You are on page 1of 18

Earth & world morphology

ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

สมาชิกกลุ่ม
นายเก่งกาจ ศรีสารคาม ม.5/3 เลขที่ 1
นายอัสนี อินทรประสิทธิ์ ม.5/3 เลขที่ 13
นางสาวธนาพร วงศ์วาสน์ ม.5/3 เลขที่ 25
วิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส32101 นางสาวรัชนีพร เชื้อสาม ม.5/3 เลขที่ 37
สอนโดย คุณครูกัลยา เพชรชารี
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณฐานของโลก
ตาแหน่งที่ตั้งของโลก

โลกเป็นดาวเคราะห์หน ิ ขนาดใหญ่ทสี่ ุดใน


ระบบสุริยะ และเป็นดาวเคราะห์เพียงดวง
เดียวที่วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ยืนยันได้ว่ามี
สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่

โลกถือกาเนิดขึ้นเมือ่ ประมาณ 4,570 ล้าน


(4.57×109) ปีก่อน
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

มีลักษณะทรงวงรี โดยเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวดิง่
ยาว 12,713.56 กิโลเมตร ในแนวศูนย์สต
ู รยา
12,756.28 กิโลเมตร เส้นรอบวงตามแนวศูนย์สูตร
ยาว 40,075 กิโลเมตร เส้นรอบวงตามแนวดิ่งยาว
40,008 กิโลเมตร

โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ในจุดทีใ่ กล้ที่สด

147,098,074 กิโลเมตร จากจุดที่ไกลที่สด ุ
152,097,701 กิโลเมตร แสงต้องใช้เวลาเดินทาง
จากดวงอาทิตย์มายังโลกในระยะเวลาประมาณ
8 นาที
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
ลักษณะทางกายภาพของโลก

1 โลกเกิดจากกลุม่ ก๊าซร้อนทีร่ วมตัวกันและกลายเป็น


ดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ เป็น
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 4,500 ล้านปีมาแล้ว

โลกเป็นของแข็งก้อนกลมอัดกันแน่นและร้อน
จัด ต่อมาจึงเย็นตัวลง เมื่อโลกเย็นตัวลงใหม่ๆ
นั้น ไม่ได้มีสภาพทัว่ ไปดังเช่นในปัจจุบน
ั และไม่มี
สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย โลกใช้เวลาปรับสภาพ
อยู่ประมาณ 3,000 ล้านปี จึงเริ่มมีสงิ่ มีชีวต

2
เล็ก ๆ เกิดขึ้น
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

3 ใช้เวลาวิวฒ
ั นาการอีกประมาณ 1,000 ล้านปี จึงได้มี
สภาพแวดล้อมทัว่ ไปคล้ายคลึงกับทีป
่ รากฏในปัจจุบัน

ขนาดของโลกเมือ่ วัดระยะทางในแนวเส้นศูนย์สตู รจะได้


ความยาวประมาณ 12,756 กิโลเมตร และวัดในแนวขั้วโลก
เหนือ-ใต้ยาวประมาณ 12,719 กิโลเมตร ที่ตรงกลางป่อง
เล็กน้อยและขั้วโลกทั้งสองมีลกั ษณะแบน
4

5 โลกมีการเคลือ่ นที่ตลอดเวลาโดยหมุนรอบตัวเองใช้เวลา
ประมาณ 24 ชั่วโมงและหมุนรอบดวงอาทิตย์ด้วยความเร็ว
106,200 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ใช้เวลาประมาณ 364 ¼ วัน
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค

การแบ่งตามองค์ประกอบ การแบ่งตามคุณสมบัติ
ทางเคมี เชิงกล
แบ่งเป็น 3 ชั้น แบ่งเป็น 5 ชั้น
- เปลือกโลก ( crust ) - แผ่นธรณีภาค ( หินแข็ง )
- เนื้อโลก ( mantle ) - ฐานธรณีภาค
- แก่นโลก ( core ) * เนื้อโลกตอนบน
* เนื้อโลกตอนล่าง
- แก่นโลกชัน ้ นอก
- แก่นโลกชัน ้ ใน
โครงสร้างของโลก
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค
ขอบคุณภาพจาก : https://images.app.goo.gl/o7jKYGj2ZdQEz8Yx7

โลก ( earth )
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค

เป็นชั้นที่อยู่นอกสุด มีความหนาเฉลี่ย 22 กิโลเมตร แยกจาก


ชั้นเนื้อโลกด้วยชั้นความไม่ต่อเนื่องโมโฮโรวิซิก
(Mohorovicic Discontinuity หรือ M-
Discontinuity) ชั้นเปลือกโลกแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนคือ
ชั้นเปลือกโลก
ชั้นไซมา ( sima ) เป็นชั้นที่อยู่ใต้ชั้นไซอัล มีความหนา
ประมาณ 30 km ส่วนที่เป็นหินใต้สมุทรมักเป็นหินสีเข้ม
ชั้นไซอัล ( sial ) เป็นชั้นบนสุด มีความหนาประมาณ 5
มีส่วนประกอบของแร่ ส่วนใหญ่คล้ายหินบะซอลต์ จะมี
kท ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีป ส่วนใหญ่เป็นหินสีจาง มี
ธาตุซิลิกอน + แมกนีเซียม
ส่วนประกอบของแร่ส่วนใหญ่คล้ายหินแกรนิต จะมีธาตุ
ซิลิกอน + อะลูมิเนียม
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค
ชั้นเนื้อโลก ชั้นเนื้อโลกมีความหนาประมาณ 2,880 กิโลเมตร แบ่งแยก
ออกจากแก่นโลกชั้นนอกด้วยชั้นความไม่ต่อเนื่องวิเชิร์ตกู
เทนเบิร์ก (Wiechert-Gutenberg Discontinuity)
หรือชั้นความไม่ต่อเนื่องโอล์แดม (Oldham
Discontinuity) มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแร่ซิลิเกต
ทั้งนี้ ระหว่างเนื้อโลกมีชั้นทรานซิชัน (Transition Zone)
แทรกอยู่ ซึ่งทาให้เราแบ่งเนื้อโลกได้เป็นเนื้อโลกชั้นล่างและ
เนื้อโลกชั้นบน
* เนื้อโลกชั้นล่าง (Lower Mantle) มีความหนาประมาณ 2,100 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแข็ง
*เนื้อโลกชั้นบน (Upper Mantle) มีความหนาประมาณ 700 กิโลเมตร แบ่งเป็นเนื้อโลกชั้นบนตอนล่างและเนื้อโลก
ชั้นบนตอนบน
1) เนื้อโลกชั้นบนตอนล่าง เรียกว่า ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) มีลักษณะเป็นของแข็งเนือ้ อ่อน จึงหยุ่นคล้ายดินน้ามัน ในชัน
้ นี้มี
ความร้อนสูง ทาให้แร่บางส่วนหลอมละลายเป็นหินหนืด (Magma) ซึ่งจะมีการเคลือ่ นทีใ่ นลักษณะของกระแสหมุนวนด้วยการพาความร้อน
2) เนื้อโลกชัน
้ บนตอนบน มีลักษณะเป็นหินเนือ้ แข็ง และเป็นฐานรองรับเปลือกโลกส่วนทวีป เรียกรวมกันว่า ธรณีภาค (Lithosphere)
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค
เป็นส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,470
กิโลเมตร สามารถแบ่งย่อยออกจากกันเป็น 2 ชั้น ด้วยชั้น
ชั้นแก่นโลก ความไม่ต่อเนื่องเลอห์มานน์ (Lehmann
Discontinuity)
* แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) มีความหนา
ประมาณ 1,370 กิโลเมตร มีความหนาแน่น
มากและมีลักษณะแข็ง คาดว่าแก่นโลกส่วน
นี้จะประกอบด้วยโลหะผสมระหว่างเหล็ก
* แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) มีความหนาประมาณ 2,100 กิโลเมตร
และนิกเกิล โดยเทียบเคียงจากอุกกาบาต
ในชั้นนี้ประกอบด้วยโลหะผสมระหว่างเหล็กและนิกเกิลเช่นเดียวกับแก่น
เนื้อเหล็กที่ประกอบไปด้วยโลหะผสม
โลกชั้นใน แต่คาดว่าจะมีสถานะเป็นของเหลวที่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะ
ระหว่างเหล็กและนิกเกิล ซึ่งเคยตกลงมาบน
หมุนวนด้วยการพาความร้อน ซึ่งการเคลื่อนที่เช่นนี้ได้เหนี่ยวนาให้เกิด
โลก เนื่องจากมันมีความหนาแน่นใกล้เคียง
สนามแม่เหล็กโลก
กับแก่นโลกในชั้นนี้
Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
สัณ ฐานของโลก
ธรณีภาค
ปะทุแบบมีรอยแยก fissure eruption
กระบวนการเปลี่ยงแปลงทางธรณีภาค
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายในโลก ( endogenic process )
ภูเขาไฟรูปโล่ shield volcano

กรวยเถ้าธุลีภูเขาไฟ scoria or cinder cone

กรวยภูเขาไฟสลับชั้น
stratovolcano or composite volcano

กระบวนการภูเขาไฟ

แอ่งภูเขาไฟหรือแคลดีรา caldera
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายในโลก ( endogenic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

การเคลื่อนที่ออกจากกัน
การเคลื่อนที่เข้าหากัน

การเคลื่อนที่ผ่านกัน
กระบวนการแปรสัณฐานอย่างช้า ๆ
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายในโลก ( endogenic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

ชั้นหินคดโค้งแบบนอนทับ ( recumbent fold )


ชั้นหินคดโค้ง
รอยคดโค้งที่ปรากฏในชั้นเปลือกโลก
เกิดจากความค้น ความเครียดของ
เปลือกโลก

รอยเลื่อน ชั้นหินคดโค้งแบบพับผ้า ( isoclinal fold )


เมื่อถูกแรงเค้นมากระทาจนแตกหักและเคลื่อนที่ตาม
แนวระนาบรอยแตก
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายในโลก ( endogenic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก
เกิดจากการหดตัวเนื่องจากอุณหภูมิลดลง
แนวแตก หรือการเย็นตัวของหินอัคนี
ร่องรอยที่เกิดจากแรงเครียดหรือแรง
เค้นจากกระบวณการภายในโลก
เกิดจากสิ่งที่เคยกดทับถูกพาออกไป ทาให้เนื้อหิน
ด้านล่างกะเทาะแตกออกเป็นแบบแผ่น

* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายนอกโลก ( exogenetic process )

1 การผุพังที่อยู่กับที่
เป็นการผุพังของหินด้วยลมฟ้าอากาศ
* การผุพังทีอ
่ ยูก่ บ
ั ทีท
่ างฟิสกิ ส์ การขยายตัวและหดตัวของแร่ประกอบ

การขยายและหดของแร่ หินพื้นผิวแตกออกเป็นก้อน
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น แร่ เมื่ออุณหภูมิลดลง แร่
ประกอบหิน พื้นผิวแตกต่าง หรือแผ่น แตกต่างกันไปตาม
ประกอบจะขยายตัวขึ้น ประกอบจะหดตัวแตกต่างกัน
กัน ทาให้เกิดรอยแตก ชนิดของหิน
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายนอกโลก ( exogenetic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

* การผุพังทีอ
่ ยูก่ บ
ั ทีท
่ างเคมี เป็นกระบวนการ
1 สลายแร่ด้วยการทาปฏิกิริยาเคมีที่เป็นกรดและ
ด่างในรูปแบบสารละลาย เช่น หินงอกหินย้อย

* การผุพังทีอ่ ยูก่ บ
ั ทีท
่ างชีวภาพ
เป็นกระบวนการผุพังของหินเปลือกโลกที่เกิดจาก
การกระทาของพืชและสัตว์ จะทางานทั้งฟิสิกส์และ
เคมี

2 กระบวนการเคลื่อนที่โดยมวล
เป็นกระบวนการที่เศษดิน เศษหินบนพื้นที่ลาดเขา
เคลื่อนที่ตามอิทธิพลแรงโน้มถ่วง

* แผ่นดินถล่ม เป็นการเคลื่อนที่ของมวล
แผ่นดิน เช่น ดิน หิน และสิ่งที่อยู่บนแผ่นดินนั้น
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายนอกโลก ( exogenetic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

2 * การเลื่อนไถล เป็นการเคลื่อนที่ของมวล
แผ่นดิน เศษดิน เศษหิน ลงตามความลาดชัน

* หินถล่ม หินและเศษหินที่เกิดถล่มอย่าง
รวดเร็วลงสู่ที่ต่าของลาดเขา

* ดินไหล ดินหรือหินผุที่เลื่อนไถลจากไหล่เขา
หรือลาดเขาตามแรงดึงดูดของโลกเป็นไปอย่าง
ช้า
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายนอกโลก ( exogenetic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

2 * การไหลของดิน การเลื่อนไถลของดินอย่าง
ช้า ๆ ลงไปตามลาดเขาในเขตอากาศหนาวเย็น

3 กระบวนการกร่อน
เป็นกระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลกด้วยการกัเซาะ
ออกไป

* กระบวนการกร่อนทีส่ าคัญ มีดังนี้


- การกร่อนสลาย ( การเซาะกร่อนด้วยน้า )
- การกร่อนครูดถู ( กร่อนโดยตัวการนาพาหินไปครูดถูตามล่องน้า )
- การพัดกราด ( กร่อนและพัดพาด้วยแรงลมที่รุนแรง )
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากแรงภายนอกโลก ( exogenetic process ) Earth & world morphology
ธรณีภาคและสัณฐานของโลก

* กระบวนการพัดพาทีส่ าคัญ มีดังนี้


3 - การพัดพาท้องธาร ( โดยน้าหรือธารน้าแข็งที่พัดพาสิ่งต่าง ๆ เคลื่อนไปตามพื้น )
- การแขวนลอย ( การเคลื่อนที่ของตะกอนละเอียดที่แขวนลอยไปกับน้าได้ในระยะไกล ๆ )
- การกลิ้ง ( การเคลื่อนที่ด้วยแรงน้า ลม คลื่น ธารน้าแข็ง ที่พาหินขนาดใหญ่เคลื่อนที่ไป )
- การเลื่อน ( แบบเลื่อนไปกับตะกอนด้วยตัวการใด ๆ เช่น ตะกอนมีรูปร่างกลม )
- การกระดอน ( เกิดขึ้นในทะเลทรายโดยลมพัดให้เม็ดทรายให้เคลื่อนที่ตกกระทบกับพืน ้ หินในทะเลทราย )

* กระบวนการทับถมทีส่ าคัญ มีดังนี้


- การทับถมโดยน้า ( “ตะกอนน้าพา” เช่น ตะกอนหนักเคลื่อนที่ได้ไม่ไกล ตะกอนละเอียดเคลื่อนที่ได้ไกล )
- การทับถมโดยลม ( “สิ่งทับถมลมพา” )
- การทับถมโดยธารน้าแข็ง (“ตะกอนธารน้าแข็ง” ส่วนใหญ่การทับถมของตะกอนปะปนในบริเวณเดียวกัน )
- การทับถมโดยคลื่น ( “ตะกอนทะเลหรือสิ่งทับถมภาคพื้นสมุทร” บริเวณชายฝั่ง มีการทับถมของตะกอนที่สัมพันธ์กับหิน )

You might also like