You are on page 1of 18

ตอ้ งท่อง พรบ.ขัดกัน พศ 2481 กับ พรบ.

สัญชาติ ฉบับแกไ้ ข2535

ขอ้ ที่ไม่ตอ้ งยกมาตรา เวลาตอบขอ้ เขียน จะเขียนยังไงครบั


จะตอ้ งยกเปนสามส่วนแบบข้อที่ต้องยกมาตรารึป่าว ขอคาแนะนาดว้ ยครบั
ขอ้ สอบประเภทนั้น
ส่วนมากกจะเปนการบรรยายและยึดหลักตามสนธิสญ
ั ญาครบั หรือบางเทอมอย่างล่าสุด
ออกมาแนวความมจา เช่น ความแตกต่างของกฏหมายระหว่างประเทศ กับ
กฏหมายภายในประเทศ หรือ เอกนิ ยม ทวินิยม ข้อสอบลักษณะบบรรยาย
เราต้องท่องจา และหัดเขียนลงกระดาษบ่อย ๆ จะช่วยเราได้มากครบั

เทอมทีสอบเพิ ่
งจะผ่ านมา ข้อสอบออก

1.ที่มากฎหมายระหว่างประเทศ
2.องค ์การระหว่าประเทศ โดยละเอียด
3.การขัดกันของกฎหมาย เน้น.....หน่ วยที่ 13.3
การตอบอัตนัยกฎหมายระหว่างประเทศจะต่างกับการตอบกฎหมายในวิชาอืนที ่ ผ่
่ า
่ านมาต้องตอบในส่วนทีถามเท่
นมา เพราะการตอบวิชาทีผ่ ่ านั้น (ไม่ถามไม่ตอ้ งเขียนมา)
่ ยวข
แต่กฎหมายระหว่างประเทศใหต้ อบในทุกๆ ส่วนทีเกี ่ อ้ งอาจนาเอาหน่ วยอืนๆ ่
มาตอบรวมถึงเหตุการณ์ข่าวปัจจุบน
ั ดว้ ย (สังเกตจากเฉลยในวรสารกฎหมาย มสธ.)

ส่วนการตอบปรนัย ข้อสอบจะออกค่อนขา้ งลึกในรายละเอียดมากกว่าวิชาอืน
ตอ้ งทาความเข้าใจทุกหน่ วยทุกตอน

และมักจะไม่ใช ้คาภาษาไทยทีเรารู ้กันทั่วไปแต่จะไปใช ้คาภาษาอังกฤษแทน เช่น
การได้สญ
ั ชาติ จะไม่ใช ้ ไดโ้ ดยการเกิด หรือไดโ้ ดยหลักดินแดน
่ นปลายเปิ ด ถามความเห็ นผูส้ อบไม่มีถูกไม่มีผิด เขียนเยอะๆ
อัตนั ย จะมี 1 ขอ้ ทีเป็

เขียนในส่วนเนื อหาหน่ ่ ได้แ ต่ตอ้ งเชือมให
วยอืนก็ ่ เ้ ป็ น
1.ข้อสอบปรนัย ท่านต้องอ่านหนังสือทัง้ 15
หน่ วยครับ อ่านแบบละเอียดนะครับ
อ่านแล้วถามตัวเองสมมติว่าถ้าท่านเป็ น อาจารย์ท่านจะเอาอะไรมาออกข้อ
สอบ (ตรงนี้ ท่านอาจารย์บอกแล้วหลายๆๆๆครัง้ ว่าท่านออกละเอียดนะครับ
เช่น ศาลโลกยึดหลักอะไรเป็ นในการฟ้ องคดีกรณี เป็ นนิ ติบุคคล ซึ่งจะอยู่ใน
Case study ศาลโลกจะยึดหลัด แหล่งจดทะเบียน
ไม่ใช่แหล่งที่ตง้ ั ของสานักงานใหญ่ ) เทอมทีแ
่ ล้ว
1/2556 ผมอ่านละเอียดมากดูแบบทุกบรรทัดเลยว่าเรื่องอะไรควรจะออกข้
อสอบ ขีดเขียนเลอะเทอะหมดทัง้ หนังสือและแบบประเมินก่อนกลังเรียน
ซึ่งประเมินอ่านแบบว่าถ้าเราจะดัดแปลงโจทย์ จะดัดแปลงโจทย์ อย่างไร

ซึ่งปรากฎว่าผมทาปรนัยได้ประมาณ 42-48 ข้อ (ชัวร์ๆๆ) ไม่แน่ ใจอีก 7


ข้อ ทาอัตนัยข้อ 1 เรื่องอนุ ญญาโตตุลาการ 5 หน้ากระดาษ ส่วนข้อ 2-3
ทาไม่ทนั เขียนหลักกฎหมายเรือ ่ งทะเลไปนิดหน่ อย
ออกจากห้องสอบมาประเมินตนเองว่า

อัตนัยน่ าจะได้สกั 15 คะแนนเป็ นอย่างต่า ปรนัยน่ าจะได้สกั 48 คะแนน


น่ าจะได้ S แน่ นอน
ผลปรากฎว่าเป็ นบัณฑิตนิติศาสตร์สมใจหวัง S*จริงๆๆครับ

2.อัตนัย สอบซ่อมภาคนี้ ผมไม่แน่ ใจนะครับว่าอาจารย์จะออกอะไร


แนะนาให้ไปเรียนสอนเสริมกับท่านอาจารย์ลาวัลย์นะครับ
ถ้าเป็ นไปได้และควรหาที่อดั เสียงไปอัดเสียงมาฟังๆๆๆๆบ่อยๆๆๆๆ
จะทาให้ท่านเข้าใจเนื้ อหาของวิชานี้ ครับว่ามันเชื่อมโยงกันอย่างไร
(ผมเองฟังที่อาจารย์สอนเสริมปี 54 และ สอนเสริม 2/55 และล่าสุด 1/56
ครับ) แบ่งกฎหมายระหว่างประเทศเป็ น

1.กฎหมายระหว่างประเทศ แผนดคดีเมือง (Public International Law)


/ กม.มหาชน รปท
2.กม.รปท แผนกคดีบุคคล (Private International Law) กม เอกชน
รปท
กม.มหาชน รปม เป็ น กม.รปท ที่กากับปฏิสม
ั พันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ หรือ
รัฐต่อองค์การระหว่างประเทศ
ด้านล่างนี้ เป็ นเนื้ อหาที่ผมถอดเทปปี 54 นะครับ แต่ไม่เสร็จ
ท่านๆลองเอาไปอ่านดูอาจจะช่วยให้เห็นภาพรวมของวิชานี้ ได้นะครับ
ส่วนความดีของสรุปนี้ ผมขอให้ท่านอาจารย์นะครับ
ขอให้ท่านมี สุขภาพดีแข็งแรง ไม่มีโรคภัย ตลอดไปครับ

น.1-น 11 เป็ น กม รปท ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐเท่านั้น


เช่น รัฐเกิดขึ้นได้อย่างไร รัฐมีองค์ประกอบอะไรบ้างที่ก่อให้เกิดเป็ นรัฐ,
รัฐมีเขตแดนอันประกอบไปด้วยอะไรบ้าง, รัฐมีอานาจรัฐอย่างไรบ้าง
อานาจอธิปไตยของรัฐเป็ นอย่างไร รัฐจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทาของ
รัฐที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐอื่นอย่างไรบ้าง, รัฐที่ส่งทูตไปประจารัฐอื่น
รัฐนั้นให้เอกสิทธิและความคุ้มกันแก่ทูตอย่างไร
รัฐที่มีเขตทางทะเลจะมีอานาจอธิปไตยอย่างไร แค่ไหน ในเรื่องของ กม
ทะเล และถ้ารัฐกับรัฐทะเลาะพิพาทกับรัฐๆ
จะยุติขอ ้ พิพาทระหว่างกันด้วยวิธีอะไร ตัง้ แต่วิธีทางการทูต , ทางกฎหมาย
,ทางศาล,อนุ ญาโตตุลาการ,การเจรจา,การไกล่เกลีย่ ,จัดการเจรจา
กม
การทูตที่ส่งทูตหรือกงสุลไปประจาประเทศอื่นประเทศที่ส่งเรียกว่า “รัฐผู้ส่ง”
ประเทศผู้รบ ั เรียกว่า”รัฐผู้รบ
ั ” รัฐผู้ส่งและรัฐผู้รบ
ั จะดูแลทูตอย่างไร
ให้เอกสิทธิและความคุม ้ กันอย่างไร
ถ้าเกิดข้อพิพาทของรัฐนั้นไปถึงขัน
้ ที่ไม่สามารถจะยุติขอ
้ พิพาทด้วย
วิธีสน
ั ติวิธีแล้วจะต้องใช้กาลัง
มีเหตุผลอะไรบ้างทีจ่ ะใช้กาลังได้ เช่น
ถ้าศาลตัดสินและไม่เชื่อฟังคาตัดสินผลจะเป็ นอย่างไร
กรณี ที่รฐั จะใช้กาลังได้โดยชอบ
ปกติจะใช้กาลังไม่ได้ตามกฎบัตรสหประชาชาติ มาตรา 2
ที่บญ
ั ญัติว่าทุกรัฐไม่สามารถใช้กาลังได้
แต่กรณี ดงั ต่อไปนี้ สามารถที่จะใช้กาลังได้
1.รัฐที่ไม่ปฏิบต
ั ิตามคาพิพากษาของศาล
2.ไม่ปฏิบต
ั ิตามคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ
3.ไม่ปฏิบต
ั ิตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ
4.เป็ นเรือ
่ งการตอบโต้ที่เรียกว่า Reprisals (การกระทาการตอบโต้)
เป็ นการตอบโต้แก้เผ็ดแก่รฐั ทีม
่ าทากับเราก่อน
เราแจ้งไปแล้วแต่เขาไม่หยุดเราก็สามารถที่จะตอบโต้ได้
ซึ่งการตอบโต้สามารถทาได้เพราะรัฐที่มาทาละเมิดก่อน
และเป็ นเรือ
่ งการป้ องกันตัว

1.รัฐที่ไม่ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาของศาล –ซึ่งในธรรมนู ญของศาล


เขียนไว้ชด ั เจนว่า ถ้าในกรณี เช่นนั้น
รัฐใดที่ไม่ปฏิบต
ั ิตามคาพิพากษาของศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ
ก็ให้คณะมนตรีความมั่นคง ดาเนินการให้เป็ นไปตามนั้น คณะมนตรีฯ
มีสิทธิที่จะออกมติ เช่น บอยคอต, งดการติดต่อทางการทูต (Sanction)
การตัง้ กองกาลังสหประชาชาติ
น.1-น.11 เป็ นเรือ ่ งของ กม มหาชน รปท
เป็ นหลักเกณฑ์ที่ใช้กากับพฤติกรรมความประพฤติ
ปฏิบต ั ิระหว่างรัฐต่อรัฐและระหว่างองค์การระหว่างประเทศ
เริ่มตัง้ แต่ น.1 กม รปท คืออะไร เกิดขึ้นมาได้อย่างไร เกิดจากบ่อเกิด
แล้วเรารูไ้ ด้อย่างไร ว่าเป็ นบ่อเกิด เช่น
มาจากธรรมนู ญศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ ม.38 ทีบ ่ อกว่า
ถ้ามีขอ ้ แล้วนาคดีข้น
้ พิพาทเกิดขึน ึ สู่ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ แล้วละก็
ศาลจะเอากฎหมายอะไรมาปรับใช้ ใน ม.38 ก็เลยบัญญัติว่า
ก็ให้เอา1จารีตประเพณี ระหว่างประเทศ(1) (
กม.จารีตประเพณี ระหว่างประเทศ), หลักกฎหมายทั่วไป(2),
สนธิสญ ั ญา(3) และ แนวคาพิพากษาของศาล(4)
ที่มีมาก่อนซึ่งมาจากระบบ COMMON LAW และหลักคิด
ทฤษฏีของนักกฎหมายระหว่างประเทศ (5) ที่เป็ นทีย่ อมรับทั่วโลก (5
แหล่งนี้ เป็ นบ่อเกิดของ กม รปท)
กม.รปท ใช้บงั คับระหว่างใครบ้าง---
ใช้บงั คับระหว่างรัฐต่อรัฐหรือรัฐต่อองค์การระหว่างประเทศ
ซึ่งเป็ นกลุ่มคนภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ.
แต่ละบ่อเกิดมีทีม ่ าอย่างไร- 1.หลักกฎหมายจารีต ประเพณี
ระหว่างประเทศ ก็มาจากสิ่งที่รฐั ต่างๆ
ได้ปฏิบต ั อิ ย่างนั้นกัน มาช้านาน จนเป็ นที่เห็นประจักษ์ โดยทีเ่ ชื่อ ว่าสิ่งที่ได้ป
ฏิบต ั ิกน
ั นั้นเป็ นกฎหมาย จนทาให้เห็นว่ามีอง๕ประกอบ 3 อย่าง คือ
1.เวลาคือได้ปฏิบต ั ม
ิ าช้านาน 2.วัตถุเป็ นสิ่งที่เห็นประจักษ์ ได้
เป็ นสิ่งทีพ่ บเห็นกันในทางปฏิบต ั ิของรัฐทีว่ ่ามีอยู่ช้านาน
3.องค์ประกอบทางด้านจิตใจ มีความเชื่อว่าเป็ นกฎหมาย (Opinio
Juris) ซึ่งจะต้องมีองค์ประกอบครบทัง้ 3
ข้อดังกล่าวจึงจะถือว่าเป็ นหลักกฎหมายจารีตประเพณี
กม รปท.ต่างจาก กม.ภายในอย่างไร— ถ้าเป็ น กม รปท สิ่งแรกก็คือ การที่
กม รปท เป็ น กม รปท ได้เกิดจากเจตจานงของรัฐ
(เกิดจากการที่รฐั ปฏิบต
ั ิๆ ต่อกันมา) , ถ้ามาว่าด้วยหลักกฎหมายทั่วไป
หลักความเป็ นธรรมที่แนบเนื่องอยู่ในความถูกต้องแล้วว่า
ก็เกิดจากรัฐมีเจตจานงเห็นว่าสิ่งเหล่านั้นคือความถูกต้อง
2.บ่อเกิดจากสนธิสญั ญา
มาจากการที่รฐั แสดงเจตจานงที่จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
***บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศเกิดมาจากเจตจานงของรัฐทัง้ สิ้นเพ
ราะฉะนั้นเวลาทีก ่ ฎหมายระหว่างประเทศ จะได้รบ ั การปฏิบตั ิ
ก็ได้รบ ั การปฏิบต ั มิ าจากเจตจานงของรัฐนั่นเองที่จะปฏิบตั ต
ิ ามนั้น
นั่นคือทุกรัฐนั้นพอใจที่จะปฏิบต ั ิตาม กม.รปท เพราะ กม.รปท
ไม่มีองค์การเหนื อรัฐ ไม่มีตารวจโลก
ไม่มีศาลโลก แม้เราจะมีศาลสถิตยุติธรรมระหว่างประเทศ แต่ก็เป็ นศาลที่
จะไป
ตัดสินคดีทุกคดีไม่ได้จะตัดสินได้เฉพาะคดีที่รฐั นั้นยอมรับเขตอานาจศาล
ซึ่งอย่างสมาชิกของสหประชาชาติ
เขาก็ไม่ได้มีการบังคับว่าคุณเป็ นสมาชิก UN คุณจะต้องอยู่ภายใต้เขตอานา
จศาล ก็ ขึ้นอยู่กบ ั การว่าใครจะยอมรับหรือไม่ยอมรับ เช่น
ประเทศไทยในปัจจุบน ั ยังไม่ได้มีการยอมรับเขตอานาจศาล
ตัง้ แต่เราแพ้คดีเขาพระวิหารปี 2505
แต่เมือ่ เร็วๆนี้ เมือ
่ มีการหยิบยกเอาผลของคาพิพากษามาปัดฝุ่ นกันใหม่
ที่เราเข้าไปต่อสู้เพราะว่ามันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากคดีเดิม
ซึ่งถ้าเราไม่เข้าไปเขาก็ จะพิจารณาไปฝ่ ายเดียว
เพราะฉะนั้นเราจะต้องเข้าไป
แต่โดยทางการแล้วนับตัง้ แต่ปีนั้นเราก็ได้แสดงเจตจานงไม่ยอมรับเขตอาน
าจศาลโลก ฉะนั้น ใครจะมาบังคับเราไม่ได้
เราก็จะไปฟ้ องใครก็ไม่ได้ เพราะฉะนั้นศาลโลกจึงไม่ใช่ ศาลภายในที่มีอา
นาจเหนื อทุกคนทีอ่ ยู่ในภายในเขตอานาจศาล
การทีศ่ าลโลกไม่มีอานาจตัดสินคดีประเทศที่ไม่ยอมรับเขตอานาจศาล
ก็คือศาลไม่มีเขตอานาจศาลเหนื อรัฐนั้นๆ
เพราะฉะนั้นจึงอาศัยมูลฐานของการที่รฐั แสดงเจตจานงที่รฐั ยอมปฏิบต
ั ิตาม
กฎหมายระหว่างประเทศอันนี้ เรียกว่าขั้นที่ 1 พอขัน
้ ที่
2.ถ้ารัฐใดรัฐหนึ่ งไปละเมิดต่อรัฐอื่น ไปก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐอื่น
(อันนี้ ไปต่อ หน่ วยที่ 8 แล้ว เพราะ น.1 ก็จะโยงไป น.8,2,3,4,5)
ถ้ารัฐทาอะไรโดยรัฐแล้วเกิดความเสียหายแก่รฐั อื่นโดยฝ่ าฝื น
กฎหมายระหว่างประเทศ ละเมิดพันธกรณี ระหว่างประเทศระหว่างประเทศ
ต้องรับผิดชอบต่อรัฐอื่น เรียกว่า ความรับผิดชอบของรัฐ ซึ่งอยู่ใน น.8 แต่
น.8 คือกลไกของ น.1
คือกลไกของรัฐทีต ่ อ
้ งปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมายระหว่างประเทศ คือขัน ้ ที่
1.รัฐสมัครใจที่จะปฏิบต ั ิเอง ขัน้ ที่ 2.ถ้ารัฐตัวเองไปทาให้รฐั อื่นเขาเสียหาย
เดือดร้อน ต้องรับผิดชอบต่อรัฐอื่น นั่นคือกลไกขัน ้ ที่
2.ในการที่จะบังคับให้รฐั ปฏืบต ั ต
ิ ามกฎหมายระหว่างประเทศ
เพราะการที่ไปละเมิดต่อรัฐ/ประเทศ อื่น
หรือไปก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐ/ประเทศ อื่น
หรือละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศนั่นแหละคือ
การไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมาย เพราะฉะนั้นใครไม่ ปฏิบต ั ิตามกฎหมาย แล้ว
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั อื่นต้องรับผิดชอบ พอพูดถึงความรับผิดชอบข
องรัฐอาจารย์ก็จะโยงไป น.8

น.8 คืออะไร เริ่มตัง้ แต่ต้องเป็ นการกระทาของรัฐ


ถ้าไม่ใช่การกระทาของรัฐๆก็ไม่ตอ ้ งรับผิดชอบ
วิธีการดูว่าเป็ นการกระทาของรัฐหรือไม่ ก็ดูว่าเป็ นการกระทาโดย
เจ้าหน้ าที่ทง้ ั หลายของรัฐไหม ซึ่งก็ คือ ฝ่ ายนิ ติบญ
ั ญัติ ฝ่ ายบริหาร
ฝ่ ายตุลาการ ซึ่งเปรียบเสมือนตัวแทนของนิ ติบุคคล รัฐเป็ นนิ ติบุคคล ทัง้ 3
ฝ่ ายนี้ ก็เป็ นผู้แทนของนิติบุคคล ฝ่ ายบริหารเช่น ตารวจไม่จบ ั ผู้รา้ ย,
ฝ่ ายตุลาการไม่อานวยความยุติธรรม
,ฝ่ ายนิติบญ ั ญัติไม่ออกกฎหมายรองรับ กม รปท ที่เป็ นทีย่ อมรับโดยทั่ วไป
ถือว่าเป็ นการกระทาที่ก่อให้เกิดความเสียหาย
ซึ่งถือว่าเป็ นการกระทาของรัฐๆ ต้องรับผิดชอบ ต้องถือว่าหน่ วยงานทัง้ 3
เป็ นตัวแทนของรัฐ ที่ทาการแทนรัฐ ถือว่ารัฐจะต้องรับผิดชอบ
(ต้องทาความผิดที่ฝ่าฝื น กม รปท และก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐ ตปท )
รัฐจะต้องรับผิดชอบต่อรัฐที่ไปทาความเสียหายนั้น (ไม่ว่าจะเป็ น
ทรัพย์สินหรือ เอกชน หรือหน่ วยงานของรัฐ)
(แต่ถ้าเป็ นปัจเจกชนธรรมดา (คนธรรมดา)
ทาก็ไม่ใช่การกระทาของรัฐไปทาความเสียหายต่อรัฐอื่น ทรัพย์สินของรัฐอื่น
หรือหน่ วยงานเอกชน รัฐจะต้องรับผิดในกรณี ที่งดเว้นในหน้าที่ ละเว้น
ในสิ่งที่รฐั จะต้องทา)
แต่ถ้าเป็ นปัจเจกชน (คนธรรมดา) ทาก็ไม่ใช่การกระทาของรัฐ
แต่ถ้าเป็ นปัจเจกชน (คนธรรมดา) ทาแล้วไปก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั อื่น
คนชาติรฐั อื่น
ทรัพย์สินรัฐอื่น/ประเทศอื่น รัฐจะรับผิดชอบก็แต่เฉพาะรัฐบกพร่องในหน้าที่
เช่น ไม่ใช้ความสามารถอย่างเต็มกาลังในการป้ องกันเหตุรา้ ย
เพราะฉะนั้นการที่รฐั จะต้องรับผิดชอบต่อรัฐต่างด้าว
ไม่ใช่รบ
ั ผิดชอบเพราะเอกชนเป็ นคนทา แต่ต้องรับผิดชอบเพราะรัฐงดเว้น
ละเว้น ในสิ่งที่รฐั ต้อ งทา จึงต้องรับผิด หรือ อีกกรณี หนึ่ ง กรณี เช่น
คณะปฏิวต ั ิรฐั ประหาร พวกนี้ คือฝ่ ายกบฏๆ ย่อมไม่ใช่รฐั
แต่ถ้าฝ่ ายกบฏชนะๆกลายเป็ นรัฐๆ ก็ตอ ้ งรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง
ในสมัยทีเ่ ป็ นกบฎต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อเอกชน
ทรัพย์สินของรัฐต่างประเทศ แต่ถ้าฝ่ ายกบฏแพ้ ก็ ไม่ใช่รฐั ๆ
ก็ไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อการกระทาของฝ่ ายกบฎแต่รฐั ต้องรับผิดชอบ
ในส่วนที่ละเว้น งดเว้น ไม่ปราบปรามกบฏ
หรือป้ องกันเหตุรา้ ยทีก ่ บฏไปทาให้รฐั บางชาติเสียหาย
แล้วอะไรอยู่นอกกรอบความรับผิดชอบของรัฐ
เราก็ตอ ้ งมารูว้ ่าความรับผิดชอบของรัฐนั้นเป็ นการรับผิดชอบในทางแพ่งและพ
าณิ ชย์เท่านั้น (ทางอาญาไม่เกีย่ ว อาญาเน้นเรื่องของ น.3 เขตแดน
เขตอานาจรัฐ) สิ่งทีอ ่ ยู่นอกเหนื อความรับผิดชอบของรัฐ คือ เรื่องการป้ องกัน
เรื่องอาญา การกระทาโดยเหตุสุดวิสยั
หรือเป็ นเรื่องการตองโต้ (Reprisals) เช่น การทีเ่ ขมรยิงมายังฝั่งไทย
เราบอกให้เขมรหยุด
ถ้าไม่หยุดเราก็มีสิทธิจะตอบโต้เขมรในสัดส่วนทีเ่ ท่าเทียมกัน
ถ้าเขมรเสียหายจากการกระทาของรัฐ (รัฐไทย)
เราก็ไม่ต้องรับผิดชอบเพราะเป็ นสิ่งที่นอกเหนื อความรับผิดชอบของรัฐ
หน่ วยที่ 2. อะไรเป็ นบุคคลภายใต้ กฎหมายระหว่างประเทศ—มีรฐั
องค์การระหว่างประเทศ บุคคลคือรัฐๆ ก่อเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
ต้องมีองค์ประกอบเขตแดนที่แน่ นอน ประชากร มีอานาจอธิปไตย
และมีรฐั บาลทีเ่ ป็ นอิสระ
คาว่าเขตแดน ก็จะโยงมาสู่ หน่ วยที่ 3. คือเขตแดนมีอะไรบ้าง
เขตแดนคือแผ่นดิน ที่เป็ นผืนแผ่นดิน ผืนน้าที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน
ที่เรียกว่า Inland water
way รวมไปถึงทะเลอาณาเขตนับตัง้ แต่เขตแดนวาดออกไป 12 ไมล์ทะเล
นั่นละคือขอบเขตของดินแดน ของรัฐ ทัง้ หมดนี้ เรียกว่า เขตแดน ๆ นี้ คืออะไร
คือที่ๆรัฐซึ่งเป็ นเจ้าของดินแดนมีสิทธิใช้อานาจอธิปไตย
ขอบเขตของดินแดนจึงมีความสาคัญ 2 ประการ
1.บอกให้รูว้ ่าอธิปไตยของรัฐมีอยู่แค่ไหน
2.ทาหน้าทีแ่ บ่งอานาจอธิปไตยของดินแดนทีอ
่ ยู่ตด
ิ ๆกัน
ว่าคุณใช้อานาจอธิปไตยไปได้แค่ไหน
**พอมีเขตแดนก็ต้องมีเขตอานาจรัฐๆ
ก็คืออานาจอธิปไตยของรัฐที่มีอยู่เหนื อดินแดนนั้นกับอานาจอธิปไตยของรัฐนั้น
ที่จะกากับดูแลคนทีอ
่ ยู่ในดินแดนของตน
ดังนั้นเขตอานาจรัฐจึงมีมูลฐานมาจากหลักใหญ่ๆ 4 ประการด้วยกันคือ
1.หลักดินแดนก็มาจากทฤษฏีดินแดนทีว่ ่าดินแดนมีอยู่แค่ไหน
อานาจอธิปไตยที่มีอยู่เหนื อดินแดนนั้น ก็มีเต็มที่ เหนื อบุคคล เหนื อทรัพย์สิน
เหนื อเหตุการณ์ ทุกอย่าง ทีเ่ กิดขึ้นในดินแดนนั้น
หลักดินแดนนี้ นาไปใช้กบ ั กฏหมายอาญา ม.4 (Teriterial Principal) ม.4
ว.1 กม.อาญาใช้บงั คับ (เหนื อคดีที่เกิดในราชอาณาจักร กรณี ประเทศไทย)
ในราชอาณาจักร---เอาดินแดนเป็ นจุดกาเนิดอานาจรัฐ
หลักมูลฐานอานาจรัฐมาจากดินแดน—เอาดินแดนเป็ นจุดกาเนิดอานาจรัฐ
หลักดินแดนยังมีการขยายออกไป ให้ถือว่าอยู่ในดินแดน
ถ้าให้ถือว่าแสดงว่าไม่ได้เกิดขึ้นในดินแดน เช่น
ในเรือไทย หรืออากาศยานไทยที่ๆจอดอยู่ที่ใดๆ
คาว่าใดๆนั้นคือนอกราชอาณาจักร หรือนอกเขตแดนรัฐ
แต่ถ้าเรือหรืออากาศยานไทยจอดอยู่ในดินแดน
ไม่ตอ้ งอ้างหลักของดินแดนเพราะมันอยู่ในดินแดนอยู่แล้ว
รวมทัง้ เรือและอากาศยาน
ถ้ามันอยู่ในดินแดนอยู่แล้วไม่ตอ ้ งไปอ้างหลักขยายดินแดน
เพราะฉะนั้นถ้ามีการกระทาความผิดในเรือไทย
หรืออากาศยานไทยก็ตอ ้ งดูก่อนว่าจอดอยู่ที่ไหน ถ้าจอดอยู่ในดินแดน
ก็ไม่ตอ้ งอ้างเรือเพราะเรือก็อยู่ในดินแดนอยู่แล้ว ต้องอ้างหลักดินแดน
โดยมีจุดก่อเกี่ยวคือสัญชาติๆเกีย่ วเรือไว้ เกีย่ วอากาศยานไว้
เรือชักธงประเทศไหนอากาศยานชักธงประเทศไหน จดทะเบียนที่ไหน
หลักขยายดินแดนอีก 1 หลัก คือผลการกรทา—
ผลของการกระทาถ้าทานอกราชอาณาจักร แต่สาเร็จในราชอาณาจักร
ผลการกระทาแบบภาวะวิสยั คือทาข้างนอกแต่สาเร็จข้างใน
กับอีกอันทาข้างในแต่ไปสาเร็จข้างนอก เรียกว่าหลัก อันตวิสยั (ม.5 กม อาญา
มีเฉพาะหลักดินแดนเท่านั้นที่ความผิดเกิดในราชอาณาจักร
นอกนั้นเกิดนอกราชอาณาจักรหมด จึงต้องเอาหลักอื่นมาก่อเกีย่ วคือหลักบุคคล
2.หลักบุคคล คือ เอาตัวบุคคลเป็ นหลักในการยึดโยงอานาจรัฐ แบ่งเป็ น 2
อย่างคือ Active กับ Passive
คือคนรัฐนั้นเป็ นผู้กระทาความผิด กับคนรัฐนั้นเป็ นผู้ถูกกระทา
อานาจรัฐก็จะเอื้อมมือไปนาเอาคดีน้น ั มาดาเนินคดีได้ เช่น
นางสาวแดงถูกนายปี เตอร์ ทาร้ายร่างกายทีป ่ ระเทศอังกฤษ
รัฐบาลไทยก็มีอานาจรัฐที่จะไปจัดการคดีน้น ั เราจะเห็นว่าคนทาเป็ นคนต่าง
ด้าว ทานอกราชอาณาจักร แต่เพราะนางสาวแดงเป็ นคนสัญชาติไทย
หลักบุคคลทาให้เรามีอานาจรัฐเหนื อคดีน้นั
และประเทศอังกฤษก็มีอานาจรัฐตามหลักดินแดน
เพราะฉะนั้นไทยกับอังกฤษก็จะมีเขตอานาจรัฐทัง้ 2
ในคดีหนึ่ งอาจจะมีเขตอานาจรัฐหลายประเทศ
แต่ตอนใช้อานาจรัฐๆใดจะใช้อานาจรัฐได้ คือจะดาเนินคดีกบ ั ใครได้เนี่ย
จาเลยจะต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในประเทศนั้น
ฉะนั้นในกรณี นี้ถ้าเราอยากจะลงโทษนายปี เตอร์ เราก็มีอานาจรัฐ
แต่เราใช้อานาจรัฐไม่ได้ เพราะนายปี เตอร์ ไม่ได้อยู่ในประเทศไทย
ถ้าเราอยากใช้อานาจเราๆก็ตอ ้ งร้องขอให้ส่งผู้รา้ ยข้ามแดน (อ้าวไป
หน่ วยที่ 15 แล้ว)
3.หลักที่ 3 หลักป้ องกัน คือการกระทาความผิดอยู่นอกราชอาณาจักร
คนทาไม่จาเป็ นต้องเป็ นคนชาติ
แต่ผลของการกระทานั้นจะต้องกระทบต่อรัฐนั้น
รัฐใดก็แล้วแต่ที่ถ้ามีการกระทานั้นแล้วจะส่งผลกระทบต่อรัฐนั้นๆ
ก็มีสิทธิป้องกัน
ก็เลยมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีทีใ่ ครก็แล้วแต่ทาๆที่ไหนก็แล้วแต่กระทบต่อรั
ฐนั้น.
4.หลักที่ 4 คือ หลักสากล ก็คือเน้นทีค
่ วามผิดนั้นๆ
เป็ นความผิดที่กระทบต่อมวลมนุ ษยชาติ
ไม่จาเป็ นต้องกระทบต่อรัฐนั้นโดยตรง ตรงนี้ จะต่างจากหลักป้ องกัน
ซึ่งหลักป้ องกันจะต้องกระทบต่อรัฐนั้นโดยตรง เช่น โจรสลัด จี้เครือ
่ งบิน
ปลอมแปลงเอกสารค้ามนุ ษย์ ก่อการร้าย
ค้ายาเสพติด สมมติ ไม่เกีย่ วกับคนไทยเลย คนทาความผิดไม่ใช่คนไทยทา
ไม่ปลอมแปลงเอกสารธนบัตรไทย ไม่ได้ทาในไทย ไม่เกีย่ วกับไทยเลย
แต่ถ้าคนทาหนี มาอยู่ในไทย
ประเทศไทยซึ่งมีอานาจรัฐเหนื อคดีตามหลักสากลอยู่แล้วๆ
ถ้าจาเลยหรือคนร้ายหนี เข้ามาอยู่อานาจรัฐที่จะใช้อานาจรัฐได้ประเทศไทย
ก็จะจัดการคดีได้
เช่น 1.นายลิ้ม คนจีน จี้เครือ่ งบินฝรั่งเศส
แล้วก็ยิงกัปตันชาวเยอรมันบาดเจ็บ ทาร้าบแอร์โฮเตทชาวญีป ่ ุ่ น
แล้วก็บงั คับให้เครือ
่ งบินล่อนไปจอดทีส ่ นามบินเมืองอุลานบาตอ
(ประเทศมองโกลเลีย)
ถามว่าประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้หรือไม่ ---
ตอบประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ตามหลักสากล
(มูลฐานตามหลักสากล)
2.นายจอร์จคนอังกฤษ ฆ่านางสาวส้มลิ้มคนไทย
ในอากาศยานฟิ ลิปปิ นส์ แอร์ไลน์ ที่บินอยู่เหนื อทะเลหลวง ถามว่า
ประเทศใดบ้างมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ —คาตอบ
หลักดินแดนเนื่องจากกระทาในอากาศยาน
หลักบุคคล—ไทยเพราะไทยเป็ นผูเ้ สียหาย/
อังกฤษเพราะผู้กระทาเป็ นชาวอังกฤษ
มูลฐานเขตอานาจรัฐ รัฐมีองค์ประกอบ คือ ดินแดน, ประชากร
มีคนชาติและ คนต่างด้าว
(อยู่ในดินแดนนั้นถือว่าเป็ นประชากรของรัฐนั้น),อธิปไตย,รัฐบาลที่เป็ นอิส
ระ
ทีนี้ความเป็ นรัฐนั้นเมื่อเกิดขึ้นมาแล้วจะเป็ นที่รบ
ั รองของประชาคมระหว่าง
ประเทศ ก็ตอ ้ งมีเรือ
่ งการรับรองรัฐเข้าไปเกีย่ วข้อง การรับรองรัฐมี 2
ทฤษฎี
1.ทฤษฎีเงือ ่ นไข—คุณเป็ นรัฐแล้วแต่ยงั ไม่มีใครรับรอง
คุณก็ไม่เป็ นรัฐในสายตาคนอื่นจนกว่าจะได้รบ ั การรับรอง
2.ทฤษฎียืนยัน เมือ่ คุณเป็ นรัฐแล้วคุณก็เป็ นรัฐแต่รฐั ใดรับรองคุณ
ยืนยันความเป็ นรัฐสาหรับรัฐนั้น
การรับรองรัฐนั้นแบ่งออกเป็ น 2 วิธี
1.การรับรองโดยพฤตินยั
2.การรับรองโดยนิตินยั
การรับรองรัฐบาลมีอยู่ 2 ทฤษฎี
ทฤษฏีที่
1.เขาจะรับรองรัฐบาลนั้นต่อเมือ
่ รัฐบาลนั้นได้มาโดยชอบตามครรลองของก
ฎหมายภายในของประเทศนั้น
ทฤษฏีที่ 2.ว่าด้วยประสิทธิภาพในการบริหาร
(เขาไม่สนใจวิธีการที่ได้มาของรัฐบาล ว่าได้มาโดยวิธีใด
แต่สนใจว่าถ้าเป็ นรัฐบาลแล้วมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ก็ถือว่าเป็ นรัฐบาล
ทีนี้มาต่อ หน่ วยที่ 4 เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายภายในกับ กม.รปท
กม.รปท ซึ่งมีตง้ ั แต่สนธิสญ
ั ญา จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป กับ
กม.ภายใน ระบบกฎหมาย 2 ระบบนี้ จะใช้บงั คับกันอย่างไร ถ้ามัน
1.สอดคล้องสนับสนุ นซึ่งกันและกัน
2.ขัดแย้งกัน ก็เกิดแนวคิด ของทฤษฏี กฎหมาย 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1.กลุ่มเอกนิยม เห็นว่ากฎหมาย 2 กลุ่มนี้
์ น
เป็ นกฎหมายระบบเดียวกัน สิ่งที่ต่างกันคือศักดิช ้ ั ของกฎหมาย
์ น
ศักดิช ้ ั ของกหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในว่าใครศักดิส์ ูงกว่า
กลุ่มที่ 2. กลุ่มทวินิยม มองว่า กฎหมายระหว่างประเทศ มี 2
ระบบต่างฝ่ ายต่างก็เป็ นระบบของตัวเอง กม ภายในก็ใช้ไป
กฎหมายระหว่างประเทศ ก็ใช้ไป
ถ้ากฎหมายภายในไปขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศก็ถือว่าเป็ นความรับผิ
ดชอบของรัฐไป
แต่อย่างไรก็ตามถ้าจะเอากฎหมายระหว่างประเทศเข้ ามาใช้ในกฎหมายภา
ยในหรือโดยศาล
ก็ตอ้ งแปลกฎหมายระหว่างประเทศให้มาเป็ นกฎหมายภายในเสียก่อน
ซึ่งการแปลนั้นมีตง้ ั แต่มาเอามาประกาศเลย
หรือเอากฎหมายนั้นมาบัญญัตเิ ป็ นกฎหมายภายใน
หรือออกกฎหมายมารองรับกฎหมายระหว่างประเทศนั้น ซึ่งต้องดูอีกว่า
กฎหมายระหว่างประเทศนั้น เป็ นสนธิสญ ั ญาหรือว่าเป็ นจารีตประเพณี
หรือว่าเป็ นหลักกฎหมายทั่ วไป
ถ้าเป็ นสนธิสญ ั ญาก็ออกกฎหมายมาอนุ วตั ิกาลตามสนธิสญั ญา (อนุ วต
ั ก
ิ าล
คือ ทาให้เป็ นไปตาม หรือรองรับ เช่น
ออกกฎหมายภายในรองรับกฎหมายระหว่างประเทศ,
ออกกฎหมายภายในให้เป็ นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ
ก็คืออนุ วตั ก
ิ ารตาม)
ต่อไปเป็ นเรือ
่ ง สนธิสญ
ั ญา หน่ วยที่ 5 สนธิสญ
ั ญา
สนธิสญั ญาคืออะไร มีหลักการทาอย่างไร มีขน
้ ั ตอนในการทาอย่างไร
มีผลเมือ
่ ไหร่ สิ้นผลเมื่อไหร่
สนธิสญ ั ญานั้นเป็ นบ่อเกิดหนึ่ งของกฎหมายระหว่างประเทศ เกิดมาจากกา
รที่รฐั ก็ดี องค์การระหว่างประเทศก็ดี
แสดงเจตจานงก่อตัง้ ขึ้นมาและผูกพันตามสนธิสญ ั ญานั้น
สนธิสญ ั ญานั้นเดิมเป็ นกฎหมายระหว่างประเทศที่เป็ นจารีตประเพณี
ระหว่างประเทศ แล้วถูกประมวลขึ้นมาเป็ นอนุ สญ ั ญากรุงเวียนนา ปี
ค.ศ.1969 เป็ นกฎหมายว่าด้วยการทาสนธิสญ ั ญาระหว่างรัฐต่อรัฐเท่านั้น
ซึ่งในประมวลอนุ สญ ั ญาฉบับนี้
ก็นิยามคาว่า
“สนธิสญ ั ญา”ว่าเป็ นการทาความตกลงระหว่างรัฐตัง้ แต่ต่อกันเป็ นลายลักษณ์
อักษร แล้วก็มีผลผูกพันภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
แต่บทนิยามนี้ เป็ นเพียงบทนิยามภายใต้อนุ สญ ั ญากรุงเวียนนา
ไม่ได้ตดั สนธิสญ ั ญาที่ไม่ได้อยู่ภายใต้บทนิยามนี้ อย่างเช่น
สนธิสญ ั ญาที่ทาด้วยวาจา ในสมัยโบราณมาจากหลักที่ว่า
เมือ่ ก่อนนี้ กษัตริย์เป็ นผู้ทาสนธิสญ
ั ญา กษัตริย์ตรัสแล้วไม่คืนคา
สิ่งใดทีก ่ ษัตริย์ตรัสออกไปแล้วย่อมมีผลผูกพันรัฐเพราะฉะนั้น
สิ่งทีท
่ าด้วยวาจาของผู้มีอานาจของรัฐ จึงถือเป็ นสนธิสญ ั ญา
ถึงแม้บทนิยามนี้ จะไม่ได้กล่าวถึงแต่ไม่ได้ไปยกเลิกความมีผลของสนธิสญ ั
ญาที่ทาด้วยวาจา
จนกระทั่ งในสมัยใหม่มีการทาความตกลงในเรื่องของ Electronic ,
ประธานาธิบดีแม้กระทั่งของประเทศทีเ่ จริญแล้ว ประธานาธิบดีองั กฤษ
ก็ทาสนธิสญ ั ญาด้วยวาจาคือเป็ น Papaerless ผลของการทาสนธิสญ ั ญานั้
นก็มีผลในทางกฎหมาย
แม้จะไม่มีลายลักษณ์ อกั ษรแต่ก็มีผลเป็ นสนธิสญ ั ญา
คานิยามของคาว่า
“สนธิสญ ั ญา”ให้ตามอนุ สญั ญากรุงเวียนนาทีบ ่ อกว่าต้องเป็ นลายลักษณ์ อกั ษ
รที่เป็ นทั่วๆไปแต่ไม่ได้ตดั สิทธิ สนธิสญ
ั ญาทีท
่ าด้วยวาจา
จารีตประเพณี เดิม
ขัน
้ ตอนของการทาสนธิสญ
ั ญา
เริ่มตัง้ แต่ การแต่งคัง้ ตัวแทนของรัฐฯจะมีตวั แทน 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1.เป็ นตัวแทนโดยตาแหน่ ง โดยอานาจ
เรียกว่า Exgio ประกอบไปด้วย
1.1.ประมุขของรัฐ (กษัริตย์) ,
1.2.ประมุขของรัฐบาล (นายกฯ,ประธานาธิบดี)
1.3.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (สาคัญ)
บุคคลเหล่านี้ สามารถทาข้อตกลงแทนรัฐได้ทง้ ั หมด
ไม่ว่าจะด้วยวาจาหรือลายลักษณ์ อกั ษรถือว่ารัฐต้องผูกพันตามสนธิสญ
ั ญานั้

1.4.เอกอัครราชทูต
1.5.ผูแ
้ ทนของรัฐทีไ่ ปประชุมได้รบ
ั การแต่งตัง้ ให้ไปประชุมในทีป
่ ระชุมพา
หุภาคี เช่น องค์กรการค้าโลก, สหประชาชาติ
พวกนี้ ได้รบ
ั การแต่งตัง้ ไปแล้วเราเรียกว่า “ Ex-credit”
จะไปทาการยอมรับหรือแสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสญ ั ญาอันเป็ นผลของก
ารประชุมนั้นได้โดยไม่ตอ ้ งมีหนังสือมอบอานาจ
5 ประเภทนี้ ถือว่าเป็ นผูแ
้ ทนโดยตาแหน่ ง
โดยแต่ละประเภทนี้ ก็มีขอบเขตการทาทีไ่ ม่เท่ากัน เช่น 3 อันดับแรกคือ
ประมุขของรัฐ, ประมุขของรัฐบาล, หรือ
รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ 3
ตาแหน่ งนี้ ทาได้ทุกอย่างเกีย่ วกับสนธิสญ ั ญาโดยไม่ตอ ้ งได้รบ
ั มอบอานาจ
ส่วน 4-5 มีอานาจจากัด เอกอัครราชทูต
ทาได้เฉพาะสนธิสญ ั ญาระหว่างรัฐผู้รบ ั กับรัฐผู้ส่ง
ส่วนผู้ที่ได้รบ
ั มอบหมายให้ไปประชุมพาหุภาคระหว่า งประเทศ
มีอานาจเฉพาะทาสนธิสญ ั ญาทีเ่ กีย่ วกับผลของการประชุมทีไ่ ด้จากการประ
ชุมในครัง้ นั้นๆเท่านั้น
กลุ่มที่ 2 ผู้ที่ได้รบ
ั มอบอานาจเต็มในการทาสนธิสญ
ั ญา “Full Power” Full
Power นั้นแปลว่า
หนังสือมอบอานาจเต็มและหมายถึงผู้ทีๆ
่ มีอานาจเต็มด้วย
้ ต่อไปเป็ นการเจรจา เจรจาเพื่อให้ได้มาซึ่งวิ่งที่รฐั ต้องการของรัฐ
ขัน
พอได้ผลการเจรจาแล้วก็จะต้องมีการรับรอง
เสร็จแล้วก็จะนาไปร่างเป็ นสนธิสญั ญา (Draft) แล้วก็รบ ั รอง Draft นี้ ว่าเป็
น Authentic แปลว่าทีส ่ มบูรณ์ ถูกต้อง แน่ นอนเป็ นทีสุดแล้ว
ถ้ารัฐที่เป็ นคูภ
่ าคีไปรับรองร่างสนธิสญ
ั ญาสุดท้ายนั้นแล้วจะทาการแก้ไขไม่
ได้ นอกจากเปิ ดการเจรจาใหม่
หลังจากนั้นเมือ
่ รับรองแล้วรัฐจึงต้องแสดงเจตนาผูกพัน (Consent to be
brown) แต่ถามว่าสนธิสญ ั ญามีผลผูกพันหรือยัง -
ไม่ได้มีผลเพราะแสดงเจตนาผูกพันเฉยๆ
นี่คือผูกพันตัวรัฐว่าจะผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
ส่วนตัวสนธิสญ ั ญาทีร่ ฐั ไปผูกพันจะมีผลหรือไม่มีผลขึ้นอยู่กบ

1.สนธิสญ
ั ญากาหนดไว้ว่าให้มีผลเมือ
่ ไหร่
2.รัฐภาคีทง้ ั หลายตกลงกันไว้ให้มีผลเมือ
่ ไหร่
3.ทางปฏิบต
ั ิ
**ถ้ารัฐแสดงเจตจานงค์ไปผูกพันสนธิสญ ั ญาแล้วเอาตัวเองไปผูกพันกับมัน
แล้วสนธิสญ ั ญานั้นจะมีผลหรือไม่มีผล ไม่ได้ข้น ึ อยู่กบ
ั ที่ไปผูกพัน
แต่ข้น
ึ อยู่กบั ว่าสนธิสญ
ั ญานั้นเขียนไว้ว่าให้มีผลเมื่อไหร่
นอกจากนั้นการแสดงเจตนาไปผูกพันตามสนธิสญ
ั ญานั้นยังอาจตกอยู่ภายใ
ต้เงือ
่ นไข เช่น
ต้องไปให้สตั ยาบัน หรือต้องรับรองโดยรัฐ หรือ
ต้องเห็นชอบโดยรัฐเสียก่อน
วิธีการให้สตั ยาบันในสิ่งที่ตวั แทนรัฐแสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
อันนี้ เป็ นเรื่องฝั่ งของรัฐที่ไปผูกพัน หมายความว่า
แค่เซ็ นชื่อก็ถือว่าผูกพันเลย หรือเซ็ นชื่อแล้วต้องกลับมาให้รฐั รับรองอีก
คือรับรองลายเซ็ นนั้น หรือต้องกลับมาให้รฐั ไปให้สต ั ยาบันในสิ่งที่ รฐั /ตัวแ
ทนรัฐ ไปผูกพันเฉยๆ
ตัวสนธิสญ ั ญายังไม่มีผลเพราะฉะนั้นถ้ามีเงือ ่ นไขต้องไปให้สตั ยาบันอีก
ก็ตอ้ งมาดูอีกว่าวิธีการให้สตั ยาบันนั้นทาอย่างไร แล้วมีผลอย่างไร
นี่คือเฉพาะผลของการให้สตั ยาบัน
ผลของการให้สต ั ยาบันในสิ่งที่ตวั แทนรัฐแสดงเจตนาผูกพันต่อสนธิสญ ั ญา
เพราะฉะนั้นมันจะมีขน ้ ั ตอนของการแสดงเจตนาและขัน
้ มีผลของสัตยาบัน
และขัน
้ สนธิสญ
ั ญาเริ่มมีผลบังคับไม่เหมือนกัน***
1.รัฐแสดงเจตนาผูกพันตนตามสนธิสญ ั ญา ซึ่งมีหลายวิธีตง้ ั แต่
การลงนาม (Signature) แค่ผูกพันว่าจะผูกพันสนธิสญ ั ญานั้นๆอาจจะยังไ
ม่มีผล แล้วถ้าการลงลายมือชื่อ มีเงือ
่ นไขว่าต้องกลับมา Approved,
Acceptance, Regtify ก็ต้องเอากลับมาทา เพียงเพือ ่ รับรองลายมือชื่อ
ที่จะไปผูกพันสนธิสญ ั ญาเท่านั้น เพือ
่ ให้ลายมือชื่อมีผล
(ไม่ใช่สนธิสญ
ั ญามีผล) แต่ถ้าในสนธิสญ ั ญาเขียนไว้ว่า
แค่ลงลายมือชื่อก็มีผลแล้วก็จะทีเดียวเลย
คือทัง้ แสดงเจตนาผูกพันสนธิสญั ญาและสนธิสญ ั ญาก็มีผลด้วย
แต่ถ้าในสนธิสญ ั ญาบอกว่า แค่ลงลายมือชื่อยังไม่มีผล
ก็ตอ้ งไปให้สตั ยาบันก่อน เมือ
่ ลงสัตยาบันแล้วลายมือชื่อนั้นก็มีผล
เมือ
่ ลายมือชื่อมีผลสนธิสญ ั ญานั้นก็มีผล
หรือการมีผลของสนธิสญ ั ญานั้นอาจจะกาหนดไว้ว่าลงลายมือชื่อย่ างเดียว
หรือให้สต
ั ยาบันอย่างเดียวยังไม่มีผลนะจนกว่าจะมีอีก 59 ประเทศ
ให้สต
ั ยาบันจึงเริ่มมีผลของสนธิสญั ญาก็ต้องเป็ นไปตามนั้น
เมือ
่ กระบวนการนี้ เสร็จสิ้นตัง้ แต่ การแต่งตัง้ ตัวแทน การเจรจา
การรับรองผลการเจรจา ยกร่าง รับรองร่าง
แสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสญ ั ญา รวมไปถึงการอาจให้สตั ยาบัน
รับรองลายมือชื่อ
แล้วก็เริ่มมีผลของสนธิสญ ั ญา หลังจากนั้นก็ตอ
้ งนาเอาสนธิสญ ั ญาไปจดทะเ
บียน
จดทะเบียนตอนไหน จดทะเบียนเมื่อสนธิสญ ั ญาเริ่มมีผลบังคับแล้ว เพราะ
ถ้าสนธิสญ ั ญายังไม่มีผลบังคับ
ก็จดทะเบียนไม่ได้เพราะมันยังไม่ใช่สนธิสญ
ั ญา
อาจารย์จะเปรียบเทียบให้ฟังการมีผลของสนธิสญ
ั ญาก็เหมือนกับการมีผลข
องกฎหมาย ว่าจะให้มีผลเมือ
่ ไหร่ เช่น 30
วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
เมือ
่ มีผลเรียบร้อยแล้ว จดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว
ก็ตอ้ งมาดูสนธิสญ ั ญาจะสิ้นผลอย่างไร โมฆะอย่างไร โมฆียะอย่างไร
จะมีเหตุอ้างให้สนธิสญ ั ญานั้นสิ้นผลหรือไม่ เช่น เกิดกรณี “Rebus sic
stan tibus” คือการที่เหตุการณ์ 2
อันที่นามาสู่การทาสนธิสญ ั ญานั้นมันเปลีย่ นแปลงไปจนเป็ นเหตุให้คู่ภาคี
กล่าวอ้างเพือ ่ ทาให้สนธิสญั ญาสิ้นผล เช่น รัฐ A กับ
รัฐ B ตกลงใช้ประโยชน์ ทางทะเลร่วมกันเพราะยังไม่รู ้ว่าเขตแดนอยู่ตรงไห
น ต่อมาเมือ ่ ศาลพิพากษาออกมาว่าเขตแดนอยู่ตรงนี้
เพราะฉะนั้นเหตุการณ์ ที่นามาสู่การทาสนธิสญ ั ญาว่าแบ่งทะเลใช้ร่วมกันมัน
เปลีย่ นไปแล้ว
เพราะศาลตัดสินออกมาแล้วว่าทะเลทัง้ หมดเป็ นของรัฐ A อย่างนี้ รฐั A ก็ไม่
ต้องให้ รัฐ B มาใช้แล้ว
เพราะความไม่แน่ น อนของสถานการณ์ ที่ทาให้มาแย่งทะเลก็หมดไป
รัฐ A ก็บอกว่ารัฐ B ว่าขอยกเลิกนะ
สนธิสญั ญาฉบับทีบ ่ อกว่าให้แบ่งทะเลใช้ประโยชน์ ร่วมกันนั้นมันเปลีย่ นไปแ
ล้วเพราะศาลตัดสินแล้วว่าทะเลทัง้ หมดเป็ นของรัฐ A อันนี้ เรียกว่า “Rebus
sic stan tibus” แต่ถ้าเป็ นสถานการณ์ ที่ปฏิบต ั ิไม่ได้
เช่น A กับ B ตกลงที่จะรักษาผลประโยชน์ ร่วมกันแสวงหาประโยชน์ ร่วมกั
นในเกาะๆหนึ่ ง แต่เกาะๆนี้ ถูกภูเขาไฟระเบิดจมหายไปหมดเลย
อันนี้ สนธิสญ
ั ญาต้องระงับเพราะเป็ นเรือ
่ งพ้นวิสยั ที่จะปฏิบต
ั ต
ิ ามสนธิสญ
ั ญา
หรือสนธิสญ ั ญาที่ทาไปแล้วขัดกับ
Jus cogens ก็จะโมฆะเลยหรือสนธิสญ ั ญานั้นขัดกับ Jus
cogens ตัง้ แต่แรกก็โมฆะตัง้ แต่แรก
Jus Cogens แปลว่า กฎหมายระหว่างประเทศที่ไม่อาจล่วงละเมิดได้
อะไรเป็ นกฎหมายระหว่างประเทศ ที่ไม่อาจล่วงละเมิดได้ เช่น กม
ค้ามนุ ษย์, กม เกีย่ วกับการรุกราน, การค้าทาส, การก่อการร้าย,
การให้ทาสงครามกัน สิ่งเหล่านี้ เป็ นกฎหมายระหว่างประเทศ
ที่ไม่อาจล่วงละเมิดได้ หรือการค้ายาเสพติด , เป็ นแหล่งก่อการร้าย
ถือว่าขัดกับ Jus Cogens เป็ นสนธิสญ ั ญาที่ไปละเมิดตัง้ แต่แรก
แต่ถ้าทาไปแล้ว Jus cogens เกิดทีหลัง ก็นบ ั ตัง้ แต่เกิด Jus
cogens สนธิสญ ั ญานั้นก็สิ้นผลไป
นอกจากนี้ ยงั มีการทาสนธิสญ ั ญาโดยการถูกข่มขู่ กลฉ้ อฉล,
ก็ตอ้ งดูตอ
่ ไปว่าเป็ นการข่มขู่รฐั หรือข่มขู่ตวั แทนของรัฐ ถ้าข่มขู่รฐั ๆ
นั้นก็ไม่มีเสรีภาพ ( หลักเสรีภาพ ) ในการทาสนธิสญ ั ญา ก็เป็ นโมฆะไป
หน่ วยที่ 6 การยุติขอ
้ พิพาทโดยสันติวิธี
ข้อพิพาทมีตง้ ั แต่ขอ ้ พิพาททีส
่ ามารถยุติได้โดยทางการทูต เช่น มีการเจรจา,
จัดเจรจา, ไกล่เกลีย่ , ประนี ประนอม, อนุ ญาโตตุลาการ(เป็ นข้อ กม
ที่เกีย่ วกับการยุติขอ ้ พิพาทโดยทาง.กม) แต่ละวิธีก็จะมีวิธีการแตกต่างกัน
เช่น การจัดเจรจา รัฐที่ 3 จัดให้มีการเจรจา 2 ฝ่ าย
แต่ตวั เองไม่ได้เข้าไปเกีย่ วข้องด้วย คู่พิพาทก็จะมาเจรจากัน
แต่ถ้าเป็ นการไกล่เกลี่ยรัฐที่ 3 จะเข้ามาทาหน้าทีเ่ ป็ นกลางในการไกล่เกลีย่ ,
ประนี ประนอมก็เช่นเดียวกัน แต่ถ้าเป็ นข้อพิพาททีย่ ุติในทางกฎหมาย
มีตง้ ั แต่ชน้ ั ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ
หรือนาข้อพิพาทสู่อนุ ญาโตตุลาการ
แต่ถ้าไม่สามารถเจรจายุ ติขอ ้ พิพาททัง้ หมดนี้ มาสาเร็จ ก็จะไปต่อ หน่ วยที่ 7
การใช้กาลัง (ห้ามใช้กาลัง)
มีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอยู่ 2 กลุ่ม คือ
1.Jus ad bellum ว่าด้วยกฎหมายห้ามใช้กาลัง ห้ามทาสงคราม
2.Jus in bello ว่าด้วยการใช้กาลังโดยชอบ
/การใช้กาลังได้เมือ
่ เข้าข้อยกเว้น เมือ
่ เข้าข้อ ยกเว้น
จะเป็ นเรือ
่ งการป้ องกันจะเกิดสิทธิการใช้กาลัง
(ต้องรบภายในกรอบของกฎหมาย)
เช่น Jus in bello จะต้องประกาศสงครามก่อน,
ไม่ทาลายเป้ าหมายที่ไม่ใช่ทหาร, ไม่ทาลายผู้ที่บาดเจ็บ ,
แม้ยอมแพ้ไม่ทรมานจาเลย, ไม่ทาลายถนน, ไม่ทาลายโรงพยาบาล,
ไม่ทาลายมรดกโลก, ห้ามใช้อาวุธนิวเคลียร์ , ห้ามใช้อาวุธชีวภาพ
หน่ วยที่ 8 ถ้าเป็ นความรับผิดชอบของรัฐ (อาจารย์พูดไปแล้ว)
ต่อไปหน่ วยที่ 9 องค์การระหว่างประเทศ
จัดเป็ นบุคคลภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศเพราะถูก
ก่อตัง้ โดยรัฐซึ่งเป็ นบุคคลภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
องค์การระหว่างประเทศเมือ ่ ก่อตัง้ ขึ้นมาแล้วมีสถานภาพทางกฎหมาย
แยกต่างหากจากรัฐที่เป็ นสมาชิก องค์การระหว่างประเทศมีนิติฐานะเป็ นบุ
คคลมีอานาจหน้าทีม ่ ีสิทธิตามกรอบของตราสารจัดตัง้ แต่ถ้าตราสารจัดตัง้
ไม่ได้เขียนไว้ ก็ถือว่าองค์การระหว่างประเทศ
มีนิติฐานะขอบเขตของอานาจโดยปริยายจากวัตถุประสงค์ขององค์การระห
ว่างประเทศนั้น
องค์การระหว่างประเทศก็จะมีเจ้าพนักงานที่ทางานภายใต้องค์การระหว่าง
ประเทศ ซึ่งบริโภคเอกสิทธิแ ์ ละความคุ้มกัน เพราะฉะนั้นมีทูต มีกงสุล
มีเจ้าพนักงานในองค์การระหว่างประเทศทีบ ์ ละความคุ้มกัน
่ ริโภคเอกสิทธิแ
แต่ว่าแต่ละประเทศ นั้นจะไม่เหมือนกัน
เจ้าพนักงานในองค์ระหว่างประเทศนอกจากบริโภคเอกสิทธิแ ์ ละความคุ้นกั
นแล้ว
ยังสามารถตัง้ สถาบันได้ก็เหมือนกับสหภาพแรงงานเพราะฉะนั้นเจ้าพนักงา
นองค์การระหว่างประเทศนั้น กึ่งมหาชน กึ่งเอกชน
คือได้รบั ความคุ้มครองภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
ขณะเดียวกันก็สามารถมีสิทธิตง้ ั องค์การสถาบันของตนเองได้แต่ไม่มีสิทธิที่
จะได้รบั รางวัลโนเบล
รางวัลเกียรติยศอะไร ทัง้ เพือ่ ไม่ให้เจ้าพนักงานองค์การระหว่างประเทศนั้
นตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของประเทศทีใ่ ห้รางวัลนั้น
ต้องลอยตัวและคนทีไ่ ปทางานในองค์การระหว่างประเทศต้องแยกต่างหาร
กจากความเป็ นชาติรฐั ของคน ยกตัวอย่างง่ายๆ คุณศุภชัย
ตอนอยู่องค์การการค้าโลกก็จะรับนโยบายประเทศไทยไปใส่ไม่ได้
พอไปอยู่ อังถัด
(Untad) ก็จะมาเอาอะไรจากประเทศไทยไปกาหนดนโยบายไม่ได้
ต้องถือว่าไม่ได้รบ
ั นโยบายจากประเทศทีต ่ วั เองมาสู่
องค์การระหว่างประเทศเมือ ่ มีค วามเป็ นบุคคลต้องมีสิทธิความคุม
้ ครองเจ้า
พนักงาน อย่างเดียวกับการที่รฐั คุ้มครองคนชาติทางการทูต
ต่อไปบทที่ 10 เป็ นเรื่องกฎหมายการทูต นักศึกษาต้องรูว้ ่ามี 2 กลุ่ม คือ ทูต
กับ กงสุล
ทูตประกอบไปด้วยใครบ้าง มีตง้ ั เอกอัครราชทูต ราชทูต เลขาทูต
เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารและฝ่ ายวิชาการ รวมไปถึงครอบครับและคนรับใช้
แต่ทง้ ั หมดนี้ ตอ
้ งเป็ นบุคคลอยู่ภายใต้อนุ สญั ญาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการ
ทูตและกงสุล,
คนใช้หรือบุคคลในครอบครัวต้องเป็ นบุคคลซึ่งรัฐผู้ส่งๆไปยังรัฐผู้รบ ั
แม้จะเป็ นคนรับใช้ แม้จะเป็ นคนในครอบครัวเมื่อไหร่จะบริโภคเอกสิทธิแ
ละความคุ้มกัน ก็จะมีเป็ นชัน ้ เช่น ถ้าเป็ นเอกอัครราชทูต
ก็จะมีการนาอักษรสารตราตัง้ ไปมอบให้กบ ั ประมุขของรัฐผู้รบ
ั ,
รัฐผู้รบ ั จะต้องไม่ปฏิเสธบุคคลที่ถูกแต่งตัง้ มา นับตัง้ แต่รบ
ั การเป็ นทูต
์ ละความคุม
ก็ จะบริโภคเอกสิทธิแ ้ กัน

มีแค่นี้นะครับ
ที่เหลือท่านต้องอ่านในหนังสือครับและไปเรียนเสริมกับท่านอาจารย์นะครับ
หวังดีกบ
ั เพือ
่ น มสธ ทุกท่านครับ
ศิษย์ มสธ

You might also like