแจง​ไวเปนหลักฐาน​

2. ​นาย​พีรพ​ลเดินทาง​ไป​เยี่ยมเพื่อนที่ชนบ​ทแหงหนึ่ง ระหวาง​ที่​เขาเดินอยู​บริเวณ​ทางเดินริม​ปาละเมาะ
ได​พบ​ชาย​ไมทราบ​ชื่อ​นอนเสียชีวิตอ​ ยู​ขาง​ทางเดิน กรณี​นี้​นาย​พีรพ​ลตองทำอยาง​ไร
แนว​คำตอบ
แจง​ตอ​นายทะเบียน​ทองทีท่​ ี่พบ​ศพ หรือ​ทองทีท่​ ี่สามารถ​แจง​ได​ภายใน 24 ชั่วโมง นับ​ตั้งแตเ​วลา​ที่พบ
​ศพ หรือ​อาจ​จะแจงต​ อ​พนักงาน​ฝาย​ปกครอง​หรือ​ตำรวจ​ที่สะดวก​กวา​ก็ได

3. ​ทะเบียนบาน​คือ​อะไร มีค​ วาม​สำคัญ​อยางไร


ทะเบียนบาน คือ​ ทะเบียน​ประจำ​บานแตละ​บาน​ซึ่ง​แสดง​เลข​ประจำ​บาน และ​รายการ​ของคนทั้งหมด​ที่​อยู
​ใน​บาน
ทะเบียนบาน​เปนเอกสาร​ที่มี​ความ​สำคัญ​มาก เนื่องจาก​เปนหลักฐาน​ของ​ทาง​ราชการ​ที่จัด​ทำขึ้น​ตาม​
กฎหมาย​วา​ดวย​การ​ทะเบียนราษฎร​เพื่อ​มอบ​ให​เจาบาน​เปนผูเก็บ​รักษา นอกจาก​นเี้​จาบานจะตองปฏิบัติตาม
ที่​กำหนด​ไว คือ เมื่อ​ภายใน​บาน​มี​คนเกิด คน​ตาย หรือ​การยาย​ที่​อยู เจาบาน​ตอง​แจ​งการ​เกิด การตาย หรือ
​การยาย​ที่​อยูเพื่อ​แกไข​ขอมูล​ใน​ทะเบียนบาน​ใหถ​ ูกตอง
222   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
4. ​ใคร​บาง​ที่​ตอง​ขอมี​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
บุคคล​ผูมีสัญชาติ​ไทย ซึ่งม​ ีอายุ​ตั้งแต 15–70 ปบร​ ิบูรณ และ​มีชื่ออ​ ยูใ​น​ทะเบียนบาน

5. ​หาก​เพื่อนบาน​ของนักเรียน​มีอายุ​ครบ 15 ปบร​ ิบูรณ ตองการ​ขอมี​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน นักเรียน


ควร​แนะนำ​ใหเ​พื่อนบาน​เตรียม​เอกสาร​และ​หลักฐาน​ใด​ไป​บาง
ตอง​เตรียม​เอกสาร​และ​หลักฐาน​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง ไดแก สูติบัตร หรือ​หลักฐาน​ที่ทาง​ราชการ​ออก​ให
อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง เชน สำเนา​ทะเบียน​นักเรียน หรือ​หนังสือรับรองผลการเรียน แต​หาก​ไม​มีหลักฐาน​ดัง
​ที่กลาว​มา​ขาง​ตน ให​นำ​บิดา มารดา ผู​ปกครอง เจาบาน หรือบ​ ุคคล​ที่นาเชื่อถือ เชน กำนัน ผูใหญบาน
ขาราชการ เปนตน คนใด​คน​หนึ่ง​มา​ให​คำรับรอง​แทน​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   223

ใบงาน
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครองเด็ก

ผลการเรียนรู้ ​รู ​เขาใจ ​และ​ตระ​หนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก​


รวม​ทั้งสามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​พระราชบัญญัตคิ​ ุม​ครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 กำหนด​ให​ผู​ปกครอง​ตอง​อบรม​เลี้ยงดู​เด็กอยางไร
ผู​ปกครอง​ตองใหการ​อุปการะ​เลี้ยงดู​ อบรม​สั่งสอน และ​พัฒนา​เด็ก​ที่​อยู​ใน​ความ​ปกครอง​ดูแล​ของ​ตน
​ตาม​สมควร​แก​ขนบธรรมเนียม​ประเพณี​และ​วัฒนธรรม​แหง​ทองถิ่น แต​ตอง​ไม​ต่ำ​กวา​มาตรฐาน​ขั้น​ต่ำ​ตามที่
​กำหนด​ในกฎกระทรวง และ​ตองคุมครอง​สวัสดิภาพ​เด็ก​ที่​อยู​ใน​ความ​ปกครอง​ดูแล​ของ​ตน​มิ​ให​ตกอยู​ใน​
ภาวะอันนาจ​ ะเกิด​อันตราย​แกร​ างกาย​หรือ​จิตใจ

2. ​เด็ก​ที่พึง​ได​รับ​การ​สงเคราะห​ตามที่พระราชบัญญัต​ิคุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 กำหนด​ไว​มีอะไร​บาง


จง​ยกตัวอยางมา 5 ลักษณะ
แนว​คำตอบ
1) เด็กเรรอน หรือ​เด็กก​ ำพรา
2) เด็ก​ที่ถูกทอดทิ้งห​ รือ​พลัด​หลง ณ ที่​ใด​ที่หนึ่ง
3) เด็ก​ที่​ผู​ปกครอง​ไมสามารถ​อุปการะ​เลี้ยงดู​ได​ดวย​เหตุใ​ด ๆ เชน ถูก​จำ​คุก กักขัง พิการ เจ็บปวย
​ยากจน เปนผูเยาว เปน​โรคจิต​หรือโ​รคประสาท
4) เด็ก​พิการ
5) เด็ก​ที่​อยู​ใน​สภาพ​ยาก​ลำบาก
224   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
3. ​พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็ก​พ.ศ. 2546 กำ​หน​ดใหเด็กที่พึง​ได​รับ​การคุมครอง​สวัสดิภาพ
มี​กี่​ประเภท อะไร​บาง
มี 3 ประเภท ไดแก
1) เด็กที่​ถูก​ทารุณกรรม
2) เด็ก​ที่​เสี่ยง​ตอการก​ระทำ​ผิด
3) เด็ก​ที่​อยู​ใน​สภาพ​ที่จำเปนต​ อง​ได​รับ​การคุมครอง​สวัสดิภาพตามทีก่​ ำหนด​ไวในกฎกระทรวง

4. ​พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​เด็ก พ.ศ. 2546 กำหนด​ใหโรงเรียน​และ​สถาน​ศึกษา​สงเสริม​ความ​ประพฤติ


ของนักเรียน​และ​นักศึกษา​ได​อยางไร
จัด​ให​มีระบบ​งาน​และ​กิจกรรม​ในการแนะแนว ให​คำปรึกษา และ​ฝก​อบรม​แกนักเรียน นักศึกษา
และ​ผู​ปกครอง​เพื่อ​สงเสริม​ความ​ประพฤติ​ที่​เหมาะสม ความรับผิดชอบ​ตอสังคม และ​ความ​ปลอดภัย​
แกนักเรียน​และ​นักศึกษา

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   225

ใบงาน
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับ​การคุมครองผู​บริโภค
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​คุมครองผู​บริโภค

ผลการเรียนรู้ ร​ู เขาใจ ​และ​ตระ​หนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของ​กฎหมาย​เกีย่ วกับ​การ​คมุ ครอง​ผ​บู ริโภค


รวม​ทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​พระราชบัญญัต​คิ มุ ​ครองผู​บ ริโภค พ.ศ. 2522 กำหนด​ให​ผบ​ู ริโภค​ม​สี ทิ ธิไ​ด​รบั ความคุม ครอง​ใน​เรือ่ ง​ใด
1) สิทธิ​ที่จะ​ได​รับขาวสาร​รวม​ทั้งคำพรรณนา​คุณภาพ​ที่​ถูกตอง​และเพียงพอ​เกี่ยวกับ​สินคาห​ รือ​บริการ
2) สิทธิ​ที่จะ​มีอิสระ​ในการเลือก​หาสินคา​หรือ​บริการ
3) สิทธิ​ที่จะ​ได​รับความ​ปลอด​ภัย​จาก​การ​ใชสินคา​หรือ​บริการ
4) สิทธิ​ที่จะ​ไดรับความเปน​ธรรม​ในการ​ทำสัญญา
5) สิท​ธิที่จะไดรับการพิจารณา​และ​ชดเชย​ความเสียหาย

2. ​ขอความ​ที่ไมเปน​ธรรม​ตอ​ผู​บริโภค​ตามที่พระราชบัญญัตคิ​ ุมครอง​ผบู​ ริโภค พ.ศ. 2522 กำหนด​ไว​มี


อะไร​บาง
1) ขอความ​ที่​เปนเท็จห​ รือเ​กินความ​จริง
2) ขอความ​ที่จะ​กอใ​ห​เกิด​ความเขาใจ​ผิดใน​สาระสำคัญ​เกี่ยวกับส​ ินคาห​ รือ​บริการ
3) ขอความที่เปนการ​สนับสนุน​โดย​ตรง​หรือ​โดยออม​ให​มกี​ ารก​ระทำ​ผิดก​ฎหมาย​หรือ​ศีลธรรม
หรือเสื่อมเสีย​ศีลธรรม หรือน​ ำ​ไป​สู​ความเสื่อมเสีย​ใน​วัฒนธรรม​ของชาติ
4) ขอความที่จะทำใหเกิดความ​แตกแยก​หรือ​เสื่อมเสียค​ วาม​สามัคคีใ​นหมูป​ ระชาชน

3. ​พระราชบัญญัตวิ​ ิธพี​ ิจารณา​คดีผ​ ู​บริโภค พ.ศ. 2551 กำหนด​ให​ศาล​มีอำนาจ​กำหนด​คาเสียหาย


เพื่อลงโทษ​ผูละเมิด​สิทธิผ​ ู​บริโภค​ไวอยางไร
มีอำนาจ​กำหนด​คาเสียหาย​เพื่อ​การลงโทษ​ได​ไมเกิน 2 เทา​ของคาเสียหาย​ที่แท​จริง​ที่​ศาล​กำหนด หาก
คาเสียหาย​ที่แท​จริง​มี​จำนวน​ไมเกิน 50,000 บาท ศาล​มีอำนาจ​กำหนด​คาเสียหาย​เพื่อก​ ารลงโทษ​ได​ไมเกิน
5 เทา​ของคาเสียหาย​ที่แทจ​ ริง

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
226   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบงาน
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับ​การรับราชการ​ทหาร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร

ผลการเรียนรู้ รู ​เขาใจ ​และ​เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​การ​รบั ราชการ​ทหาร รวมทั้ง​ปฏิบัติ​ตน​ตาม​


กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับราชการ​ทหาร​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​พระราชบัญญัติ​รับราชการ​ทหาร พ.ศ. 2497 กำหนด​ให​ชายผู​มี​สัญชาติ​ไทยที่มีอายุ​ยางเขา 18 ป
ทุก​คน​มีหนา​ที่​ตอง​ทำ​อะไร
ตอง​ไป​แสดง​ตน​เพื่อ​ลง​บัญชีท​ หารกอง​เกิน ณ อำเภอ​ทองที่​ที่​ตน​มีภูมิลำเนา​ทหาร​อยูภ​ ายใน​ปนั้น
หาก​ไมสามารถ​ไปลง​บัญชี​ทหารกองเกิน​ได​ดวย​ตน​เอง ตองให​บุคคล​ที่​บรรลุนิติภาวะ​หรือ​บุคคล​ที่​เชื่อถือ​ได
เปนผูดำเนิน​การแทน

2. ​บุคคล​ทเี่​ปน​ทหารกองเกิน เมื่อม​ ีอายุ 20 ปบร​ ิ​บูรณ มีหนา​ที่​ตอง​ทำ​อยางไร


ตอง​ไป​แสดง​ตน​เพื่อ​รับหมายเรียก​ที่​อำเภอ​ทองที่​ซึ่ง​เปนภูมิลำเนา​ทหาร​ของ​ตน ตั้งแต​เดือนมกราคม​ถึง
เดือน​ธันวาคม​ใน​ปนั้น หาก​ไมสามารถ​ไปรับหมายเรียก​ดวย​ตน​เอง​ได ตองให​บุคคล​ที่​บรรลุนิติภาวะ บิดา
​มารดา หรือบุคคล​ผูทเี่​ชื่อถือ​ได​ไปรับหมายเรียก​แทน

3. ​บุคคล​ใด​บาง​ที่ได​รับก​ ารยกเวนไ​ม​ตอง​ไป​แสดง​ตน​เพื่อล​ ง​บัญชี​ทหารกองเกิน


1) สามเณร​เปรียญ พนักงานเจาหนาทีจ่​ ะ​ไป​ดาเนินก​ าร​ใหที่วัดท​ ี่จำพรรษา
2) ผู​ซึ่ง​อยู​ใน​ระหวาง​การควบคุม​หรือ​คุม​ขัง​ของเจาพนักงาน

4. ​บุคคล​ใด​บาง​ที่ได​รับก​ ารผอนผันไ​ม​ตอง​เขารับก​ ารตรวจเลือก​เปนท​ หารกองประจำการ


1) บุคคล​ผูตองหา​เลี้ยง​บิดา​มารดา ซึ่ง​ทุพพลภาพ​หรือช​ รา​จน​หาเลี้ยง​ชีพ​ไมได และ​ไม​มี​ผูอื่นเ​ลี้ยงดู
2) บุคคล​ผู​มี​ความ​จำเปน​ตองหา​เลี้ยง​บุตร​ซึ่งม​ ารดา​ตายหรือ​ไร​ความ​สามารถ หรือ​พิการ​ทุพพลภาพ
3) บุคคล​ผู​ซึ่ง​มี​ความ​จำปนตองหา​เลี้ยง​พี่​หรือ​นอง​รวม​บิดา​มารดา หรือ​รวม​แต​บิดา​หรือ​มารดา หรือ​ซึ่ง
​บิดา​หรือม​ ารดา​ตาย

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   227

ใบงาน
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติดใหโทษ

ผลการเรียนรู้ ​รแู ละ​เขาใจ​กฎหมาย​เกีย่ วกับย​ าเสพติด​ใหโทษ ​รวม​ทง้ั สามารถ​นำไป​ใช​แก​ปญ


 หา
และ​แนะนำใหผ​ ูอื่น​ปฏิบัติ​ตาม​กฎหมาย​เพื่อห​ ลีก​เลี่ยง​การก​ระ​ทำ​ผิด
กฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติด​ใหโทษ​ใน​สังคม​ไทย​และ​สังคม​โลก
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​ยาเสพติด​ใหโทษ​คือ​อะไร
ยาเสพติดใหโทษ คือ สาร​เคมี​หรือ​วัตถุช​ นิด​ใด ๆ ซึ่ง​เมื่อ​เสพ​เขาสูรางกาย​ไมว​ าจะ​โดย​รับประทาน ดม
​สูบ ฉีด หรือ​ดวย​ประการ​ใด ๆ แลว ทำให​เกิด​ผล​ตอ​รางกาย​และ​จิตใจ​ใน​ลักษณะ​สำคัญ เชน ตอง​เพิ่ม
ขนาด​การเสพ​เรื่อย ๆ มีอาการ​ถอนยาเมื่อ​ขาด​ยา มี​ความ​ตองการ​เสพ​ทั้ง​รางและ​จิตใจ​อยูตลอด​เวลา
และสุขภาพ​โดยทั่วไป​จะ​ทรุด​โทรม​ลง ซึ่งย​ าเสพติดใหโทษ​ยัง​รวม​ถึงพืชห​ รือ​สวน​ของ​พืชท​ ี่​เปนหรือใ​ห​ผล​ผลิต​
เปน​ยาเสพติดใหโทษ​หรือ​อาจ​ใช​ผลิต​เปน​ยาเสพติด​โทษ และ​สาร​เคมี​ที่​ใชในการ​ผลิต​ยาเสพติดใหโทษ​
ดัง​กลาว

2. ​พระราชบัญญัตยิ​ าเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 แบง​ยาเสพติดใหโทษ​ออกเป็นกีป่​ ระเภท อะไร​บาง


5 ประเภท ไดแก
1) ประเภท 1 ยาเสพติดให​โทษ​ชนิด​รายแรง เชน เฮโรอีน เมท​แอมเฟตามีน แอมเฟตามีน
2) ประเภท 2 ยาเสพติดใหโทษทั่วไป เชน มอรฟน โคคา​อีน ฝนย​ า
3) ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษที่มลี​ ักษณะ​เปนตนต​ ำรับ​ยาและ​มยี​ าเสพติดใหโทษ​ใน​ประเภท 2 ผสม
​อยูดวย
4) สาร​เคมี​ที่​ใชในการ​ผลิตย​ าเสพติดใหโทษ​ประเภท 1 ถึง​ประเภท 4 เชน อาเซติกแอนไฮ​ได​รด
5) ยาเสพติดใหโทษที่มิได​เขา​อยู​ใน​ประเภท 1 ถึงป​ ระเภท 4 เชน กัญชา พืชก​ ระทอม
228   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
3. ​พระราชบัญญัตยิ​ าเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 กำหนด​บท​ลงโทษ​สำหรับ​ผูที่จำหนาย​หรือค​ รอบครอง
เฮโรอีน​ไวอยางไร​บาง
1) ผูใดมีเฮโรอีน​ไวใน​ครอบครองเพื่อจำหนาย น้ำหนัก​ไมเกิน 3 กรัม ตอง​ระวาง​โทษ​จำ​คุก​ตลอด​ชีวิต
และ​ปรับ​ตั้งแต 1,000,000–5,000,000 บาท
2) ผู​ใด​ผลิต นำเขา สง​ออกหรือ​มีเฮโรอีน​ไวใน​ครอบครอง น้ำหนักเ​กิน 100 กรัม ถือวา​เปนการ​กระทำ​
เพื่อ​จำหนาย ตอง​ระวาง​โทษ​ประหารชีวิต​

4. ​ยาเสพติดใหโทษ​สง​ผล​เสียตอประเทศชาติอ​ ยางไร​บาง
เปนการ​บอนทำลาย​เศรษฐกิจแ​ ละ​ความ​มั่นคง​ของชาติ เนื่องจาก​รัฐบาล​ตองสูญ​เสียกำลังคน​
และงบประมาณจำนวน​มหาศาล เพื่อ​ใช​จาย​ในการ​ปองกัน ปราบปราม และ​บำบัด​รักษา​ผูติดย​ าเสพติด
ทำใหสูญ​เสียทรัพยากร​บุคคล​ที่มี​คาเปนจำนวน​มาก ซึ่ง​เปนการ​บั่นทอน​ความ​สงบ​สุข​ของ​บานเมือง ทำให​
เศรษฐกิจของ​ประเทศ​ไมพัฒนา​หรือ​กาวหนา​เทาทีค่​ วร​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   229

ใบงาน
เรื่อง ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข

ผลการเรียนรู้ ตระหนักถ​ งึ ป​ ญ
 หา​การ​ใชก​ ฎหมาย​ใน​สงั คม​ไทย​และ​สามารถ​หา​แนวทาง​ปอ งกัน
​แกไข​ได
คำชี้แจง ตอบ​คำ​ถาม
1. ​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ที่​เกิด​จาก​ประชาชน​ผูใชกฎหมาย​มีอะไร​บาง
1) ประชาชน​ขาดความรูความ​เขาใจ​ใน​เรื่อง​กฎหมาย
2) ประชาชน​ขาดความรับผิดชอบ​ในการ​ใชสิทธิ​เลือก​ผูจัดทำกฎหมาย
3) ประชาชน​ไมให​ความรวมมือ​กับ​เจาพนักงาน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
4) ประชาชน​ไมเคารพ​กฎหมาย โดย​มัก​อางอิทธิพล​หรือ​สิทธิพ​ ิเศษ​ตาง ๆ เพื่อห​ ลีก​เลี่ยง​การ​ปฏิบัตติ​ าม
​กฎหมาย
5) ประชาชน​รักษา​ผล​ประโยชน​สวนตน​ใน​ทาง​ทุจริต จึง​พยายาม​หลีก​เลี่ยง​กฎหมาย​โดย​วิธี​การตาง ๆ

2. ​แนวทาง​ใด​ที่​ควร​นำ​มา​ใชแ​ กไข​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ที่​เกิดจ​ าก​ประชาชน​ผูใชกฎหมาย


1) ปลูกฝง​เด็กและเยาวชน ตลอด​จน​ประชาชน​ให​มี​คุณธรรม​จริยธรรม รู​วาควร​ปฏิบัตอิ​ ยางไร​จึง​จะ
ถูกตองตา​มก​ฎหมาย
2) กำหนดการ​เรียน​รูเรื่อง​กฎหมาย​ไวในหลักสูตร​การเรียน​ของนักเรียน​ใน​ระดับ​ตาง ๆ
3) จัด​ใหม​ ี​ศูนย​บริการ​ให​ความรูและ​คำแนะนำ​ทางดาน​กฎหมายแกป​ ระชาชน​โดย​ไมเสียคาตอบแทน
4) ให​ประชาชน​มี​สวนรวมในการ​ออกกฎหมาย หรือก​ ารแกไข​กฎ​หมาย
230   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
3. ​ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ที่​เกิด​จาก​เจาพนักงาน​ผูใชกฎหมาย​มีอะไร​บาง
1) เจาพนักงาน​ที่​เกี่ยวของ​กับก​ ระบวนการยุติธรรม มีจ​ ำนวนนอย ไมเพียงพอ​กับป​ ญหา​ที่​เกิดข​ ึ้นใน​
สังคม​ปจจุบัน
2) พนักงานเจาหนาที่​ที่​เกี่ยวของ​กับ​การบังคับใชกฎหมาย​ละเลย ขาดความ​กระตือรือรน​ในการ​ปฏิบัติ
​หนาที่ ทำให​กระบวนการยุติธรรม​เกิดค​ วาม​ลา​ชา
3) เจาพนักงาน เจาหนาที่​ของรัฐ​ทุจริต​และ​ประพฤติ​มิ​ชอบในหนาที่​ราชการ​โดย​รับสินบน​หรือ​เห็นแก
​พวกพอง
4) เจาพนักงาน​ผูใชกฎหมาย​นำ​กฎหมาย​เปนเครื่องมือกดขี่ขมเ​หงประชาชน ทำให​ประชาชน​ไมไดรับ
ความเปน​ธรรม

4. ​แนวทาง​ใด​บาง​ที่​ควร​นำ​มา​ใชแ​ กป​ ญหา​การ​ใชกฎหมาย​ที่​เกิด​จาก​ตัว​บทกฎหมาย


1) ออกกฎหมาย​ที่ทันสมัย เหมาะสม​กับส​ ภาพ​สังคม​ใน​ปจจุบัน และ​แกไข​กฎหมาย​เกา​ที่​ลาสมัย
2) มีองคกรที่ทำหนา​ที่​ตัดสิน​ชี้ขาด​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย​ที่มีเนื้อหา​คลุมเครือ ไมชัดเจน​
3) หาก​กฎหมาย​ฉบับ​ใด​ประชาชน​ไมเห็นดวย ผู​บังคับใช​ตอง​ชี้แจง​เหตุผล​และ​ความ​จำเปน​ที่​ตอง​ออก
กฎหมาย​นั้น​มาบังคับใช
4) หนวย​งาน​ทเี่​กี่ยวของ​ควร​แจกจาย​หนังสือราชกิจจานุเบกษา​ให​แพรหลาย​มาก​ขึ้น
5) สงเสริม​ให​ประชาชน​สนใจ​ติดตาม​การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย และ​ปฏิบัตติ​ าม​กฎหมาย โดยพิมพ
กฎหมาย​สำคัญ ๆ แจกจาย​ยังป​ ระชาชน​อยาง​ทั่วถึง​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   231

ใบกิจกรรมที่ 1
เรื่อง กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่มา​จาก​รัฏฐาธิปตย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​ตอบ​คำ​ถาม​ลง​ใน​ใบ​กิจกรรม
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่มา​จาก​รัฏฐาธิปตย
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับท​ ี่มา​จาก​รัฏฐาธิปตยหมาย​ถึง​อะไร

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 5.
2. 6.
3. 7.
4. 8.
232   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบกิจกรรมที่ 2
เรื่อง กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่ใชได​ทั่วไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการ​ดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​ตอบ​คำ​ถาม​ลง​ใน​ใบ​กิจกรรม
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่ใชได​ทั่วไป
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือข​ อบังคับ​ทใี่​ชไดท​ ั่วไป​หมาย​ถึงอ​ ะไร​

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 5.
2. 6.
3. 7.
4. 8.
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   233

ใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่ใชได​ตลอด​ไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการ​ดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​ตอบ​คำ​ถาม​ลง​ใน​ใบ​กิจกรรม
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือข​ อบังคับ​ที่ใชได​ตลอด​ไป
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับท​ ี่ใชไดต​ ลอด​ไป​หมาย​ถึง​อะไร

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 5.
2. 6.
3. 7.
4. 8.
234   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่ตอง​ปฏิบัติ​ตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการ​ดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​ตอบ​คำ​ถาม​ลง​ใน​ใบ​กิจกรรม
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับ​ที่ตอง​ปฏิบัติ​ตาม
กฎหมาย​เปนคำสั่ง​หรือ​ขอบังคับท​ ี่​ตอง​ปฏิบัติ​ตามหมาย​ถึง​อะไร​

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 5.
2. 6.
3. 7.
4. 8.
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   235

ใบกิจกรรมที่ 5
เรื่อง กฎหมาย​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ความ​หมาย ลักษณะ​สำคัญ และ​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และจำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​ตอบ​คำ​ถาม​ลง​ใน​ใบ​กิจกรรม
กฎหมาย​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ
กฎหมาย​ตอง​มี​สภาพ​บังคับ​หมาย​ถึง​อะไร

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 5.
2. 6.
3. 7.
4. 8.
236   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกผลการอภิปราย
เรื่อง ความ​แตกตาง​และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​ตาง ๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสต​รแขนง​อื่น

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​สรุป​ผลการ​อภิปราย​ลง​ใน​แบบบันทึก​ผลการ​อภิปราย
​ความ​แตกตาง​และ​ความสัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​ตาง ๆ

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   237

แบบบันทึกผลการอภิปราย
เรื่อง ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ​ที่มา​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ร​แู ละ​เขาใจ​เกีย่ วกับท​ มี่ า​ของ​กฎหมาย​และ​ระบบ​กฎหมาย อันเปนพืน้ ฐาน​สำคัญ​


ใน​การ​ศึกษา​วิชา​กฎหมาย
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​สรุป​ผลการ​อภิปราย​ลง​ใน​แบบบันทึก​ผลการ​อภิปราย
​ที่มา​ของกฎหมายและ​ระบบ​กฎหมาย
หัวขอ​ทอี่​ ภิปราย คือ​
​ขอมูล​หรือ​ขอสรุป​ที่ไดร​ ับจากการอภิปราย คือ

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
238   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกผลการอภิปราย
เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับรา​ชกา​รทหาร

ผลการเรียนรู้ ร​ ู เขาใจ และเห็นค​ วาม​สำคัญ​ของการ​รับราชการ​ทหาร รวม​ทั้งปฏิบัตติ​ น​ตาม​


กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับราชการ​ทหาร​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ให​นัก​เรียน​บันทึก​ผล​การ​อภิปราย​เรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร ลง​ใน​
แบบ​บันทึกผ​ ล​การ​อภิปราย

​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร
​1. การ​รับราชการ​ทหาร​คือ​อะไร เกี่ยวของ​กับ​ตน​เอง​อยางไร​บาง​

2. การ​รับราชการ​ทหาร​มขี​ ั้น​ตอน​อยางไ​ร​บาง
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   239

​3. เพราะ​เหตุ​ใด​กฎหมาย​จึง​กำหนด​ใหม​ ี​การยกเวนห​ รือ​ผอนผันเ​กี่ยวกับ​การ​รับราชการ​ทหาร

4. ​หาก​ไม​ปฏิบัติ​ตาม​กฎหมาย​เกี่ยวกับก​ าร​รับราชการ​ทหาร​จะ​มผี​ ล​เสียตอตน​เอง​และ​สังคม​


อยางไรบาง​

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
240   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกผลการอภิปราย
เรื่อง ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ถงึ ​ปญ


 หาการ​ใช​กฎหมาย​ใน​สงั คม​ไทย และ​สามารถ​หา​แนวทาง​ปอ งกัน​
แกไข​ได
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​สรุป​ผลการ​อภิปราย​ลง​ใน​แบบบันทึก​ผลการ​อภิปราย
ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข
​ขอมูล​หรือข​ อสรุป​ที่ไดร​ ับจากการอภิปราย คือ

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   241

แบบบันทึกผลการอภิปราย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ เรื่อง ​

เรื่อง
​ขอมูล​หรือ​ความรู​ที่ได​จากการอภิปราย คือ

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
242   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความคิดเห็น
เรื่อง ความ​แตกตาง​และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​ตาง ๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​อื่น

ผลการเรียนรู้ ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​วา​มี​ประโยชน​และ​จำเปน​ตอการ​ดำรง​อยู​
ของสังคม
คำชี้แจง ใหนักเ​รียน​บันทึกความคิดเห็นล​ ง​ใน​แบบบันทึก​การแสดง​ความคิดเห็น

ความ​แตกตาง​และ​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​กฎหมาย​กับ​ศาสตร​แขนง​ตาง ๆ
​ความคิดเห็น​ที่มี​ตอการ​อภิปราย คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   243

แบบบันทึกผลการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ​รูและ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​การ​บังคับใช​กฎหมาย​และ​การ​สิ้น​ผล​การ​บังคับใชกฎหมาย​
ใน​สังคม​ไทย
คำชี้แจง ใหนัก​เรียน​บันทึกผลการ​ศึกษา​คนควา​ที่ได​รับจาก​การ​ทำกิจกรรม​เกี่ยวกับ​การบังคับใช
กฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับใชกฎหมาย​ลง​ใน​แบบบันทึก​ผลการ​ศึกษา​คนควา​

การบังคับใชกฎหมายและ​การ​สิ้น​ผลการบังคับ​ใชกฎหมาย
​ผลการ​ศึกษา​คนควา​ที่ไดจ​ าก​การ​ทำกิจกรรม​นี้ คือ

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
244   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกผลการนำเสนอผลงาน
เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก

ผลการเรียนรู้ รู ​เขาใจ ​และ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญ​ของกฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​เด็ก


รวมทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​ถูกตอง
คำชี้แจง ใหนักเ​รียน​บันทึกผลการ​นำเสนอ​ผลงาน​เกี่ยวกับก​ ฎหมาย​เกี่ยวกับก​ ารคุมครอง​เด็ก ลง
​ใน​แบบบันทึกผ​ ลการนำ​เสนอ​ผลงาน

กฎหมาย​เกี่ยวกับ​คุมครอง​เด็ก
​ผล​ของการนำ​เสนอ​ผลงาน​เรื่อง​นี้ คือ​​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   245

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง ประเภท​ของกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ประเภท​ของกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ ร​แู ละ​เขาใจ​เกีย่ วกับก​ ฎหมาย​ประเภท​ตา ง ๆ ทีจ่ ะ​นำ​มา​บงั คับใชใ​น​สงั คม ทัง้ ส​ งั คม​
ภายใน​ประเทศ​และ​สังคม​นานา​ประเทศ
คำชี้แจง ​บันทึกความรูที่ไดร​ ับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง ประเภท​ของกฎหมาย ลง​ในแบบบันทึกความรู้

ประเภท​ของกฎหมาย
1. กฎหมาย​ที่ทำการ​ศึกษา คือ​

2. ความหมาย

3. ความ​แตกตาง​ของกฎหมาย​ในกลุมน​ ี้​กับก​ ฎหมาย​ประเภท​อื่น ๆ ไดแก

4. ลักษณะ​การบังคับใชกฎหมาย​ประเภท​นี้​ใน​สังคม​ปจจุบัน คือ

กลุม​ที่
สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.
246   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การพิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย

ผลการเรียนรู้ รูและ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัด​ทำ ตลอด​จน​ขั้น​ตอน​ตาง ๆ ของการ​ราง


และ​การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
คำชี้แจง ใ​หน​ กั เรียน​บนั ทึกค​ วามรูท​ ไ​ี่ ดร​บั จ​ าก​การ​ศกึ ษา​เรือ่ ง​การ​พจิ ารณา​และ​ขนั้ ต​ อน​ใน​การ​จดั ท​ ำ​
กฎหมาย​ลง​ใน​แบบ​บันทึก​ความรู
การ​พิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   247

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร

ผลการเรียนรู้ ​รูและ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กระบวนการ​จัด​ทำ ตลอด​จน​ขั้น​ตอน​ตาง ๆ ของการ​ราง


และ​การ​ประกาศ​ใชกฎหมาย​ลายลักษณ​อักษร
คำชี้แจง ​ให​นักเรียน​บันทึก​ความรู​ที่​ได​รับ​จาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​ ลำดับ​ชั้น​ของกฎหมาย​ลายลักษณ​
อักษร​ลง​ใน​แบบ​บันทึกค​ วามรู
การ​พิจารณา​และ​ขั้น​ตอน​ในการจัด​ทำกฎหมาย
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
248   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง รัฐธรรมนูญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รัฐธรรมนูญ

ผลการเรียนรู้ ​รูและ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​กฎหมาย​รัฐธรรมนูญ​วา​เปน​กฎหมาย​สูงสุด​ที่วาดวย​การ​
จัดร​ะเบียบ​แหงอ​ ำนาจ​รฐั แ​ ละ​กำหนด​หลักประกันส​ ทิ ธิแ​ ละเสรีภาพ​ของ​ประชาชน​
ใน​รัฐ ซึ่งเปนก​ ฎหมาย​ที่​มี​ฐานะ​เหนือ​กวา​บรรดากฎหมาย​และ​กฎเกณฑท​ ั้งปวง​
ทีม่​ ี​การ​ตรา​ออกมา​ใชบังคับ
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียนบันทึกความรูท ไ่ี ดร​บั จาก​การ​ศกึ ษาเรือ่ ง รัฐธรรมนูญ ​ลง​ใน​แบบบันทึก​ความรู

รัฐธรรมนูญ​
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   249

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง หลักกฎหมายแพง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 หลักกฎหมายแพง

ผลการเรียนรู้ มี​ความ​รคู วาม​เขาใจ​และ​เห็นค​ วาม​สำคัญข​ อง​กฎหมายแพง รวม​ทง้ั ส​ ามารถ​นำ​ไป​


ปฏิบตั เิ พือ่ ​ให​เกิด​ประโยชน​สำหรับต​ น​เอง ครอบครัว และ​สงั คม​ได​อยาง​ถกู ตอง
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียนบันทึกความรูท ไ่ี ด​รบั จาก​การ​ศกึ ษาเรือ่ ง หลักกฎหมายแพง ​ลง​ใน​แบบบันทึก​
ความรู

หลักกฎหมายแพง​
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
250   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง หลักกฎหมายอาญา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 หลักกฏหมาย​อาญา

ผลการเรียนรู้ ​รูและ​เขาใจ​ใน​หลัก​กฎหมายอาญาวา​มี​ความ​สำคัญ​ใน​การ​ควบคุมพฤติกรรม
ของ​บุคคล​ใน​สังคม​ให​เคารพ​สิทธิ​ เสรีภาพ และ​ปฏิบัติ​ตอกัน​อยางถูกตอง​
ภายใต​กรอบ​แหง​กฎหมาย ไม​ประพฤติ​ฝาฝน​กฎหมาย ซึ่ง​จะ​มี​ความ​ผิดและ​
ถูก​ลงโทษ
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียน​สรุปความรูท ไ่ี ด​รบั จาก​การ​ศกึ ษาเรือ่ ง ​หลักกฎหมายอาญา ล​ ง​ใน​แบบบันทึก​
ความรู

​หลักกฎหมายอาญา
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   251

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎรและบัตรประ​จำ​ตัวประชาชน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน

ผลการเรียนรู้ รู้ เข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของกฎหมายเกีย่ วกับการทะเบียนราษฎร


และบัตรประจำตัวประชาชน รวมทั้งสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียน​สรุปความรูท ไ่ี ด​รบั จาก​การ​ศกึ ษาเรือ่ ง ​กฎหมายเกีย่ วกับทะเบียนรา​ษฎรและ
บัตรประ​จำ​ตวั ประชาชน ​ลง​ใน​แบบบันทึกค​ วามรู
​กฏหมาย​เกี่ยวกับ​การ​ทะเบียนราษฎร​และ​บัตร​ประจำ​ตัวประชาชน
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
252   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​ผู​บริโภค
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับ​การคุมครอง​ผู​บริโภค

ผลการเรียนรู้ รู ​เขาใจ ​และ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญข​ อง​กฎหมาย​เกีย่ วกับ​การคุม ครอง​ผ​บู ริโภค


รวม​ทั้ง​สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได​อยาง​ถูกตอง
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียน​บนั ทึก​ความรู​ท ​ไ่ี ด​รบั ​จาก​การ​ศกึ ษา​เรือ่ ง ​กฎหมาย​เกีย่ วกับ​การ​คมุ ครอง​ผ​บู ริโภค​
ลง​ใน​แบบ​บนั ทึก​ความรู

​กฎหมายเกี่ยวกับ​การคุมครอง​ผู​บริโภค
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   253

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง กฎหมาย​เกี่ยวกับ​ยาเสพติดใหโทษ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 เรื่อง ​กฎหมาย​เกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ

ผลการเรียนรู้ รูแ ละ​เขาใจ​กฎหมาย​เกีย่ วกับย​ าเสพติดใ​หโทษ รวม​ทงั้ สามารถ​นำ​ไป​ใชแ​ กปญ


 หา
และ​แนะนำ​ให​ผูอื่น​ปฏิบัติ​ตาม​กฎหมาย​เพื่อ​หลีก​เลี่ยง​การก​ระ​ทำ​ผิด​กฎหมาย
เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในสังคมไทยและสังคมโลก
คำชี้แจง ​ให​นักเรียน​สรุปความรูที่ไดร​ ับจาก​การ​ศึกษาเรื่อง ก​ ฎหมาย​เกี่ยวกับย​ าเสพติดใหโทษ​
ลง​ใน​แบบบันทึกค​ วามรู
​กฎหมายเกี่ยวกับ​ยาเสพติดใหโทษ​
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
254   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข

ผลการเรียนรู้ ​ตระหนัก​ถงึ ​ปญ


 หา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สงั คม​ไทย และ​สามารถ​หา​แนวทาง​ปอ งกัน​
แกไข​ได
คำชี้แจง ​ให​นกั เรียน​สรุป​ความรู​ท ​ไ่ี ด​รบั ​จาก​การ​ศกึ ษา​เรือ่ ง ​ปญ หา​การ​ใช​กฎหมาย​ใน​สงั คม​ไทย​และ
แนวทาง​ปอ งกัน​แกไข ล​ ง​ใน​แบบ​บนั ทึก​ความรู

ปญหา​การ​ใชกฎหมาย​ใน​สังคม​ไทย​และ​แนวทาง​ปองกัน​แกไข​
ความรูที่ได​รับจาก​การ​ศึกษา​เรื่อง​นี้ คือ​

ชื่อ นามสกุล เลขที่


ชั้น โรงเรียน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   255

ตัวอย่างแบบประเมินทักษะการเขียนเรียงความ
เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ.
รายการประเมิน สรุปผล
ประโยคหลักให้แนวคิดหลักที่สำคัญ

​สรุปอย่างมีเหตุผล (6 คะแนน)
​คำสะกดผิดพลาดไม่เกิน 5 คำ
การเน้นประโยค (5 คะแนน)

​ลายมืออา่นออก (4 คะแนน)

รวมคะแนน (30 คะแนน)​


เลขที่ ชื่อ–สกุล
ต่อย่อหน้า (5 คะแนน)
​เขียนประโยคที่สมบูรณ์
ผ่าน ไม่่ผ่าน
(5 คะแนน)

(5 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
เกณฑ์การประเมิน
ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
ชั้น
เรื่อง

16
15
14
13
12
11
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
เลขที่

เกณฑ์การประเมิน
ชื่อ–สกุล
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่
การ​ปรากฏตัว (3 คะแนน) วันที่
การ​เริ่ม​เรื่อง (3 คะแนน)

ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
การ​ออก​เสียง​และ​จังหวะ (4 คะแนน)
การ​ลำดับ​เนื้อหา (5 คะแนน)
เดือน

บุคลิก​ทาท​าง (2 คะแนน)
การ​ใช​ถอยคำ​เหมาะสม (3 คะแนน)
รายการประเมิน
256   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ความ​เราใจ ​(2 คะแนน)


ความ​สนใจ​ของ​ผูฟง (2 คะแนน)
หนวย​การ​เรียนรู​ที่

คุณคา​ของ​เรื่อง​ที่​พูด (3 คะแนน)
ตัวอย่างแบบประเมินทักษะการพูด

การ​สรุป​ทเี่​หมาะสม (3 คะแนน)
พ.ศ.

​รวมคะแนน (30 คะแนน)


สรุปผล

ผ่าน ไม่่ผ่าน
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   257

ตัวอย่างแบบประเมินผลงาน/กิจกรรม​เปนราย​บุคคล
ผลงาน/กิจกรรมที่ เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ. ​

ความ​ถูกตอง​ของ​ผลงาน/กิจกรรม
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

จุดเดน​ของ​ผลงาน/กิจกรรม

รวมคะแนน (20 คะแนน)


รูปแบบ​การ​นำเสนอ​ผลงาน
เลขที่ ชื่อ–สกุล ความคิด​ริเริ่ม​สรางสรรค
4 3 2 1

การ​นำไปใชป​ ระโยชน
(6 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ​การ​ประเมิน (ตัวอยาง)
การ​สรุปผล​การ​ประเมิน​ให​เปน​ระดับ​คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กำหนด​เกณฑ​ได​ตาม​ความ​เหมาะสม
หรือ​อาจ​ใช​เกณฑด​ ังนี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควร​ปรับปรุง)
258   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ตัวอย่างแบบประเมินผลงาน/กิจกรรม​เปนกลุม
ผลงาน/กิจกรรมที่ เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ.
กลุ่มที่ ​

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ความ​ถูกตอง​ของ​ผลงาน/กิจกรรม

จุดเดน​ของ​ผลงาน/กิจกรรม

รวมคะแนน (20 คะแนน)


เลขที่ ชื่อ–สกุล รูปแบบ​การ​นำเสนอ​ผลงาน
ความคิด​ริเริ่ม​สรางสรรค

4 3 2 1
การ​นำไปใชป​ ระโยชน
(6 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ​การ​ประเมิน (ตัวอยาง)
การ​สรุปผล​การ​ประเมิน​ให​เปน​ระดับ​คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กำหนด​เกณฑ​ได​ตาม​ความ​เหมาะสม
หรือ​อาจ​ใช​เกณฑด​ ังนี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควร​ปรับปรุง)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   259

ตัวอย่างแบบประเมินพฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนราย​บุคคล
ผลงาน/กิจกรรมที่ เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ. ​
คำ​ชี้แจง สังเกต​พฤติกรรม​ใน​การทำงาน​ของ​นักเรียน แลว​เขียน​เครื่องหมาย 3 ลง​ในชอง​รายการ​
พฤติกรรม​ที่​นักเรียนแสดงออก
รายการประเมิน ระดับ​คุณภาพ

ประเมิน​และ​ปรับปรุงง​าน​ดวย​ความ​เต็มใจ
ไม​เอาเปรียบ​เพื่อน​ใน​การ​ทำงาน

ทำตาม​หนาทีท่​ ไี่​ดรับ​มอบหมาย

รวมคะแ​นน
พอใจ​กับค​ วาม​สำเร็จ​ของ​งาน
รับฟง​ความ​คิดเห็น​ของ​ผูอื่น

เลขที่ ชื่อ–สกุล

เคารพ​ขอตกลง​ของ​กลุม
4 3 2 1
ให​ความ​ชวยเหลือผ​ ูอื่น
มุงมั่น​ทำงาน​ให​สำเร็จ
สนใจใน​การ​ทำงาน

เสนอ​ความ​คิดเห็น

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ​การ​ประเมิน (ตัวอยาง)
1. การ​ใหคะแนน 3 ให 1 คะแนน
2. การ​สรุปผล​การ​ประเมิน​ให​เปน​ระดับ​คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กำหนด​เกณฑ​ได​ตาม​ความเหมาะสม​หรือ​
อาจ​ใชเ​กณฑ​ดังนี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช)
0–4 คะแนน = 1 (ควร​ปรับปรุง)
260   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ตัวอย่างแบบประเมินพฤติกรรม​ในการ​ทำ​งาน​เปนกลุม
ผลงาน/กิจกรรมที่ เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ. ​
กลุ่มที่ ​
คำ​ชี้แจง สังเกต​พฤติกรรม​ใน​การทำงาน​ของ​นักเรียน แลว​เขียน​เครื่องหมาย 3 ลง​ในชอง​รายการ​
พฤติกรรม​ที่​นักเรียนแสดงออก
รายการประเมิน ระดับ​คุณภาพ

รวมกันป​ รับปรุงผ​ ลงาน​ดวย​ความ​เต็มใจ


รับฟงค​ วาม​คิดเห็น​ของ​สมาชิก​กลุม
นำ​มติ/ข​ อตกลง​ของ​กลุม​ไป​ปฏิบัติ
มี​กระบวนการ​ทำงาน​เปน​ขั้นตอน
ทำตาม​หนาทีท่​ ี่​ไดรับม​ อบหมาย

พอใจ​กับค​ วาม​สำเร็จ​ของ​งาน
เลขที่ ชื่อ–สกุล
รวมกัน​แสดง​ความ​คิดเห็น

บรรยากาศ​ใน​การ​ทำงาน
4 3 2 1
แบงงาน​กัน​รับผิดชอบ

มุงมั่น​ทำงาน​ใหส​ ำเร็จ

รวมคะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ​การ​ประเมิน (ตัวอยาง)
1. การ​ใหคะแนน 3 ให 1 คะแนน
2. การ​สรุปผล​การ​ประเมิน​ให​เปน​ระดับ​คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กำหนด​เกณฑ​ได​ตาม​ความเหมาะสม​หรือ​
อาจ​ใช​เกณฑ​ดังนี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช)
0–4 คะแนน = 1 (ควร​ปรับปรุง)
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   261

ตัวอย่างแบบประเมินกระบวนการ​แสวง​หาความ​รู
เรื่อง
แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ที่ หนวย​การ​เรียนรู​ที่
ชั้น วันที่ เดือน พ.ศ.

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน หมายเหตุ
1 2 3 4
1. การ​วาง​แผนการ​ศึกษา​คนควา
2. ​การ​เรียน​รูตามที่วาง​แผน​ไว
3. ​การ​นำเสนอ​ขอคนพ​ บ
4. ​การ​วิเคราะหแ​ ละ​อภิปราย
5. การ​สรุป​องค​ความรู

เกณฑ์​การ​ประเมิน แยกตามองคประกอบ​ยอย 5 ด​ าน


​รายการ​ที่ 1 การวาง​แผนการ​ศึกษา​คนควา
4 หมายถึง ​กำหนดจุดประสงค์ ประเด็นการเรียนรู้ วิชาการ อุปกรณ์ ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม
และครบถ้วนทุกประเด็น
3 หมายถึง กำหนดจุดประสงค์ ประเด็นการเรียนรู้ วิชาการ อุปกรณ์ ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม
แต่ยังไม่ครบถ้วน
2 หมายถึง กำหนดจุดประสงค์ ประเด็นการเรียนรู้ วิชาการ อุปกรณ์ ยังไม่สอดคล้องกัน
1 หมายถึง ​ต้องได้รับคำแนะนำเพิ่มเติมในการกำหนดจุดประสงค์ และประเด็นการเรียนรู้ จึง
สามารถกำหนดวิธีการและเลือกอุปกรณ์ได้

รายการ​ที่ 2 การเรียน​รูตามที่วาง​แผน​ไว
4 หมายถึง ศึกษาค้นคว้าได้ตรงตามแผนที่วางไว้ บันทึกข้อมูลได้ตรงประเด็น ผลงานครบ
สมบูรณ์ดี
3 หมายถึง ​ศึกษาค้นคว้าได้ตรงตามแผนที่วางไว้ บันทึกข้อมูลได้บางประเด็น ผลงานดี
2 หมายถึง ​ศึกษาค้นคว้าได้ตรงตามแผนที่วางไว้ บันทึกข้อมูลยังไม่ตรงประเด็น ผลงานแก้ไข
เล็กน้อย
1 หมายถึง ศึกษาค้นคว้ายังไม่ตรงตามแผนที่วางไว้ ผลงานต้องปรับปรุง
262   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
ร​ ายการ​ที่ 3 การนำเสนอ​ขอคน​พบ
4 หมายถึง ​นำเสนอข้อค้นพบตรงประเด็น ชัดเจน เข้าใจง่าย ครบถ้วนสมบูรณ์ดี
3 หมายถึง ​นำเสนอข้อค้นพบได้บางประเด็น ต้องเก็บรายละเอียดข้อมูลอีกเล็กน้อย จึงจะครบถ้วน
สมบูรณ์
2 หมายถึง การนำเสนอข้อค้นพบยังไม่ชัดเจน สื่อความหมายได้เข้าใจพอสมควร
1 หมายถึง ​การนำเสนอข้อค้นพบไม่ชัดเจน ต้องปรับปรุง

รายการ​ที่ 4 การ​วิเคราะห​และ​อภิปราย
4 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อค้นพบได้อย่างละเอียดและสามารถอภิปรายได้ชัดเจนดี
3 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อค้นพบและสามารถอภิปรายได้ชัดเจนดี
2 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อค้นพบและสามารถอภิปรายได้เป็นบางประเด็น
1 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อค้นพบยังไม่ค่อยตรงประเด็น ต้องปรับปรุง

รายการ​ที่ 5 การสรุป​องค​ความรู
4 หมายถึง ​สรุปองค์ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอดได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของงานได้ดี
3 หมายถึง ​สรุปองค์ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอดได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของงานเป็น
บางประเด็น
2 หมายถึง ​สรุปองค์ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอดได้ แต่บางส่วนยังไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์
ต้องแก้ไขเล็กน้อย
1 หมายถึง ​ยงั สรุปองค์ความรูท้ เ่ี ป็นความคิดรวบยอดได้ไม่ชดั เจนและยังไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์
เท่าใดนัก ต้องแก้ไข

เกณฑ​การตัดสิน​ผลการเรียน
นักเรียนต้องมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในแต่ละองค์ประกอบอย่างน้อยระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน
3 ใน 5

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
/ /
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   263

ตัวอย่างแบบประเมินรายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง กลุม​ที่
ภาคเรียน​ที่ ชั้น
รายการประเมิน สรุปผล

รวม​จำนวน​รายการ​ท​ผ่ี า น​
แสดง​ความรูส กึ ​ตอ ​ชน้ิ ​งาน
การเรียน​รูที่หลากหลาย​
เนื้อหา​ครบถวน​ตรง​ตาม

ความถูกตอง​ของเนื้อหา

ประเมิน ปรับปรุง และ


ภาษาถูกตอง​เหมาะสม

รูป​แบบ​การนำ​เสนอ​
เลข​ที่ ชื่อ–สกุล

คนควาจาก​แหลง​
ไม่
ผ่าน

เกณฑ​ขั้น​ต่ำ​
ผ่าน
ประเด็น​

นา​สนใจ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ์​การ​ประเมิน แยกตามองคประกอบ​ยอย 6 ด​ าน
​รายการ​ที่ 1 เนื้อหาสาระครบ​ถวน​ตรง​ตาม​ประเด็น
4 หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
3 หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
2 หมายถึง ​มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้
1 หมายถึง ​มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง
รายการ​ที่ 2 ความถูกตอง​ของเนื้อหา​สาระ
4 หมายถึง ​เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
3 หมายถึง ​เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
2 หมายถึง ​เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ต้องแก้ไขบางส่วน
1 หมายถึง ​เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่
264   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
รายการ​ที่ 3 ภาษา​ถูกตอง​เหมาะสม
4 หมายถึง ​สะกดการันต์ถูกต้อง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดีมาก ลำดับความได้ชัดเจน เข้าใจง่าย
3 หมายถึง ​สะกดการันต์ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดี ลำดับความได้ดีพอใช้
2 หมายถึง ​สะกดการันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมพอใช้ ลำดับความพอเข้าใจ
1 หมายถึง ​สะกดการันต์ผิดมาก ถ้อยคำสำนวนไม่เหมาะสม ลำดับความได้ไม่ชัดเจน
รายการ​ที่ 4 คนควา​จาก​แหลงการเรียน​รูที่​หลากหลาย
4 หมายถึง ​ค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ 4 แหล่งขึ้นไป
3 หมายถึง ​ค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ 3 แหล่งขึ้นไป
2 หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ 2 แหล่ง
1 หมายถึง ​ใช้ความรู้เพียงแหล่งการเรียนรู้เดียว
รายการ​ที่ 5 รูป​แบบ​การนำ​เสนอ​นา​สนใจ
4 หมายถึง ​รูปแบบการนำเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลำดับเรื่องราวได้ดีมาก
3 หมายถึง ​รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ดี
2 หมายถึง ​รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลำดับเรื่องราวได้พอใช้
1 หมายถึง ​รูปแบบการนำเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ไม่ดี
รายการ​ที่ 6 ประเมิน ปรับปรุง และ​แสดง​ความรูสึก​ตอ​ชิ้น​งาน
4 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้ชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง
ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทำงานและผลงานได้อย่างชัดเจน
3 หมายถึง ​วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุงพัฒนางานได้บ้าง แสดงความรู้สึก
ต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
2 หมายถึง ​ศึกษาค้นคว้าได้ตรงตามแผนที่วางไว้ บันทึกข้อมูลยังไม่ตรงประเด็น ผลงานแก้ไข
เล็กน้อย
1 หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุงพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้
ต้องได้รับคำแนะนำจากผู้อื่น แสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน

เกณฑ​การตัดสิน​ผลการเรียน
นั ก เรี ย นต้ อ งมี พ ฤติ ก รรมในแต่ ล ะรายการอย่ า งน้ อ ยระดั บ 3 ขึ้ น ไป จำนวน 4 ใน 6
รายการ

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
/ /
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   265

มิติ​คุณภาพ​ของ​การ​บันทึก​ผลงาน
กำหนด​เกณฑ​การ​ประเมินผล​การ​บันทึกผ​ ลงาน​โดย​ใช​มาตร​าสวน​ประเมินคา 4 ระดับ ดังนี้
รายการ​ประเมิน ระดับ​คุณภาพ
– บันทึก​ผลงาน​ได​ถูกตอง​ตาม​จุดประสงค เขียน​บันทึก​ได​ชัดเจน แนวคิด​หลัก​ 4
ถูกตอง มี​ประเด็น​สำคัญ​ครบถวน
– ใช​ภาษา​ได​อยาง​เหมาะสม คำ​ศัพท​ถูกตอง
– บันทึก​ผลงาน​ได​ตรงตาม​จุดประสงค เขียน​บันทึก​ที่​มี​บางสวน​ยัง​ไม​ชัดเจน 3
แนวคิด​หลักถ​ กู ตอง ​ประเด็น​สำคัญ​ครบถวน
– ใช​ภาษา คำ​ศัพท​ไมถูกตอง​ใน​บางสวน
– บันทึกผ​ ลงาน​ยดึ ต​ าม​จดุ ประสงค เขียน​บนั ทึกไ​มช​ ดั เจน แนวคิดห​ ลักบ​ างสวน​ 2
ไมถูกตอง สวน​ที่​เปนป​ ระเด็นส​ ำคัญ​มี​ไมค​ รบถวน
– ใช​ภาษา คำ​ศัพท​ไมถูกตอง​ใน​บางสวน
– บันทึก​ผลงาน​ไม​สอดคลองกับ​จุดประสงค เขียน​บนั ทึก​ไม​ชดั เจน และ​แนวคิด​ 1
หลัก​สว นใหญ​ไมถูกตอง
– ใช​ภาษา คำ​ศัพท​ไมถูกตอง
266   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ตัวอย่างแบบประเมินโครง​งาน
ชื่อโครงงาน กลุม​ที่
ภาคเรียน​ที่ ชั้น
รายการประเมิน สรุป

สามารถ​นำ​ไป​ใช​แก​ปัญหา​

รวม​จำนวน​รายการ​ท​ผ่ี า น​
 หา​ไดเหมาะสม​
วาง​แผนกำหนด​ขน้ั ​ตอน
กำหนด​ประเด็น​ปญหา

ลงมือปฏิบัตติ​ ามแผน

​เขียน​รายงาน​นำเสนอ
เลข​ที่ ชื่อ–สกุล ไม่

ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน
ผ่าน

เกณฑ​ขั้น​ต่ำ​
ผ่าน

การแก​ปญ
ชัดเจน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
เกณฑ์​การ​ประเมิน แยกตามองคประกอบ​ยอย 5 ​ดาน
​รายการ​ที่ 1 เนื้อหสาระครบ​ถวน​ตรง​ตาม​ประเด็น
4 หมายถึง ​กำหนดประเด็นปัญหาได้ด้วยตนเอง ปัญหาที่กำหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจน
ดีมาก
3 หมายถึง กำหนดประเด็นปัญหาได้ด้วยตนเอง ปัญหาที่กำหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดี
2 หมายถึง ​กำหนดประเด็นปัญหาได้ด้วยตนเองเป็นบางส่วน ปัญหาที่กำหนดมีความเฉพาะเจาะจง
ชัดเจนพอใช้
1 หมายถึง ​กำหนดประเด็นปัญหาด้วยตนเองไม่ได้
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   267

รายการ​ที่ 2 วาง​แผนกำหนด​ขั้น​ตอน​การแก​ปญหา​ไดเหมาะสม
4 หมายถึง ​ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ถูกต้องเหมาะสม
3 หมายถึง ​ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ค่อนข้างเหมาะสม
2 หมายถึง ​ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้เหมาะสมพอใช้
1 หมายถึง ​ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ไม่เหมาะสม
รายการ​ที่ 3 ​ลงมือ​ปฏิบัติ​ตาม​แผน
4 หมายถึง ​ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างครบถ้วนจริงจัง สามารถค้นพบความรู้
ข้อคิด แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ด้วยตนเองทั้งหมด
3 หมายถึง ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างครบถ้วนจริงจัง สามารถค้นพบความรู้
ข้อคิด แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่
2 หมายถึง ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดบ้าง แต่ไม่ครบถ้วน สามารถค้นพบความรู้ ข้อคิด
แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ด้วยตนเองเป็นบางส่วน
1 หมายถึง ​ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดได้น้อยมาก ไม่สามารถค้นพบความรู้ ข้อคิด แนวทาง
การปฏิบัติตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้
​รายการ​ที่ 4 สามารถ​นำ​ไป​ใช​แก​ปญหา​ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน
4 หมายถึง ​นำข้อค้นพบ วิธปี ฏิบตั ไิ ปใช้แก้ปญ ั หาในชีวติ ประจำวันได้ครบถ้วน ถูกต้อง และต่อเนือ่ ง
3 หมายถึง นำข้อค้นพบ วิธปี ฏิบตั ไิ ปใช้แก้ปญ ั หาในชีวติ ประจำวันได้ครบถ้วน ถูกต้อง แต่ขาดความ
ต่อเนื่อง
2 หมายถึง ​นำข้อค้นพบ วิธีปฏิบัติไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้เป็นบางส่วน และต้องกระตุ้น
เตือนให้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1 หมายถึง ​นำข้อค้นพบ วิธีปฏิบัติไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้น้อยมาก หรือไม่นำไปใช้เลย
​รายการ​ที่ 5 เขียนรา​ยงานนำเสนอ
4 หมายถึง ​บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนำเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้นตอน
การวางแผน การลงมือแก้ปัญหาและข้อค้นพบที่ได้ครบถ้วน
3 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนำเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้นตอน
การวางแผน การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ค่อนข้างครบถ้วน
2 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนำเสนอข้อมูลได้บา้ ง แสดงให้เห็นถึงขัน้ ตอนการวางแผน
การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้เพียงบางส่วน
1 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนำเสนอข้อมูลได้น้อยมาก เห็นขั้นตอนการวางแผน
การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ไม่ชัดเจน
เกณฑ​การตัดสิน​ผลการเรียน
นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 3 ใน 5 รายการ

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
/ /
268   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6
​แฟม​สะสม​ผลงาน ​(​p​o​r​t​f​o​l​i​o​)​ ​เปน​แหลง​รวบรวม​ผลงาน​ของ​นักเรียน​อยาง​เปนระบบ​ที่​นำ
มา​ใช​ประเมิน​สมรรถภาพ​ของ​นักเรียน ​เพื่อ​ชวย​ให​นักเรียน ​ครู ​ผูปกครอง​หรือ​ผู​ที่​เกี่ยวของ​เกิด​ความ
​เขา​ใจ​และ​มองเห็น​อยาง​เปน​รูปธรรม​ได​วา ​การ​ปฏิบัติ​งาน​และ​ผลงาน​ของ​นักเรียน​มี​คุณภาพ​มาตรฐาน
​อยู​ใน​ระดับ​ใด ​
​แฟมส​ ะสม​ผลงาน​เปนเ​ครือ่ งมือป​ ระเมินผล​ตาม​สภาพจริงท​ ใ​ี่ หโอกาส​นกั เรียน​ไดใ​ชผ​ ลงาน​จาก​ทไ​ี่ ด​
ปฏิบตั จ​ิ ริงส​ อื่ สาร​ใหผ​ อู นื่ เ​ขาใ​จ​ถงึ ค​ วาม​สามารถ​ทแ​ี่ ทจริงข​ อง​ตน ซ​ งึ่ ผ​ ลงาน​ทเี่ ก็บส​ ะสม​ใน​แฟมส​ ะสม​ผลงาน​
มี​หลาย​ลักษณะ ​เชน ​การ​เขียน​รายงาน ​บทความ ​การ​ศึกษา​คนควา ​สิ่ง​ประดิษฐ ​การ​ทำ​โครงงาน ​บันทึก​
การ​บรรยาย บ​ ันทึกก​ าร​ทดลอง ​บันทึกก​ าร​อภิปราย ​บันทึก​ประจำวัน ​แบบทดสอบ
แบบ​บันท​ึก​ความคิดเห็น​เกี่ยวกับ​การ​ประเมินชิ้นงาน​ใน​แฟม​สะ​สมผลงาน​
​ชื่อผลงาน วันที่ เดือน พ.ศ.
หนวย​การเรียน​รูที่ เรื่อง
รายการประเมิน บันทึกความคิดเห็นของนักเรียน
1. เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนี้ไว้ในแฟ้มสะสม
ผลงาน
2. จุดเด่นและจุดด้อยของผลงานชิ้นนี้มี
อะไรบ้าง
3. ถ้าจะปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ให้ดีขึ้นควร
ปรับปรุงอย่างไร
4. ผลงานชิน้ นีค้ วรได้คะแนนเท่าใด เพราะเหตุใด
(ถ้ากำหนดให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ควา​มเห็นของครู​หรือที่​ป​รึกษา​ ควา​มเห็นของผู​ปกครอง

ผลการ​ประเมินของเพื่อน​
คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6   269

ตัวอย่างแบบประเมินแฟมส​ ะสม​ผลงาน
เรื่อง กลุม​ที่
ภาคเรียน​ที่ ชั้น
ระดับคุณภาพ
​รายการประเมิน
1 2 3 4
1. โครงสร้างและองค์ประกอบ
2. แนวความคิดหลัก
3. การประเมินผล
4. การนำเสนอ
เกณฑ​การ​ประเมิน แยก​ตาม​องคประกอบ​ยอย 4 ด​ าน
ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
1. โครงสร้างและองค์ประกอบ
4 ผลงานมีองค์ประกอบที่สำคัญครบถ้วนและจัดเก็บได้อย่างเป็นระบบ
3 ผลงานมีองค์ประกอบที่สำคัญเกือบครบถ้วนและส่วนใหญ่จัดเก็บอย่างเป็นระบบ
2 ผลงานมีองค์ประกอบที่สำคัญเป็นส่วนน้อย แต่บางชิ้นงานมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ
1 ผลงานขาดองค์ประกอบที่สำคัญและการจัดเก็บไม่เป็นระบบ
2. แนวความคิดหลัก
4 ผลงาน​สะทอน​แนวความคิด​หลัก​ของ​นักเรียน​ที่​ได​ความรู​ทางกฎหมาย มี​หลักฐาน​
แสดงวาม​ ี​การนำ​ความรู​ไป​ใชป​ ระโยชน​ได​มาก
3 ผลงาน​สะทอน​แนวความคิด​หลัก​ของ​นักเรียน​ที่​ได​ความรู​ทาง​กฎหมาย มี​หลักฐาน​
แสดงวาส​ ามารถ​นำ​ความรู​ไป​ใชใ​น​สถานการณ​ตัวอยาง​ได
2 ผลงาน​สะทอน​แนวความคิดห​ ลักข​ อง​นกั เรียน​วา ไ​ดค​ วามรูท​ าง​กฎหมายบาง มีห​ ลักฐาน​
แสดงถึง​ความ​พยายาม​ที่จะ​นำไปใชป​ ระโยชน
1 ผลงาน​จัด​ไมเ​ปนระบบ มี​หลักฐาน​แสดงวา​มีความรู​ทางกฎหมายนอยมาก
3. การประเมินผล
4 มี​การ​ประเมิน​ความ​สามารถ​และ​ประสิทธิภาพ​การ​ปฏิบัต​ิงาน​และ​ผลงาน ​รวมทั้ง​มี​การ​
เสนอแนะ​โครงการ​ที่​เปนไปไดท​ ี่จะ​จัดทำ​ตอไป​ไว​อยาง​ชัดเจน​หลาย​โครงการ
3 มี​การ​ประเมิน​ความ​สามารถ​และ​ประสิทธิภาพ​การ​ปฏิบัต​ิงาน​และ​ผลงาน ​รวมทั้ง​มีการ​
เสนอแนะ​โครงการ​ที่​ควร​จัดทำ​ตอไป
2 มี​การ​ประเมิน​ความ​สามารถ​และ​ประสิทธิภาพ​การ​ปฏิบัติ​งาน​และ​ผลงาน​บาง ​รวมทั้ง​
มีการ​เสนอแนะ​โครงการ​ที่จะ​ทำ​ตอไป​แต​ไม​ชัดเจน
1 มี​การ​ประเมิน​ประสิทธิภาพ​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​และ​ผลงาน​นอ ยมาก​และ​ไมมข​ี อ ​เสนอแนะ​ใด ๆ
270   คูมือครู แผนฯ รายวิชา​เพิ่มเติม กฎหมาย​ที่​ประชาชน​ควร​รู ม. 4–6

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
4. การนำเสนอ
4 เขียน​บทสรุป​และ​รายงาน​ที่​มี​ระบบ​ดี มี​ขั้นตอน มี​ขอมูล​ครบถวน มี​การ​ประเมินผล​
ครบถวน แ​ สดงออก​ถึง​ความคิดร​ ิเริ่ม​สรางสรรค
3 เขียน​บทสรุป​และ​รายงาน​แสดงใหเห็น​วา​มี​ขั้นตอน​การ​จัดเก็บ​ผลงาน มี​การ​ประเมิน​
ผลงาน​เปน​สวนมาก
2 เขียน​บทสรุปแ​ ละ​รายงาน​แสดงใหเห็นว​ า ม​ ข​ี นั้ ตอน​การ​จดั เก็บผ​ ลงาน มีก​ าร​ประเมินผล​
เปน​บางสวน​
1 เขียน​บทสรุป​และ​รายงาน​แสดงใหเห็น​วา​มี​ขั้นตอน​การ​จัดเก็บ​ผลงาน แต​ไมมี​การ​
ประเมินผล

เกณฑ​การ​ประเมิน​โดย​ภาพรวม
ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
4 ผลงาน​มร​ี ายละเอียด​มาก​เพียงพอ ไมมข​ี อ ผ​ ดิ พลาด​หรือแ​ สดงถึงค​ วาม​ไมเขาใจ มีค​ วาม​
เขาใจ​ใน​เรื่อง​ที่​ศึกษา​โดย​มี​การ​บูรณาการ​หรือ​เชื่อมโยง​แนวความคิด​หลัก​ตาง ๆ ​เขา​
ดวยกัน
3 ผลงาน​มร​ี ายละเอียด​มาก​เพียงพอ​และ​ไมมข​ี อ ผ​ ดิ พลาด​หรือแ​ สดงถึงค​ วาม​ไมเขาใจ แต​
ข อ มู ล​ต  า ง ๆ ​เป น​ลั ก ษณะ​ข อง​ก าร​น ำเสนอ​ที่ ​ไ ม ไ ด ​บู ร ณาการ​ร ะหว า ง​ข  อ มู ล ​กั บ​
แนวความคิดห​ ลัก​ของ​เรื่อง​ที่​ศึกษา
2 ผลงาน​มร​ี ายละเอียด​ทบ​ี่ นั ทึกไ​ว แตพ​ บ​วา บ​ างสวน​มคี วามผิดพ​ ลาด​หรือไมช​ ดั เจน ห​ รือ​
แสดงถึง​ความ​ไมเขาใจ​เรื่อง​ที่​ศึกษา
1 ผลงานมีข้อมูลน้อย ไม่มีรายละเอียดบันทึกไว้

You might also like