You are on page 1of 65

เอกสารประกอบการเรียน

เรียบเรียงโดย : คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดามาก

HOWE
Noda
ชื่อ-สกุล..............................................................................
'
Yao Nang
ชื่อเล่น.......................................
88
of@
ชั้น ม.6/........ เลขที.่ ......
3 17
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) เล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ


สาระหน้าที่พลเมือง (กฎหมาย) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากตำราของผู้รู้ ท่านวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้
เรียบเรียงไว้ เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยเน้นมาตรฐาน
ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนวัดราชบพิธ ขอขอบคุณผู้รู้ท่านวิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้เรียบเรียงตำราขึ้นมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนรายวิชา สังคม
ศึกษา 5 (ส33101) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ถ้ามีข้อบกพร่องประการใดโปรดแจ้งทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมได้ทราบ ทั้งนี้เพื่อ
เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นสืบไป

คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนวัดราชบพิธ
31 มีนาคม 2563


คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สำรบัญ
หน้า

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย 1
ความสำคัญของกฎหมาย 1
ลักษณะของกฎหมาย 1
ระบบกฎหมาย 1
ประเภทของกฎหมาย 2
ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย 3

หน่วยที่ 2 บุคคล (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ควรรู้)


บุคคลธรรมดา (Natural person) 4
นิติบุคคล (Juristic person) 7

หน่วยที่ 3 ครอบครัว (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ควรรู้)


การหมั้น 9
การสมรส 10
สามีภรรยา 11
บิดาและบุตร 12
การหย่า 14
บุตรบุญธรรม 15

หน่วยที่ 4 ทรัพย์ (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ควรรู้)


ความรู้เบื้องต้น 17
สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ 17
ส่วนควบ อุปกรณ์ และดอกผล 18
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ 19


คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สำรบัญ (ต่อ)
หน้า

หน่วยที่ 5 มรดก (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ควรรู้)


ความหมายของมรดก 20
ผู้มีสิทธิรับมรดก 20
การเสียสิทธิในทรัพย์มรดก 26

หน่วยที่ 6 กฎหมายอาญาที่ควรรู้
ความหมายของกฎหมายอาญา 28
หลักเกณฑ์และลักษณะความผิดทางอาญา 28
โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา 28
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดทางอาญา 30
การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญา 31
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 38

หน่วยที่ 7 กฎหมายพิเศษ
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน 43
กฎหมายลิขสิทธิ์ 46

หน่วยที่ 8 เอกเทศสัญญา (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ควรรู้)


ความหมายของเอกเทศสัญญา 49
ประเภทของสัญญา 49
สัญญายืม 50
สัญญาซื้อขาย 51
สัญญาเช่าทรัพย์ และสัญญาเช่าซื้อ 53
สัญญาค้ําประกัน สัญญาจํานอง และสัญญาจํานํา 55


คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 1 : ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมำย
ex dsgoriodsaeo doodahs
ความหมายของกฎหมาย
.

oiigorodae bananas again


ความหมายของ “กฎหมาย” ในพจนานุกรมฉบับ ราชบั ณ ฑิต ยสถาน พุทธศักราช 2542 อธิบ ายว่ า
กฎหมาย หมายถึง กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้นหรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับ
นับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ
ความสำคัญของกฎหมาย
1. การเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
2. การเป็นเครื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
3. การเป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลด้วยกัน
4. การเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
ลักษณะของกฎหมาย
1. กฎหมายต้องเป็นกฎเกณฑ์
2. กฎหมายต้องกำหนดความประพฤติของบุคคล
3. กฎหมายต้องมีกระบวนการที่แน่นอน
4. กฎหมายจะต้องมีสภาพบังคับ
ระบบกฎหมาย
**
ซีวิลลอว์ aimsaaeasnnbo
poiคอมมอนลอว์
son s

หัวข้อ In'8msaaJw9n
(Civil Law system) pirogues (Common Law system) doggish
มี ร ากฐานมาจากชาวโรมั น โดยใน มีที่มาจากประเทศอังกฤษ ซึ่งอาศัยการนำ
รัชสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน (Justinian) กษัตริย์ คำพิพากษาของศาลในคดีก่อนมาเป็น หลักในการ
ความเป็นมา โรมันทรงโปรดให้นักกฎหมายรวบรวมกฎหมาย พิพากษาหรือวินิจฉัยในคดีหลังที่มีข้อเท็จจริงทำนอง
โรมันให้เป็นระบบ เป็นประมวลกฎหมายที่รียกว่า เดียวกัน จนเกิดเป็นหลักเกณฑ์ทั่วไป
“ประมวลกฎหมายจัสติเนียน”
ประเทศที่ใช้ ไทย เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น อิตาลี สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย

1
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ประเภทของกฎหมาย

1. แบ่งตามรูปแบบของกฎหมาย Civil low common Low

q p
กฎหมายลายลักษณ์อักษร (Written Law) กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Unwritten Law)
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยผ่านกระบวนการใน กฎหมายที่ไม่ได้บัญญัติขึ้นโดยผ่านกระบวนการ
การตรากฎหมายตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ ในการตรากฎหมายตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ
2. แบ่งตามความสัมพันธ์ของคู่กรณี
phew; intorsion )

กฎหมายเอกชน (Private Law) anions


-
กฎหมายมหาชน
O (Public Law)
9
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชน กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
กับเอกชน หรือรัฐกับเอกชน โดยทั้งสองฝ่ายอยู่ในฐานะ กับเอกชน ในฐานะที่รัฐอยู่เหนือกว่าเอกชน
เท่าเทียมกัน ex .
groan 1uEBWIdaoG/msuedlmsu8w ex .

msqwqsidso.no
3. แบ่งตามบทบาทหน้าที่ของกฎหมาย
qg88waow
dog กฎหมายสารบัญญัติ (Substantive Law) กฎหมายวิธีสO
บัญญัติ (Procedural Law)
H
NV
d

BUON
เป็น กฎหมายที่ทำหน้าที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ เป็นกฎหมายที่ทำหน้าที่กำหนดวิธีการบังคับ
ความรับผิดชอบของบุคคล หรือเป็นกฎหมายที่ควบคุม วิธีพิจารณาความ การฟ้องร้องดำเนินคดีให้เป็นไปตาม
ความประพฤติของคนในสังคมโดยตรง บทบัญญัติของกฎหมายสารบัญญัติ
4. แบ่งตามแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายในประเทศ (Internal Law) กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กฎหมายที่ออกโดยองค์กรที่มีอำนาจในการตรา กฎหมายที่ใช้บ ังคับ ในสังคมระหว่างประเทศ
กฎหมายภายในประเทศ เช่น พรบ. ต่าง ๆ ของไทย เช่น แผนกคดีเมือง แผนกคดีบุคคล แผนกคดีอาญา
5. แบ่งตามสภาพบังคับของกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
กฎหมายที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชน กฎหมายที่จะว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ④
again gunshot
11
กับเอกชน เกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบของ กับเอกชน ในฐานะที่รัฐเป็นผู้ดูแลความสงบเรียบร้อย €7 - ooo

1) inns
บุคคลตามกฎหมาย มีสภาพบังคับ ของสังคมโดยมีสภาพบังคับ Voguls

2
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย UG nm soon

8 ② Via ③
of 2h

ชื่อกฎหมาย ผู้เสนอร่าง ④ n°7 a on ⑥ nooo


ผู้พิจารณา ผู้ตรา/ผู้อนุมัติ การประกาศใช้
Iis
1. คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พระมหากษัตริย์ ประกาศใน

2. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิกที่ ราชกิจจานุเบกษา
มีอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร
รัฐธรรมนูญ 3. ส.ส. และ ส.ว. มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1
ใน 5 ของทั้งสองสภา

/
4. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า
50,000 คน
1. คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พระมหากษัตริย์ ประกาศใน
2. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของสมาชิก ราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติ ที่มีอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร
ประกอบ 3. ส.ส. และ ส.ว. มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1
รัฐธรรมนูญ ใน 10 ของทั้งสองสภา
อิสระตามรัฐธรรมนูญ
4. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กร
อิสระตามรัฐธรรมนูญ
1. คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พระมหากษัตริย์ ประกาศใน antidote
woods : end
q
② 2. ส.ส. 20 คนขึ้นไปโดยไม่ต้องมีมติพรรค ราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติ การเมืองรับรอง
3. ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
4. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า
10,000 คน
③ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา พระมหากษัตริย์ ประกาศใน
ประมวลกฎหมาย
ราชกิจจานุเบกษา
รัฐมนตรีในกรณี
④ คณะรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ ประกาศใน
พระราชกำหนด 1. ฉุกเฉินหรือจำเป็น ราชกิจจานุเบกษา
2. เรื่องภาษีอากรหรือเงินตรา
ex .
Cba of@ )
Won .
(ต้องพิจารณาเร่งด่วนและลับ)
o

3
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ชื่อกฎหมาย ผู้เสนอร่าง ผู้พิจารณา ผู้ตรา/ผู้อนุมัติ การประกาศใช้


รัฐมนตรีในกรณีกำหนดรายละเอียดของ คณะรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ ประกาศใน
พระราชกฤษฎีกา กฎหมายหลักฐานะเป็นกฎเกณฑ์แห่ง ราชกิจจานุเบกษา
กฎหมาย


กฎกระทรวง รัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี ประกาศใน
ผู้รักษาการ ราชกิจจานุเบกษา

กฎหมายที่ตราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้


nodaegrieonossigs
องค์กร ชื่อกฎหมาย ผู้เสนอร่าง ผู้พิจารณา ผู้เห็นชอบ
องค์การบริหาร ข้อบัญญัติ 1. นายก อบจ. สภา อบจ. ผู้ว่าราชการ
ส่วนจังหวัด องค์การบริหาร 2. สมาชิกสภา อบจ. จังหวัด
OUR .
ส่วนจังหวัด 3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขต อบจ.
เทศบาล เทศบัญญัติ 1. นายกเทศมนตรี สภาเทศบาล ผู้ว่าราชการ
2. สมาชิกสภาเทศบาล จังหวัด
3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาล
องค์การบริหาร ข้อบัญญัติ 1. นายก อบต. สภา อบต. นายอำเภอ
ส่วนตำบล องค์การบริหาร 2. สมาชิกสภา อบต.
DNA .
ส่วนตำบล 3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขต อบต.
กรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติ 1. ผู้ว่าฯ กทม. สภา กทม. ผู้ว่าฯ กทม.
กรุงเทพ 2. สมาชิกสภา กทม.
and .

มหานคร 3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขต กทม.


พัทยา ข้อบัญญัติ 1. นายกเมืองพัทยา สภาเมือง ผู้ว่าราชการ
เมืองพัทยา 2. สมาชิกสภาเมืองพัทยา พัทยา จังหวัดชลบุรี
3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมือง
พัทยา

4
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 2 : บุคคล (กฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ทค


ี่ วรรู้)
aiaoiongaano Ingraham
:

Gantnerodors โมฆะ นิติกรรมที่เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย ex .


rainforesttailor : iiooieoaogoinae
9 ⑨ aiaoioeiaossar
คำควรรู้ โมฆียะ นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายถ้าไม่มีการบอกล้างโมฆียกรรม
นิติกรรม การใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูก
นิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
“สภาพบุคคล” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
บุคคลธรรมดา (Natural person) r นิติบุคคล (Juristic person)
whinny
i.

158W .

..

oonameionoaasoaraiosa
song,
'
agnomen
บุคคลธรรมดา (Natural person)
การเริ่มต้นสภาพบุคคล ①
เริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย”
สิทธิของบุคคล อำนาจหรือผลประโยชน์ที่กฎหมายรองรับและคุ้มครอง จะละเมิดสิทธิของผู้อื่นไม่ได้
หน้าทีข่ องบุคคล ภาระความรับผิดชอบที่บุคคลต้องปฏิบัติตามกฎหมาย MY brainnow
bodonis
ทารกในครรภ์มารดา ไม่ถือว่ามีสภาพบุคคล แต่มีสิทธิในการรับมรดก gigging
j
การนับอายุของบุคคล aww 310889
O

วัน เดือน ปี ผล 00.00W .

q
ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่บุคคลนั้นเกิดเป็นวันแรก โดยไม่คำนึงถึงว่าบุคคลนั้นจะเกิดในเวลาใด
-
%dhTu8woTwb8owgEWm
mmmm
bkhsoeisbnncaw.nl
- -
9uTEu5wa%8d§n5s ⑥www.iacea.nl
m

- - -
mm

mention
phonometer if
shiggdmwesmnansgrnsce a.m

ความสามารถของบุคคล การที่บุคคลมีสิทธิและสามารถใช้สิทธิของตนตามกฎหมายได้ แต่ก็จะมีบุคคล


บางประเภทอาจมีความด้อยทางวุฒิภาวะBethany
ร่างกาย หรือสติปัญญา กฎหมายจึงคุ้มครอง มี 4 ประเภท ดังนี้
wiser

.nq คนไร้ความสามารถ
qbfwegheeiogsn.at also

หัวข้อ ผู้เยาว์ คนเมือนไร้ความสามารถ บุคคลวิกลจริต


บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติ บุคคลวิกลจริตที่ศาลสั่งให้ บุคคลที่ไม่สามารถทำการ บุคคลที่มีอาการวิกลจริต
A l
ความหมาย ภาวะ เป็นคนไร้ความสามารถ งานของตนได้ เพราะมี ทีศ่ าลยังไม่ได้สั่งให้เป็น
qro8ofo.SI ④ nodosa ' W

แล้ว Laurinaitis กายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่ บุคคลไร้ความสามารถ


Boingo
I ogogggajoagoia 88

Bildung Wagggs
8869USD90 grump
tonooa ganon
oatmeal

TggTqgp O
o

5
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สมประกอบ หรือประพฤติ oiaenoowoia

Gajanan paid
n
noooo
.
Hogan
สุรุ่ยสุร่ายเป็นอาจิณ µ Gan WIN
.

ผู้ดูแล ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล ผู้พิทักษ์ -


ต้องได้รับความยินยอม นิติกรรมที่คนไร้ สามารถทำนิติกรรมใด ๆ การกระทำนิติกรรมใด ๆ
ของผู้แทนโดยชอบธรรม ความสามารถทำลงไปมีผล ได้ตามปกติและมีผล มีผลสมบูรณ์ แต่จะเป็น
ก่อน การทำการใด ๆ ที่ โมฆียะเสมอ เนื่องจาก สมบูรณ์ เว้นแต่นิติกรรม โมฆียะเมื่อเข้ากรณี
ผู้เยาว์ได้ทำลงปราศจาก กฎหมายประสงค์ให้ผู้ บางอย่างที่กฎหมาย ดังต่อไปนี้
นิติกรรม
ความยินยอมเช่นว่านั้น อนุบาลเป็นผู้ทำแทน กำหนดว่าต้องไปขอความ 1. กระทำการใด ๆ ลงไป
เป็นโมฆียะ ยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อน ขณะที่จริตวิกลอยู่
/ ถ้าทำโดยฝ่าฝืนนิติกรรม 2. คู่กรณีอีกฝ่ายรู้ว่า
morning wld
naw
นั้นจะตกเป็นโมฆียะ ผู้กระทำเป็นคนวิกลจริต
นิติกรรมที่ผู้เยาว์ทำได้เอง หลักเกณฑ์ของคนไร้ หลักเกณฑ์ของคนเสมือน การทำพินัยกรรมจะ
และมีผลสมบูรณ์ ความสามารถ ไร้ความสามารถ สมบูรณ์ แต่จะเป็นอัน
1) นิติกรรมที่เกิดแก่ 1) เป็นคนวิกลจริตถึง 1) มีเหตุตามกฎหมาย เสียเปล่าหากทำในขณะ
ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว ironware ขนาด n
ได้แก่ กายพิการ จิตฟั่น จริตวิกล Kwong
q
.

2) นิติกรรมที่ต้องทำ nikon 2) เมื่อคู่สมรส บุพการี เฟือนไม่สมประกอบ หรือ


เพิ่มเติม เฉพาะตัว ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเป็น
3) นิติกรรมที่สมแก่ หรือผู้พิทักษ์หรือพนักงาน อาจิณ
ฐานานุรูปแห่งตน อัยการยื่นคำร้องขอต่อ 2) เหตุข้างต้นทำให้ไม่
* 4) ทำพินัยกรรมเมื่ออายุ * ศาลเพื่อให้ศาลมีคำสั่ง สามารถจัดทำการงานของ
15 ปีบริบูรณ์ ตนได้
3) เมื่อมีการร้องขอต่อศาล
การสิ้นสุดสภาพบุคคล การตายตามธรรมชาติ คือ การตายโดยที่ร่างกายทุกส่วนหยุดทำงานและสิ้นชีวิต
ไป และการตายโดยผลของกฎหมาย “การสาบสูญ” คือ การสิ้นสุดสภาพบุคคลโดยผลแห่งกฎหมาย ซึ่งจะใช้กับ
I
บุคคลที่ได้หายไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่โดยไม่ทราบข่าวคราวจนมีผู้ร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคน
[ ① roofdnoi : SF

สาบสูญ ② north baht : 28

\
n so
.
I n°1890078

078WING sign / Goudy g

r .
Twain insides anilin .
diarra ones ② Enamel

③ ionisationwww.owltk.dianoa
n'

6
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

นิติบุคคล (Juristic person)

ความหมายของนิติบุคคล บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นโดยรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคล
\
ธรรมดา ex . so .
Inositol .ns8nsos/ now I cushion

was I Tor / neon .

การเริ่มสภาพบุคคลของนิติบุคคล มีการก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจแห่งบทบัญญัติแห่งกฎหมายหรือผ่าน
ขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด
สิทธิหน้าที่ของนิติบุคคล นิติบุคคลซึ่งก่อตั้งขึ้นแล้วย่อมมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา
ยกเว้นแต่มีข้อจำกัด ดังนี้ 1) สิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายแพ่งว่าด้วยครอบครัว มรดก 2) สิทธิและหน้าที่ตาม
=
กฎหมายมหาชน 3) สิทธิและหน้าที่ทางกฎหมายอาญา และ 4) สิทธิและหน้าที่ทางการเมือง -

ภูมิลำเนาของนิติบุคคล 1) ถิ่นที่สำนักงานแห่งใหญ่ที่ตั้งอยู่หรือที่ตั้งที่ทำการตั้งอยู่ 2) ถิ่นที่เลือกเอาเป็น


ภูมิลำเนาเฉพาะการตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้ง และ 3) อาจจะเป็นถิ่นที่มีสาขาสำนักงานอันควรจัดเป็น
f-
I

ภูมิลำเนาเฉพาะในส่วนกิจการอันทำ ณ ที่นั้น
การสิ้นสุดของสภาพนิติบุคคล 1) ตามที่ระบุไว้ในตราสารหรือข้อบังคับจัดตั้ง 2) โดยสมาชิกตกลงเลิก -

3) เลิกโดยผลแห่งกฎหมาย เช่น บริษัทล้มละลาย และ 4) โดยคำสั่งศาลให้เลิก


-

มาฝึกสมองกันหน่อย

นายอนันฎามีภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมาย คือ นางลีน่าจัง มีบุตร 1 คน คือ เด็กชายรุ่งโรจน์ และนางลีน่าจังได้


ตั้งครรภ์บุตรอีก 1 คนได้ 3 เดือน ต่อมานายอนันฎาประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์จนถึงแก่ความตาย หลังจาก
นายอนันฎาตายได้ 6 เดือน นางลีน่าจังก็คลอดบุตรอีก 1 คน ชื่อเด็ก ชายหรรษธร ดังนั้นมรดกของนายอนันฎา
ตกได้กับใครบ้าง (ในกรณีไม่ทำพินัยกรรมไว้)
....................................................................................................................................................................................
1. Finds 2 .

8,898028 3. assets

bbgrgigeaoaoneosb
3108W
.................................................................................................................................................................... ................

วรัตถ์เกิดวันที่ 28 สิงหาคม 2546 เวลา 11.00 น. จะมีอายุครบ 1 ปีเมื่อใด


....................................................................................................................................................................................
TUTT 28 8897MW W.pt .
2547 boat 00.00W .


Wooing 00.00
Noonan 98

7
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ
qkhinsivowbnafg98awoa.ws:p it
ชลสินธุ์เกิดเดือนธันวาคม 2547 จะบรรลุนิติภาวะเมื่อวันที่เท่าไหร่
{WNT ENDIAN
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......….....
2567 boat 00.00W .

นายชาคริตอายุ 18 ปี สมรสกับนางสาวปารีณาอายุ 17 ปี โดยจดทะเบียนสมรส ซึ่งทำให้นายชาคริตและ


นางสาวปารีณาบรรลุนิติภาวะ ต่อมาทั้ง 2 คนหย่ากันเมื่อนายชาคริตอายุ 19 ปี ถ้าต่อมานายชาคริตจะทำสัญญา
ซื้อขายรถยนต์ 10 คัน ราคา 20 ล้านบาทโดยลำพัง นายชาคริตสามารถกระทำได้หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
Dishonoring bang Meinhard
ossein 86660
\
fawn 8208
....................................................................................................................................................................................
.

ชินภัทรอายุ 14 ปี ทำพินัยกรรม โดยได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม พินัยกรรมนี้มีผลสมบูรณ์


ตามกฎหมายหรือไม่
....................................................................................................................................................................................
Board busier
oiegegsai Footgear
15

นายกิติพัฒน์เป็นบุคคลไร้ความสามารถต้องการซื้อรถยนต์ 1 คัน จึงไปขออนุญาตนายณัฐภัทรซึ่งเป็น


ผู้อนุบาล นายณัฐภัทรให้การอนุญาต และนายกิติพัฒน์ก็ไปทำสัญญาซื้อขายรถยนต์กับบริษัทแห่งหนึ่ง การทำ
นิติกรรมดังกล่าวมีผลเป็นเช่นไร
....................................................................................................................................................................................
Toshio bang
ngaaneohiegoggvianibbnwbn.in:D

:
....................................................................................................................................................................................

นายศิรณัฏฐ์คนวิกลจริตขายบ้านพร้อมที่ดินให้นายพงศ์ปณตฌ์ 1 หลัง ราคา 10 ล้านบาท ในขณะที่ตน


วิกลจริต แต่นายพงศ์ปณตฌ์ไม่ทราบการดังกล่าวย่อมมีผลเช่นไร และหากนายพงศ์ปณตฌ์ทราบถึงความวิกลจริต
นิติกรรมดังกล่าวจะมีผลเช่นไร ⑨
....................................................................................................................................................................................
'

Wagons ⑦ Tarsiers

....................................................................................................................................................................................

8
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 3 : ครอบครัว (กฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ที่ควรรู้)


aorta
การหมั้น
ความหมาย การที่ชายและหญิงทำสัญญาว่าจะสมรส = ต้องมีเจตนาไปจดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย
เงื่อนไขของการหมั้น
TUNE
ชายและหญิงที่จะหมั้นกันต้องมีอายุอย่างต่ำ 17 ปีบริบูรณ์ มิฉะนั้นการหมั้นตกเป็น…………….……..
-
- -

ผู้เยาว์จะทำการหมั้นได้ต้องได้รับการยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรือผู้รับบุตรบุญธรรม
117-208
มิฉะนั้นการหมั้นจะตกเป็น……………………
Froggy

ลักษณะของของหมั้น เป็นทรัพย์สินประเภทใดก็ได้ และไม่ต้องคำนึงว่าจะมีราคามากหรือน้อย


* เป็นทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้ไว้แก่ฝ่ายหญิง เมื่อหมั้นแล้วของหมั้นตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่…………………….ทั
divans นที
'

@ao 9ai k-s9air eo ainaiytqnrsofxyex.b


ต้องมีเจตนาเป็นของหมั้นมิใช่ให้ในลักษณะอื่น เช่น ให้เป็นที่ระลึกถึงกัน
ต้องให้ก่อนสมรสในขณะทำการหมั้น
ชายและหญิงนั้นต้องมีเจตนาที่จะสมรสกันตามกฎหมายด้วย
กรณีหญิงไม่ต้องคืนของหมั้น คู่หมั้นไม่ว่าชายหรือหญิงตายก่อนสมรส
Bastions Janet's
หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เมื่อมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น
÷

ชายผูผ้ ิดสัญญาหมั้นโดยไม่ยอมไปทำการจดทะเบียนสมรสกับหญิง
เมื่อหมั้นกันแล้ว ทั้งชายและหญิงละเลยไม่ไปจดทะเบียนสมรส
กรณีหญิงต้องคืนของหมั้น หญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น
ชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เมื่อมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้น

หญิงคู่หมั้นได้ร่วมประเวณีกับชายอื่นหรือมีชายอื่นข่มขืนกระทำชำเราหรือพยายามข่มขืนกระทำชำเรา
หญิงคู่หมั้นและชายได้บอกเลิกสัญญาหมั้น กรณีนี้ชายยังมีสิทธิ์…………………………………………………….ได้
Bed.nimnabbnW อีกด้วย
หญิงคู่หมั้นไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรส
สินสอด ทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง เพื่อตอบแทน
การที่หญิงยอมสมรส ถ้าไม่มีการสมรสโดยมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงหรือโดยพฤติการณ์ที่ฝ่ายหญิงต้องรับผิดชอบ
ทำให้ชายไม่สมควรหรือไม่อาจสมรสกับหญิงนั้น ฝ่ายชายเรียกสินสอดคืนได้ตามหลัก………………………………..ได้
NAIADS

9
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างของหมั้นกับสินสอด
หัวข้อ ของหมั้น สินสอด
ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายมอบให้แก่หญิงในขณะทำ ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตร
ความหมาย การหมั้น เพื่อเป็นประกันว่าจะทำการสมรสต่อไป บุญธรรมหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง เพื่อตอบแทนใน
การที่หญิงยอมสมรส
I '

การส่งมอบ ..............................................................
9WNW8UIw .............................................................
bgrotgejnta
d

ค่าทดแทนในการผิดสัญญาหมั้นที่จะเรียกร้องกันได้
ทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น
ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดาหรือบุคคลผู้กระทำการในฐานะเช่นบิดามารดาได้
ใช้จ่าย หรือต้องตกเป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร
=
O
ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สินหรือการอื่นอันเกี่ยวแก่ อาชีพหรือทางทำ
มาหาได้ของตนไปโดยสมควรการคาดหมายว่าจะได้มีสมรส
#

การสมรส
เงื่อนไขแห่งการสมรส
อายุ การสมรสจะทำได้เมื่อชายหญิงมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจ
อนุญาตให้ทำการสมรสก่อนนั้นได้ หากฝ่าฝืนการสมรสมีผล.........................
Twofer :

ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการหมั้นกับการสมรส
หัวข้อ การหมั้น การสมรส
อายุขั้นต่ำ 17 17
ผลหากอายุ
.....................................
Tag .....................................
Twofer:

ไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำ
ไม่สามารถขออนุญาตศาล สามารถขออนุญาตศาล
กรณีเกิดเหตุอันสมควร
เพื่อทำการหมั้น เพื่อทำการสมรสได้ IX. No
oigpssa

ความวิกลจริต การสมรสจะทำไม่ได้ถ้าชายหรือหญิงเป็นคนวิกลจริตหรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น
คนไร้ความสามารถ ถ้าฝ่าฝืนการสมรสเป็น ...........................
Toward แต่ทั้งนี้หากเป็นกรณีคนเสมือนไร้ความสามารถก็ทำ
การสมรสกับผู้อื่นได้และมีผล.............................................ตามกฎหมาย
www.soso

10
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ญาติ ชายหรือหญิงเป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือรองลงมา เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาหรือ


ร่วมแต่บิดาหรือร่วมแต่มารดาจะทำการสมรสกันไม่ได้ หากฝ่าฝืนการสมรสเป็น ......................
T อย่างไรก็ตาม WW8
\
68w beto
ngn oonan
หากเป็นลูกพี่ลูกน้อง (ลูกของลุง-ลูกของอา) ก็สามารถสมรสกันได้ตามกฎหมาย
บุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้ หากฝ่าฝืนการสมรสมีผล..................
at
g
or a s

แต่ทั้งคู่ย่อมขาดจากการเป็นผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม
ifu Ha n .
Mdww o
'

q qog
n os s a

คู่สมรสของผู้อื่น ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่ไม่ได้ ถ้าฝ่าฝืนเป็น.................


T W W8

n no

กรณีการสมรสสิ้นสุดลง หญิงที่การสมรสสิ้นสุดลงจะทำการสมรสใหม่ได้เมื่อการสิ้นสุดแห่งการสมรส
.

ได้ผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า.......................วัน เพื่อป้องกันมิให้มีปัญหาเรื่อง........................................
3I O J Tv
q
on ns
เว้นแต่
① มีใบรับรองแพทย์ว่า ④

คลอดบุตรแล้วในขณะนั้น สมรสกับคู่สมรสเดิม มีคำสั่งศาลให้สมรสได้


ไม่ได้มีครรภ์ ③

ความยินยอม ชายหรือหญิงยินยอมเป็นสามีภรรยากันโดยแสดงความยินยอมให้ปรากฏโดยเปิดเผยต่อ
หน้านายทะเบียนและให้นายทะเบียนบันทึกข้อความยินยอมไว้ หากสมรสกันโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอมการ
สมรสมีผลเป็น.......................
Go on g

กลฉ้อฉลหรือข่มขู่ ต้องร้ายแรงถึงขนาด กล่าวคือ ถ้ าไม่ได้มีกลฉ้อฉลหรือข่มขู่ก็จะไม่ทำการสมรส


การสมรสในกรณีดังกล่าวจะตกเป็น..............................
f of w qg
ex .

gi wg
r
* สำคัญผิดตัวคู่สมรส ต้องไม่ใช่สำคัญผิดในคุณสมบัติ การสมรสจะตกเป็น........................
T a E og

* การจดทะเบียนสมรส การสมรสตามกฎหมายที่ใช้ในปัจจุบันจะต้องจดทะเบียนสมรส

สามีภรรยา
สามีภรรยาต้องกินอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยา ทั้งสองคนต้องช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถ
และฐานะของตน และหากสามีหรือภรรยาตกเป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ คู่สมรสอีก
ฝ่ายก็จะเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์
ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยา หากชายและหญิงมีการจดทะเบียนสมรสเป็นสามีและภรรยา กฎหมาย
ลักษณะครอบครัวได้แบ่งทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยาออกเป็น 2 ประเภท คือ สินส่วนตัวและสินสมรส

11
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

① สินส่วนตัว สินสมรส
ทรัพย์สินที่ฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรส ทั้งนี้ไม่คำนึงว่า
เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย หรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำมากทำน้อยกว่ากัน /b9WboToW
เครื ่ อ งประดั บ กายตามควรแก่ ฐ านะ เครื ่ อ งมื อ ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรส
ประกอบอาชีพ โดยพินัยกรรม ซื้อโดยการยกให้เป็นหนังสือ เมื่อ
ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรส พินัยกรรมหรือหนังสือระบุว่าเป็นสินสมรส
โดยการรับมรดก Intonation ดอกผลที่เกิดจากสินส่วนตัว
,sToo8waonwa
lex.odonaoaa.ir
ของหมั้น (สินส่วนตัวของหญิง)
การจัดการสินส่วนตัว การจัดการสินสมรส
สินส่วนตัวของคู่สมรสฝ่ายใดให้ฝ่ายนั้นเป็นผู้จัดการ สามี ห รื อ ภรรยาฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ ่ ง มี อ ำนาจจั ด การ
ไม่ว่าจะเป็นการบำรุงรักษา สงวนไว้หรือทำให้งอก สินสมรสได้โ ดยลำพัง แต่การจัดการที่ส ำคัญต้อง
เงยได้ประโยชน์ยิ่งขึ้น รวมถึงการจำหน่าย จำนอง จัดการร่วมกัน ซึ่งสามีภรรยาต้องจัดการสินสมรส
จำนำ หรือก่อให้เกิดภาระติดพันในทรัพย์สิน ร่วมกันหรือได้รับความยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่ง

ฝึกสมองระหว่างเรียน
ชายหญิงที่อยู่กินด้วยกันโดยไม่จดทะเบียนสมรส การจัดการทรัพย์สินนั้นทำอย่างไร
ทรัพย์สินที่ชายหญิงลงทุนร่วมแรงทำมาหาได้ด้วยกัน ถือว่า
............................................................................................................................
bbgigegsagefigoy 50% ........................................................
....................................................................................................................................................................................
ส่วนทรัพย์สินใดทีต่ ่างคนต่างหามาได้ ถือว่า
....................................................................................................................................................................................
oiigeiheooirgoanioooosaobe

บิดาและบุตร
การเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย
④ เด็กเกิดระหว่างชายและหญิงเป็นสามีภรรยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรส) หรือภายใน
310 วัน นับแต่การสมรสสิ้นสุดลง -
ให้สันนิษฐานว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วยสามีภรรยาทั้งสองคน

12
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

④ เด็กที่เกิดจากสมรสที่เป็นโมฆะหรือO
โมฆียะ ให้สันนิษฐานว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของสามี
-
-
-


'

'

ภรรยาทั้งสองฝ่าย ⑧ am.⑧ ⑧
new '

yw
⑧a
④ เด็กที่เกิดจากหญิงหม้ายที่สมรสใหม่ในเวลาไม่เกิน 310 วัน นับแต่ขาดจากการสมรสเดิมให้สันนิษฐาน
ว่าเป็นบุตรของสามีคนใหม่ or ex .

④ TL
เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้สมรสกับชายให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิ งคนเดียว แต่เด็กเช่นว่า
อาจฟ้องชายผู้ให้กำเนิดรับตนเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของชายได้
บุตรนอกกฎหมาย บุตรที่เกิดจากบิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันถือว่าบุตรนั้นเป็นบุตรนอกกฎหมาย
ของชายผู้เป็นบิดา แต่เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงผู้เป็นมารดา บุตรนอกกฎหมายจะเป็ นบุตรชอบด้วย
กฎหมายเมื่อ O
1) บิดามารดาได้จดทะเบียนสมรสกันในภายหลัง O
2) บิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร และO
3) ศาล
พิพากษาว่าเป็นบุตร
สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร
*
บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดา (ถ้าไม่ปรากฏบิดาให้ใช้ชื่อสกุลของมารดา)
บุตรจะฟ้องร้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไม่ได้ คดีที่บุตรฟ้องร้องบุพการีของตน
qq.gg/W%abo9aiIaldogoogIsiIa
เรียกว่า “คดี............................”
สิทธิของบุตรในสัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดาผู้มีสัญชาติไทยย่อมได้สัญชาติไทยไม่ว่าตัวเองจะเกิด
ในหรือนอกราชอาณาจักร (หลักสายโลหิต)
บุตรจำต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา และในทางกลับกันบิดามารดาจำต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้
การศึกษาตามสมควรในระหว่างที่เป็นผู้เยาว์ และบุตรบรรลุนิติภาวะแล้วในกรณีที่ทุพพลภาพหรือหาเลี้ยงตนเอง
ไม่ได้
กรณีบุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ บิดามารดาเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์
จึงมีอำนาจตามกฎหมาย ดังต่อไปนี้
1) กำหนดที่อยู่ของบุตร
2) ทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอน
I

3) ให้บุตรทำงานตามสมควรแก่ความสามารถ
4) เรียกบุตรคืนจากบุคคลอื่นซึ่งกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
5) มีสิทธิจัดการทรัพย์สินของบุตรผู้เยาว์แทนบุตรได้

13
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

การหย่า
การหย่าเป็นเหตุสิ้นสุดของการสมรส ทำได้แต่โดยความยินยอมของทั้งสองฝ่ายหรือโดยคำพิพากษาของ
ศาลเท่านั้น
เหตุฟ้องหย่า
win. สามีหรือภรรยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภรรยาหรือสามีเป็นชู้ หรือมีชู้หรือร่วมประเวณีกับ
ผู้อื่นเป็นอาจิณ อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยาประพฤติชั่ว ไม่ว่าความประพฤติชั่วนั้นจะเป็นความผิดอาญาหรือไม่ถ้าเป็นเหตุให้อีก
ฝ่ายหนึ่ง 1) ได้รับความอับอายขายหน้าอย่างร้ายแรง 2) ได้รับความดูถูกเกลียดชัง เพราะเหตุที่คงเป็นสามีหรือ

ภรรยาของฝ่ายที่ประพฤติชั่วอยู่ต่อไป และ 3) ได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกินควรในเมื่อเอาสภาพฐานะ
และความเป็นอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยามาคำนึงประกอบ ผลคืออีกฝ่ายหนึ่งสามารถฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยาทำร้ายหรือทรมานร่างกายหรือจิตใจ หรือหมิ่นประมาท หรือเหยียดหยามอีกฝ่าย
หนึ่ง หรือบุพการีของอีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งนี้ถ้าเป็นการร้ายแรงอีกฝ่ายหนึ่งสามารถหย่าได้
0
สามีหรือภรรยาจงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไปเกิ นหนึ่งปีอีกฝ่ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้ ไม่ นับรวมถึงการที่
สามีและภรรยาตกลงแยกกันอยู่ an moi 18
(
สามีหรือภรรยาต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก และได้ถูกจำคุกเกินหนึ่งปีในความผิดที่อีกฝ่ายหนึ่ง
ไม่ได้มีส่วนก่อให้เกิดการกระทำความผิด หรือยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจในการกระทำความผิดนั้นด้วย อีกฝ่ายหนึ่ง
นั้นฟ้องหย่าได้
สามีและภรรยาสมัครใจแยกกันอยู่ เพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยาได้โดยปกติสุขตลอด
มาเกินสามปี หรือแยกกันอยู่ตามคำสั่งของศาลเป็นเวลาเกินสามปี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยาถูกศาลสั่งให้เป็น0
คนสาบสูญ หรือไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นเวลาเกินสามปี
โดยไม่มีใครทราบแน่ว่าเป็นตายร้ายดีอย่างไร อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่งตามสมควร หรือทำการเป็นปฏิปักษ์
ต่อการที่เป็นสามีหรือภรรยากันอย่างร้ายแรง ทั้งนี้ถ้าการกระทำนั้นถึงขนาดที่อีกฝ่ายหนึ่งเดือดร้อนเกิ นควรในเมื่อ
เอาสภาพฐานะและความเป็นอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยามาคำนึงประกอบ อีกฝ่ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยาวิกลจริตตลอดมาเกินสามปี และความวิกลจริตนั้นมีลักษณะยากจะหายได้ กับทั้ง
ความวิกลจริตถึงขนาดที่จะทนอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยาต่อไปไม่ได้ อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้

14
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ
IN.ru/b8euWb9waieoanvoosonvos

สามีหรือภรรยาผิดทัณฑ์บนที่ทำให้ไว้เป็นหนังสือในเรื่องความประพฤติ อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
-

boast .
Easton .
688W
,

สามีหรือภรรยาเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรงอันอาจเป็นภัยแก่อีกฝ่ายหนึ่ง และโรคมีลักษณะเรื้อรังไม่มี
ทางที่จะหายได้ อีกฝ่ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
สามีหรือภรรยามีสภาพแห่งกายทำให้สามีหรือภรรยานั้นไม่อาจร่วมประเวณีได้ตลอดกาล อีกฝ่าย
หนึ่งฟ้องหย่าได้
ผลของการหย่า
เรื่องบุตร กรณีหย่าโดยความยินยอม ให้สามีภรรยาทำความตกลงกันเป็นหนังสือว่าฝ่ายใดจะเป็น
ผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรคนใด ถ้า ไม่ได้ตกลงกันหรือตกลงกันไม่ได้ให้ศาลเป็นผู้ชี้ขาด ส่ว นในกรณีหย่าโดย
คำพิพากษาของศาล ให้ศาลซึ่งพิจารณาคดีฟ้องหย่านั้นชี้ขาดด้วยว่าฝ่ายใดจะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรคนใด
เรื่องทรัพย์สิน สินส่วนตัวตกเป็นของฝ่ายนั้น ๆ ส่วนสินสมรสต้องแบ่งกันคนละครึ่ง

บุตรบุญธรรม
บุตรบุญธรรม เป็นบุคคลซึ่งไม่ใช่บุตรอันแท้จริงของผู้รับบุตรบุญธรรม แต่ได้ดำเนินตามกฎหมายในการรับ
บุตรบุญธรรม สำหรับหลักกฎหมายเกี่ยวกับผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม มีดังต่อไปนี้
* ผู้รับบุตรบุญธรรมจะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี แต่ต้องมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
ส่วนบุตรบุญธรรมนั้นกฎหมายไม่ได้จำกัดอายุไว้
การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาของผู้เยาว์ ถ้าไม่มีบิดามารดา
หรือมีแต่บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่ง หรือทั้งสองคนไม่สามารถแสดงเจตนาให้ความยินยอมได้ หรือไม่ให้ความ
ยินยอม และการไม่ให้ความยินยอมนั้นปราศจากเหตุผลอันสมควรและเป็นปฏิปักษ์ต่อสุขภาพ ความเจริญ หรือ
สวัสดิภาพของผู้เยาว์ มารดาหรือบิดาหรือผู้ประสงค์จะขอรับบุตรบุญธรรม หรืออัยการจะร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่ง
อนุญาตแทนการให้ความยินยอมก็ได้
ผู้ที่จะรับบุตรบุญธรรมและผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสต้องได้รับความจากคู่สมรสก่อน
เว้นแต่คู่สมรสไม่สามารถแสดงเจตนาให้ความยินยอมได้ หรือคู่สมรสไปเสียจากภูมิลำเนาถิ่นที่อยู่ไม่น้อยกว่า 1 ปี d
< 15N 80807
: Moon

ถ้ารับผู้เยาว์ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเป็นบุตรบุญธรรม ผู้เยาว์นั้นต้องให้ความยินยอมด้วย ↳


q

Is 15 -
208 : Jon 81801 Egbert
> 208 : NO eggbend
ถ้ารับผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้วไม่ว่าโดยอายุหรือโดยการสมรสเป็นบุตรบุญธรรม ผู้ที่จะเป็นบุตรบุญ
ธรรมให้ความยินยอมเพียงผู้เดียวก็ใช้ได้
บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะเช่นเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น

15
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม
ผู้เยาว์ที่เป็นบุตรบุญธรรมของผู้ใดอยู่ จะเป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นในขณะเดียวกันไม่ได้ เว้นแต่เป็น
บุตรบุญธรรมของคู่สมรสผู้รับบุตรบุญธรรม
การรับและการเลิกรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนตามกฎหมาย ถ้าบุตรบุญธรรมยัง
เป็นผู้เยาว์ บิดามารดาโดยกำเนิดกลับมามีอำนาจปกครองอีก
มาฝึกสมองกันหน่อย

นายพสิษฐ์อายุ 21 ปีกับนางสาวก้อยอายุ 25 ปี ได้จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย แต่ทั้งสองคน


ไม่ได้หมัน้ กันมาก่อน การสมรสระหว่างของนายพสิษฐ์และนางสาวก้อยถือเป็นโมฆะหรือไม่ จงอธิบาย
I

....................................................................................................................................................................................
always of swag msdasatlshnfdwaoguahsgrv.io w

....................................................................................................................................................................................

นายภรภัทรกับนางสาวหนูนุ้ยรักใคร่ชอบพอกัน นายภรภัทรได้นำแหวนเพชรหนึ่งวงมาหมั้นนางสาวหนูนุ้ย
นางสาวหนูนุ้ยรับหมั้นด้วยความเต็มใจ แต่ต่อมานางสาวหนูนุ้ยประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต ตามหลักกฎหมายแล้วฝ่าย
นางสาวหนูนุ้ยต้องคืนแหวนหมั้นให้แก่นายภรภัทรหรือไม่ เพราะเหตุใด

....................................................................................................................................................................................
Iain Btw swag god www.%bFeidonriowdgrsd
.

....................................................................................................................................................................................

นางสาวศรีสุภาเคยสมรสกับนายพุทธิพงษ์ แต่เกิดเหตุไม่เข้าใจกันจึงไปจดทะเบียนหย่า ภายหลังจากนั้น


2 เดื อ น นางสาวศรี ส ุ ภ ากั บ นายพุ ท ธิ พ งษ์ ป รั บ ความเข้ า ใจกั น ได้ และมาขอจดทะเบี ย นสมรสใหม่ อ ี ก ครั้ ง
การจดทะเบียนสมรสครั้งใหม่นี้มีผลเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด

..................................................................................................................................
Nagari own : Edwinsaturation'sair ..................................................
....................................................................................................................................................................................

16
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 4 : ทรัพย์ (กฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ทค


ี่ วรรู้)

ความรู้เบื้องต้น qosnimsdalah.in
① * goatherd '
I② ③ ginoshsnisooooasos
ทรัพย์ วัตถุมีรูปร่าง และวัตถุมีรูปร่างนั้นจะต้องเป็นวัตถุที่อาจมีราคาและถือเอาได้ด้วย
① ②
“””ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้
lngweidwmsdn.ru .
withdrawal . air

สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์
ความแตกต่างระหว่างอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์
หัวข้อ อสังหาริมทรัพย์
-
shiatsu national สังหาริมทรัพย์ onoiiosrnia

ที่ดิน briefingssolid สังหาริมทรัพย์เป็นทรัพย์อื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์


ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน disks boiling และยังรวมถึงสิทธิทั้งหลายเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์นั้น
ความหมาย
ทรัพย์ซึ่งติดกับที่ดินเป็นการถาวร this009990poisontaobao.gg
riming Tesla
ด้วย Ishtar GO.laibnwsdex.laoffer
n

up

ทรัพยสิทธิ (สิทธิเหนือทรัพย์สิน) * Endrin adowtrasgn.mu


การทํานิติกรรมบางอย่าง เช่น ซื้อขาย ต้องทำตาม ปกติการทํานิติกรรมไม่มี “แบบ”
การทำ
“แบบ” ต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
นิติกรรม
พนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นตกเป็นโมฆะ
การได้ 9
ครอบครองปรปักษ์ 10 ปีติดต่อกัน ครอบครองปรปักษ์ 5 ปีติดต่อกัน
⑦ agooasogoosaiodhrsaobaaasvihsoonoos
กรรมสิทธิ์
"

nananisoboobdabaeo
"

เมื ่ อ นํ า ทรั พ ย์ ไ ปประกั น การชํ า ระหนี ้ เรี ย กว่ า เมื่อนําทรัพย์ไปประกันการชําระหนี้ เรียกว่า “จำนำ”
การชำระหนี้
“จำนอง”
gratawww.vssg.gr ftp.dwssoidohex.ddngdan %
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เรือมีระวาง 5 ตันขึ้นไป แพ (floating house) สัตว์พาหนะ
↳ disses
" "
naw moon

ส่วนควบ อุปกรณ์ และดอกผล


ส่วนควบ
per .
Wana rivsowa . n.N.ua using Noboa .
Gorton .
wogaiaonosn.laefwoiisriun.nu
เป็นทรัพย์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปมารวมกัน ถ้าทรัพย์แต่ละชิ้นมีความสมบูรณ์ในตัวเองย่อมไม่เป็นส่วน
ควบของกันและกัน
ต้องเป็นสาระสําคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น โดยอาจเป็นสาระสําคัญโดยสภาพแห่งทรัพย์
หรือจารีตประเพณีก็ได้
17
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ไม่อาจแยกจากกันได้ นอกจากทําลายหรือทําให้บุบสลายหรือทําให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรง
หรือสภาพไป ส่วนควบโดยสภาพไม่อาจแยกออกจากทรัพย์นั้นได้ นอกจากจะรื้อทําลายไป
ข้อยกเว้นที่ไม่เป็นส่วนควบกับที่ดิน 1) ไม้ล้มลุกและธัญชาติอันจะเก็บเกี่ยวรวงผลได้คราวหนึ่งหรือ
} ex 889669 66USD00

หลายคราวต่อปี 2) ทรัพย์ซึ่งติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราว และ 3) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง


. a

Only !

อย่างอื่นอันผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่นใช้สิทธิปลูกสร้างทําลงไว้ในที่ดินนั้น Tonsil cofounder got 68869780968055W )

อุปกรณ์ ลักษณะของอุปกรณ์ มีดังต่อไปนี้


abortionist
* ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์
ต้องมีทรัพย์ประธาน ต้องมีทรัพย์ประธานอยู่เป็นทรัพย์หลัก
เจ้าของทรัพย์ประธานนํามาติดต่อหรือปรับเข้าไว้หรือทํา โดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้
ประกอบกับทรัพย์ที่เป็นประธาน ทั้งนี้ไม่ถึงกับต้องรวมสภาพเหมือนอย่างส่วนควบ แต่หากเป็นกรณีที่บุคคล
Only !

อื่นซึ่งไม่ใช่เจ้าของ 29080
ogoiosbfwbdiooa.aethis
ex bbva To ipad To case I Apple pencil
.
a
µ
ใช้ประจําอยู่กับทรัพย์เป็นประธานนั้นเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การดูแลหรือใช้สอยหรือรักษา
ทรัพย์ที่เป็นประธาน ต้องเป็นการใช้เพื่อประโยชน์กับตัวทรัพย์ที่เป็นประธานไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของเจ้าของ
ทรัพย์
ดอกผล มี 2 ประเภท ได้แก่ oiogabbsinswe

ดอกผลธรรมดา สิ่งที-
่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยการมีหรือใช้ทรัพย์
นั้นตามปกตินิยม และสามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากทรัพย์นั้น เช่น
ภาพประกอบ ประเด็นคำถาม คำตอบ เหตุผล
ลูกสัตว์ที่คลอด เป็น / ไม่เป็น เพราะ.................................................................
bbsinsweoesdonwbdsraonwamam.name

ออกมาแล้ว ดอกผลธรรมดา ...........................................................................


มะม่วงที่ยังอยู่ เป็น / ไม่เป็น เพราะ.................................................................
บนต้นไม้
งาช้าง
ดอกผลธรรมดา
เป็น / ไม่เป็น
a o n a e t s l a i m a n s we b a i n f we u a n . N O
...........................................................................
เพราะ.................................................................
outbids down

ซึ่งถูกตัดมา ดอกผลธรรมดา ...........................................................................


เป็น / ไม่เป็น เพราะ.................................................................
bbainfweuan.bdaieowbl.VN sworn
ไข่ไก่จากแม่ไก่
ดอกผลธรรมดา ...........................................................................

18
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ดอกผลนิตินัย ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้ อื่น


เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้น สามารถคํานวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว้
-
* eissaiamssogsnssaroono't
U ex . www.aonoteuommsabswdwaa
n'

ฝึกสมองระหว่างเรียน
การซื้อขายบ้านโดยผ่อนชําระเป็นงวด ๆ เงินที่ได้จากการขายบ้านดังกล่าวถือว่าเป็นดอกผลนิตินัยหรือไม่
เพราะเหตุใด

8 m o f w n g rd n q b i h s a t n o s . n o
taioehsaoneraisoigseo
....................................................................................................................................................................................
swag

....................................................................................................................................................................................

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์
บุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิ sing
ทรัพยสิทธิ สิทธิซึ่งมีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์สิน (หรือมีสิทธิเหนือทรัพย์สิน)
oatmeal grant
a บุคคลสิทธิ สิทธิซึ่งมีวัตถุแห่งสิทธิเป็นการกระทําหรืองดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง
กรรมสิทธิ์
ความหมาย ทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งที่แสดงถึงสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของในทรัพย์สิ่งหนึ่งภายใต้บังคับ

แห่งกฎหมาย กรรมสิทธิ์จะก่อให้เกิดสิทธิ ได้แก่ สิทธิใช้สอยทรัพย์สิน สิทธิจําหน่ายทรัพย์สิน สิทธิได้ดอกผลแห่ง
③ ④
ทรัพย์สิน สิทธิในการติดตามเอาทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้ที่ไม่มีสิทธิจะยึ ดถือไว้ และสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้ามา

เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย :
Nong
go .

การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ แยกออกเป็น 2 กรณี ได้แก่ ได้มาโดยทางนิติกรรม และได้มาโดยทางอื่น


นอกจากนิติกรรม
b
การครอบครองปรปักษ์ เป็นการได้กรรมสิทธิ์มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม เกิดจากการที่บุคคล
หนึ่งครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นได้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ
มีการครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่น การครอบครองกระทําด้วยความสงบ
หลักเกณฑ์
การครอบครองกระทําโดยเปิดเผย ครอบครองตามเวลาที่กฎหมายกําหนด
การครอบครอง
การครอบครองกระทําด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ

19
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 5 : มรดก (กฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ทค


ี่ วรรู้)

ความหมายของมรดก
มรดก ทรัพย์สินทุกชนิด ตลอดทั้งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดต่าง ๆ Li
ของผู้ตาย สําหรับการตกทอดของ
มรดกนั้นจะตกทอดทันทีเมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย ไม่ว่าจะเป็นการตายโดยธรรมชาติหรือถูกศาลสั่งเป็นคน - -

-
สาบสูญ ซึ่งมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาททั้งหมด ทั้งทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดต่าง ๆ แต่ทายาทไม่
-

จําต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตกทอดได้แก่ตน
baristasrihio
ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายกฤติพงศ์มีบ้านซึ่งเป็นสินส่วนตัวราคา 10 ล้านบาท ต่อมาเขาได้ทําสัญญากู้ยืมเงินจากนาย สมบัติ
จํานวน 15 ล้านบาท และหลังจากนั้นนายกฤติพงศ์ถึงแก่ความตาย โดยเขามีทายาทคนเดียว คือ นางสาวบิวตี้
ผู้เป็นบุตรสาว การจัดการมรดกนั้นจะต้องทำอย่างไร
pistonEthno Ev To wa Toot Taub bias ufo digs Tutton airwomen baritones
....................................................................................................................................................................................
groan . no

....................................................................................................................................................................................

ผู้มีสิทธิรับมรดก
ทายาทโดยธรรม ทายาทประเภทนี้จะมีสิทธิได้รับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกไม่ได้ทําพินัยกรรมไว้ห รือ
ทําพินัยกรรมไว้แต่ไม่มีผลบังคับ หรือพินัยกรรมมีผลบังคับได้เพียงบางส่วน มรดกส่วนที่เหลือย่อมตกแก่ทายาท
โดยธรรม ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือ * qintars attorn an *

ทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติ กฎหมายกําหนดไว้มี 6 ลําดับ ดังต่อไปนี้


Joiner Naoise
ผู้สืบสันดาน คือ บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย, บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว และบุตรบุญธรรม
quotednigga
'

gangsters Wasat
* Free802 3 -

60A If บิดามารดา ซึง่ จะต้องเป็นบิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น


dross's grated baton
* voir Tu 2 Juddering * พี่น้องร่วมบิดาและมารดาเดียวกัน โดยไม่นับพี่น้องบุญธรรม
พี่น้องร่วมแต่บิดาหรือมารดาเดียวกัน
ปู่ ย่า ตา ยาย
Notation of
ลุง ป้า น้า อา ไม่รวมถึงญาติที่เกิดจากการสมรส เช่น สามีของป้า ที่เรียกว่า “ลุง” (ลุงเขย)

20
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หลักเกณฑ์ในการรับมรดกระหว่างทายาทโดยธรรมมีหลักง่าย ๆ ว่า
“ญาติสนิทพิชิตญาติห่าง ยกเว้นทายาทลําดับที่ 1 และ 2”
การรับมรดกแทนที่ กรณีที่ทายาทโดยธรรมลําดับที่ 1, 3, 4 หรือ 6 ที่มีสิทธิรับมรดกได้ตายไปก่อนเจ้า
มรดกหรือถูกกําจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตายและมีผู้สืบสันดานของตนอยู่ ผู้สืบสันดานนั้นก็จะได้สิทธิ
เลื่อนขึ้นมารับมรดกแทนทายาทโดยธรรมที่เสียชีวิตไป แต่หากทายาทดังกล่าวตายหลังเจ้ามรดกแต่ยังไม่ได้
คำควรรู้
แบ่งทรัพย์มรดก กรณีนี้ไม่มีการรับมรดกแทนที่ เพราะมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทคนนั้นทันทีที่เจ้ามรดก
ตายแม้ยังไม่ได้แบ่งมรดก เมื่อทายาทคนนั้นตายผู้สืบสันดานก็รับมรดกของทายาทนั้นตามปกติไม่ใช่การรับ
มรดกแทนที่ (หากเป็นกรณีของบุตรบุญธรรมและผู้รับบุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรมไม่สามารถรับมรดก
แทนที่ผู้รับบุตรบุญธรรมได้ แต่บุตรของบุตรบุญธรรมสามารถรับมรดกแทนที่บุตรบุญธรรมได้)

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายศักยภาพมีทรัพย์มรดก 10 ล้านบาท มีบุตร คือ นายศุภชัย และนายศุภชัยก็มีบุตร คือ นายนิพิฐพล
ต่อมานายศักยภาพเสียชีวิตลง ผู้มีสิทธิรับมรดกของนายศักยภาพ ได้แก่
qiaiohnodsdoarran Fo Agosto disown
....................................................................................................................................................................................
to

.................................................................................................................................................................. ..................

นายปัญญาวุธ มีทรัพย์ มรดก 10 ล้านบาท มีบ ุตร คือ นายอัครวิน ทร์ และนายอัครวิน ทร์มีบ ุตร คือ
นายอิศเรศ ขณะเดียวกันนายปัญญาวุธก็มีพี่ชาย คือ นายณัฏฐ์ ต่อมานายอัครวินทร์เสียชีวิตลงก่อนนายปัญญาวุธ
หลังจากนั้นไม่นานนายปัญญาวุธก็ได้เสียชีวิต ผู้มีสิทธิรับมรดกของนายปัญญาวุธ ได้แก่
qiaionordoarsan To dated nonhuman
....................................................................................................................................................................................
\ bbNWBieTns9wp
....................................................................................................................................................................................
ทายาทโดยธรรมที่เป็นคู่สมรส คู่สมรสเป็นทายาทโดยธรรมที่พิเศษ กล่าวคือ แม้ว่าจะมีทายาท
โดยธรรมในลําดับที่ 1 ถึง 6 อยู่ คู่สมรสก็มีสิทธิได้รับมรดกเสมอ (เว้นแต่ถูกกําจัดมิให้รับมรดก) แต่การแบ่งสัดส่วน
มรดกจะได้ไม่เท่ากัน ดังต่อไปนี้
หากรับร่วมกับผู้สืบสันดาน คู่สมรสจะได้ส่วนแบ่งเสมือนทายาทชั้นบุตร
หากรับร่วมกับบิดามารดา (กรณีไม่มีผู้สืบสันดาน) หรื อพี่น้องร่วมบิดามารดา คู่สมรสจะได้ส่วน
แบ่งกึ่งหนึ่ง
21
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หากมีทายาทประเภทพี่น้องร่วมแต่บิดาหรือมารดา หรือปู่ย่าตายาย หรือลุงป้าน้าอา คู่สมรสจะได้


ส่วนแบ่งสองในสาม
ในการแบ่งมรดกหากเจ้ามรดกมีคู่สมรสก็ต้องนําสินสมรสมาแบ่งให้คู่สมรสที่มีชีวิตอยู่ครึ่งหนึ่งก่อนตาม
ข้อควรระวัง
กฎหมายลักษณะครอบครัว ส่วนสินสมรสอีกครั้งหนึ่งก็ตกเป็นกองมรดกตามกฎหมายลักษณะมรดก
(คู่สมรสดังกล่าวต้องมีการจดทะเบียนสมรสด้วย)

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายจุนพัฒน์ได้จดทะเบียนสมรสกับนางมิกกี้และมีบุตรด้วยกัน คือ นายกมลภพ ต่อมานายจุนพัฒน์ถึงแก่
ความตาย ซึ่งนายจุนพัฒน์มีเงินเก็บจํานวน 100 บาท ซึ่งมีอยู่ก่อนสมรสกับนางมิกกี้ และเมื่อสมรสแล้วทั้งสอง
คนทํางานหาเลี้ยงชีพมีรายได้รวมกัน 100 บาท มรดกของนายจุนพัฒน์มีสัดส่วนเป็นเช่นใด
⑥Wodonga 1008 Histogram 5040 ANDI 5087N
....................................................................................................................................................................................
'
.

ANNAN 1951
gisarme
quinoa:b 100+50=150 1- sinners
....................................................................................................................................................................................
,

นายชนาธิปได้จดทะเบียนสมรสกับนางลิลลี่ นายชนาธิปมีบิดาและมารดาที่ยังมีชีวิต คือ นายธนพลกับ


นางสม ต่อมานายชนาธิปถึงแก่ความตาย ซึ่งนายชนาธิปมีเงินเก็บจํานวน 100 บาท ซึ่งมีอยู่ก่อนสมรสกับนางลิลลี่
และเมื่อสมรสแล้วทั้งสองคนทํางานหาเลี้ยงชีพมีรายได้รวมกัน 100 บาท มรดกของนายชนาธิปมีสัดส่วนเป็นเช่นใด
Wins :
too
WHIN Fagan Igo g
....................................................................................................................................................................................
.

ai
⑥ DD i 75-150=125 V

....................................................................................................................................................................................
.

....................................................................................................................................................................................

นายพงษ์พัฒน์ได้จดทะเบียนสมรสกับนางไก่ ทั้งสองมีบุตร 1 คน คือ นายนฤดล นอกจากนี้นายพงษ์พัฒน์
③ ④
ยังมีบิดาและมารดา คือ นายวงศพัทธ์กับนางหนูผี ต่อมานายพงษ์พัฒน์ถึงแก่ความตาย ซึ่งนายพงษ์พัฒน์มีเงินเก็บ
9782 rios

จํานวน 100 บาท ซึ่งมีอยู่ก่อนสมรสกับนางไก่ และเมื่อสมรสแล้วทั้งสองคนทํางานหาเลี้ยงชีพมีรายได้รวมกัน 120


บาท มรดกของนายพงษ์พัฒน์มีสัดส่วนเป็นเช่นใด Indoor'

① Night 404609
....................................................................................................................................................................................
V .

p
minnow ⑦ UMAR 40 U .

....................................................................................................................................................................................
b s

WHITSON Forgan 10087N blinis ⑧ AN

④ osoiwno 40 o .

...................................................................................................................................... ..............................................
④ Unfed 40 U .

22
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ถ้าไม่มพ
ี ินัยกรรม ตายแล้ว “มรดก” เป็นของใคร?

กองมรดก ผู้มีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย
*เฉพาะคู่สมรสและทายาทที่จดทะเบียน

ทรัพย์สิน
เช่น เงิน รถยนต์ บ้าน
สามีใหม่
ความรับผิด
เช่น หนี้ ค่าเสียหาย *

สิทธิหน้าที่
เช่น สิทธิเช่าทรัพย์ *คู่สมรสมีสิทธิได้รับมรดกตามสัดส่วน (ถ้าทายาทลำดับที่ 1 หรือ 2 มีชีวิตอยู่ ทายาทลำดับอื่น ๆ จะไม่ได้รับมรดก)
ครอบครองที่ดิน พี่น้องคน ลุง ป้า
ผู้สืบสันดาน พ่อ แม่ พี่น้องแท้ๆ ละพ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย น้า อา

สัดส่วนการแบ่งมรดกให้คู่สมรสและทายาท

ผู้สืบ พี่น้อง พี่น้องคน ปู่ ย่า ตา ลุง ป้า


คู่สมรส พ่อแม่
สันดาน แท้ๆ ละพ่อแม่ ยาย น้า อา
คู่สมรสและผูส้ ืบสันดานได้มรดก
✓ ✓
เท่า ๆ กัน ตามจำนวนคน
คู่สมรสได้รับมรดกครึ่งหนึ่ง
✓ ✓
พ่อแม่ได้มรดก ตามจำนวนคน
คู่สมรส ลูก และพ่อแม่ได้มรดก
✓ ✓ ✓
เท่า ๆ กัน ตามจำนวนคน
คู่สมรสได้รับมรดกครึ่งหนึ่ง
✓ ✓
พี่น้องแท้ ๆ แบ่งตามจำนวนคน
คู่สมรสได้รับมรดก 2 ส่วน
✓ ✓
พี่น้องคนละพ่อแม่ได้รับ 1 ส่วน
คู่สมรสได้รับมรดก 2 ส่วน
✓ ✓
ปู่ย่าตายายได้รับ 1 ส่วน
คู่สมรสได้รับมรดก 2 ส่วน
✓ ✓
ลุงป้าน้าอาได้รับ 1 ส่วน
คู่สมรส

23
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ผู้รับพินัยกรรม กฎหมายไม่ได้กําหนดว่าจะต้องเป็นใคร แต่มีเงื่อนไขสําคัญ คือ ผู้รับพินัยกรรมต้องเป็น


บุคคลตามกฎหมายเท่านั้น ซึ่งมี 2 ประเภท คือ บุคคลธรรมดากับนิติบุคคล

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายวทัญญูมีสินส่วนตัว 150,000 บาท และสินสมรส 50,000 บาท มีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้อง 1
คน ภรรยาน้อย 1 คน บิดามารดาและบุตรอันเกิดจากภรรยาอันชอบด้วยกฎหมาย 2 คน นายวทัญญูทําพินัยกรรม
ยกสินส่วนตัวจํานวน 100,000 บาทให้ภรรยาน้อย จากนั้นนายวทัญญูได้ป่วยจนเสียชีวิตลง จะแบ่งมรดกอย่างไร
..............................................................................................................................................................
1088807 1%259000 MAMS 6689880886 87N 50,000 678 2 2180180%759000 SON 409000 UM ......................
....................................................................................................................................................................................
la Jon arson was
9
To 159000 Mn

....................................................................................................................................................................................
1B 88807 fB 700,000 UM

....................................................................................................................................................................................

พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 15 ปีบริบูรณ์ทําขึ้นนั้นเป็น ………………..


[ แม้ต่อมาอายุครบ grogg

15 ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมนั้นก็ไม่กลับขึ้นมามีผลสมบูรณ์อีก
พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถทําขึ้นนั้นเป็น…………………….
[ grows

พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่ถูกอ้างว่าเป็นคนวิกลจริต แต่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ทําขึ้น


นั้น จะเป็นอันเสียเปล่าก็ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าในเวลาที่ทําพินัยกรรมนั้นจริตวิกลอยู่
คนเสมือนไร้ความสามารถทําพินัยกรรมย่อม…………………….. (ไม่ต้องขอความยินยอมจากผู้พิทักษ์)
6

Wagons
เงื่อนไขของ
สามีหรือภรรยาไม่มีอํานาจทําพินัยกรรมยกสินสมรสที่เกินกว่าส่ว นของตนให้แก่บุคคลใดได้
พินัยกรรม
พินัยกรรมไม่มีผลบังคับถึงสินสมรสส่วนที่เกิน
ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรม รวมทั้งคู่สมรสของผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมด้วย จะเป็นผู้รับ
ทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้
พินัยกรรมจะต้องทําให้ถูกต้องตามแบบใดแบบหนึ่งที่กฎหมายกําหนดไว้
ผู้จัดการมรดก บุคคลที่ถูกตั้งขึ้นไม่ว่าโดยพินัยกรรมหรือคําสั่งศาลให้ทําหน้าที่จัดการเกี่ยวกับ
ทรัพย์มรดกทั้งการชําระหนี้แก่เจ้าหนี้กองมรดกและแบ่งปันทรัพย์มรดกแก่ทายาท

24
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

แบบของพินัยกรรม
ที่ แบบของพินัยกรรม รายละเอียด
หนังสือลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ทําขึ้น และผู้ทําพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อ
1 พินัยกรรมแบบธรรมดา ไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คนพร้อมกัน ซึ่งพยานสองคนนั้น ต้อ งลง
ลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทําพินัยกรรมไว้ในขณะนั้น
พินัยกรรมแบบเอกสาร ผู้ทําพินัยกรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึ่งข้อความทั้งหมด วัน เดือน ปี และ
2
เขียนเองทั้งฉบับ ลายมือชื่อของตนโดยไม่ต้องมีพยาน
แจ้งความประสงค์ต่อผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอต่อหน้าพยานอย่าง
น้อย 2 คน จากนั้นผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอจดข้อความลงเสร็จแล้ว
ต้องอ่านให้ผ ู ้ท ํา พินั ยกรรมและพยานฟัง หากข้อความถู ก ต้ อ งให้ผ ู ้ ทํ า
พินัยกรรมแบบ
3 พินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อ แล้วผู้อํานวยการเขตหรือนายอํ าเภอลง
เอกสารฝ่ายเมือง
ลายมือชื่อและวัน เดือน ปี พร้อมกับเขียนลงไปในพินัยกรรมว่าพินัยกรรม
ทําขึ้นถูกต้องตามเงื่อนไขในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เสร็จแล้วให้
ประทับตราตําแหน่ง
ผู้ทําลงลายมือชื่อในพินัยกรรม จากนั้นจึงปิดผนึกลงลายมือชื่อลงบนผนึก
แล้วจึงนําพินัยกรรมข้างต้นไปแสดงต่อผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอและ
พยานอย่างน้อย 2 คน และให้ถ้อยคําต่อบุคคลเหล่านี้ว่าเป็นพินัยกรรมของ
ตน ถ้าพินัยกรรมนั้นผู้ทําพินัยกรรมไม่ได้เป็นผู้เขียนเองโดยตลอด ผู้ทํา
4 พินัยกรรมแบบเอกสารลับ พินัยกรรมจะต้องแจ้งนามและภูมิล ําเนาของผู้เขียนให้ทราบด้ว ย เมื่อ
ผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอจดถ้อยคําของผู้ทําพินัยกรรมและวัน เดือน
ปีที่ทําพินัยกรรมมาแสดงไว้บนซองนั้นและประทับตราตําแหน่งแล้ว ให้
ผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอผู้ทําพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อบน
ซองนั้น
ทํ า เมื ่ อ มี พ ฤติ ก ารณ์ พ ิ เ ศษ เช่ น ผู ้ ท ํ า อยู ่ ใ นอั น ตรายใกล้ ค วามตาย มี
โรคระบาดหรื อแบบทํ าด้ว ยสงคราม ทําต่อหน้า พยาน 2 คนพร้ อ มกั น
จากนั้นพยานทั้งสองไปแสดงตัวต่อผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอโดยไม่
5 พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
ชักช้า และแจ้งข้อความที่ผู้ทําพินัยกรรมสั่งไว้ ทั้งต้องแจ้ง วัน เดือน ปี และ
สถานที่ทํา รวมทั้งพฤติการณ์พิเศษ โดยผู้อํานวยการเขตหรือนายอําเภอ
ต้องจดแจ้งข้อความ รวมทั้งให้พยานทั้งสองลงลายมือชื่อไว้

25
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ข้อควรรู้ พยานในพินัยกรรมต้องไม่เป็นบุคคลดังต่อไปนี้ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เป็นบุคคลวิกลจริต


หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ และ หูหนวก, เป็นใบ้หรือตาบอดทั้ง 2 ข้าง

วัดและแผ่นดิน
วัดเป็นนิติบุคคล จึงเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
ทรัพย์สินของพระภิกษุ
ก่อนบวช : ทรัพย์สินหรือมรดกนั้นไม่ตกเป็นของวัด แต่ตกเป็นของทายาทตามปกติ
Joao lain an
ระหว่างที่บวช : พระภิกษุนั้นจะเรียกร้องเอามรดกในฐานะทายาทโดยธรรมไม่ได้ เว้นแต่จะสึกจาก
-

สมณเพศมาเรียกร้อง แต่พระภิกษุนั้นอาจเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
วัด พระภิกษุมรณภาพ : ทรัพย์สินนั้นตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลําเนาของพระภิกษุนั้น เว้นแต่ได้
จําหน่ายไปในระหว่างที่มีชีวิตหรือโดยพินัยกรรม
ตัวอย่าง พระภิกษุสุธีอุปสมบทครั้งแรกที่วัดโพธิ์ ระหว่างอุปสมบทมีผู้นําพระพุทธรูปทองคํา 1 องค์มา
ถวาย จากนั้นจึงสึก หลังจากสึกไม่นานก็กลับมาอุปสมบทอีกครั้งที่วัด ราชบพิธ ครั้งหลังมีผู้นําเงินมา
ถวาย 50,000 บาท พระภิกษุสุธีนําเงินดังกล่าวไปเก็บไว้ที่บ้าน ต่อมาท่านได้มรณภาพลง พระพุทธรูป
ตกแก่ทายาท ส่วนเงินตกทอดแก่วัดราชบพิธ
แผ่นดิน ถ้าผู้ตายไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม มรดกของผู้นั้นตกแก่แผ่นดิน

การเสียสิทธิในทรัพย์มรดก
ถูกกําจัดมิให้รับมรดก กรณีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมทั่วไปได้ ยักย้ายหรือปิดบังทรัพย์มรดกโดย
ฉ้อฉล หรือเป็น ผู้ไม่ควรได้รับ มรดก เช่น ปลอม ทําลาย ปิดบัง พินัยกรรม ข่มขู่ หรือหลอกเจ้ามรดกให้ทํา

qhifvatwonwa fngoa nw nig.no


พินัยกรรม ex .
minorooo groan I

การตัดมิให้รับมรดก โดยเจ้ามรดกแสดงในพินัยกรรมหรือทําเป็นหนังสือมอบไว้ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
พึงสังเกตว่าการตัดมิให้รับมรดกทําได้เฉพาะก่อนที่เจ้ามรดกจะตาย โดยเจ้ามรดกเป็นผู้แสดงเจตนา ผลของการตัด
มรดกจะทําให้ผู้ถูกตัดมิให้รับมรดกไม่มีฐานะเป็นทายาทอีกต่อไป โดยบุคคลนั้นจะไม่อาจยกอายุความมรดกขึ้น
ต่อสู้ ทั้งยังไม่มีสิทธิร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดก afraidsidingoars an

26
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายธีรภัทร์มีมรดกจํานวน 3,000,000 บาท โดยที่เขามีทายาทโดยธรรมเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายทั้งสิ้น
3 คน ได้แก่ นายธนรัตน์ นายชวิศ และนายธนาธร ตามหลักแล้วบุตรแต่ละคนต้องได้มรดกเป็นส่วนแบ่งเท่า ๆ กัน
คือ คนละ 1,000,000 บาท ถ้านายธนรัตน์บุตรชายคนโตปิดบังไม่ให้น้องชายของตนอีกสองคนทราบว่านายธีรภัทร์
มีเงินเก็บอยู่จํานวน 1,000,000 บาท ส่วนนายชวิศบุตรชายคนรองแอบยักย้ายสร้อยคอทองคําอันเป็นส่วนหนึ่ง
ของกองมรดกไป 1,500,000 บาท ทั้งสองคนกระทําการโดยฉ้อฉล (ประสงค์จะโกง) จะมีสัดส่วนมรดกอย่างไร
8878818 3g
....................................................................................................................................................................................
0009000 87N

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
หากกรณีตัวอย่างข้างต้น มีเพียงเฉพาะนายธนรัตน์บุตรชายคนโตเท่านั้นที่ยักย้ายทรัพย์มรดกจํานวน
300,000 บาท จะมีสัดส่วนมรดกอย่างไร
TWEAK IF 900,00081N tanks Igbo
....................................................................................................................................................................................
INTO 88188 : ,
000 MN

....................................................................................................................................................................................
* bartered than
on rang astonishing divergence *

การสละมรดก การที่ทายาทแสดงความประสงค์ว่าจะไม่รับมรดก การสละมรดกทําได้ 2 วิธี คือ ทําเป็น


หนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรืออีกวิธี คือ ทําเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดก แต่จะสละ
โดยสละเพียงบางส่วน มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไม่ได้ และเมื่อสละแล้วจะถอนไม่ได้ อย่า งไรก็ตามการสละมรดกจะ
กระทําได้ก็ต่อเมื่อตนมีสิทธิรับมรดก กล่าวคือ เมื่อเจ้ามรดกตาย gigantismnoooo ammonia
ฝึกสมองระหว่างเรียน
Together !
นายคุณานนต์มีมรดกจํานวน 3,000,000 บาท โดยเขามีบุตรจํานวน 2 คน ได้แก่ นายพศินและนายศมบถ
นายพศินมีบุตรสองคนเช่นเดียวกัน ได้แก่ นายกีรติและนายสรัล นายพศินสละมรดกส่วนของตน (พิจารณาที่นาย
คุณานนต์) จะต้องมีการแบ่งมรดกอย่างไร
Heddon is 500,000 VIN 8798807 WIGGED AND 8959000 UM
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

27
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 6 : กฎหมำยอำญำที่ควรรู้

ความหมายของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญา กฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผิด และกำหนดโทษที่
จะลงแก่ผู้ที่กระทำความผิดไว้ด้วย

หลักเกณฑ์และลักษณะความผิดทางอาญา
1. กฎหมายอาญามีสภาพบังคับโทษ โทษทางอาญา คือ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน
2. ต้องตีความโดยเคร่งครัด
3. ไม่มีผลย้อนหลังไปในทางที่เป็นโทษแก่บุคคลผู้กระทำผิด แต่ย้อนหลังเป็นคุณได้ เช่น กฎหมายเดิมมี
โทษจำคุก 10 ปี แต่กฎหมายใหม่มีโทษจำคุกในความผิดฐานเดียวกันนั้นเพียง 5 ปี ดังนั้นให้ผู้กระทำความได้รับ
โทษตามกฎหมายใหม่ทเี่ ป็นคุณ
4. ห้ามใช้จารีตประเพณีลงโทษทางอาญาแก่บุคคล ความผิดและโทษทางอาญานั้นจะต้องเกิดจาก
กฎหมายลายลักษณ์อักษรเท่านั้น อย่างไรก็ตามหากนำจารีตประเพณีมาใช้ในกรณีที่เป็นคุณแก่บุคคล ทำให้การ
กระทำไม่เป็นความผิด ย่อมนำมาใช้ได้
5. ห้ามใช้กฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
6. โดยปกติใช้บังคับเฉพาะการกระทำที่เกิดขึ้นในราชอาณาจักร ราชอาณาจักรไทย หมายถึง พื้นดิน
พื้นน้ำที่อยู่ในอาณาเขต ทะเลอันเป็นอ่าวไทย ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล และ พื้นที่อากาศเหนือข้อ
ที่กล่าวมา
ข้อควรรู้ การกระทำความผิดในเรือไทย หรืออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ให้ถือเป็นการกระทำความผิด
ในราชอาณาจักรไทย และราชอาณาจักรไทยไม่นับรวมสถานทูตไทยในต่างประเทศ

โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา
ขั้นตอนการกระทําความผิด เนื่องจากกฎหมายบัญญัติควบคุมความประพฤติหรือการกระทําที่แสดงออก
มาภายนอกของบุคคล และการที่บุคคลจะเริ่มลงมือกระทําการใดจะต้องมีขั้นตอนการกระทําดังนี้
คิด บุคคลยังไม่มีความผิดและยังไม่ต้องได้รับโทษเพราะเป็นเพียงความในใจของผู้นั้นยังไม่ได้
แสดงออกภายนอก ซึ่งมาจากหลักทั่วไปว่ากฎหมายใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์เท่านั้นไม่รวมถึงจิตใจ

28
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ตกลงใจ เช่นเดียวกับการ “คิด” เมื่อยังไม่มีการแสดงออกมาบุคคลย่อมไม่มีความผิ ดและต้อง


ได้รับ โทษตามกฎหมาย
ตระเตรียมการ โดยหลักแล้วผู้กระทําไม่มีความผิดและไม่ต้องได้รับโทษ ยกเว้นความผิดต่อไปนี้
แม้อยู่ในขั้นตระเตรียมการก็มีความผิดแต่ต้องได้รับโทษ ได้แก่ เตรียมการลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์
พระราชินี รัชทายาท และผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ ตระเตรียมการกบฏ ตระเตรียมการกระทํา
ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร และ ตระเตรียมการวางเพลิง
ลงมือ ผู้กระทํามีความผิดและจะต้องรับโทษ เช่น ความผิดฐานฆ่ าผู้อื่นด้วยอาวุธปืนเริ่มต้นขั้นลง
มือที่การเล็งปืนมิใช่การชักปืน ในกรณีนี้จําต้องพิจารณาถึง “ผลสําเร็จ” ที่เกิดขึ้นประกอบด้วย
✓ หากผู้กระทํากระทําสําเร็จตามความประสงค์ก็เป็นความผิดสําเร็จ เช่น ความผิดฐานลักทรัพย์เป็น
ความผิดสําเร็จเมื่อทรัพย์เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
✓ หากไม่สําเร็จถือว่าเป็นการพยายามกระทําความผิด โดยแบ่งออกเป็น
1) กรณีต้องระวางโทษ 2 ใน 3 ของความผิดสําเร็จ ได้แก่ การกระทําไปไม่ตลอด เช่น ยกปืนเล็ง
แต่มีบุคคลที่สามมาห้ามไว้ ก็เป็นพยายามฆ่าแล้ว หรือการกระทํา ไปตลอดแล้วแต่ไม่บรรลุผล เช่น ยิงปืนออกไป
แล้วแต่ผู้นั้นหลบทัน
2) กรณีต้องระวางโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของความผิดสําเร็จ เรียกว่า การพยายามกระทําความผิด
ซึ่งเป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทํา เช่น ใช้ปืนไม่มีกระสุนยิงผู้อื่น หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่ง
หมายกระทําต่อ เช่น ตั้งใจจะยิ่งคน แต่ยิงตอไม้ เพราะคิดว่าเป็นคน ต้องระวางโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของความผิด
สําเร็จ
รอการกําหนดโทษหรือรอการลงโทษ เกิดเมื่อบุคคลกระทํา ความผิดและจะได้รับโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี
ผู้นั้นอาจได้รับความกรุณาจากศาลปล่อยตัวไปเพื่อให้โอกาสกลับตัว เพราะผู้นั้นไม่เคยจําคุกมาก่อน และเมื่อได้รับ
พิจารณา ถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ สิ่งแวดล้อม
สภาพความผิดหรือเหตุอื่นอันควรปรานีแล้ว ศาลจะพิพากษาว่าผู้นั้นมีความผิดแต่รอการกําหนดโทษไว้หรือรอการ
ลงโทษไว้ ทําให้ผู้นั้นยังไม่ต้องรับโทษจําคุกก็ได้ แต่จะรอได้ไม่เกิน 5 ปี และในระหว่างรอการกําหนดโทษหรือรอ
การลงโทษก็ให้ผู้นั้นมารายงานตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ คือ พนักงานคุมประพฤติเป็นครั้งคราว รวมทั้งให้ประกอบ
อาชีพเป็นกิจจะลักษณะ ละเว้นการคบหาสมาคมหรือการประพฤติอันอาจนําไปสู่การกระทําความผิดอีก ถ้าฝ่าฝืน
ผู้นั้นอาจถูกนําตัวมาจําคุกตามโทษที่ศาลกําหนดได้

29
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

โทษทางอาญา มี 5 สถาน คือ ริบทรัพย์สิน ปรับ กักขัง จําคุก และประหารชีวิต


ริบทรัพย์สิน การริบทรัพย์สินที่กฎหมายกําหนดว่าผู้ใดทําหรือมีไว้เป็นความผิด เช่น ยาเสพติด
อันเป็นการริบเด็ดขาดไม่ว่าทรัพย์นั้นจะเป็นของผู้ใดก็ตาม หรือการริบทรัพย์สินที่ได้ใช้ เช่น ปืนที่ใช้ในการปล้น
ทรัพย์หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทําความผิด เช่น เงินที่เตรียมไว้เพื่อจ้างมือปืนไปฆ่าผู้อื่น หรือเป็นทรัพย์สินที่ได้มา
โดยการกระทําความผิด เช่น เงินที่ได้มาจากการขายยาเสพติด
ปรับ เป็นโทษที่ลงกับทรัพย์สิน เมื่อศาลลงโทษปรับตามกฎหมายจะต้องชําระค่าปรับเป็นเงินตาม
จํานวนในคําพิพากษาของศาลภายใน 30 วันนับแต่วันที่ศาลพิพากษามิเช่นนั้นจะถูกยึดทรัพย์ หรือมิฉะนั้นจะต้อง
ถูกกักขังแทนค่าปรับ ปัจจุบันนี้รัฐได้เพิ่มทางเลือกอีกอย่างหนึ่งให้กับผู้ต้องโทษปรับ ซึ่ง ไม่ใช่นิติบุคคลและไม่มีเงิน
ชําระค่าปรับ นั่นคือ การทํางานบริการสังคมหรือทํางานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับในกรณีที่ศาลพิพากษาปรับ
ไม่เกิน 80,000 บาท
กักขัง เป็นโทษทางอาญาที่เปลี่ยนมาจากโทษอื่น กรณีแรก คือ ศาลพิพากษาจําคุกผู้ใดไม่เกิน
3 เดือน โดยผู้นั้นไม่เคยถูกจําคุกมาก่อน หรือเคยแต่เพราะกระทําความผิดโดยประมาทหรือเป็นความผิดลหุโทษ
ส่วนกรณีที่สอง คือ การกักขังแทนค่าปรับโดยถืออัตรา 200 บาทต่อ 1 วัน ส่วนสถานที่ในการกักขังนั้นต้องไม่ใช่
เรือนจํา สถานีตํารวจหรือสถานที่ควบคุมผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวน
จําคุก เป็นโทษทางอาญาที่ลงกับเสรีภาพของผู้กระทําความผิด โดยผู้ที่ต้องโทษจําคุกจะถูกเอาตัว
ไปคุมขังไว้ในเรือนจําตามกําหนดเวลาที่ศาลพิพากษา แต่หากขณะกระทําความผิดจําเลยอายุต่ำกว่า 18 ปีก็จะ
ลงโทษจําคุกตลอดชีวิตไม่ได้ ซึ่งในปัจจุบันมีการเสนอให้นําการจําคุ กโดยวิธีการอื่นมาใช้ อันได้แก่ การนําเครื่อง
อุปกรณ์รับส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมือใด ๆ ที่ใช้ติดตามตัวหรือที่ใช้สวมใส่ข้อมือ ข้อเท้า หรืออวัยวะ
ส่วนอื่นใดของผู้ซึ่งศาลมีคําสั่งให้จําคุกโดยวิธีการอื่นที่สามารถจํากัดการเดินทางและอาณาเขตของผู้นั้น
ประหารชีวิต เป็นการลงโทษที่ร้ายแรงที่สุด ปัจจุบันใช้วิธีการฉีดยาหรือสารพิษ เช่นเดียวกับโทษ
จําคุกตลอดชีวิต แต่หากขณะกระทําความผิดจําเลยอายุต่ำกว่า 18 ปี ก็จะลงโทษประหารชีวิตไม่ได้

บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดทางอาญา
ตัวการ การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปได้ร่วมกระทําความผิดและมีเจตนาร่วมกันในการกระทํา
ความผิด เช่น ก. ข. ค. ได้คบคิดกันไปลักทรัพย์ที่บ้านนายรามิล พอถึงเวลานัดหมายก็ไปที่บ้านนายรามิล โดย ก.
กับ ข. เป็นผู้เข้าไปขนทรัพย์ในบ้าน ส่วน ค. จอดรถรอรับของข้างนอกและดูต้นทางให้ ดังนี้ ก. ข. และ ค. ต้องรับ
โทษฐานเป็นตัวการร่วมกันกระทําความผิดฐานลักทรัพย์

30
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ผู้ใช้ บุคคลที่ได้ก่อให้ผู้อื่นที่เรียกว่า “ผู้ถูกใช้” ให้กระทํา ความผิด ไม่ว่าด้วยการใช้บังคับ ขู่เข็ญ


จ้างวาน ยุยงส่งเสริมหรือด้วยวิธีอื่นใด ซึ่ง “ผู้ใช้” จะต้องรับโทษดังนี้
ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทําความผิดตามที่ผู้ใช้ได้ก่อให้เกิดขึ้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนตัวการ
ถ้าผู้ถูกใช้มิได้กระทําความผิดตามที่ผู้ใช้ได้ก่อให้เกิดขึ้น (ไม่ว่าเพราะเหตุใดก็ตาม) ผู้ใช้ต้องระวาง
โทษ 1 ใน 3 ของโทษที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้น

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายศิรสิทธิ์หลอกนายสรชัชว่านายเพชรลักทรัพย์ของนายสรชัชไป นายสรชัชจึงเดินไปต่อยนายเพชร
บุคคลใดบ้างที่เป็นผู้กระทำความผิด
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายธนวิทย์ต้องการฆ่านายชาญศิริจึงแอบวางยาพิษในอาหารแล้วหลอกให้น ายฉัน ทิช ัยซึ่งไม่ทราบ


ข้อเท็จจริงใด ๆ เลยเอาอาหารไปให้นายชาญศิริ นายชาญศิริกินเข้าไปถึงแก่ความตาย บุคคลใดจะได้รับความผิด
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ........................

ผู้สนับสนุน บุคคลที่ได้กระทําการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่น


กระทําความผิดก่อนหรือขณะกระทําความผิด โดยไม่คํานึงว่าผู้กระทําความผิดนั้นจะได้รู้หรือมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกนั้น บุคคลนั้นถือเป็นผู้สนับสนุนการกระทําความผิดต้องระวางโทษ 2 ใน 3 ของโทษที่กําหนด
ไว้สําหรับความผิดนั้น แต่ถ้ามีการสนับสนุนภายหลังความผิดเกิดขึ้นแล้วไม่ถือว่าเป็นผู้สนับสนุนแต่อาจมีความผิด
ทางอาญาฐานอื่นแทน และหากผู้กระทําความผิดอาญาไม่ได้รับความสะดวกจากการสนับสนุน ผู้ที่ช่วยเหลือนั้นก็
ไม่ถือว่าเป็นผู้สนับสนุน

การวินจิ ฉัยความรับผิดทางอาญา
1. มีการกระทำที่ครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติ
มีการกระทำ มีการเคลื่อนไหวร่างกายหรือไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สำนึกในการกระทำ
กล่าวคือ อยู่ภายใต้การบังคับของจิตใจ ดังนั้นหากกระทำไปโดยไม่รู้สึกตัวหรือไม่ได้อยู่ภายใต้บังคับของจิตใจ เช่น
ละเมอ เป็นเด็กไร้เดียงสา หรือเป็นโรคลมชัก ก็ถือว่าไม่มีการกระทำ
31
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

เรียนรู้จากตัวอย่าง นายอนุเทพนอนละเมอทำให้ขาของตนเตะไปโดนหน้าของนายณัฐดนัย การกระทำดังกล่าวถือว่า


นายอนุเทพไม่มีความผิดฐานทำร้ายร่างกาย เนื่องจากนายอนุเทพไม่มีการกระทำนั่นเอง

มีการกระทำครบองค์ประกอบภายนอกของความผิด องค์ประกอบภายนอกของความผิดเป็น
สิ่งที่ผู้กระทำได้แสดงออกมา มีด้วยกัน 3 ส่วน คือ ผู้กระทำ การกระทำ และวัตถุแห่งการกระทำ
1) มีผู้กระทำ (กฎหมายมักใช้คำว่า “ผู้ใด”) แบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้
ผู้กระทำความผิดโดยตรง กระทำผิดดด้วยตนเอง หรือใช้สัตว์ หรือผู้ไม่มีการกระทำเป็น
เครื่องมือ เช่น สุวรรณภูมติ ้องการฆ่าธนพลจึงนำปืนไปยิงธนพลตาย
ผู้กระทำความผิดโดยอ้อม เช่น ธนสรรพ์หลอกปฏิญญาให้นำอาหารใส่ยาพิษ ไปให้
พงศภัค โดยปฏิญญาไม่รู้
2) มีการกระทำ ต้องอยู่ภายใต้บังคับของจิตใจ เช่น การฆ่า การเอาไป
3) มีวัตถุแห่งการกระทำ สิ่งที่ผู้กระทำมุ่งหมายที่จะกระทำต่อ วัตถุแห่งการกระทำอาจเป็น
บุคคลหรือทรัพย์ เช่น ธิติวุฒิเอาปืนยิงปิยยุตม์เสียชีวิต ถือว่าปิยยุตม์เป็นวัตถุแห่งการกระทำในฐานฆ่าผู้อื่น
มีการกระทำครบองค์ประกอบใน มี 3 ประเภท คือ เจตนา ประมาท และไม่เจตนาและไม่
ประมาท โดยหลักแล้วบุคลจะมีความผิดต่อเมื่อได้กระทำลงไปโดย “เจตนา” ส่วนการรับผิดเมื่อได้กระทำการโดย
ประมาทหรือไม่มีเจตนาและไม่ประมาท จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษ
1) เจตนา การกระทำโดยรู้สำนักในการที่กระทำ กล่าวคือ ผู้กระทำต้ องรู้ถึงข้อเท็จจริงอันเป็น
องค์ประกอบภายนอกของความผิดนั่นเอง และในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผล
ของการกระทำ มีหลักกฎหมายว่า “กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา”
ประสงค์ต่อผล ผู้กระทำต้องการ (มุ่งหมาย) ให้การกระทำของตนเกิดผลอย่างใดอย่าง
หนึ่งขึ้น เช่น พศินต้องการให้ภูมิตาย จึงเอาปืนยิงไปที่ ภูมิ พศินมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น เพราะได้กระทำการครบ
องค์ประกอบภายนอกของความผิด และมีเจตนาประสงค์ต่อผลให้ภูมิตาย
ย่อมเล็งเห็นผล สามารถเล็งเห็นได้ว่าผลนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอนแต่ไม่ใยดีต่อผลนั้น
เช่น นุติยิงปืนเข้าไปที่ฝูงชนโดยไม่ประสงค์ฆ่าใครโดยเฉพาะ แต่กระสุนปืนไปถูก ไกรสิทธิ์ตาย นุติมีความผิดฐาน
ฆ่าผู้อื่น เพราะได้กระทำการครบองค์ประกอบภายนอกของความผิด และมีเจตนาฆ่าไกรสิทธิ์โดยเล็งเห็นผล

32
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

2) ประมาท การกระทำความผิดที่ไม่มีเจตนา แต่ขาดความระมัดระวังในการกระทำซึ่งบุคคลใน


ภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และหรือผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่ไม่ได้ใช้ให้
เพียงพอ
3) ไม่เจตนาและไม่ประมาท

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายณัฐวุฒิพาสุนัขของตนสองตัวไปเดินเล่นที่สวนสาธารณะ ขณะที่นายณัฐวุฒิเผลอ สุนัขทั้งสองตัววิ่ง
หายไปในกลุ่มคนที่มาเดิน ออกกำลัง กรณีที่ 1 หากนายณัฐ วุฒิ เห็นสุน ัขตัวหนึ่งของนายเทพชฎิล เดินอยู่
นายณัฐวุฒิเข้าใจว่าเป็นสุนัขของตนที่หายไปจึงเข้าไปอุ้มนำขึ้นรถเพื่อกลับบ้ าน นายณัฐวุฒิมีความผิดหรือไม่
อย่างไร
....................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................... .................
กรณีที่ 2 ระหว่างทางนายณัฐวุฒิเห็นสุนัขอีกตัวหนึ่งอยู่ข้างถนน เข้าใจว่าเป็นสุนัขของนายนีรนาท นายณัฐวุฒิ
อยากได้มาเป็นของตนแทนสุนัขอีกตัวหนึ่งที่หายไป จึงไปอุ้มมาบนรถแต่ความจริงเป็นสุนัขของนายณัฐวุฒิเอง
นายณัฐวุฒิมีความผิดหรือไม่ อย่างไร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
ผลของความผิดกับการกระทำนั้นต้องมีความสัมพันธ์กัน ผู้กระทำความผิดต้องรับผิดในการ
กระทำของตนหากผลนั้นเป็นผลโดยตรงจากการกระทำ ดังนั้นหากผลที่เกิดขึ้นไม่ใช่ผลโดยตรงของการกระทำก็ไม่
ต้องรับผิด เช่น อิทธิวัฒน์เอาปืนยิงณัฐกิตติ์บาดเจ็บสาหัสต้องส่งไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล หากต่อมาณัฐกิตติ์
ทนพิษบาดแผลไม่ไหวจนถึงแก่ความตาย ในที่นี้ย่อมถือว่าความตายของณัฐกิตติ์เป็นผลโดยตรงสืบเนื่องจากการ
กระทําโดยเจตนาของอิทธิวัฒน์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ หากอิทธิวัฒน์ไม่เอาปืนยิงณัฐกิตติ์ ณัฐกิตติ์ย่อมไม่ตาย
อิทธิวัฒน์มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น
2. ไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด เหตุยกเว้นความผิด ได้แก่ การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย

33
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทําเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นจาก
ภยันตรายที่เกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ผู้กระทําจึงได้ทําการ
ป้องกันภัยนั้นโดยพอสมควรแก่เหตุ
กิติวัฒน์ชักปืนออกมาและได้เล็งมาที่กีรติโดยมีเจตนาฆ่า แต่กี รติเห็นเสียก่อนจึงรีบคว้าปืนพก
ของตนยิ่งไปที่ กิ ติว ัฒ น์ ถึง แก่ความตาย หากพิจารณาแล้ว จะพบว่ ากีร ติ มี การกระทํ า ครบ
องค์ประกอบความผิดฐานฆ่าผู้อื่นทุกประการ เพราะกีรติมีการกระทําที่ครบองค์ประกอบ
เรียนรู้จากตัวอย่าง
ภายนอกของความผิด และเป็นการกระทําโดยมีเจตนาฆ่ากิติวัฒน์โดยประสงค์ต่อผลซึ่งหากไม่ใช้
ปืนยิงไปที่กิติวัฒน์ กิติวัฒน์ย่อมไม่ตาย แต่ในกรณีนี้ที่กีรติฆ่ากิติวัฒน์มีจุดประสงค์คือเพื่อป้องกัน
ภยันตรายอันใกล้จะถึง กฎหมายจึงถือว่าการกระทําของกีรติไม่เป็นความผิด เนื่องจากเป็นการ
ป้องกันที่ชอบด้วยกฎหมายนั่นเอง

3. ไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ เหตุยกเว้นโทษ ได้แก่


การกระทําโดยจําเป็น การกระทําเนื่องจากถูกบังคับให้ทําโดยไม่อาจขัดขืนได้ หรือจําต้อง
กระทําความผิด เพื่อให้หลุดพ้นจากภยันตราย สามารถแยกออกเป็น 2 กรณี ได้แก่
1) จําเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ
อยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อํานาจ (มีการบังคับให้กระทําหรือไม่กระทําอย่างหนึ่งอย่างใด
จากภายนอกซึ่งการนั้นเป็นความผิดและภัยนั้นมิได้เกิดจากความผิดของตน)
ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้ (ทําให้ผู้กระทําต้องกระทําความผิดตามที่ถูกบังคับ)
กระทําไปไม่เกินขอบเขต (แต่ภัยประการแรกต้องร้ายแรงกว่าภัยที่ผู้กระทําโดยจําเป็น
ก่อให้เกิดแก่บุคคลที่สาม)

นครินทร์ขเู่ จตพัฒน์ด้วยปืนให้เอาไม้ตีพศิน หากเจตพัฒน์ได้กระทําการดังกล่าวลงไป การกระทํา


นั้นถือว่าครบองค์ประกอบความผิดฐานทําร้ายร่างกายผู้อื่น ประกอบกับไม่มีเหตุยกเว้นความผิด
เรียนรู้จากตัวอย่าง
ในกรณีนี้เจตพัฒน์มีความผิดเพียงแต่ไม่ต้องรับโทษ เนื่องจากกฎหมายถือว่าการที่ เจตพัฒน์ต้อง
กระทําการดังกล่าว ก็เป็นด้วยความจําเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ และได้กระทําไปไม่ เกินแก่เหตุ
เพราะภัยต่อเจตพัฒน์คือปืน ร้ายแรงกว่าภัยที่เจตพัฒน์กระทำต่อพศินคือไม้

34
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

2) จําเป็นเพื่อให้พ้นภยันตราย
มีภยันตรายที่ใกล้จะถึงซึ่งจะละเมิดต่อกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เช่น เกิดภัยธรรมชาติ
ไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้แล้ว และภัยนั้นมิได้เกิดจากความผิดของตน
กระทําไปโดยมีเจตนาเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตราย
กระทําไปไม่เกินขอบเขต
มงคลรัตน์เอาปืนไล่ยิงธฤษณุ ธฤษณุวิ่งหนีไปที่บ้านนวพนธ์ แต่นวพนธ์ขัดขวางไม่ให้เข้า ธฤษณุ
เรียนรู้จากตัวอย่าง จึงต่อยหน้านวพนธ์บาดเจ็บ ธฤษณุมีการกระทําครบองค์ประกอบความผิดฐานทําร้ายร่างกาย
ประกอบกับไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด แต่ในที่นี้ธฤษณุไม่ต้องรับโทษ เพราะธฤษณุสามารถ
อ้างจําเป็นเพื่อให้ตนเองพ้นจากภยันตราย

ความแตกต่างระหว่างการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และกระทําโดยจําเป็นเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่น
พ้นจากภยันตราย
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย กระทําการโดยจําเป็นเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตราย
1. เป็นเหตุยกเว้นความผิด 1. เป็นเหตุยกเว้นโทษ
2. เป็นการกระทําต่อผู้ก่อภัย 2. มักเป็นการกระทําต่อบุคคลที่สาม
3. ภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิด 3. ภยันตรายใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ภยันตรายนั้น
ต่อกฎหมาย อาจไม่ได้เกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย เช่น เกิด
จากภัยธรรมชาติ

การกระทํ า ความผิ ด ของคนวิ ก ลจริ ต หลั ก เกณฑ์ : มี ก ารกระทํ า กระทํ า การอั น


กฎหมายบัญญัติเป็นความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ และ เพราะวิกลจริต
การกระทําความผิดของผู้มึ นเมา หลักเกณฑ์ : มีการกระทํา กระทําการอันกฎหมาย
บัญญัติเป็นความผิดในขณะมึนเมาจนไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ และ แต่ความมึนเมา
ในกรณีนี้อ้างเป็นเหตุยกเว้นโทษได้ก็แต่ความมึนเมาที่เกิดโดยความไม่รู้ ว่าสิ่งนั้นจะทําให้เมาหรือถูกขืนใจให้เสพ

ควรรู้
ความมึนเมาจะยกเป็นข้อแก้ตัวไม่ให้ต้องรับผิดทางอาญาไม่ได้

35
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

การกระทํ า ความผิ ด ตามคํ า สั ่ ง ที่ ไ ม่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของเจ้ า พนั ก งาน หลั ก เกณฑ์ :
กระทําความผิดตามคําสั่งที่ “ไม่ชอบด้วยกฎหมาย” ของเจ้าพนักงาน ผู้กระทําไม่รู้ (ถ้ารู้แล้วยังทํา ตามก็
ย่อมมีความผิดและต้องรับโทษ) และ ผู้กระทํามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหรือไม่มีแต่เชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้อง
ปฏิบัติตาม
การกระทําของเด็กบางกรณี หลักเกณฑ์ : การกระทําของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี ไม่ต้องรับ
โทษ และ การกระทําของเด็กอายุ 10 ปี แต่ไม่เกิน 15 ปีไม่ต้องรับโทษ แต่ศาลอาจใช้วิธีการสําหรับเด็กได้ เช่น
การวางข้อกําหนด, มอบตัวเด็กนั้นให้อยู่กับบุคคลหรือองค์การที่ศาลเห็นสมควรเพื่อดูแล, ส่งตัวเด็กนั้นไปยัง
โรงเรียนหรือสถานฝึกและอบรมหรือสถานที่ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อฝึกและอบรมเด็ก
การกระทําความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ระหว่างสามีและภรรยาบางกรณี ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ที่
ไม่เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ฉ้อโกง โกงเจ้าหนี้ ยักยอก รับของโจร ทําให้เสียทรัพย์ บุกรุกที่
ไม่ได้ทําในเวลากลางคืน หรือใช้กําลังหรือมีอาวุธ
สรุป การกระทําที่มีกฎหมายยกเว้นโทษอาจเรียกว่า “เหตุยกเว้นโทษ” คือ ผู้กระทํามีความผิด แต่ไม่ต้องรับ
โทษทางอาญา แต่ในทางแพ่งต้องชดใช้ค่าเสียหายในทางละเมิด

4. เหตุลดโทษ เป็นกรณีที่บุคคลมีความผิดและต้องรับโทษ เพียงแต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ


ก็ได้ ได้แก่กรณีต่อไปนี้
ความไม่รู้กฎหมาย บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้
แต่ถ้าศาลเห็นว่าตามสภาพและพฤติการณ์ ผู้กระทํา ความผิดอาจจะไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าการกระทํานั้นเป็น
ความผิด ศาลอาจอนุญาตให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้าศาลเชื่อว่าผู้กระทํา ไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้
เช่นนั้นศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
กระทําความผิดขณะมีจิตบกพร่องแต่รับรู้บ้าง ถ้าผู้กระทําความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง
หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้นั้นต้องรับโทษสําหรับความผิดนั้น แต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมาย
กําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
ความมึนเมา หากความมึนเมาได้เกิดโดยผู้เสพไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะทําให้มึนเมาหรือได้เสพโดยถูก
ขืนใจให้เสพและได้กระทําความผิด ถ้าผู้นั้นยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ศาลจะ
ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้

36
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

บันดาลโทสะ ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมจึงกระทํา
ความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
อย่างไรก็ตามเช่นเดียวกับกรณีของการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายและการกระทําการโดยจําเป็น บุคคลต่อไปนี้
ไม่อาจอ้างการบันดาลโทสะขึ้นเพื่อได้รับการลดโทษได้ ได้แก่ ผู้ที่ก่อภัยขึ้นในตอนแรก ผู้ที่สมัครใจเข้า
วิวาทต่อสู้กัน ผู้ที่ยินยอมให้ผู้อื่นกระทําต่อตนเองโดยสมัครใจ และ ผู้ที่ยั่วให้ผู้อื่นโกรธ
การกระทําของเด็กในบางกรณี ผู้ใดอายุกว่า 15 ปีแต่ต่ำกว่า 18 ปี กระทําการอันกฎหมาย
บัญญัติเป็นความผิด ให้ศาลพิจารณาถึงความรู้ผิดชอบและสิ่งอื่นทั้งปวงเกี่ยวกับผู้นั้น ศาลสามารถลดมาตราส่วน
โทษที่กําหนดไว้สําหรับความผิดลงกึ่งหนึ่ง ส่วนผู้ใดอายุตั้งแต่ 18 ปีแต่ยังไม่เกิน 20 ปี กระทําการอันกฎหมาย
บัญญัติเป็น ความผิด ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดมาตราส่ว นโทษที่กําหนดไว้สําหรับ ความผิดนั้นลงหนึ่งในสาม
หรือกึ่งหนึ่ง
การกระทํ า ความผิ ด เกี ่ ย วกั บ ทรั พ ย์ บ างกรณี ระหว่ า งผู้ บ ุพ การี ท ํา ต่อ ผู ้ส ืบ สั น ดาน เช่น
บิดามารดาทําต่อบุตร หรือผู้สืบสันดานกระทําต่อผู้บุพการี เช่น บุตรทําต่อบิดามารดาหรือระหว่างพี่หรือน้องร่วม
บิดามารดาเดียวกันกระทําต่อกัน ถือเป็นความผิดอันยอมความกันได้ แม้ความผิดนั้นโดยปกติจะยอมความไม่ได้
เพราะเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน
การป้ อ งกั น หรื อ กระทํา โดยจํา เป็น แต่ เ กิ น สมควรแก่เ หตุ ห รือ เกิ น สมควรแก่ก รณี เช่น
พงศ์รักษ์ชกณัฐฑวุฒิ แต่ณัฐฑวุฒิป้องกันโดยเอาปืนยิงพงศ์รักษ์ตาย ถือเป็นความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
โดยเป็นการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ แต่เป็นเหตุลดโทษ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้เพียงใดก็ได้
หรืออีกกรณีหนึ่งถ้าการกระทํานั้นเกิดจากความตื่นเต้น ตกใจ ความกลัว ศาลจะไม่ลงโทษผู้นั้นก็ได้

37
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ลักทรัพย์ เรียกกันทั่วไปว่า “การขโมย” นั้น คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย
ไปโดยทุจริต
องค์ประกอบภายนอกของความผิด องค์ประกอบภายในของความผิด
ผู ้ ใ ด บุ ค คลใดก็ ไ ด้ ส ามารถเป็ น ผู ้ ก ระทํ า เจตนา บุคคลจะมีความผิดฐานลักทรัพย์ได้ก็
ความผิด ต่อเมื่อได้กระทําการโดยเจตนาเท่านั้น ดังนั้น ความผิด
เอาไป เอาทรัพย์ไปจากความครอบครองของ ฐานลักทรัพย์โดยประมาทไม่อาจมีได้
ผู ้ อ ื ่ น ในลั ก ษณะที ่ ท ํ า ให้ ท รั พ ย์ น ั ้ น เคลื ่ อ นที ่ ไ ปจาก โดยทุจริต เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ ไม่ควรได้
ตําแหน่งเดิม ดังนั้น ทรัพย์ที่ถู กลัก ต้ องอยู่ ในความ โดยชอบด้วยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผู้อื่น
ครอบครองของผู้อื่นในขณะเอาไป ถ้าทรัพย์นั้นอยู่ใน
การครอบครองของผู้ กระทํา ก็จ ะเป็น ความผิ ด ฐาน
ยักยอกไม่ใช่ลักทรัพย์
ทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่
ด้วย ทรัพย์ที่เอาไปนั้นไม่ใช่ของตน หรือเป็นของตน
แต่ผู้อื่นก็เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายอานัส เป็น เจ้าของรถยนต์คัน หนึ่ง ได้ให้น ายศุภ กรณ์ เช่ามีกําหนด 1 เดือน ยังไม่ทันครบเดือน
นายอานัสจําเป็นต้องใช้รถดังกล่าวจึงไปบ้านนายศุภกรณ์แล้วขับรถยนต์พิพาทกลับบ้านระหว่างนายศุภ กรณ์
ออกไปธุระ นายอานัสมีความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายศรวัสไปวัดแล้วถอดรองเท้าวางไว้หน้าโบสถ์ เมื่อออกจากโบสถ์แล้วเห็นรองเท้าของนายณัฐนันท์วาง
อยู่ก็เข้าใจว่าเป็นของตนเพราะคล้ายกันมาก จึงสวมรองเท้านั้นกลับบ้าน นายศรวัสมีความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... .........................

38
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

นายณัทภัสสร์ชนน์และนายเมธัสเป็นพี่น้องกัน วันหนึ่งนายณัทภัสสร์ชนน์ ขับรถยนต์ของนายเมธัสไปซื้อ


อาหารโดยที่นายเมธัสไม่อนุญาต ทั้งนี้นายณัทภัสสร์ชนน์ตั้งใจว่าจะนํารถยนต์มาคืนเมื่อใช้เสร็จ นายณัทภัสสร์ชนน์
มีความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายอนวั ช ขโมยรถยนต์ ข องนายกิ ต ติภ พไป หลั ง จากนั ้ น 2 วั น นายอนวั ช กลั บ ใจนำรถยนต์ มาคืน
นายกิตติภพ นายอนวัชมีความผิดฐานลักทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

วิ่งราวทรัพย์ การลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาต่อหน้า สําหรับคําว่า “การฉกฉวยเอาซึ่งหน้า” หมายถึง


การเอาทรัพย์ไปโดยไม่ได้ลักลอบ แต่เอาไปโดยที่เจ้าของรู้ตัวนั่นเอง
ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายพีรภัทรเข้าไปซื้อสุรา นายธนวิชญ์เจ้าของร้านบอกว่าหมดเวลาแล้วขายไม่ได้ แต่นายพีรภัทรไม่สนใจ
แล้ว ก็ห ยิบขวดสุร าของนายธนวิชญ์ไปต่อหน้านายธนวิชญ์ แล้ว เดินออกจากร้านไป นายพีร ภัทรมีความผิด
ฐานวิ่งราวทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายศุภวัฒน์กระตุกสร้อยคอของนางเชอร์รี่จากด้านหลังโดยนางเชอร์รี่รู้ตัว ถือกระทำของนายศุภวัฒน์ถือ
เป็นการวิ่งราวทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์
ชิงทรัพย์ ลักทรัพย์โดยใช้กําลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กําลังประทุษร้าย
ปล้นทรัพย์ การชิงทรัพย์ที่ร่วมกันกระทําความผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป

39
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายพีร ะณัฐ สามีทํา ร้ายและเอาทรัพย์ของนางมนชนกภรรยามาเก็บไว้เพื่อ ไม่ให้นําไปเล่นการพนัน
การกระทำของนายพีระณัฐมีความผิดฐานชิงทรัพย์หรือไม่
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายอภินันท์ นายไตรภพ และนางปอนด์ได้ตกลงกันเข้าขโมยของในบ้านของนายกวินในเวลากลางคืน


โดยนายอภินันท์เป็นคนขับรถติดเครื่องรออยู่หน้าบ้าน นายไตรภพเป็นคนดูต้นทาง นางปอนด์เป็นคนขนโทรทัศน์
ออกจากบ้าน นายกวินตื่นขึ้นมาพบเหตุการณ์และจับนางปอนด์ไว้ได้ ส่วนนายอภินันท์และนายไตรภพหลบหนีไป
ได้ก่อน ทั้งสามคนมีความผิดฐานปล้นทรัพย์หรือไม่ เพราะเหตุใด
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

รับของโจร การช่วยซ่อนเร้น ช่วยจําหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานําหรือรับไว้โดยประการใด


ซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทําความผิดบางฐานความผิด
ยักยอก การเบียดบังเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยที่อยู่ในความครอบ ครองมาเป็น
ของตนหรือของบุคคลที่สามโดยทุจริต
องค์ประกอบภายนอกของความผิด องค์ประกอบภายในของความผิด
ผู ้ ใ ด บุ ค คลใดก็ ไ ด้ ส ามารถเป็ น ผู ้ ก ระทํ า เจตนา บุคคลจะมีความผิดฐานยักยอกได้ก็
ความผิด ต่อเมื่อได้กระทําการโดยเจตนาเท่านั้นเช่นเดียวกับ
เบียดบัง การแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ ดังนั้นการยั กยอกโดยประมาท
ตนเองเป็นเจ้าของทรัพย์นั้น ๆ ไม่อาจมีได้
ทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ โดยทุจริต เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ ไม่ควรได้
ด้วย ทรัพย์ที่เบียดบังไปนั้น ไม่ใช่ของตน หรือเป็น โดยชอบด้วยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผู้อื่น
ของตน แต่ผู้อื่นก็เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย

40
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ฝึกสมองระหว่างเรียน
นายพลภัทรและนายกวินบุตรเข้าทุนกันซื้อ iPad เครื่องหนึ่งโดยช่วยกันออกเงินซื้อตามกฎหมาย ย่อมถือ
ว่าทั้งสองคนเป็นเจ้าของร่วมกัน ต่อมานายพลภัทรเอา iPad เครื่องนั้นไปขายเสีย นายพลภัทรจะมีความผิดหรือไม่
และถ้ามีความผิดจะถือเป็นความผิดฐานใด
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายพลภัทรและนายกวินบุตรเข้าทุนกันซื้อ iPad เครื่องหนึ่งโดยช่วยกันออกเงินซื้อตามกฎหมาย ย่อมถือ


ว่าทั้งสองคนเป็นเจ้าของร่วมกัน ถ้าทั้งสองคนอยู่คนละบ้านและแบ่งเวลาผลัดกันใช้ iPad ถ้านายพลภัทรเอา iPad
ไปขายในขณะที่อยู่ในความครอบครองของตน นายพลภัทรจะมีความผิดหรือไม่ และถ้ามีความผิดจะถือเป็น
ความผิดฐานใด
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

นายพศวัตขายรถยนต์สีเขียว ยี่ห้อโตโยต้า เลขทะเบียน กข-1111 กรุงเทพมหานครแก่นายนิธิกรในราคา


5 แสนบาท โดยยังไม่มีการส่งมอบรถยนต์หรือชําระราคาแต่ประการใด โดยนายนิธิกรฝากรถยนต์ไว้ที่นายพศวัต
เพื่อนําเงินมาชําระและรับรถไปในวันรุ่งขึ้น ต่อมานายอธิกรซึ่งเป็นมหาเศรษฐีได้ติดต่อนายพศวัตเพื่อซื้อรถยนต์
คันเดียวกันในราคา 2 ล้านบาท ทําให้นายพศวัตตัดสินใจขายรถยนต์แก่นายอธิกรทันที การกระทำของนายพศวัต
ถือเป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์หรือไม่ เพราะเหตุใด
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

รีดเอาทรัพย์ การข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมหรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน
โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับ สําหรับคําว่า “ความลับ” นั้น หมายถึง สิ่งที่บุคคลที่มีประโยชน์ได้เสียประสงค์จะ
ปกปิดโดยยอมให้รู้เฉพาะภายในวงบุคคล ซึ่งการเปิดเผยความลับนั้นจะทําให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย
จนผู้ถูกข่มขืนใจยอม

41
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

กรรโชก การข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมหรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน
โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทําอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ
หรือของบุคคลที่สามจนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น เช่น จําเลยพาตัวบุตรของผู้เสียหายไปแล้ว กักไว้ขู่เ ข็ญ
แล้วจําเลยเขียนจดหมายไปขู่เข็ญผู้เสียหายให้ส่งเงินไปให้จําเลย มิฉะนั้นบุตรผู้เสียหายจะเป็นอันตรายแก่ชีวิต
แม้จะได้ความว่าบุตรของผู้เสียหายเองเป็นคนบอกให้จําเลยเขียนจดหมายไปขู่เข็ญบิดาเพื่อหลอกลวงให้บิดาส่งเงิน
มาให้ก็ยังถือว่าผู้เสียหายถูกข่มขืนใจ เช่นนี้จําเลยมีความผิดฐานกรรโชก
ทําให้เสียทรัพย์ การทําให้เสีย ทําลาย ทําให้เสื่อมค่าหรือทําให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่น
เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย
ฉ้อโกง การหลอกลวงผู้อื่นโดยทุจริต ด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอก
ให้แจ้ง โดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอก
ความแตกต่างระหว่างความผิดฐานลักทรัพย์และความผิดฐานฉ้อโกง ให้ดูที่ความยินยอมในการ
มอบการครอบครองทรัพย์ของผู้เสียหาย : หากผู้เสียหายมอบทรัพย์ให้ผู้กระทําผิดโดยความยินยอม
อันเนื่องจากการหลอกลวงเช่นนี้ย่อมเป็นความผิดฐานฉ้อโกง แต่หากผู้เสียหายไม่ได้ยินยอมให้มีการเอา
ทรัพย์นั้นไปแต่เป็นการเอาไปโดยลักลอบ ย่อมเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ เช่น จําเลยเอาทรัพย์ที่
ข้อควรระวัง
ต้องการลักใส่ลงในกล่องพัดลม ทําให้ผู้เสียหายเข้าใจว่าทรัพย์ที่ขายและส่งมอบให้จําเลยเป็นพัดลม
ถือไม่ได้ว่าจําเลยได้ทรัพย์ที่ลักไปโดยความยินยอมของผู้เสียหายเอง จําเลยมีความผิดฐานลักทรัพย์
แต่หากเป็นกรณีที่จําเลยเอาป้ายราคาสินค้าที่มีราคาสูงกว่าออก แล้วเอาป้ายราคาสินค้าที่มีราคาต่ำกว่า
ไปติดแทน เพื่อจะได้ซื้อสินค้านั้นในราคาต่ำกว่าความเป็นจริง ถือว่าผู้ขายยินยอมมอบสินค้าให้จําเลย
เพราะถูกหลอกลวงดังนี้จําเลยมีความผิดฐานฉ้อโกง

บุกรุก การเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่
บางส่วน หรือเข้าไปกระทําการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของเขาโดยปกติสุ ข
หรือเข้าไปซ่อนตัวอยู่ในเคหสถานโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือไม่ ยอมออกไปจากเคหสถานเมื่อผู้มีสิทธิที่จะห้าม
ไม่ให้เข้าไปได้ไล่ให้ออก

42
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 7 : กฎหมำยพิ เศษ

กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
เวลาทํางานปกติ เวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของการทํางานแต่ละวันของลูกจ้าง เวลาทํางานปกติวันหนึ่ง
ต้องไม่เกิน 4 ชั่วโมง และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่ถ้าเป็นงานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัย
ต้องไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
เวลาพัก ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน หลังจากทํางานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน
วันทํางานและวันหยุด
วันทํางาน วันที่นายจ้างกําหนดให้ลูกจ้างทํางานตามปกติ
วันหยุด วันที่กําหนดให้ลูกจ้างหยุด ซึ่งประกอบด้วย วันหยุดประจําสัปดาห์ สัปดาห์ละ 1
วัน (วันใดก็ได้) ต้องมีระยะห่างกันไม่เกิน 5 วัน วันหยุดตามประเพณี ปีละไม่น้อยกว่า 13 วัน โดยพิจารณา
จากวันหยุดราชการประจําปี วันหยุดทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น แต่จะต้องมีวันแรงงาน
แห่งชาติรวมอยู่ด้วย 1 วัน (1 พฤษภาคม) อนึ่ง ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจําสัปดาห์ของลูกจ้าง
ให้ลูกจ้างได้หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีในวันทํางานถัดไป และ วันหยุดพักผ่อนประจําปี โดยลูกจ้างซึ่ง
ทํางานติดต่อกันมาแล้วครบ 1 ปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจําปีได้ปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 5 วันทํางาน
วันลา ลูกจ้างต้องแจ้งให้นายจ้างทราบว่าไม่มาทํางานโดยนายจ้างอนุญาต ประกอบด้วย วันลาป่วย
(ไม่นับวันลาคลอดและวันที่ไม่สามารถทํางานได้ เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทํางานให้นายจ้าง
ทั้งนี้การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทํางานขึ้นไป นายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดงใบรั บรองของแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งหรือ
ของสถานพยาบาลของทางราชการ โดยนายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างเท่ากับอัตราค่าจ้างในวันทํางาน
ตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ปีหนึ่งต้องไม่เกิน 30 วัน) ลาเพื่อคลอดบุตร (ครรภ์หนึ่งได้ไม่เกิน 90 วัน โดยได้รับค่าจ้าง
เท่ากับค่าจ้างในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลาแต่ไม่เกิน 45 วัน) ลาเพื่อทําหมัน ลาเพื่อกิจธุระที่จําเป็น ลาเพื่อ
รับราชการทหาร ลาเพื่อการฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้ความสามารถ
ค่าตอบแทนแรงงาน
ค่าจ้าง เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทํางานตามสัญญาจ้างสําหรับ
ระยะเวลาการทํางานปกติเป็นรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรือระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดยคํานวณ
ตามผลงานที่ลูกจ้างทําได้ในเวลาทํางานปกติของวันทํางาน ทั้งนี้ค่าจ้างต้องไม่ต่ ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำที่กฎหมาย
กําหนด
43
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ค่าล่วงเวลา การทํางานล่วงเวลา คือ การทํางานนอกหรือเกินเวลาทํางานปกติหรือเกินชั่วโมง


ทํางานในแต่ละวันที่นายจ้าง (ก่อนเริ่มงานหรือหลังเลิกงาน) นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้แก่ลูกจ้างเป็นการ
ตอบแทนการทํางานล่วงเวลาในวันทํางาน ในอัตราไม่น้อยกว่า 1 เท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทํางาน
ตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา เช่น ปกติทํางานได้ค่าจ้างชั่วโมงละ 100 บาท หากทํางานล่วงเวลาก็จะได้ค่าล่วงเวลา
ชั่วโมงละ 150 บาท
ค่าทํางานในวันหยุด เป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทํางานในวันหยุด
เป็นกรณีเมื่อลูกจ้างมาทํางานตามเวลาทํางานปกติในวันซึ่งเป็นวันหยุดของลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่า 1 เท่าของ
อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา แต่ถ้าเป็นลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด
(เช่น ลูกจ้างรายวัน) ถ้ามาทํางานในวันหยุดจะได้รับค่าทํางานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่าของอัตราค่าจ้าง
ต่อชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ถ้าให้ลูกจ้างทํางานเกินกําหนดเวลาทํางานปกติในวันหยุด ต้องจ่ายค่า
ล่วงเวลาในวันหยุดไม่น้อยกว่า 3 เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา
แรงงานเด็กและแรงงานหญิง
แรงงานเด็ก พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานห้า มไม่ให้ นายจ้า งจ้า งเด็ ก อายุต่ ำกว่า 15 ปี
เป็นลูกจ้าง แต่หากจ้างเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี เป็นลูกจ้าง ต้องมีการแจ้งพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วันนับแต่
วันที่เด็กเข้าทํางาน และจัดทํา บันทึกสภาพการจ้างกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทั้งนี้กฎหมายได้บัญญัติ
หลักไว้เป็นพิเศษเกี่ยวกับเวลาทํางานปกติและเวลาพักของลูกจ้างเด็ก กล่าวคือ ลูกจ้างเด็กต้องมีเวลาพักวันหนึ่ง
ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงติดต่อกัน หลังจากที่ทํางานมาแล้วไม่เกิน 4 ชั่วโมง และห้ามไม่ให้ทํางานระหว่าง 22.00 น.
ถึง 06.00 น. เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานหรือเป็นกรณีที่เป็นงานละครหรือ
ภาพยนตร์แต่ก็ต้องจัดให้มีเวลาพักผ่อนตามสมควร และห้ามไม่ให้ลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กทํางานล่วงเวลาหรือทํางาน
ในวัน หยุด นอกจากนี้กฎหมายห้ามนายจ้างจ้างลูกจ้างเด็กทํางานในกิจการที่เป็นอันตราย เช่น งานหลอม
เป่า หล่อ หรือรีดโลหะ
แรงงานหญิง พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานห้ามนายจ้างใช้แรงงานหญิงในการทํางานอันตราย
บางประเภท ได้แก่ งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างที่ต้องทําใต้ดิน ใต้น้ ำ ในถ้ำ ในอุโมงค์ หรือปล่องในภูเขา
งานนั่งบนนั่งร้านสูง 10 เมตรขึ้นไป รวมไปถึงงานผลิตหรือขนส่งวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ นอกจากนี้ห้ามนายจ้าง
เลิกจ้างลูกจ้างหญิงเพราะเหตุมีครรภ์

44
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

การเลิกจ้าง การที่นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทํางานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุ
สิ้นสุดสัญญาจ้างหรือเหตุอื่นใดหรือเป็นการที่ลูกจ้างไม่ได้ทํางานและไม่ได้รับค่าจ้าง เพราะเหตุที่
นายจ้างไม่ส ามารถดําเนินกิจ การต่อไป หากนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างผู้ใดซึ่งได้ทํางาน ติดต่อกัน ครบ 120 วัน
หรือมากกว่านั้นขึ้นไป ลูกจ้างผู้นั้นก็มีสิทธิได้รับค่าชดเชยตามอัตราที่กําหนดไว้ในกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
แต่หากลูกจ้างลาออกเองเช่นนี้ก็จะไม่ได้รับค่าชดเชย แต่ประการใด
นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ในกรณีต่อไปนี้
ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
จงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางานหรือระเบียบหรือคําสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและ
เป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรงนายจ้างไม่จําเป็นต้องตักเตือน
ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทํางานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอัน
สมควร
ได้รับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
บริษัทโรงแรมดำมาก จํากัด กับนางสาวตู่ได้กระทําสัญญาจ้างแรงงานกันไว้ข้อหนึ่งว่าเนื่องจาก
งานต้อนรับลูกค้าเป็นงานที่ถือเป็นภาพลักษณ์ของบริษัท ดังนั้น ภายในสองปีนับแต่วันเริ่ม
สัญญาหากนางสาวตู่ตั้งครรภ์ให้ถือว่านางสาวตู่ได้บอกเลิกสัญญา ทั้งนี้ให้สัญญาสิ้นสุดลงตั้งแต่
วันที่แพทย์วินิจฉัยหรือเมื่อเห็นได้ชัดว่านางสาวตูต่ ั้งครรภ์ หลังจากนางสาวตูท่ ํางานเป็นพนักงาน
ต้อนรับได้ปีเศษ นางสาวตูต่ ั้งครรภ์ บริษัทโรงแรมดำมาก จํากัด จึงแจ้งให้นางสาวตู่ออกจากงาน
เรียนรู้จากตัวอย่าง
ในวันที่นางสาวตูย่ ืนใบรับรองของแพทย์ว่านางสาวตู่มีครรภ์และจ่ายค่าจ้างให้ถึงวันออกจากงาน
โดยอ้างว่าสัญญาจ้างสิ้นสุด นางสาวตูเ่ ห็นว่าสัญญาจ้างไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าบริษัทโรงแรม
ดำมาก จํากัด เลิกจ้างตนจึงเรียกร้องขอค่าชดเชย สัญญาจ้างระหว่างบริษัทโรงแรมดำมาก จํากัด
กับนางสาวตูข่ ้อดังกล่าวที่ห้ามนางสาวตูต่ ั้งครรภ์ใช้บังคับได้หรือไม่ เพราะอะไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

45
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

กฎหมายลิขสิทธิ์
ความหมายของลิขสิทธิ์ สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทําขึ้น
งานที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์นั้นต้องเป็นงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา โดยงาน
ดังกล่าวจะต้องมีการแสดงออกซึ่งความคิด ไม่ใช่เพียงแต่เป็นความคิดเท่านั้น เช่น นายพีรภัทรคิด
บทนิยายในใจ งานดังกล่าวยังไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ แต่หากต่อมาเขาเขียนนิยาย
ดังกล่าวเป็นรูปเล่ม งานชิ้นนี้ก็ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์
ข้อควรรู้ งานที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์นั้นต้องเกิดจากการใช้ความรู้ความสามารถของ
ผู้สร้างสรรค์ ทั้งนี้ไม่คํานึงถึงคุณค่าทางศิลปะแต่ประการใด เช่น ภาพวาดของเด็กกั บภาพวาดของ
ศิลปินชื่อดัง ทั้งเด็กและศิลปินต่างก็มีลิขสิทธิ์ในงานของตน
งานที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์จะต้องเกิดจากการใช้ความวิริยะในการสร้างสรรค์ให้
เกิดขึ้น แต่ไม่จําต้องเป็นงานใหม่ เช่น นายกฤษณะและนายอภิวัฒน์ต่างเขียนตําราความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
กฎหมายในรูปแบบของตน กฎหมายก็ถือว่าทั้งสองคนต่างมีลิขสิทธิ์ในตําราของตน

ประเภทของงานสร้างสรรค์
งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้จะเป็นการประพันธ์ โดยภาษาใดก็ได้
งานนาฏกรรม เช่น การรํา การทําท่า หรือการแสดงที่ประกอบเป็นเรื่องเป็นราว จะเห็นได้ว่าหากเป็น
ท่าเต้นในสถานบันเทิงต่าง ๆ ย่อมไม่มีลิขสิทธิ์เพราะไม่ได้ประกอบกัน เป็นเรื่องราว
งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม (งานวาดเขียนต่าง ๆ) ประติมากรรม (เป็นงานศิลปกรรมใน
รูปแบบสามมิติ เช่น งานปั้น) สถาปัต ยกรรม (เช่น งานออกแบบอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง งานออกแบบตกแต่ง
ภายในหรือภายนอก) ศิลปะประยุกต์ (คือ การนําศิลปะมาจัดทํา เพื่อการใช้สอยไม่ใช่เพียงชื่นชมในคุณค่า เช่น
เอาภาพวัดมาพิมพ์ลงบนเสื้อเพื่อขาย) เป็นต้น
งานดนตรีกรรม เช่น เนื้อร้อง ทํานอง โดยงานดังกล่ าวเน้น ที่การใช้เล่น โดยเครื่ องดนตรี แ ละ
การขับร้อง (ไม่ได้เน้นเพื่อใช้อ่านหรือท่องจําเหมือนวรรณกรรม) ทั้งนี้ ยังรวมไปถึงโน้ตดนตรีที่แสดงถึงรูปแบบของ
ดนตรีอันนักดนตรีสามารถนําไปเล่นได้อีกด้วย อนึ่ง งานประเภทนี้ไม่รวมไปถึงหนังสือเพลงอันเป็นการรวบรวม
เนื้อเพลงต่าง ๆ เพราะถือว่าเป็นงานวรรณกรรม
งานโสตทัศนวัสดุ เป็นการบันทึกด้วยภาพ ตลอดจนเสียงประกอบลําดับของภาพนั้น เช่น วิดีโอ

46
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

งานภาพยนตร์ งานดังกล่าวต้องไม่ใช่ภาพนิ่ง อันจะเป็นงานศิลปกรรม หากแต่ต้องเป็นภาพนําออก


ฉายต่อเนื่อง
งานสิ ่ ง บั น ทึ ก เสี ย ง เช่ น การบั น ทึ ก เสี ย งการแสดง แต่ ถ ้ า เป็ น เสี ย งประกอบภาพยนตร์ ห รื อ
โสตทัศนวัสดุก็จะได้รับการคุ้มครองในงานประเภทนั้น ๆ
งานแพร่เสียงแพร่ภาพ งานดังกล่าวเป็นการนํางานที่มีลิขสิทธิ์เผยแพร่ผ่านทางโทรทัศน์ วิทยุ
งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น การสักลวดลายลงบนตัวบุคคล
การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์และเจ้าของลิขสิทธิ์ การคุ้มครองลิขสิทธิ์จะเกิดขึ้นโดยทันทีนับตั้งแต่มีการสร้างสรรค์
ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน ส่วนผู้ที่เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ คือ บุคคลดังต่อไปนี้
ผู้สร้างสรรค์งานขึ้นใหม่ ซึ่งอาจเป็นผู้สร้างสรรค์งานด้วยตนเองเพียงผู้เดียว หรือผู้สร้างสรรค์งาน
ร่วมกัน
ในกรณีที่ไม่ได้ตกลงกันไว้เป็นหนังสือ ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงานหรือลูกจ้าง (สัญญาจ้างแรงงาน)
เป็นผู้มีลิขสิทธิ์ในงานที่จ้าง แต่นายจ้างมีสิทธินํางานนั้นออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ตามที่เป็นวัตถุประสงค์แห่ง
การจ้างงานนั้น เช่น บริษัทเพลงจ้างบุคคลมาเป็นนักแต่งเพลง (ในลักษณะของลูกจ้างประจําตามสัญญาจ้าง
แรงงาน ต้องอยู่ภายใต้อํานาจบังคับบัญชาของนายจ้าง) หากไม่ได้ตกลงกันเป็นพิเศษไว้เป็นหนังสือนักแต่งเพลง
ผู้นั้นย่อมมีลิขสิทธิ์ในเพลงที่ตนแต่งขึ้น แต่บริษัทก็สามารถนําเพลงนั้นออกเผยแพร่ได้
ผู้ดัดแปลงหรือรวบรวมโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของจะมีลิขสิทธิ์ในงานที่ดัดแปลงหรือรวบรวมขึ้น
ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ในงานที่จ้าง (สัญญาจ้างทําของ) เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น เช่น
จ้างให้ช่างวาดภาพวาดรูปขึ้นมารูปหนึ่ง ผู้ว่าจ้างย่อมมีลิขสิทธิ์ในรูปนั้น
กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐหรือท้องถิ่น - ผู้รับโอนสิทธิ - ผู้สร้างสรรค์งานที่ใช้นามแฝง
หรือที่ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์
สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทําการใด ๆ ต่องานอัน
มีลิขสิทธิ์ของตน อย่างไรก็ตามงานต่างประเภทกันย่อมได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายลิขสิทธิ์แตกต่างกัน เช่น
หากนายสิริโชติแต่งหนังสือกฎหมายขึ้นมาเล่มหนึ่ง และต่อมานายอัษฎาได้ซื้อหนังสือดังกล่าวไป นายอัษฎา
สามารถนําหนังสือออกขายหรือให้เช่าได้ แต่ในกรณีกลับกันหากนายสิ ริโชติได้บันทึกคําบรรยายของตนในวิชา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายในรูปแบบของวีซีดี กฎหมายลิขสิทธิ์ห้ามไม่ให้นายสิริโชตินําวีซีดีนั้นออกให้เช่า

47
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ โดยหลักลิขสิทธิ์คุ้มครองผลงานตลอดอายุผู้สร้างสรรค์ และมีต่อไปอีก 50 ปี นับ


แต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย แต่งานบางประเภท เช่น งานศิลปประยุกต์ กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองงานนั้นเพียง
25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
ผลภายหลังลิขสิทธิ์หมดอายุ งานนั้นตกเป็นสมบัติของสาธารณะ ทุกคนสามารถแสวงหาประโยชน์จาก
ผลงานนั้นได้ โดยไม่มีการหวงกัน
สิ่งที่กฎหมายไม่คุ้มครองและสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์
สิ่งที่กฎหมายไม่คุ้มครอง แนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือ
คณิตศาสตร์ รวมไปถึงขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้ หรือการทํางาน
สิ่งที่ไม่ถือว่ามีลิขสิทธิ์ ข่าวประจําวันและข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร
รั ฐ ธรรมนู ญ และกฎหมาย ประกาศ คํ า สั่ ง ระเบี ย บ คํ า ชี ้ แ จงของหน่ ว ยงานรั ฐ หรื อ ท้ อ งถิ่ น
คําพิพากษา คําสั่ง คําวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ และ คําแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ
ข้างต้นที่หน่วยงานของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทําขึ้น
การกระทําที่ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
กระทําเพื่อการศึกษา เช่น การวิจัยและศึกษางานนั้นโดยไม่ประสงค์จะหากําไร หรืออาจเป็นเรื่อง
ทําซ้ำ ดัดแปลง โดยผู้สอนหรือสถานศึกษาเพื่อแจกจ่ายแก่ผู้เรียน
เพื่อใช้งานส่วนตัว กล่าวคือ ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่นในครอบครัว
หรือญาติสนิท
เพื่อประโยชน์ของทางราชการ โดยเป็นการทําซ้ ำ ดัดแปลง นําออกแสดง หรือทําให้ปรากฏแก่
สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอํานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงาน
ผลการพิจารณาดังกล่าว
เป็นการกระทําโดยรับรู้ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ของผู้อื่น เช่น ติชม วิจารณ์ หรือแนะนําผลงานโดยมี
การรับรู้ถึงความ

48
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

หน่วยที่ 8 : เอกเทศสัญญำ (กฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ที่ควรรู้)

ความหมายของเอกเทศสัญญา
สัญญาที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กําหนดรายละเอียดเอาไว้เป็นการเฉพาะ เนื่องจากเป็นสัญญา
ที่ใช้กันเป็นการทั่วไป แต่สัญญาตามกฎหมายไม่ได้มีเพียงที่กําหนดในเอกเทศสัญญาเท่านั้น บุคคลยังมีเสรีภาพใน
การทําสัญญาอื่น ๆ ได้อีก เพียงแต่หากเป็นเอกเทศสัญญาแล้ว ต้องตกอยู่ ภายใต้บทบังคับของบทบัญญัติเฉพาะ
สําหรับเอกเทศสัญญานั้น ๆ จะนําเรื่องนิติกรรมสัญญาทั่วไปมาใช้ได้เฉพาะเรื่องที่ไม่มีบัญญัติไว้ในบทบัญญัติของ
เอกเทศสัญญานั้น
สําหรับเอกเทศสัญญาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้เช่าทรัพย์
เช่าซื้อ จ้างแรงงาน จ้างทําของ รับขน ยืม ฝากทรัพย์ ค้ ำประกัน จํานอง จํานํา เก็บของในคลังสินค้า ตัวแทน
นายหน้า ประนีประนอมยอมความ การพนันและขันต่อ บัญชีเดินสะพัด ประกันภัย ตั๋วเงิน หุ้นส่วนและบริษัท
สมาคม

ประเภทของสัญญา

สัญญาต่างตอบแทน - สัญญาไม่ต่างตอบแทน

สัญญาต่างตอบแทน สัญญาไม่ต่างตอบแทน
สัญญาที่คู่กรณีทั้งสองฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้แ ละ สัญญาซึ่งคู่กรณีแต่เพียงฝ่ายเดียวมีหน้าที่ที่จะต้อง
ลูกหนี้ซึ่งกันและกัน เช่น สัญญาซื้อขาย ผู้ขาย ปฏิบัติ การชําระหนี้แก่อีกฝ่ายหนึ่ง เช่น สัญญากู้ยืม
จะต้องโอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบทรัพย์สิน ส่วนผู้ ผู้กู้ต้องชําระเงินต้นและดอกเบี้ยแก่ผู้ให้กู้เมื่อ ถึง
ซื้อก็จะต้องชําระราคาที่ถูกต้องและตรงตามเวลา กําหนดเวลา โดยที่ผ ู้ให้กู้ไม่มีหน้าที่ใด ๆ ที่ต้อง
หรือสัญญาเช่าทรัพย์ ผู้เช่ามีหนี้จะต้องชําระค่าเช่า ปฏิบัติตอบแทนแก่ผู้กู้หรือสัญญายืม ผู้ยืมเท่านั้นที่
ให้แก่ผู้เช่า ในขณะเดียวกันผู้ให้เช่าก็มีหนี้ที่จะต้อง มีหน้าที่จะต้องปฏิบัติต่อผู้ให้ยืม (การที่ผู้ให้ยืมต้อง
ชําระให้แก่ผู้เช่าได้แก่การให้ผู้เช่าได้ใช้หรือได้รับ ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืมเป็นการกระทําที่ทําให้
ประโยชน์จากทรัพย์สินที่เช่า สัญญายืมบริบูรณ์เท่านั้น)

49
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สัญญามีค่าตอบแทน – สัญญาไม่มีค่าตอบแทน

สัญญามีค่าตอบแทน สัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สัญญาที่คู่ กรณีต่างได้ร ับผลประโยชน์จ ากสัญญานั้น สัญญาที่คู่กรณีแต่เพียงฝ่ายเดียวได้รับผลประโยชน์ และ
เช่น สัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อได้รับประโยชน์คือได้ทรัพย์สิน ฝ่ายที่ได้ประโยชน์ก็ไม่เสียอะไรตอบแทน เช่น สัญญาให้
ที่ซื้อ ผู้ขายได้รับประโยชน์คือราคาทรัพย์สินที่ขาย โดยเสน่หา สัญญารับฝากทรัพย์โดยไม่มีบำเหน็จ

สัญญายืม
ประเภทของสัญญายืม เป็นเอกเทศสัญญาที่คู่สัญญาที่บุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้ยืม” ให้บุคคลอีกฝ่าย
ที่เรียกว่า “ผู้ยืม” ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และจะคืนเมื่อได้ใช้สอยทรัพย์นั้นเสร็จแล้ว สัญญายื ม
มี 2 ประเภท คือ สัญญายืมใช้คงรูป และสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง แม้สัญญาทั้งสองจะบริบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่
ยืมและเป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทนเช่นเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะที่แตกต่างกันอยู่ ดังต่อไปนี้
ที่ สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
จะต้องคืนทรัพย์สินอันเดียวกับที่ยืม ไม่ต้องคืนทรัพย์สินอันเดียวกับที่ยืมไป แต่จะต้อง
1 คื น ทรั พ ย์ ส ิ น ที ่ เ ป็ น ประเภท ชนิ ด และปริ ม าณ
เดียวกันกับทรัพย์สินที่ยืม
2 กรรมสิทธิ์ไม่โอนไปยังผู้ยืม กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ยืม
ไม่มีค่าตอบแทน (หากมีค่าตอบแทนอาจกลายเป็น อาจมีค่าตอบแทนได้ เช่น ดอกเบี้ยในสัญญากู้
3
สัญญาเช่าทรัพย์หรือสัญญาไม่มีชื่ออย่างอื่น)

การกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินเป็นการยืมใช้สิ้นเปลืองแบบหนึ่ง เพียงแต่มีบทบัญญัติที่เป็นพิเศษ กล่าวคือ


การกู้ยืมเงินกว่า 2,000 บาท ถ้าไม่มีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือ (ไม่ใช่แบบของนิติกรรม) และ
ลงลายมือชื่อผู้กู้ จะฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ คือ จะเอาพยานบุคคลมาสืบว่ามีการกู้ยืมเงินกันไม่ได้
การให้กู้โดยเรียกดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปีมีความผิด ดอกเบี้ยทั้งหมดตกเป็นโมฆะ (ไม่ใช่โมฆะ
เฉพาะส่วนที่เกินอัตรา) แต่ผู้กู้ยังมีหน้าที่ชําระเงินต้นคืน

ข้อควรรู้ หากกู้ยืมเงินกันโดยไม่ได้ตกลงอัตราดอกเบี้ยจะเรียกดอกเบี้ยไม่ได้ แต่หากกู้ ยืมเงินกันและกําหนด


ดอกเบี้ยไว้โดยไม่ได้กําหนดอัตราก็ให้เสียดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี

50
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สัญญาซื้อขาย
ลักษณะทั่วไป การซื้อขายเป็นเอกเทศสัญญาชนิดหนึ่ง และเป็นนิติกรรมสองฝ่ายอันประกอบด้วย
“ผู้ซื้อ” และ “ผู้ขาย” ทั้งนี้คู่สัญญาต่างมีทั้ง “สิทธิ” และ “หน้าที่ ” เหนือคู่สัญญาของตน (เป็น “สัญญาต่างตอบ
แทน”) โดยผู้ขายมีหน้าที่ “ส่งมอบทรัพย์ที่ซื้อขายอย่างถูกต้อง” ในขณะเดียวกันก็มีสิทธิ เรียกร้องให้ผู้ซื้อ “ชําระ
ราคา” ขณะที่ผู้ซื้อก็มีหน้าที่ “ชําระราคา” และมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ขาย "ส่งมอบทรัพย์” ตามที่ตกลงกัน
สัญญาจะซื้อจะขาย และสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
ชื่อสัญญา ลักษณะสำคัญ
การที่คู่กรณีตกลงกันในขั้นแรกเพียงว่าจะทําสัญญากันแล้วเท่านั้น ส่วนกรรมสิทธิ์จะโอน
ไปเมื่อคู่สัญญาได้ทําสัญญาซื้อขายตามแบบในภายหลังอีกครั้ง เช่น นายนภัทรทําสัญญา
จะซื้อจะขายที่ดินและรับเงินจากนายนิวกรแล้ว โดยตกลงจะไปทําการโอนโฉนดใน 1
เดือน ดังนั้นสัญญาจะซื้อจะขายจึงมีได้เฉพาะกับการทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษที่ต้องทําตามแบบในการโอนกรรมสิทธิ์ตามสัญญาซื้อขาย
สัญญาจะซื้อจะขาย
ข้อควรรู้เกี่ยวกับสัญญาจะซื้อจะขาย
ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจํา หรือมีการ
ชําระหนี้บางส่วน เพื่อเป็นหลักฐานในการฟ้องร้องบังคับคดีตามสัญญาจะซื้อจะขาย
ผู้จะขายไม่จําเป็นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินในขณะทําสัญญา แต่ถ้าถึงกําหนดโอนแล้ว
ไม่อาจโอนกรรมสิทธิ์ได้ ผู้ขายต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้จะซื้อ
การทีค่ ู่กรณีตกลงกันทุกเรื่องโดยเสร็จสมบูรณ์และมีการระบุทรัพย์สินที่ขายแน่นอน เรียก
กันว่ามี “ทรัพย์เฉพาะสิ่ง” เกิดขึ้น เช่น นางลิเดียเปิดร้านขายของชํา นางหนูเล็กขอซื้อผ้า
สี แ ดง 1 ผื น ราคา 900 บาท กรรมสิ ท ธิ ์ ใ นผ้ า ผื นนั ้น โอนเป็ น ของนางหนู เ ล็ กทันที
เนื่องจากผ้าสีแดงเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้ว แม้ยังไม่มีการชําระราคาหรือส่งมอบผ้ากันก็
สัญญาซื้อขาย
ตาม นอกจากนี้ส ัญญาซื ้ อขายต้ อ งไม่ มีเ งื่ อนไขเงื่ อนเวลาประวิ ง การโอนกรรมสิ ท ธิ์
เสร็จเด็ดขาด
แต่ในทางกลับกัน หากผู้ซื้อต้องการซื้อข้าวสารจากผู้ขาย 10 กิโลกรัม กรรมสิทธิ์ใน
ข้าวสารปริมาณดังกล่าวจะยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อจนกว่าจะมีการชั่ง ตวง หรือวั ด
จนได้ข้าวสาร 10 กิโลกรัม กรรมสิทธิ์จึงจะเปลี่ยนมือ

51
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ อันได้แก่ เรือมีระวาง 5 ตัน
แพ และสัตว์พาหนะ จะต้องทําตามแบบ กล่าวคือจะต้องทําเป็น หนังสือและนํ า ไป
จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้มีผลในการโอนกรรมสิทธิ์ ถ้าไม่ทําสัญญาซื้อขาย
ย่อมตกเป็นโมฆะ
การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ทั่วไปไม่ต้องทําตามแบบเพียงแต่ตกลงระบุตัวทรัพย์เป็นที่
แน่นอนก็เพียงพอต่อการโอนกรรมสิทธิ์แล้ว แต่หากทําการซื้อขายสังหาริมทรัพย์ทั่วไปที่มี
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานต่อไปนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง มิฉะนั้นไม่อาจจะ
ฟ้องบังคับคดีตามสัญญาได้ หลักฐานคือ หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้อง
รับผิด หรือการวางมัดจํา หรือการชําระหนี้บางส่วน

สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
ขายตามคําพรรณนา สัญญาซื้อขายที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายทรัพย์สินตามลักษณะและคุณภาพที่
ผู้ขายได้พรรณนาไว้ แต่ผู้ซื้อจะไม่มีโอกาสตรวจดูคุณภาพของทรัพย์สิน เช่น การซื้อขายตาม Catalogue
ขายตามตัวอย่าง สัญญาซื้อขายที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายทรัพย์สินตามที่ผู้ขายได้แสดงไว้ สินค้าที่
นํามาแสดงเป็นเพียงตัวอย่างและผู้ขายต้องส่งมอบสินค้าให้ตรงตามตัวอย่าง
ขายทอดตลาด การขายทรัพย์สินที่กระทําโดยเปิดเผยแก่บุคคลทั่วไป ด้วยวิธีเปิดโอกาสให้ผู้ซื้อ
ประมูลราคาและสู้ราคากัน ผู้ใดให้ราคาสูงสุดและผู้ทอดตลาดแสดงความตกลงกันด้วยเคาะไม้ หรือด้วยกิริยาอย่าง
อื่นตามจารีตประเพณีในการขายทอดตลาด ผู้นั้นเป็นผู้ซื้อทรัพย์สินนั้น
ขายเผื่อชอบ สัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนไขว่าให้ผู้ซื้อได้มีโอกาสตรวจดูทรัพย์สินก่อนรับซื้อ
ขายฝาก สัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ ขายอาจไถ่
ทรั พ ย์ น ั ้ น คื น ได้ ต ามเวลาที ่ ต กลง กํ า หนดเวลาที ่ ไ ถ่ ท รั พ ย์ ส ิ น ที ่ ข ายฝากคื น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ม่ เ กิ น 10 ปี
สังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปีนับแต่เวลาซื้อขาย หากไม่ไถ่คืนตามเวลากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะตกเป็นของผู้ซื้อฝาก
โดยเด็ดขาด และผู้ขายฝากหมดสิทธิ์ไถ่ทรัพย์สินอีกต่อไป

52
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สัญญาเช่าทรัพย์ และสัญญาเช่าซื้อ
ลักษณะทั่วไปของสัญญาเช่าทรัพย์
หัวข้อ อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สัญญาเช่าทรัพย์เป็นสัญญาที่ “ผู้ให้เช่า” นําทรัพย์สินออกให้ “ผู้เช่า” เช่า โดยผู้เช่ามีสิทธิที่
จะใช้หรือได้รับประโยชน์จากทรัพย์สินที่เช่า (เป็นเพียงสิทธิที่จะได้รับประโยชน์ใด ๆ จากทรัพย์สิน
เท่านั้นแต่ไม่ได้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น) เมื่อครบกําหนดระยะเวลาต้องคืนทรัพย์สินที่เช่า (พึง
สังเกตว่าสัญญาเช่าทรัพย์นั้นไม่มีการโอนกรรมสิท ธิ์ของทรัพย์สินแต่ประการใด) โดยในระหว่าง
สัญญาผู้เช่าตกลงให้ค่าเช่าเพื่อตอบแทนการใช้ทรัพย์สิน
ลักษณะสําคัญ
สัญญาเช่าทรัพย์นั้นเป็นสัญญาที่ไม่มี “แบบ” ที่จะทําให้สัญญาเช่าตกเป็นโมฆะ เหมือน
สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ หากแต่มีเพียงหลักฐานในการฟ้องร้องบังคับคดีเท่านั้น แล ะพึง
สังเกตว่าสัญญาเช่าสังหาริมทรัพย์ไม่ว่าจะเป็นสังหาริมทรัพย์พิเศษหรือสังหาริมทรัพย์ธรรมดา
กฎหมายไม่ได้กําหนดเรื่องหลักฐานในการฟ้องคิดไว้เลย กรณีที่กฎหมายเข้ามากําหนดหลักฐาน
ดังกล่าวไว้จะมีก็แต่เฉพาะการเช่าอสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ห้ า มไม่ ใ ห้ ท ำสั ญ ญาเช่ า นานกว่ า 30 ปี แต่ ถ้ า ตกลงทำสัญญาเช่านานเท่าไรก็ได้
ระยะเวลา
กำหนดนานกว่านั้น ก็ให้มีผลให้ล ดลงมาเหลื อ
การเช่า
30 ปี
ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ (เป็นเอกสารลักษณะ กฎหมายไม่ได้กําหนดหลักฐานในการฟ้องร้อง
เดี ย วกั บ กรณี ก ารกู ้ ย ื ม เงิ น หรื อ การซื ้ อ ขาย บังคับคดีเอาไว้ จะตกลงกันด้วยวาจาหรือวิธี
อสังหาริมทรัพย์ราคา 20,000 บาทขึ้นไป) และ ใดก็ใช้บังคับกันได้
ต้องลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสําคัญ คือ
หากจะฟ้องให้ส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้เช่าเช่าต้องมี
เช่าไม่เกิน 3 ปี
ลายมือชื่อผู้ให้เช่า หรือหากต้องการฟ้องให้ชําระ
ค่ า เช่ า ต้ อ งมี ล ายมื อ ชื ่อ ผู ้ เช่า มิ ฉ ะนั ้น จะนํ าไป
ฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ พึงสังเกตว่าหลักฐานใน
การเช่ า ไม่ ไ ด้ ห มายรวมถึ ง การวางมั ด จํ า หรื อ
การชําระหนี้บางส่วนดังเช่นสัญญาซื้อขาย

53
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

เช่าเกินกว่า 3 ปี ต้องทําเป็นหนังสือ (ต้องลงชื่อทั้งผู้เช่าและผู้ให้ กฎหมายไม่ได้กําหนดหลักฐานในการฟ้องร้อง


หรือตลอดอายุ เช่า) และจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ ถ้าเพียงแต่ทํา บังคับคดีเอาไว้ จะตกลงกันด้วยวาจาหรือวิธี
ของผู้เช่าหรือ เป็นหนังสือไว้โดยมิได้นําไปจดทะเบียนการเช่า ใดก็ใช้บังคับกันได้
ผู้ให้เช่า นั้นไม่เสียไป แต่จะบังคับคดีกันได้เพียง 3 ปี

หน้าที่ของผู้ให้เช่าและผู้เช่า
ผู้ให้เช่ามีหน้าที่ การส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่าในสภาพที่ดีพร้อมที่จะใช้งาน และยังต้อง
ข้อควรรู้ บํารุงรักษาและซ่อมแซมตามที่กฎหมายหรือจารีตประเพณีกําหนดให้ผู้ให้เช่าเป็นผู้ซ่อมแซม (ซ่อมแซม
ใหญ่)
ผู้เช่ามีหน้าที่ ชําระค่าเช่า สงวนรักษาทรัพย์สินที่เช่านั้นเสมอกับที่วิญญชนจะพึงสงวน ทรัพย์สิน
ของตนเอง ซ่อมแซมเล็กน้อย รวมถึงต้องคืนทรัพย์ที่เช่าเมื่อครบกําหนดระยะเวลา

ลักษณะทั่วไปของสัญญาเช่าซื้อ
หัวข้อ รายละเอียด
สัญญาซึ่ง “ผู้ให้เช่าซื้อ” เอาทรัพย์ออกให้เช่าและให้คํามั่นว่าจะขายทรัพย์สินนั้น หรือให้
ความหมาย
ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของ “ผู้เช่าซื้อ” เมื่อผู้เช่าซื้อได้ชําระเป็นจํานวนเงินครบครั้งในสัญญา
การเช่าซื้อทรัพย์สินทุกประเภทต้องเป็นหนังสือ กล่าวคือ ต้องมีการลงลายมือชื่อของทั้ง ผู้
แบบของสัญญา
เช่าซื้อและผู้ให้เช่าซื้อ (แต่ไม่ต้องนําไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่) หากไม่ทําตาม
เช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อก็จะตกเป็นโมฆะ
โดยหลักผู้เช่าซื้อสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อในเวลาใดก็ได้โดยการส่งมอบทรัพย์สินคืน
ส่วนผู้ให้เช่าซื้อสามารถบอกเลิกสัญญาได้เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติดติดกัน
ความระงับแห่ง
แต่ถ้าเป็นรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ ผู้เช่าซื้อต้องผิดนัดไม่ชําระค่าเช่าซื้อ 3 งวด
สัญญาเช่าซื้อ
ติดต่อกัน หลังจากได้รับหนังสือและไม่ปฏิบัติตามภายใน 30 วัน ผู้ให้เช่าซื้อจึงสามารถ
บอกเลิกสัญญาได้ หรือเมื่อผู้เช่าซื้อกระทําผิดสัญญาในข้อสําคัญ
ผลของการ ผู้ให้เช่าซื้อชอบที่จะริบบรรดาเงินค่าเช่าซื้อที่ผู้เช่าซื้อได้ใช้มาแล้วแต่ก่อนและกลับเข้า
บอกเลิกสัญญา ครองทรัพย์สินได้

54
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

สัญญาค้ําประกัน สัญญาจํานอง และสัญญาจํานํา


การประกันการชําระหนี้ สัญญาค้ำประกัน สัญญาจํานอง สัญญาจํานําต่างมีวัตถุประสงค์ในการประกัน
การชําระหนี้ เพียงแต่การค้ำประกันเป็นการประกันการชําระหนี้ด้วยบุคคลว่าถ้าลูกหนี้ไม่ชําระหนี้ “ผู้ค้ ำประกัน”
จะชําระหนี้ให้ ส่วนการจํานองและจํานําเป็นการประกันด้วยทรัพย์ กล่าวคือ ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกนําทรัพย์
มาประกันการชําระหนี้กับเจ้าหนี้ หากลูกหนี้ไม่ชําระหนี้เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะได้รับการชําระหนี้จากทรัพย์นั้น ๆ
สัญญาค้ำประกัน เป็นการใช้ “บุคคลภายนอก” ประกันการชําระหนี้ กล่าวคือ ถ้าลูกหนี้ไม่ชําระหนี้
เจ้าหนี้สามารถบังคับให้ผู้ค้ ำประกันชําระหนี้แก่ตน โดยจะไม่บังคับเอาจากลูกหนี้ก่อนก็ได้ สําหรับการฟ้อง
ผู้ค้ำประกันนั้นการฟ้องต่อศาลทําได้ในกรณีที่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อของผู้ ค้ำประกัน และเมื่อผู้ค้ำ
ประกันชําระหนี้แทนลูกหนี้ไปแล้วย่อมมีสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ เพื่อต้นเงินกับดอกเบี้ยที่ตนได้ชําระไปแก่
เจ้าหนี้ เช่น นายอิทธิวัฒ น์กู้เงินนายภาณุพงศ์มา 100,000 บาท โดยนายพศวัตเป็นผู้ค้ ำประกัน หากต่อมา
นายอิทธิว ั ฒ น์ผ ิด นั ด ไม่ช ํา ระหนี ้ นายภาณุพ งศ์ จึ งสามารถเรีย กให้ นายพศวั ตชํา ระหนี ้แ ทนนายอิ ทธิ ว ั ฒ น์
เมื่อนายพศวัตชําระเงินให้นายภาณุพงศ์ไปแล้วก็มีสิทธิไล่เบี้ยนายอิทธิวัฒน์ได้ 100,000 บาท
สัญญาจำนอง การที่ “ผู้จํานอง” (อาจเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอก) เอาทรัพย์ตราไว้กับ “ผู้รับจํานอง”
เพื่อเป็นประกันการชําระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์นั้นให้แก่ผู้รับ จำนององ (ต่างจากการขายฝากที่มักมีการส่งมอบ
ทรัพย์สิน) นอกจากนี้สัญญาจํานองต้องทําตามแบบ คือ ต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ไม่เช่นนั้นจะตกเป็นโมฆะ
ทรัพย์สินที่จํานองได้
เรื่องควรรู้ อสังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เรือมีระวาง 5 ตันขึ้นไป แพ และสัตว์พาหนะ
สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ เครื่องจักร รถยนต์

ความรับผิดของผู้จํานอง เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแล้วและผู้รับจํานองมีจดหมายบอกกล่าวแก่ลูกหนี้
ให้ชําระหนี้ แต่ลูกหนี้ไม่ชําระ เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะฟ้องบังคับจํานองโดยนําเอาทรัพย์ที่จํานองออกขายทอดตลาด
เพื่อนําเงินมาชําระหนี้ และถ้าบังคับจํานองแล้วราคายังขาดอยู่ผู้รับจํานองไม่สามารถเรียกร้องเอาจาก ผู้จํานองได้

55
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

นายธนวิ น ท์ ก ู ้ เ งิ น นายชลชาติ ม า 2,000,000 บาท โดยจํ า นองที ่ ด ิ น ไว้ 1 แปลง หากต่ อ มา


เรียนรู้จากตัวอย่าง นายธนวินท์ผิดนัดไม่ชําระหนี้และนายชลชาติมีการบังคับจํานองโดยการฟ้องร้องต่อศาลนําที่ดิน
ดังกล่าวออกขายทอดตลาดได้เงิน 1,500,000 บาท นายธนวินท์ไม่ต้องใช้เงินที่ขาดแก่นายชลชาติ
อีก 500,000 บาท

สัญญาจํานํา การที่ “ผู้จํานํา (อาจเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอก) ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ใด ๆ ให้แก่บุคคล


อีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับจํานํา” เพื่อเป็นการประกันการชําระหนี้ (ต่างจากการจํานองที่ไม่ต้องมีการส่งมอบ)
นอกจากนี้สัญญาจํานําเป็นสัญญาที่ไม่มีแบบสัญญาชนิดนี้จึงสมบูรณ์เมื่อผู้จํานําส่งมอบทรัพย์ที่จํานําให้กับผู้รับ
จํานํา
ความรับผิดของผู้จํา นำ เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระและผู้รับจํานําได้บอกกล่าวให้ลูกหนี้ชําระหนี้
แต่ลูกหนี้ไม่ชําระ เจ้าหนี้ ก็มีสิทธิที่จะบังคับจํานําโดยนําเอาทรัพย์ที่จํานําออกขายทอดตลาดโดยไม่จําเป็นต้อง
อาศัยคําสั่งศาลให้ขายทอดตลาดเหมือนกรณีจํานอง และหากบังคับจํานําแล้วราคายังขาดอยู่ ผู้รับจํานําก็สามารถ
เรียกร้องเอาเงินส่วนที่ขาดจากผู้จํานําได้
นายภาคภูมิกู้เงินนายชาญชัยมา 200,000 บาท โดยจํานํารถยนต์ไว้ 1 คัน หากต่อมานายภาคภูมิ
เรียนรู้จากตัวอย่าง
ผิดนัดไม่ชําระหนี้ และนายชาญชัยได้บังคับจํานําโดยการนำรถยนต์ดังกล่าวออกขายทอดตลาด
ได้เงิน 150,000 บาท นายภาคภูมิก็ยังต้องใช้เงินที่ขาดแก่นายชาญชัยอีก 50,000 บาท

56
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

บันทึกเพิ่ มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

57
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

บันทึกเพิ่ มเติม (ต่อ)


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

58
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 5 (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชบพิธ

บรรณำนุกรม

มานิตย์ จุมปา. (2548). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัย.
รวินท์ ลีละพัฒนะ. (2556). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์
วิญญูชน จำกัด.
สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

59
คุณครูพิพัฒน์พงษ์ ดำมาก : เรียบเรียง
“Justice is the spirit of law”

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


โรงเรียนวัดราชบพิธ

You might also like