You are on page 1of 54

1

เวนไวทําผังมโนทัศนสรุปเนื้อหา

2
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร

ประเด็นสําคัญของบทเรียน : Key Points


 แผนที่
 เครื่องมือทางภูมิศาสตรชนิดใหขอมูล
 เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร
 เครื่องมือทางภูมิศาสตรประเภทอุปกรณ

ความนํา
วิชาภูมิศาสตรมุงเนนการสํารวจ รวบรวม สังเคราะห วิเคราะห ตีความ และใชประโยชนจากขอมูล
ที่อางอิงปรากฏการณตางๆอันเกิดขึ้นบนโลกและมีความเกี่ยวของสัมพันธกับชีวิตของมนุษย
การเรียนรูที่จะใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรชนิดตางๆทั้งแบบใหขอมูล และอุปกรณจะชวยใหนักเรียน
เขาถึงขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร สามารถนําขอมูลเหลานั้นไปตีความ ประยุกตใช ตลอดจน
นําไปสรางขอมูลหรือเนื้อหาสาระใหมๆทางภูมิศาสตรไดถูกตอง และเปนประโยชนในระยะยาว

ความหมายของเครื่องมือทางภูมิศาสตร

เครื่องมือทางภูมิศาสตรคือ วัสดุ อุปกรณที่นํามาใชเปนสื่อเพื่อการศึกษา การสํารวจ การเก็บรวบรวม การบันทึก


การวิเคราะหขอมูลตลอดจนใชเปนสื่อในการเผยแพรขอมูลทางภูมิศาสตร แบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ประเภท
ใหขอมูลกับประเภทอุปกรณ มีดังนี้

• ประเภทใหขอมูล ไดแก แผนที่ ลูกโลก รูปถายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม ขอมูลสถิติ แผนภาพระบบ


กําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และอินเตอรเน็ต
• ประเภทอุปกรณ ไดแก เข็มทิศ เครื่องมือวัดพื้นที่ เทปวัดระยะทาง กลองสามมิติ กลองวัดระดับ เครื่อง
ยอขยายแผนที่ และเครื่องมือวัดลักษณะอากาศแบบตางๆ เชนเทอรโมมิเตอร บาโรมิเตอร และเครื่องวัด
น้ําฝนเปนตน

3
แผนที่
แผนที่
แผนที่ (Maps) คื อ สิ่ ง ที่ แ สดงลั ก ษณะขอ ง
พื้นผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสราง
ขึ้นลงบนพื้นราบ โดยการยอสวนและใชสัญลักษณแทนสิ่งที่
QUIZ : คําถามชวนคิด ??? ปรากฏบนพื้นผิวโลก
นักเรียนคิดวาถานักเรียนตองการจัดทําแผนที่ประเทศ แผนที่ส ามารถแบ ง ตามเกณฑที่ แตกตางกันได 3
ไทย นักเรียนตองเลือกใชมาตราสวนขนาดใดจึงจะ ลักษณะ คือ
เหมาะสม กลับกัน ถาตองการทําแผนที่โรงเรียน • แบงตามมาตราสวน
เตรียมอุดมศึกษาของเรากับสถานที่สําคัญรอบๆ • แบงตามรายละเอียดทีป่ รากฏในแผนที่
นักเรียนจะเลือกใชมาตราสวนแบบใด • แบงตามตามลักษณะการใชงาน
แผนที่แบงตามมาตราสวน
สามารถแบงแยกยอยไดอีก 2 ชนิด คือ
• แบงตามเกณฑทางภูมิศาสตร
แผนที่มาตราสวนขนาดเล็ก มีมาตราสวนเล็กกวา 1 : 1,000,000

แผนที่มาตราสวนขนาดกลาง มีมาตราสวนระหวาง 1 : 250,000 - 1,000,000

แผนที่มาตราสวนขนาดใหญ มีมาตราสวนใหญกวา 1 : 250,000

• แบงตามมาตราสวนทางกิจการทหาร
แผนที่มาตราสวนขนาดเล็ก มีมาตราสวนเล็กกวา 1 : 600,000

แผนที่มาตราสวนขนาดกลาง มีมาตราสวนระหวาง 1 : 75,000 - 600,000

แผนที่มาตราสวนขนาดใหญ มีมาตราสวนใหญกวา 1 : 75,000

พึงทราบวา แผนที่ยิ่งมีมาตราสวนขนาดเล็ก คือยิ่งมีจํานวนเลขดานหลังมากเทาใด ก็หมายความวาแผนที่นั้นยอ


พื้นที่ลงมามาก แผนที่ที่ไดก็จะครอบคลุมพื้นที่กวาง แตในขณะเดียวกันก็แสดงรายละเอียดไดนอย ผิดกับแผนที่ที่
มีมาตราสวนขนาดใหญ ซึ่งจะมีอัตราสวนการยอที่นอยกวา ทําใหแผนที่ที่จัดทําไดครอบคลุมพื้นที่ขนาดเล็กกวา
แตสามารถแสดงรายละเอียดบนพื้นที่ไดมากกวาเนื่องจากยอนอย

4
แผนที่แบงลักษณะรายละเอียดที่ปรากฏในแผนที่
มี 3 ชนิด คือ
• แผนที่แบบแบนราบ (Planimetric Map) เปนแผนที่แสดงรายละเอียดทั่วไปของพื้นผิวโลกในทางราบ
แตไม แสดงความสูง ต่ําของภูมิประเทศ ใหประโยชนทางดานการแสดงตําแหนง และการหาระยะทาง
ในทางราบ

แผนที่แบบแบนราบแสดงรัฐตางๆของสหรัฐอเมริกา
(ที่มา : en.wikipedia.org/wiki/U.S._state)

แผนที่แบบแบนราบแสดงพื้นที่จอดรถและอาคารสําคัญในมหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศ
สหรัฐอเมริกา (ที่มา : transportation.stanford.edu)

5
• แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เปนแผนที่แสดงรายละเอียดทั่วไปรวมทั้งลักษณะสูงต่ําของ
ภูมิประเทศซึ่งอาจเปนแผนที่ที่มีมาตราสวนใหญและปานกลางซึ่งเสียเวลาและแรงงานในการจัดทํามาก

แผนที่ภูมิประเทศแบบที่ใชเสนชั้นความสูงแสดงลักษณะทางกายภาพที่มีความสูงต่ําของพื้นที่ (ที่มา : sal561.files.wordpress.com)


• แผนที่ภาพถาย (Pictorial Map) เปนแผนที่ที่ทําขึ้นจาก รูปถายทางอากาศซึ่งอาจเปนสีหรือขาวดํา
นํามาจัดในลักษณะของโมเสค (Mosaic) มีโครงสราง พิกัด ศัพททางภูมิศาสตรและรายละเอียดประจํา
ระวางแผนที่ หรือทําขึ้นจากภาพจากดาวเทียม สามารถจัดทําไดรวดเร็วแตผูอานตองมีความรูในการใช
มากอน

QUIZ : คําถามชวนคิด ???


แผนที่ภาพถายที่นักเรียนเห็นดานขางนี้
เปนแผนที่ที่ทํามาจากแอปพลิเคชั่นใด
นักเรียนเคยเห็นแผนที่แบบนี้ เคยใชแผนที่แบบนี้หรือไม
6 ถาเคย นักเรียนใชประโยชนมันอยางไรบาง
แผนที่แบงลักษณะการใชงานและชนิดของรายละเอียดหรือแผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนที่ชนิดนี้อาจแบงออกไดอีกหลายประเภทแยกยอย ไดแก
• แผนที่รัฐกิจ (Political Map) แสดงขอบเขตการปกครองและพรมแดนระหวางประเทศ
• แผนที่เสนทางคมนาคม (Transportation Map) เชน แผนที่ถนน แผนที่เดินเรือ ฯลฯ
• แผนที่การใชที่ดิน (Land-use Map) เปนแผนที่แสดงลักษณะการใชประโยชนที่ดินโดยใชสีแตกตางกัน
• แผนที่เศรษฐกิจ (Economic Map) เปนแผนที่แสดงขอมูลที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ
• แผนที่ประวัติศาสตร (Historical Map) แสดงอาณาเขตหรือดินแดนในอดีต
• แผนที่เลม เปนแผนที่ที่รวบรวมเรื่องตางๆ ทัง้ ลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจทางสังคม ทางดาน
ประชากร และอื่นๆไวในเลมเดียวกัน

(ซายและขวาบน) แผนที่รัฐกิจ
แสดงอาณาเขตของทวีป
แอฟริกาและยุโรป (ทีม่ า :
worldatlasbook.com)

(ซาย) แผนที่แสดงเสนทางหลวง
ระหวางมลรัฐของประเทศ
สหรัฐอเมริกา
(ที่มา : onlineatlas.us)

7
(ซาย) แผนที่แสดงการใชประโยชนที่ดินใน
ของเมืองแหงหนึง่
(ที่มา : nashuanh.org)

นักเรียนจะสัง เกตเห็นไดวาแผนที่ชนิดนี้จ ะ
ใช สี แ ท นค า ลั ก ษณะก ารใช ที่ ดิ น แบ บ
ต า งๆกั น แต ล ะสี จ ะต องมี คํ า อธิ บ า ย
ประกอบอยู ด า นล า งของแผนที่ เ รี ย กว า
คําอธิบายแผนที่หรือ Legend

QUIZ : คําถามชวนคิด ???


แผนที่ภาพถายที่นักเรียนเห็นดานขางนี้
เปนแผนที่ที่ทํามาจากแอปพลิเคชั่นใด
นักเรียนเคยเห็นแผนที่แบบนี้ เคยใชแผน
ที่แบบนี้หรือไม
ถาเคย
นักเรียนใชประโยชนมันอยางไรบาง

(ซาย) แผนที่แสดงกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจของ
ประเทศเบลเยี่ยม
นั ก เรี ย นจะสั ง เกตเห็ น ได ว า
แผนที่ชนิดนี้ประยุกตใชก ราฟ
วงกลมแสดงขอมูลสัดสวนของ
การประกอบอาชี พ ที่ สํ า คั ญ
ตางๆลงไปทาบทับอยูบนพื้นที่
ของเมื อ งต า งๆในแผนที่ ข อง
ป ร ะ เ ท ศ เ บ ล เ ยี่ ย ม ก า ร
ประยุ ก ต ใ ช แ ผนที่ เ พื่ อ แสดง
ขอมูลในลักษณะนี้สามารถพบ
ไดมากในปจจุบัน

8
แผนที่ประวัติศาสตรแสดงอาณาเขตของดินแดนตางๆที่ถูกพิชิตโดยราชวงศหยวนสมัยเจงกีสขานและกุบไลขาน
(ที่มา : http://www.globalsecurity.org)

แผนที่เลมแบบตางๆทั้งของตางประเทศและของไทย

CHECK THIS OUT!!!


นักเรียนสามารถศึกษาหาความรูเกี่ยวกับแผนที่โลกในแงมุม และมิติตา งๆไดไมเฉพาะจากในแผน
ที่เลมเหมือนในอดีตอีกแลว ลองเปดเว็บ atlas ที่มีขอมูลแผนที่แบบ interactive ดูที่
www.worldatlas.com

9
ประวัติความเปนมาและประโยชนของแผนที่
ความสามารถในการทําแผนที่เปนสัญชาตญาณอยางหนึ่งของมนุษย พฤติกรรมที่แสดงออกทางแผนที่มีมา
นานแลว เชน ชาวเอสกิโมรูจักการทําแผนที่ดวยการใชไมสลักติดลงบนหนังแมวน้ํา แสดงแหลงลาสัตว ตกปลา
ชาวเกาะมารแชลใชเปลือกหอยแทนเกาะ กานมะพราว แทนเสนทางการเดินเรือและบริเวณที่มีคลื่นจัด พวกนอร
แมดที่เรรอนในทะเลทรายจะใชวิธีขีดบนผืนทราย นัก ประวัติศาสตรและนักโบราณคดีลงความเห็นวา แผนที่ ที่
เกาแกที่สุดในโลกซึ่งถูกจัดสรางโดยวิธีการทางภูมิศาสตร (กลาวคือ มีการสํารวจ วัด และเขียนแผนที่ขึ้นบนขอมูล
อันไดรับจากสํารวจนั้น) เริ่มตนมีขึ้นตั้งแตสมัยอารยธรรม เมโสโปเตเมีย เมื่อราว 2,300 ปกอนพุทธศักราช

แผนที่ของชาวบาบิโลเนียซึ่งทําลายสลักลงบนแผนดินเหนียว อายุประมาณ 1,400 กอนคริสตศักราช

ป พ.ศ.323 ชาวกรีกโบราณ เปนผูวางรากฐานในการทําแผนที่ดวยการพิสูจนวาโลกกลม และมีการวัด


ขนาดของโลกโดย อีแรโตสเตนีส ดวยการใชหลักทางคณิตศาสตร โดยสรางเสนสมมุติที่เรียกวา เสนขนานและเสน
เมริเดียน ตอมาป พ.ศ. 370 ปโตเลมี ไดนําเอาผลงานของอีแรโตสเตนีส มาปรับปรุงกําหนดคามุมของเสนขนาน
และเสนเมริเดียน

แผนที่ของปโตเลมีซึ่งตอยอดแนวคิดการสํารวจพื้นที่และการทําแผนที่มาจากนักปราชญชาวกรีกหลายทาน
ที่สําคัญคือ อีราโตสเตนีสซึ่งไดชื่อวาเปนบิดาแหงวิชาภูมิศาสตรผูซึ่งสามารถคํานวณหาเสนรอบวงของโลกไดสําเร็จ
10
ประเทศไทยเริ่ม ทําแผนที่ครั้ งแรกสมัยสมเด็ จพระนารายณม หาราช โดยชาวฝรั่ งเศส เปนแผนที่แบบ
หยาบๆ เพื่อการคาขายและกิจการทหาร ประเทศไทยเริ่มมีการสอนทําแผนที่และมีการทําแผนที่อยางจริงจังใน
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยโปรดเกลาฯ ใหตั้งกองทําแผนที่ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2418 ตอมาจาง
ชางแผนที่ชาวอังกฤษ คือ เจมส แมคคารที มาวางรากฐานการทําแผนที่ในประเทศไทย มีการเขียนแผนที่พระ
ราชอาณาจักรสยามขึ้นใหมและนําไปพิมพที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2431 เรียกวา แผนที่
เมืองไทยฉบับแมคคารที
พ.ศ. 2473 มีการทําแผนที่จากรูปถายทางอากาศ แตระงับไปเพราะคาใชจายสูง จนถึง พ.ศ. 2495 ไดรับ
ความชวยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริกาในการถายรูปถายทางอากาศ จึงนํามาทําแผนที่มูลฐานของไทยเปนครั้ง
แรก เปนแผนที่มาตราสวน 1 : 50,000 ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร มาประยุกตใชในการทําแผนที่
เชน GPS , Remote Sensing เปนตน

แผนที่โบราณแสดงที่ตั้งและผังเมืองโดยยอของกรุงศรีอยุธยา วาดโดยชาวตะวันตกที่เขามาคาขายกับสยาม
ประโยชนของแผนที่
• ดา นการศึ ก ษา ทํ าให เ ข าใจบทเรี ย นที่ เ ป นความรูเ กี่ย วกั บ พื้ นที่ ใดพื้น ที่ห นึ่ ง เช น วิ ช าภู มิ ศ าสตร
ประวัติศาสตร อากาศวิทยา ธรณีวิทยา เศรษฐศาสตร ฯลฯ
• ดานการเมืองการปกครอง ใชวางแผนรับหรือแกไขสถานการณดานการบริการในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่ง
• ดานเศรษฐกิจและสังคม ชวยในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ระดับภูมิภาคและระดับชาติ
• ดานการทองเที่ยว นักทองเที่ยวสามารถวางแผนการเดินทางทองเที่ยวตามความเหมาะสม
• ดานการทหาร ใชวางแผนยุทธศาสตรทางการสงครามและความมั่นคง

ควรรูวา!!!
เราเรียกวิชาการทําแผนที่วาวิชา Cartography และเรียกผูที่ประกอบวิชาชีพหรือทรงภูมิรูดานนี้วา Cartographer
ซึ่งวิชาดังกลาวนี้เอง ถือไดวาเปนตนกําเนิดหรือเปนรากเหงาอีกทีหนึ่งของวิชาภูมิศาสตรซึ่งเปนสหวิชาอันเกิดจาก
การบูรณาการองคความรูหลายๆศาสตรเขาไวดวยกันเพื่อศึกษา ทําความเขาใจ ตอบปญหา และแกไขวิกฤตการณ
ตางๆอันเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมรอบตัวของมนุษยเรานั่นเอง
11
องคประกอบของแผนที่
องคประกอบของแผนที่ หมายถึง สิ่งตางๆ ที่ปรากฏอยูบนแผนที่ ซึ่งผูผลิตแสดงไวเพื่อเปนเครื่องมือ ให
ผูใชทราบขอมูลและรายละเอียดอยางเพียงพอสําหรับการใชแผนที่ไดถูกตอง สะดวก รวดเร็ว แผนที่ซึ่งจัดทําขึ้น
เพื่อแสดงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเรียกวา "ระวาง" (Sheet) ในแผนที่แตละระวางมีองคประกอบของแผนที่ 3 สวน
สําคัญ คือ

• เสนขอบระวาง
• องคประกอบภายนอกขอบระวาง
• องคประกอบภายในขอบระวาง
เสนขอบระวาง เปนเสนที่แบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน คือพื้นที่ภายในขอบระวางและพื้นที่นอกขอบระวาง
ของแผนที่ โดยที่ เส นขอบระวางแต ล ะด านจะมีตัวเลขบอกพิกัดกริด (คาตะวันออก คาเหนือ ) และคาพิกัด
ภูมิศาสตร หรืออยางใดอยางหนึ่ง
องคประกอบภายนอกขอบระวาง คือ รายละเอียดและคําอธิบายสิ่งตางๆ เกี่ยวกับแผนที่และขอมูลการ
ผลิตแผนที่ ซึ่งอยูนอกเสนขอบระวางแผนที่ทั้ง 4 ดาน ประกอบดวย

องคประกอบภายใน
ขอบระวาง

องคประกอบภายนอก
ขอบระวาง

ควรรูวา!!!
หนวยงานที่มีหนาที่จัดทําแผนที่ของประเทศไทย คือ กรมแผนที่ทหาร

12
องคประกอบ รายละเอียดและตัวอยาง
1. ชื่อชุดแผนที่และ เพื่ อ ระบุ วาแผนที่ ชุดนั้นครอบคลุม บริเ วณใดและใช ม าตราส วนเท าไร เช นประเทศไทย
มาตราสวน THAILAND 1:50,000
(Series Name and
Map Scale)

2. ชื่อระวาง เป น การจํ า กั ด ขอบเขตพื้ น ที่ ว า แผนที่ ชุ ด นั้ น ครอบคลุ ม บริ เ วณใดเป น ชื่ อ ที่ ไ ด ม าจาก
(Sheet Name) รายละเอี ย ดที่ เ ด น หรื อ สํ า คั ญ ทางภู มิ ศ าสตร โดยใช ชื่ อ จั ง หวั ด อํ า เภอ หมู บ า น เช น
บานภูมิซรอล BAN PHUM SARON

3. หมายเลขประจํา เปนเลขที่บอกใหทราบวาเปนแผนที่ระวางที่เทาไร เพื่อสะดวกในการอางอิงหรือคนหา จะ


ระวาง แสดงไวที่ขอบระวางมุมขวาตอนบนและมุมซายตอนลางเชน
(Sheet Number)

4. หมายเลขประจําชุด เปนเลขหมายอางอิงที่แสดงถึงการจัดทําแผนที่วาเปนชุดใดจะปรากฏอยูมุมบนขวาและลาง
(Series Number) ซายของแผนที่ ซึ่งประกอบดวยตัวอักษรและตัวเลข เชน ลํ าดับ ชุด “ L 7018 ” มี
ความหมายดังนี้

• L แทน Regional Area หรือ Sub-Regional Area ตัวอักษรภาษาอังกฤษ L เปน


ภูมิภาคที่ครอบคลุม ประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย จีน ไตห วัน
เกาหลี และญี่ปุน
• 7 แทน มาตราสวน (ระหวาง 1 : 70,000 ถึง 1 : 35,000)
• 0 แทน บริเวณที่แบง L เปนภูมิภาคยอย (Sub-Regional Area) คือบริเวณประเทศ
ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และจีน
• 18 แทน เลขลําดับ ที่ การทําชุดแผนที่ที่ มีม าตราสวนเดียวกัน และ อยูในพื้น ที่
ภูมิภาค L เดียวกัน ประเทศไทย ตรงกับลําดับชุดที่ 18

13
องคประกอบ รายละเอียดและตัวอยาง
5. การจัดพิมพ แผนที่บางแผนพิมพหลายครั้ง หลายหนวยงาน จึงมีการแสดงขอความเกี่ยวกับหนวยงาน
(Edition number) และจํานวนครั้งที่พิมพไวที่ขอบของแผนที่ดานบนหรือดานลาง เชน

ความหมายวา แผนที่ฉบับนี้พิมพเปนครั้งที่ 4 โดยกรมแผนที่ทหาร (Royal Thai Survey


Department : RTSD)
6. มาตราสวนแผนที่ เปนสิ่งที่บอกใหท ราบถึงอัตราสวนระหวางระยะในแผนที่กับ ระยะในภูมิป ระเทศทั้ งแบบ
(Map Scale) ตัวเลข แบบบรรทัดและแบบรูปภาพ เชน

7. ศัพทานุกรม เปนการอธิบายศัพทสําคัญที่ปรากฏในแผนที่ โดยเรียงตามลําดับตัวอักษรสวนมากจะมีใน


(Glossary) แผนที่ซึ่งมีตั้งแตสองภาษาขึ้นไป เชน

8. สารบาญระวางติดตอ เปนแผนภาพที่แสดงหมายเลขของแผนที่ที่มีระวางติดตอกันไว
(Index)

14
องคประกอบ รายละเอียดและตัวอยาง
9. คําอธิบายสัญลักษณ เปนรายละเอียดที่อธิบายความหมายของสัญลักษณ (Symbol) ที่ใชแสดงใน แผนที่
(Legend)

10. บันทึก (Notes) เปนคําอธิบายขอมูลตางๆใหผูใชแผนที่สามารถใชไดอยางสะดวกและถูกตอง ไดแกบันทึก


เกี่ยวกับ เสนโครงแผนที่ เสนกริด หลักฐานทางดิ่ง ทางราบ เสนชั้นความสูง

11. แผนภาพเดคลิเนชั่น เปนแผนภาพที่แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของแนวทิศเหนือจริง ทิศเหนือกริด และแนวทิศ


หรือมุมบายเบน เหนือแมเหล็ก ณ บริเวณศูนยกลางของแผนที่นั้นเชน
(Declinations
Diagram)

12. หมายเลขประจํา เปนตัวเลขที่กําหนดขึ้นเปนระบบเพื่อความสะดวกในการเก็บและคนหาแผนที่ตัวอยาง เชน


แผนที่ STOCK NO. L701805937404
(Stock Number)

15
16
17
องคประกอบภายในขอบระวาง ประกอบดวย

• สัญลักษณ (Symbol) และคําอธิบายสัญลักษณ (Legend) คือ รูปหรือเครื่องหมาย เสน สีซึ่ง


กําหนดขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดที่ปรากฏบนพื้นผิวโลกหรือแสดงขอมูลตางๆลงในแผนที่ การใช
สัญลักษณในแผนที่มีเกณฑ ดังนี้
- ลักษณะคลายของจริงมากที่สุด
- มีรูปแบบที่ชัดเจนเขียนไดงาย
- ขนาดเหมาะสมกับมาตราสวนของแผนที่
- ใชมาตรฐานเดียวกันสําหรับแผนที่ชุดเดียวกัน
- ตองมีคําอธิบายไวนอกขอบระวาง
- ตองอยูในทิศทางและตําแหนงที่ถูกตองตามความจริงในภูมปิ ระเทศ
- สัญลักษณที่นิยมใช ไดแก
o สัญลักษณที่เปนจุดหรือรูปขนาดเล็ก (Point or Pictorial Symbols) เปน
สัญลั กษณ ที่ใชแทนสถานที่และกําหนดที่ตั้งสถานที่ตางๆ เชน วัด โรงเรียน
สนามบิน ตัวเมือง ลักษณะจุดที่แสดงอาจเปนรูปรางทรงเรขาคณิตหรือรูปราง
ตางๆไดแก
o สัญลั กษณ เสน (Line Symbols) เปนสัญลักษณแทนสิ่งที่มีความยาว เช น
ถนน ทางรถไฟ ทางน้ํ า สายโทรเลข เส นกั้ นอาณาเขต เป นตน อาจเป น
เสนตรง เสนทึบ เสนประ เสนที่ถูกแบงดวยขีดสั้นๆ และอาจใชสีตางๆ
o สัญลักษณพื้นที่ (Area Symbols) เปนสัญลักษณที่แทนบริเวณกวางๆ เชน ทุง
นา ป าไม แหลง น้ํา พื้นที่ส วน พื้นที่ไร บางพื้นที่อ าจมีสีห รือ สัญ ลัก ษณอื่น
ประกอบ เชน หาดทรายจะมีจุดเล็กๆพื้นที่นาอาจมีสัญลักษณรูปตนขาวเล็ก ๆ
ประกอบอยูดวย
ตัว อย างสั ญ ลัก ษณ ที่
ใ ช ใ น แ ผ น ที่ ซึ่ ง ใ ช
ประกอบกันทั้งแบบที่
เปนจุด รูป เสน และ
พื้นที่
(ที่มา :
http://maprunner.
co.uk)

18
o สัญลักษณสี (Color) สีที่ใชนอกจากจะทําใหแผนที่สวยงามแลว ยังชวยใหอาน
ไดงายและถูกตองยิ่งขึ้น สีที่นิยมใช ไดแก
 สีเขียว ใชแทนบริเวณพื้นที่ปาไมหรือพื้นที่ราบ
 สีน้ําเงิน ใชแทนแหลงน้ํา ทางน้ํา เชน แมน้ํา ทะเลสาบ หนอง บึง
 สีเหลือง ใชแทนที่ราบสูง
 สีน้ําตาล ใชแทนที่สูงหรือเทือกเขา
 สีแดง ใชแทนถนนและเสนทางคมนาคม พื้นที่หวงหาม พื้นที่อันตราย
 สีดํา ใชแทนสถานที่ที่มนุษยสรางเชน หมูบาน ทางรถไฟ
 สีมวง เปนสีพิเศษใชแสดงพื้นที่ที่สูงหรือต่ํากวาระดับน้ําทะเลอยางยิ่ง
 สีขาว ใชแทนพื้ นที่ที่ปกคลุมดวยหิ มะ ขั้วโลก บริเ วณน้ําตื้น พื้นที่ไม
เกี่ยวของ

พื้นที่สูงอยางยิ่ง แสดงดวยสีมวง

พื้นที่สูง แสดงดวยสีเหลือง สีน้ําตาล

พื้นที่ต่ํา แสดงดวยสีเขียว

พื้นน้ํา แสดงความสีฟา

พื้นที่ซึ่งไมเกี่ยวของ แสดงดวยสีขาว

(ที่มา : mapsofworld.com)
- เสนชั้นความสูง (Contour line) คือ เปนเสนที่ลากเชื่อมจุดตางๆ ที่มีระยะสูงเทากัน
ในแผนที่ที่มีเสนชั้นความสูงแสดงอยู จะเห็นเปนเสนสีน้ําตาลลากวกไปมา และมีตัวเลข
กํากับที่แตละเสน เพื่อใหทราบวาพื้นที่นั้นๆ มีระยะสูงเทาใด ตามปกติการกําหนดระยะ
สูงของพื้นที่มักกําหนดความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง (Mean sea level) เชน
ถาจุดหนึ่งบนแผนที่มีระยะสูง 200 เมตร ก็หมายความวาจุดนั้นอยูสูงจากระดับน้ําทะเล
ปานกลาง 200 เมตรในพื้ น ที่ นั้ น สํ า หรั บ ประเทศไทยการทํ า แผนที่ ไ ด กํ า หนด
ระดับน้ําทะเลปานกลางที่เกาะหลักเปนระดับตั้งตน (เกาะหลักอยูที่ชายฝงตะวันตกของ
อาวไทย ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ)

19
แผนที่ที่ใชเสนชั้นความสูงแสดงระดับความสูงต่ําของพื้นที่ (ที่มา : http://seattlebackpackersmagazine.com)

ภาพจําลองการแปลงเสนชัดความสูงแบบสองมิตบิ นแผนที่ใหออกมาเปนลักษณะพื้นที่สามมติ
(ที่มา : ordnancesurvey.co.uk และ college.cengage.com)
ฝกสมองลองทํา!!!
พิจารณาภาพเสนชั้นความสูงที่กําหนดใหสองรูปนี้ จากนัน้
ลองตามคําถามสั้นๆตอไปนี้
1.ภาพเสนชั้นความสูงที่เห็นเปนภาพของภูมิประเทศชนิดใด
..............................................................................................................
2. จงบรรยายลักษณะสําคัญของภูมิประเทศดังกลาวจากเสนชั้นความ
สูงทีก่ ําหนดใหพอ โดยใหระบุลักษณะเดนที่เห็นไดชัดจากภาพเสนชั้น
ความสูงนี้
...............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................

20
• เสนโครงแผนที่ (Map Projection) เสนโครงแผนที่คือระบบของเสนที่สรางขึ้นในพื้นที่แบน
ราบ เพื่อ แสดงลัก ษณะของเส นขนานและเส นเมริ เดี ยนอันเป นผลจากแบบและวิธีการสราง
รูปทรงเรขาคณิต และการวิเคราะหทางคณิตศาสตรในการถายทอดเสนเหลานั้นจากผิวโลก ซึ่ง
เปนทรงกลมลงบนพื้นที่แบนราบโดยการสมมุติใหมีจุดกําเนิดแสงภายในโลก และฉายแสงผาน
ผิวโลกออกมากระทบลงบนจอที่สัมผัสบนผิวโลกในรูปแบบตางๆซึ่งนิยมใช 3 รูปแบบ คือจอ
แบน จอรูปกรวย และจอทรงกระบอก เสนโครงแผนที่ซึ่งไดจากจอ 3 รูปแบบ ไดแก เสนโครง
แผนที่แบบระนาบ เสนโครงแผนที่แบบทรงกรวย เสนโครงแผนที่แบบกระบอก
- เสนโครงแผนที่ระนาบ (Plane Projection) เปนเสนโครงแผนที่ซึ่งสรางขึ้นโดยการ
สมมุติใหฉายแสงออกมาจากภายในโลก ใหเสนเมริเดียนและเสนขนานไปแตะลงบนผิว
พื้นแบนราบที่สัมผัสผิวโลก เสนโครงแผนที่แบบระนาบจะรักษาทิศทางไดดี จึงเรียกอีก
ชื่อหนึ่งวา เสนโครงแผนที่แบบทิศทาง
- เสนโครงแผนที่แบบกรวย (Conic Projection) เปนเสนโครงแผนที่ที่สรางขึ้นโดย
สมมุติใหฉายแสงออกมาจากภายในโลกทําใหเงาของเสนเมริเดียนและเสนขนานตกลง
บนกรวยที่ครอบผิวโลกอยู เมื่อคลี่กรวยออกเปนแผนแบนราบ จะปรากฏเสนขนานเปน
เสนโคงของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางรวมกันจึง ขนานกันทุกเสน สวนเมริเดียนจะเปน
เสนตรงลักษณะคลายรัศมีแยกออกไปจากยอดกรวยซึ่งเปนจุดศูนยกลางของวงกลม
- เสนโครงแผนที่แบบทรงกระบอก (Cylindrical Projection) เปนเสนโครงแผนที่ซึ่ง
สรางขึ้นโดยสมมุติใหฉายเงาของเสนเมริเดียนและเสนขนานลงบนวัตถุรูปทรงกระบอก
ซึ่งโอบลอมผิวโลกอยู เมื่อคลี่วัตถุรูปทรงกระบอกออกเปนแผนราบ เสนขนานจะเปน
เสนตรงและขนานกันทุกเสน สวนเสนเมริเดียนก็จะเปนเสนตรงตั้งฉากกับเสนขนาน

การทําเสนโครงแผนที่แบบตางๆ

21
แผนที่ที่ทําโดยใชเสนโครงแผนที่ทรงกระบอกแบบของเมอรเคเตอร (ที่มา : upload.wikimedia.org)
จากภาพนั กเรียนจะสามารถสัง เกตเห็นได วา พื้นที่บ ริเ วณศูนยสู ตร ดิ นแดนต างๆจะมี ขนาดสมบูร ณ
ใกลเคียงกับความเปนจริงมาก ในขณะที่ยิ่งหางจากศูนยสูตรขึ้นไปทางเหนือหรือลงมาทางใตมากเทาใด ดินแดน
ตางๆจะมีและขนาดผิดจากความเปนจริงมากขึ้น เสนกริดที่ใชในแผนที่ก็จะมีขนาดกวางขึ้น ตัวอยางสําคัญที่ควร
สังเกตไดก็คือ ในแผนที่ฉบับนี้แสดงภาพวาทวีปออสเตรเลียมีขนาดเล็กกวาเกาะกรีนแลนดซึ่งผิดจากความเปนจริง
โดยสิ้นเชิง อยางไรก็ดี เสนโครงแผนที่แบบเมอรเคเตอรนี้มีขอดีที่สําคัญคือชวยรักษารูปทรงของดินแดนตางๆให
ถูกตองใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด
ควรรูวา!!!
การทําแผนที่โลก ในลักษณะของการดึงเอาพื้นที่แบบสามมิติลงมาแสดงผลใหอยูในรูปของภาพสองมิติเปนเรื่องที่ยาก
และไมสามารถทําใหแมนยําได 100% นักเรียนควรทราบวาไมมีแผนที่ฉบับใดบนโลกที่แสดงพื้นที่ตางๆของโลกได
แมนยําถูกตองทั้งหมด ปจจุบัน นักทําแผนที่ประยุกตใชวิธีการทําแผนที่และเสนโครงแผนที่หลากหลายแบบในการ
จัดทําแผนที่ฉบับหนึ่งๆ โดยมากไมนิยมใชเสนโครงแผนที่เพียงชนิดเดียวในแผนที่อีกตอไป

22
• ทิศทาง (Direction) ทิศทางมีความสําคัญตอการคนหาตําแหนงที่ตั้งของสิ่งตางๆโดยในสมัย
โบราณใชวิธีดูทิศทางตามการขึ้นและตกของดวงอาทิตยในเวลากลางวันและการดูทิศทางของ
ดาวเหนือในเวลากลางคืน ตอ มามีก ารประดิษฐเ ข็ม ทิศใชเปนเครื่องมือ ชวยในการหาทิศขึ้ น
เนื่องจากเข็มทิศจะชี้ไปทางทิศเหนือตลอดเวลาการใชทิศทางในแผนที่ประกอบกับเข็มทิศหรือ
การสังเกตดวงอาทิตยและดาวเหนือชวยใหสามารถเดินทางไปยังสถานที่ที่เ ราตองการได ใน
แผนที่จะตองมีภาพเข็มทิศหรือลูกศรชี้ไปทางทิศเหนือเสมอถาแผนที่ใดไมกําหนดภาพเข็มทิศ
หรือลูกศรไว ใหเขาใจวาดานบนของแผนที่คือทิศเหนือ การบอกทิศในแผนที่มีหลายลักษณะ
ดังนี้
- บอกเปนชื่อทิศ คือ ทิศเหนือ ใต ตะวันออกตะวันตก อาจแยกเปนระบบ 4 ทิศ 16 ทิศ
หรือ 32 ทิศตามที่ทหารเรือนิยมใชเรียกทิศทางลม
- บอกทิศเปนองศา คือ มุมรอบจุดหรือวงกลมมี 360 อาศาแตละหนวยมี 1 องศา แตละ
1 องศา มี 60 ลิปดา 1 ลิปดา มี 60 ฟลิปดาซึ่งเปนหนวยที่ใชทั่วไปในแผนที่
- บอกทิศเปนเกรด คือแบงมุมรอบจุดหรือวงกลมมี 400 หนวย แตละหนวยเรียกวา 1
เกรดโดยถือหลักจากทิศเหนือเปน 0 เกรด ทิศตะวันออกเปน 100 เกรด ทิศใตเปน
200 เกรดทิศตะวันตกเปน 300 เกรด 1 เกรด มี 100 ลิปดา
- บอกทิศเปนอะซิมุท (Azimuth) คือมุมรอบจุดหรือวงกลมที่วัดจากแนวทิศเหนือไป
ตามเข็มนาฬิกานิยมใชในหนวยทหาร
- บอกทิศเปนแบริงส (Bearings) คือมุมที่วัดในแนวนอน โดยวัดจากทิศเหนือและทิศใต
เปนหลักไปทางตะวันออกและตะวันตกมีคามุมไมเกิน 90 องศา เชน N 49 องศา E
อานวา แบริงสเหนือ 49 องศาตะวันออก หรือ S 70 องศา W อานวาแบริงสใต 70
องศาตะวันตก นิยมใชในหนวยของทหารเรือ
- บอกทิศเปนมิล คือมุมรอบจุดหรือมุมรอบวงกลม 360 องศา จะแบงออกเปน 6,400
หนวย แตละหนวยเรียกวา มิล ฉะนั้น 1 องศา เทากับ 18 มิล หนวยบอกทิศเปนมิล
นิยมใชในหนวยทหารปนใหญและอาวุธหนักเพราะบอกตําแหนงไดละเอียดกวาแบบ
อื่นๆ
• ชื่อแผนที่ (Map name) ชื่อแผนที่มีความจําเปนสําหรับใหผูใชไดทราบวาเปนแผนที่อะไรแสดง
รายละเอียดอะไร เพื่อใชไดอยางถูกตอง ตรงความตองการ ปกติชื่อแผนที่จะมีคําอธิบายเพิ่มเติม
แสดงไวดวย เชนแผนที่ประเทศไทยแสดงเนื้อที่ปาไมแผนที่ประเทศไทยแสดงการแบงภาคและ
เขตจังหวัดเปนตน
• ชื่อภูมิศาสตร (Geographic name) คือตัวอักษรที่ใชบอกชื่อเฉพาะที่มีความสําคัญในแผนที่
รูปแบบชื่อภูมิศาสตรที่นิยมใชในแผนที่ทั่วไป มีดังนี้

23
- ทวีป ประเทศ รัฐ เกาะใหญ และคาบสมุทรนิยมใชตัวตรงภาษาอังกฤษใชตัวพิมพใหญ
ทั้งหมด เชน
ทวีปเอเชีย ASIA
ประเทศไทย THAILAND
คาบสมุทรมลายู MALAY PENINSULA
- เมืองหลวง เมืองใหญนิยมใชตัวตรงภาษาอังกฤษตัวแรกใชตัวพิมพใหญและตอดวย
ตัวพิมพเล็ก เชน
กรุงเทพฯ Krung Thep
เปยจงิ Beijing
วอชิงตัน ดี.ซี. Washington, D.C.
- มหาสมุทร อาวใหญทะเลใหญ ทะเลสาบใหญ ภูเขา ทะเลทรายใหญ ที่ราบสูง นิยมใช
ตัวเอนภาษาอังกฤษใชตัวพิมพใหญทั้งหมด เชน
มหาสมุทรแปซิฟก PACIFIC OCEAN
ทะเลจีนใต SOUTH CHINA SEA
ที่ราบสูงโคราช KHORAT PLATEAU
- แมน้ํา ลําธาร อาวขนาดเล็ก เกาะ ชองแคบ ทะเลทรายขนาดเล็ก โอเอซิส ที่ลุม นิยมใช
ตัวเอน ภาษาอังกฤษตัวแรกใชตัวพิมพใหญ และตอดวยตัวพิมพเล็กเชน
แมน้ําโขง Mekong River
อาวบานดอน Ao Bandon
ชองแคบมะละกา Strait of Malacca
- เขื่อน ถนน ทอน้ํา ทอกาซ แหลงอารยธรรมโบราณและสิ่งกอสรางอื่นๆ นิยมใชตัวเอน
ขนาดเล็ก ภาษาอังกฤษตัวแรกใชตัวพิมพใหญและตอดวยตัวพิมพเล็ก เชน
เขื่อนสิริกิติ์ Sirikit Dam
ทางหลวงสายเอเชีย Asian Highway
บานเชียง Ban Chiang
• ระบบอ า งอิ งบนพื้ น ผิวโลก ระบบอางอิง บนพื้นผิวโลกทําใหผูศึกษาแผนที่หาตําแหนง หรือ
กําหนดตําแหนงตางๆ บนพื้นผิวโลกได เรียกวาพิกัดทางภูมิศาสตร ซึ่งเกิดจากระบบอางอิงบน
พื้นผิวโลก 2 ระบบ คือ
- ระบบพิกัดภูมิศาสตร (Geographic Coordinate) เปนระบบอางอิงบนแผนที่ ซึ่ง
กําหนดดวยคาละติจูด (Latitude) และลองจิจูด (Longitude) โดยตองอานคาของ
ละติจูดและลองจิจูดตัดกันทั้ง 2 แกนมีหนวยที่วัดเปน องศา ( 0 ) ลิปดา ( / ) และ
ฟลิปดา ( // )
หนวยวัด 1 องศา = 60 ลิปดา
หนวยวัด 1 ลิปดา = 60 ฟลิปดา
24
- ละติจูด (Latitude) เกิดจากมุมที่วัดจากระนาบในแนวนอนที่ศูนยสูตรของโลกไปตาม
แนวตั้งเมื่อสมมุติใหระนาบในแนวนอนตัดกับผิวโลกทําใหเกิดรอยตัดที่ผิวโลกเปนศูนย
สูตร เสนที่ลากตอจุดที่วัดจากจุดศูนยกลางของโลกออกมายังผิวโลก เรียกวาเสนขนาน
ละติจูดหรือเสนขนาน โดยจะลากขนานกับเสนศูนยสูตร แตละเสนมีความยาวไมเทากัน
เสนขนานที่ยาวที่สุด คือ เสนศูนยสูตรซึ่งมีคาเทากับ 0 องศา สวนเสนขนานที่อยูใกลขั้ว
โลกจะสั้นมากจนเปนจุดมีคาเทากับ 90 องศา เสนขนานที่อยูซีกโลกเหนือมีหนวยเปน
องศาเหนือเสนขนานที่อยูที่ซีกโลกใตมีหนวยเปนองศาใต ละติจูดแตละเสนหางกัน 1
องศา ดังนั้นจึงมีทั้งหมด 180 เสน คืออยูเหนือ เสนศูนยสูตร 90 เสน ใตเสนศูนยสูตร
90 เสนคาเฉลี่ยของระยะทาง 1 องศาละติจูดบนพื้นโลกเทากับ 111กิโลเมตร (69 ไมล)

ละติจูดคือการลากเสนรอบวงบนคามุมที่วัดจากแนวระดับบริเวณกึ่งกลางของโลก
(ที่มา : http://geographyworldonline.com)

ละติจูดกับการแบงโซนภูมิอากาศโลก
(ที่มา : dr282zn36sxxg.cloudfront.net)
25
- เสนขนาน สําคัญใชเปนเสนแบงเขตอากาศคือ
o เสนศูนยสูตรหรือเสนอิเควเตอร มีคามุม 0 องศา
o เสนทรอปกออฟแคนเซอร มีคามุม 23 องศา 30 ลิปดาเหนือ
o เสนทรอปกออฟแคปริคอรน มีคามุม 23 องศา 30 ลิปดาใต
o เสนอารกติกเซอรเคิล มีคามุม 66 องศา 30 ลิปดาเหนือ
o เสนแอนตารกติกเซอรเคิล มีคามุม 66 องศา 30 ลิปดาใต
- ลองจิจูด (Longitude) เปนเสนสมมุติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต เกิดจาก
มุมที่วัดจากระนาบแนวตั้ งไปตามระนาบแนวนอนที่ศูนยสูตรของโลก เมื่อสมมุติให
ระนาบแนวตั้งตัดกับผิวโลกทําใหเกิดรอยตัดที่ผิวโลกเปนเสนวงกลมในแนวตั้ง เรียกวา
เสนเมริเดียน เสนเมริเดียน มี 360 เสนรอบโลก เสนเมริเดียนดานตะวันออกของเมือง
กรีนิช เรียกวา เสนเมริเดียนตะวันออก มีคา 0 - 180 องศา สวนเมริเดียนดานตะวันตก
ของเมืองกรีนิช เรียกวา เสนเมริเดียนตะวันตกมีคา 0 -180 องศาเทากัน ดังนั้นเสน
เมริเ ดียน 180 องศาตะวันออกและเสนเมริเดียน 180 องศาตะวันตก จึงเป นเสน
เดียวกันและอยูตรงขามเสนเมริเดียนหลักพอดี เรียกวา เสนวันที่สากล หรือ เสนแบง
เขตวันสากล (International Date Line)
- เสนเมริเดียนสําคัญมี 2 เสน ดังนี้
o เสนเมริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือ ลองจิจูด 0 องศา เปนเสนเมริเดียน
หลักที่ลากผานตําบลกรีนิชใกลกรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ เปนเสนเมริเดียน
แรกสําหรับกําหนดเวลามาตรฐานของโลก (G.M.T.) ใชเปนแนวแบงเขตเวลา
ของโลกโดยกําหนดเวลาของแตละพื้นที่ (Time Zone) โซนละ 15 องศาแตละ
โซนจะมีเวลาแตกตางกัน 1 ชั่วโมงเสนเมริเดียนปฐม เริ่มตนจากขั้วโลกเหนือ
ไปทางใต ผานตําบล กรีนิช ผานประเทศฝรั่งเศส สเปน อัลจีเรีย มาลี โตโก
กานา ถึงขั้วโลกใตเปนเสนตรงเดียวกัน
o เสนแบงเขตวันสากล (International Date Line) คือลองจิจูด 180 องศา ที่
ซึ่งเสนเมริเดียน 180 องศาตะวันตกและเสนเมริเดียน 180 องศาตะวันออกจะ
ลากทับซอนเปนเสนเดียวกัน (อยูตรงกันขามกับเสนเมริเดียนปฐม 0 องศาหรือ
อยูกันคนละซีกโลก) ลักษณะที่สําคัญของเสนแบงเขตวันสากลก็คือ เสนแบง
เขตไมไดลากเปนเสนตรงแตจะเบนไปทางตะวันออกสุดของไซบีเรียและเบนมา
ทางทิศตะวันตกของหมูเกาะอะลูเซียลสวนทางใตศูนยสูตรลงมาจะเบนไปทาง
ทิศตะวันออกราว 7 1/2 องศา เพื่อใหหมูเกาะฟจิและตองกา มีวันเหมือนกับ
ประเทศนิวซีแลนด แนวเสนแบงเขตวันสากลนี้เมื่อเดินทางจากดานตะวันตก
ไปดานตะวันออกเวลาจะลดลง 1 วันแตถาเดินทางจากดานตะวันออกมาดาน
ตะวั นตกเวลาจะเพิ่มขึ้น 1 วั นเสมอ เชน ออกเดิ นทางโดยเครื่อ งบินจาก
นิวยอรค สหรัฐอเมริกา(ซีกโลกตะวันตก)เมื่อวันที่ 27 เมษายนไปยังกรุงนิวเดลี

26
ประเทศอินเดีย (ซีกโลกตะวันออก) ใชเวลาเดินทางไมเกิน 24 ชั่วโมง เมื่อถึง
กรุงนิวเดลีตองเปลี่ยนวันที่เปน 28 เมษายน เพราะซีกโลกตะวันออกมีเวลาเร็ว
กวาซีกโลกตะวันตก 1 วัน ถาขามเสนเขตวันสากลไปทางซีกโลกตะวันตกเวลา
จะลดลง 1 วัน เชนออกเดินทางโดยเครื่องบินจากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน
(ซี ก โลกตะวั น ออก) เมื่ อ วั น ที่ 5 พฤษภาคมไปยั ง กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี .
สหรัฐอเมริกา (ซีกโลกตะวันตก) เมื่อถึงที่หมายวันที่เดินทางไปถึงจะตองเปน
วันที่ 4 พฤษภาคมเพราะเวลาของซีกโลกตะวันตกจะชากวาซีกโลกตะวันออก
1 วัน

มุมมองสมมติจากดานบนฝงขั้วโลกเหนือ จะเห็นเสนเมอริเดียนตางๆ และเสนแบงเขตวันสากล


(ที่มา : en.wikipedia.org)
CHECK THIS OUT!!!
ลองไปชมภาพการหมุนของโลกเมื่อมองจากเหนือแกนโลกทางทิศเหนือ
ชวยใหเราเขาใจมโนทัศนเรื่องความแตกตางดานเวลาและการเปลี่ยนแปลงวันไดที่
http://bit.ly/1N6D5t9

27
ภาพจําลองลักษณะของโลกที่มีแกนเอียง และมีแนวเสนสมมติตางๆลากพาดผาน
นักเรียนพึงทราบวาโลกหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา คือหมุนจากทิศตะวันตกไปตะวันออก ทําใหดินแดนทาง
ทิศตะวันออกของเสนเมริเดียนปฐมมีเวลาเร็วกวาดินแดนทางทิศตะวันตก
(ที่มา : oxfordlearnersdictionaries.com)

ภาพสีแสดงเขตเวลา และเสนแบงเขตวันสากลที่มลี ักษณะเฉพาะคือมิไดลากเปนเสนตรงเพื่อทําใหดินแดนในหมู


เกาะเดียวกันบนมหาสมุทรแปซิฟก ใชเขตเวลาเดียวกัน (ที่มา : c.tadst.com)

28
ฝกสมองลองทํา!!!
การหาเวลาตามเสนเมริเดียน
กําหนดใหเสนเมริเดียนทุก 15 องศา เวลาตางกัน 1 ชั่วโมงซึ่งยึดตามเวลามาตรฐานที่เสน
เมริเดียนเริ่มแรกเปนหลัก เชนเวลาที่เสนเมริเดียนเริ่มแรก เวลา 12.00 น. คาลองจิจูด 15 องศา,
30 องศา, 45 องศา ทางตะวันออก จะเปนเวลา 13.00 น., 14.00 น. และ 15.00 น.สวนคาลองจิจูด
15 องศา, 30 องศา, 45 องศา ทางตะวันตก จะเปนเวลา 11.00 น., 10.00น. และ 09.00 น
ประเทศไทยไดประกาศใชเวลามาตรฐานที่ลองจิจูด 105 องศาตะวันออกในสมัยรัชกาลที่ 6
เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2463 มีเวลามาตรฐานเร็วกวากรีนิช 7 ชั่วโมง เพราะประเทศไทยอยูหางจาก
เสนเมริเดียนเริ่มแรก 105 องศาไปทางตะวันออก
ฉะนั้น ทุก 15 องศา เวลาตางกัน 1 ชั่วโมง
105 ,, ,, 7 ชั่วโมง
ค าลองจิ จู ด 105 องศา อยู ที่ จัง หวั ด อุ บ ลราชธานี ถ าคิ ดตามเวลาท อ งถิ่ น จริ ง ๆ ที่
อุบลราชธานีเวลา 07.00 น.ที่ก รุงเทพฯ จะเปนอีกเวลาหนึ่ง เพราะกรุงเทพฯ กับอุบลราชธานี
ลองจิจูดตางกัน แตประเทศไทยทั้งประเทศอยูในเขตเวลา (Time Zone) เดียวกันเพื่อความสะดวก
ในการปฏิบัติ จึงถือเอาคาลองจิจูด 105 องศาตะวันออกเปนหลักในการคิดเวลาของประเทศ เชน ที่
อังกฤษ เวลา 07.00 วันจันทร ประเทศไทยซึ่งอยูทางตะวันออกของอังกฤษ มีเวลาเร็วกวา 7 ชั่วโมง
คือ 14.00 น. วันจันทร เมื่อนําเวลาที่ตางกันมาบวกกันแลวมีคาไมเกิน 24.00 น. แสดงวาเปนวัน
เดียวกัน
แตถาไดคามากกวา 24.00 น. แสดงวาเปนคนละวัน คือตองนับวันเพิ่มอีกหนึ่งวัน เชน เวลา
ที่อังกฤษ 20.00 วันจันทร เวลาประเทศไทย เทากับ 20.00+ 7 = 27.00 น. เวลาที่ประเทศไทย
เทากับ 27.00–24.00 คือ 03.00 น. วันอังคาร
โจทยขอที่ 1 แสดงวิธีทํา และตอบคําถาม
ประเทศไทยตั้งอยูท ี่ลองจิจูด 105 องศา ………………………………………………………………………………………………..
ตะวันออก เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ………………………………………………………………………………………………..
อยูที่ 45 องศาตะวันออก ………………………………………………………………………………………………..
เวลาที่ประเทศไทยคือ 12.00 น. ………………………………………………………………………………………………..
เวลาที่เมืองอิสตันบูลคือกี่โมง
โจทยขอที่ 2 แสดงวิธีทํา และตอบคําถาม
เมืองอิสตันบูลตัง้ อยูทลี่ องจิจูด 45 องศา ………………………………………………………………………………………………..
ตะวันออก เมืองโคโลราโดตั้งอยูท ี่ ………………………………………………………………………………………………..
ลองจิจูด 105 องศาตะวันตก ………………………………………………………………………………………………..
เวลาที่อสิ ตันบูลคือ 12.00 น. ………………………………………………………………………………………………..
เวลาที่โคโลราโดคือกี่โมง

29
โจทยขอที่ 3 แสดงวิธีทํา และตอบคําถาม
เมืองอารลิงตันตั้งอยูทลี่ องจิจูด 120 ………………………………………………………………………………………………..
องศาตะวันตก เปนเวลา 18.00 น. ………………………………………………………………………………………………..
วันศุกร เมืองลาซา ตั้งอยูท ี่ลองจิจูด ………………………………………………………………………………………………..
90 องศาตะวันออก ………………………………………………………………………………………………..
เปนเวลาอะไร วันอะไร
โจทยขอที่ 4 แสดงวิธีทํา และตอบคําถาม
จังหวัดอุบลราชธานีตั้งอยูทลี่ องจิจูด 105 ………………………………………………………………………………………………..
องศาตะวันออก เปนเวลา 09.00 น. ………………………………………………………………………………………………..
วันจันทร เมืองเกรแฮม ตั้งอยูทลี่ องจิจูด ………………………………………………………………………………………………..
90 องศาตะวันตก ………………………………………………………………………………………………..
เปนเวลาอะไร วันอะไร
โจทยขอที่ 5 แสดงวิธีทํา และตอบคําถาม
เมืองคากาวาตั้งอยูที่ลองจิจูด 135 องศา ………………………………………………………………………………………………..
ตะวันออก เปนเวลา 18.00 น. ………………………………………………………………………………………………..
วันพุธ เมืองมอนทานา เปนเวลา ………………………………………………………………………………………………..
03.00 น. วันเดียวกัน ………………………………………………………………………………………………..
เมืองมอนทานาตัง้ อยูทลี่ องจิจูดเทาใด

- ระบบพิกัดกริด (Grid Coordinate) ในที่นี้จะพูดถึง พิกัดกริดแบบ UTM (Universal


Transvers Mercator) ซึ่งใชกับแผนที่ภูมิประเทศชุด L 7018 ของกรมแผนที่ทหาร
พิกัดกริด UTM (Universal Transvers Mercator) เปนระบบตารางกริดที่ใชชวยใน
การกําหนดตําแหนงและใชอางอิงในการบอกตําแหนงในกิจการทหารของประเทศตาง
ๆ เกือบทั่วโลก ประเทศไทยไดนําเอาเสนโครงแผนที่แบบ UTM มาใชกับการทําแผนที่
กิ จ การทหารภายในประเทศจากรู ป ถ า ยทางอากาศ ในป ค.ศ.1953 ร ว มกั บ
สหรัฐอเมริกา เปนแผนที่มาตราสวน 1:50,000 ชุด 708 และปรับปรุงใหมเปนชุด L
7018 ที่ใชในปจจุบัน แผนที่ระบบพิกัดกริด ที่ใชเสนโครงแผนที่แบบ UTM เปนระบบ
เสนโครงที่ใชผิวรูปทรงกระบอกเปนผิวแสดงเสนเมริเดียน และเสนขนานของโลก โดย
ใชทรงกระบอกตัดโลกระหวางละติจูด 84 องศาเหนือ และ 80 องศาใต ทํามุมกับแกน
โลก 90 องศารอบโลก แบงออกเปน 60 โซน โซนละ 6 องศา โซนที่ 1 อยูร ะหวาง 180
องศา กับ 174 องศาตะวันตก และมีลองจิจูด 177 องศาตะวันตก เปนเมริเดียนยาน
กลาง (Central Meridian) มีเลขกํากับ แตละโซนจาก 1 ถึง 60 โดยนับจากซายไป
ทางขวาระหวางละติจูด 84 องศาเหนือ 80 องศาใต แบงออกเปน 2 ชอง ชองละ 8
องศา ยกเวนชองสุดทายเปน 12 องศา โดยเริ่มนับตั้งแตละติจูด 80 องศาใต ขึ้นไปทาง
เหนือ ใหชองแรกเปนอักษร C และชองสุดทายเปนอักษร X (ยกเวน I และ O) จากการ
30
แบ งดั งกลาวจะเห็ นพื้นที่ในเขตลองจิจูด 180 องศาตะวันตก ถึง 180 องศา
ตะวั น ออก และละติ จู ด 80 องศาใต ถึ ง 84 องศาเหนื อ ถู ก แบ ง ออกเป น รู ป
สี่เหลี่ยมผืนผา 1,200 รูป แตละรูปมีขนาดกวางยาว 6 x 8 องศา จํานวน 1,140 รูป
และกวางยาว 6 x 12 องศา จํานวน 60 รูป รูปสี่เหลี่ยมนี้เรียกวา Grid Zone
Designation (GZD) ประเทศไทยมีพื้นที่อยู ระหวางละติจูด 5 องศา 30 ลิปดา เหนือ
ถึง 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ และลองจิจูด 97 องศา 30 ลิปดาตะวันออก ถึง 105
องศา 30 ลิปดา ตะวันออก ประเทศไทยจึงอยูใน GZD 47N 47P 47Q 48N 48P และ
48Q

ตารางพิกัดกริดแบบ UTM (ที่มา : http://tabs2.gerg.tamu.edu)


• มาตราส วน (Map scale) หมายถึ ง อัต ราสว นระหวา งระยะบนแผนที่กั บ ระยะห างใน
ภู มิ ป ระเทศจริ ง หรื อ คื อ ความสัม พันธร ะหวางระยะทางราบบนแผนที่กับ ระยะทางราบใน
ภูมิประเทศจริง ซึ่งเปนขอมูลที่บอกใหผูใชแผนที่ทราบวาแผนที่นั้นๆยอสวนมาจากของจริงใน
อัตราสวนเทาไร
มาตราสวนของแผนที่แบง ได 3 ชนิด คือ
- มาตราสวนเศษสวน เปนมาตราสวนที่สําคัญที่สุดและนิยมใชอยางกวางขวาง คือ การ
บอกเป นเศษส วนเขีย นในลัก ษณะ 1 : 50,000 หรือ 1 หรือ 1/50,000
50,000
หมายความวา 1 เซนติเมตรในแผนที่ เทากับระยะจริงบนพื้นผิวภูมิประเทศ 50,000
เซนติเมตร หรือ 500 เมตร หรือระยะทาง 1 นิ้วในแผนที่เทากับระยะจริงในภูมิประเทศ
50,000 นิ้ว เปนตน

31
- มาตราสวนคําพูด มาตราสวนในแผนที่อาจบอกเปนคําพูดได เชน มาตรสวน 1 นิ้ว ตอ
10 ไมล หมายความวา ระยะทางแผนที่ 1 นิ้ว เทากับระยะทางในภูมิประเทศจริง 10
ไมล 1 เซนติเมตรตอ 10 กิโลเมตรหมายถึง 1 เซนติเมตรในแผนที่เทากับ 10 กิโลเมตร
ในภูมิประเทศจริงเปนตน การบอกมาตราสวนแบบนี้ แมวาจะสะดวกเวลาอาน แตก็ไม
สะดวกในเวลาปรับใชกับการคํานวณ และไมสะดวกสําหรับประเทศตางๆ ที่มีหนวยวัด
ระยะทางไมเทากัน
- มาตราสวนรูปภาพหรือมาตราสวนเสนบรรทัด มาตราสวนแบบนี้แสดงเปนเสนตรง
เสนที่แสดงนั้นแบงเปนสวนๆ สวนละเทาๆกัน แตละสวนจะมีตัวเลขกํากับไว เพื่อบอก
ใหทราบวาระยะแตละสวนในแผนที่นั้นแทนระยะทางในภูมิประเทศเทาไร หนวยที่ใช
บอกระยะในมาตราสวนแบบเสนบรรทัดอาจใชในหนวย หลา เมตร ไมล และไมลทะเล
หรืออาจบอกทั้ง 4 หนวยในแผนที่ฉบับเดียวกันก็ได
การแสดงมาตราส วนบรรทัดแสดงดวยรู ป ภาพเสนตรงที่ มีสวนแบง ยอ ยซึ่ ง เมื่อ นํ า
ระยะทางบนแผนที่ มากางที่มาตราสวนนี้จะทราบระยะทางของภูมิประเทศจริงโดยใน
แต ล ะส วนจะมี ตัวเลขกํา กับ บอกระยะจริง บนภูมิป ระเทศไวเ ส นตรงที่เ ขีย นนี้แบ ง
ออกเปน 2 ตอน ตอนที่อยูขวามือของเสนหลักเรียกวา “ขีดสวนแบงเต็ม” และตอนที่
อยูทางซายของเสนหลักเรียกวา “ขีดสวนแบงยอย”

ตัวอยางมาตราสวนที่ใหมาทัง้ แบบเศษสวนและบรรทัด (ที่มา : greentrailsmaps.com)

ตัวอยางมาตราสวนขนาดตางๆ
และขนาดของแผนที่ที่จัดทําโดย
มาตราสวนขนาดตางๆกันนั้น จะเห็นไดวา
ยิ่งมาตราสวนมีจํานวนคานอย รายละเอียด
ที่ไดในแผนที่กจ็ ะยิ่งมากขึ้นไปตามลําดับ
(ที่มา : http://lewishistoricalsociety.com)

32
ฝกสมองลองทํา!!!
การคํานวณหามาตราสวนของแผนที่
สูตรในการคํานวณ = ระยะทางบนแผนที่ (Map Distance) MD
ระยะทางในภูมิประเทศจริง (Ground Distance) GD

ตัวอยางที่ 1 วัดระยะทางในภูมิประเทศได 2.8 กิโลเมตร วัดระยะในแผนที่ ได 5.6 เซนติเมตร อยากทราบวาแผน


ที่ฉบับนี้มาตราสวนเทาไร
ระยะในแผนที่ (MD) = 5.6 ซ.ม.
ระยะในภูมิประเทศ (GD) = 2.8 ก.ม.
MD
สูตร Scale =
GD
5.6
=
2.8 × 100,000
5.6
=
280,000
1
=
50,000
ตอบ แผนที่ฉบับนี้ มีมาตราสวน = 1 : 50,000
ตัวอยางที่ 2 จากขอ 1 จงหาระยะทางจริงในภูมิประเทศจากหมูบานถึงวัด ตามแนวระยะทางตรงในแผนที่
ระยะบนแผนที่ระหวางหมูบานกับวัด (MD)= 5.6 เซนติเมตร
แผนที่มีมาตราสวน = 1 : 50,000
ในแผนที่ 1 ซ.ม. ระยะจริง = 50,000 ซ.ม. หรือ 500 เมตร
ในแผนที่ 5.6 ซ.ม. ระยะจริง = 5.6×50,000 = 280,000 ซ.ม.
ตอบ ระยะทางจริงระหวางหมูบานกับวัด = 2.8 กิโลเมตร
(100 เซนติเมตร = 1 เมตร , 1,000 เมตร = 1 กิโลเมตร)
โจทยขอที่ 1
หมูบาน ก. หางจากหมูบ าน ข. 225 กิโลเมตร ในแผนที่ฉบับหนึ่งวัดระยะหางของหมูบ านทั้งสองได 15 เซนติเมตร
แผนที่ฉบับดังกลาวใชมาตราสวนขนาดเทาใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โจทยขอที่ 2
วัดระยะทางจากอําเภอเมืองไปอําเภอแหงหนึ่งได 128 เซนติเมตรในแผนที่มาตราสวน 1 : 25,000
ระยะหางระหวางอําเภอเมืองและตําบลดังกลาวในความเปนจริงคือเทาใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

33
เครื่องมือใหขอมูลชนิดอื่น
ลูกโลกจําลอง
ลูกโลกจําลอง คือ หุนจําลองของโลกสรางดวยวัสดุตางๆเชน กระดาษ ยาง พลาสติก เพื่อใชในการศึกษา
ภูมิศาสตรลูกโลกจําลองชวยใหมองเห็นภาพรวมของโลก ตางจากแผนที่ที่ใหขอมูลในเชิงพื้นราบ

รูปทรงของโลก
โล กมี รู ป ทร งก ลม อ ยู ห าง จา กด วง
อาทิตย 147,152 ล านกิ โลเมตร มีเ สน
ผ า น ศู น ย ก ล า ง ที่ เ ส น ศู น ย สู ต ร
ยาว 12,756 กิโลเมตรเสนผานศูนยกลาง
จ า ก ขั้ วโ ล ก เ ห นื อ ถึ ง ขั้ ว โ ล ก ใ ต ย า ว
12,714 กิโลเมตร จึงเห็นไดวาโลกไมเปน
ทรงกลมอยางแทจริง แตจะมีลักษณะแบน
เล็กนอยทางดานขั้วโลกเหนือและขั้วโลก
ใต บนผิว โลกจะมี อ งค ป ระกอบหลั ก 2
ส ว น คื อ ส ว นที่ เ ป น พื้ น น้ํ า ได แ ก
มหาสมุทรตางๆมีเนื้อที่รวมกัน 227 ลาน
ตารางกิโลเมตร
สวนที่เ ปนแผนดิน ไดแก ทวี ป และเกาะ
ต า งๆมี เ นื้ อ ที่ ร วมกั น 90 ล า นตาราง
กิโลเมตรโดยคิดสัดสวนพื้นน้ําเปน 2 ใน 3
สวนและเปนแผนดิน 1 ใน 3 สวน

องคประกอบของลูกโลกจําลอง
ลูกโลกจําลองประกอบดวย 2 สวน คือ
• ลูกโลกแสดงลักษณะผิวโลกสวนที่เปนพื้นน้ํา คือ น้ําทะเลเปนสวนใหญจะแสดงดวยสีน้ําเงิน หรือสีฟา
ตามแตระดับความลึกตื้น หรืออาจแสดงดวยสีน้ําเงินสีเดียวก็เปนได
• ลูกโลกแสดงลักษณะผิวโลกสวนที่เปนแผนดิน ไดแก ทวีปและเกาะขนาดตางกันอาจแสดงลักษณะอยาง
ใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชนแสดงลักษณะภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติเขตประเทศ หรือชื่อเมือง
หลักบนผิวโลก

34
รูปถายทางอากาศ (Aerial Photograph)
รูป ถายทางอากาศ (Aerial Photograph) คื อ ภาพที่ ได จากการถายจากอากาศยาน เชน เครื่ องบิน
เฮลิคอปเตอร ยานอวกาศ บอลลูน หรือแมแตวาวก็สามารถถายรูปถายทางอากาศได
รูปถายทางอากาศเปนการสํารวจขอมูลระยะไกลประเภทหนึ่ง เชนเดียวกับภาพจากดาวเทียม ผูริเริ่มคน
แรกคือ หลุยส ดาแกร ชาวฝรั่งเศส ในป พ.ศ.2382 นับเปนการสํารวจขอมูลระยะไกลอันดับแรก หนวยราชการที่
จัดทํารูปถายทางอากาศในประเทศไทย คือ กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม
ลักษณะของรูปถายทางอากาศ
รูปถ ายทางอากาศเปนภาพที่ถายดวยกลอ งและฟลมทั้งสีและขาวดํา กลอ งมีลัก ษณะคลายกับกลอ ง
ถายรู ป ทั่ วไปในอดีต แตมีขนาดใหญก วา เลนส ยาวกว า และใช ฟ ล ม ขนาดใหญ มี ขนาดประมาณ 24 X 24
เซนติเมตร หรือ 9 X 9 นิ้ว ปกติจะถายจากเครื่องบินที่มีการวางแผนการบินและมาตราสวนของแผนที่ไวแลว
กลองจะทํางานโดยอัตโนมัติ เมื่อถายภาพแลวจะนําฟลมไปลางและอัดภาพ ภาพที่ไดสามารถขยายไดหลายเทา
โดยไมสูญเสียรายละเอียดของขอมูล ภาพถายแตละใบจะครอบคลุมพื้นที่ซอนทับกันประมาณ รอยละ 60 เรียกวา
สวนเหลื่อม (Overlap) ตองนํามาวางเรียงตอกันกลายเปนภาพตอ (Mosaic)
รูปถายทางอากาศทุกภาพจะมีขอมูลเรื่องราวตางๆ ใหผูใชไดทราบตามขอบรอบ ๆ ภาพ ซึ่งจะเปนขอมูล
มาตรฐานสากล 16 รายการ ซึ่งแปลความหมายของขอมูลที่ขอบรูปถายทางอากาศได ดังนี้คือ

1 VV 15 – 07R 11 SQDN TAC 1 JAN 72 Z0500


6” 10000’ 175800 N 1023730 E
1. ลําดับภาพ (1) VIENTIANE LAOS SECRET
2. ชนิดของภาพถาย (VV)
3. ภารกิจที่ (15)
4. เที่ยวบินที่, ชนิดของภารกิจ (07R)
5. ฝูงบินที่ปฏิบัติ , หนวยสั่งการ (11 SQDN TAC)
6. วัน (1)
7. เดือน (JAN)
8. ป (72)
9. เวลาเหนือที่หมาย (Z0500)
10. ความยาวโฟกัส (6”)
11. ระยะสูง (10000’)
12. พิกัดภูมิศาสตร (17 58 00 N 102 37 30 E)
13. ใชสําหรับการถาย
15. ชื่อตําบล (VIENTIANE LAOS)
16. ชั้นความลับ (SECRET)

35
ชนิดของรูปถายทางอากาศ
รูปถายทางอากาศแบงประเภทตามลักษณะการถายได 2 ชนิด คือ
• ภาพถายแนวดิ่ง (Vertical Photograph) มีลักษณะคือ
- ภาพที่ถายใหแกนของกลองอยูในแนวดิ่งมากที่สุด ถาอยูในแนวดิ่งจริง ระนาบของภาพ
จะขนานกับระนาบของพื้นดิน
- ภาพถายชนิดนี้มักใชในงานการทําแผนที่ งานสํารวจปาไม
- มีการแปลภาพ เพื่อการวิจัย เนื่องจากภาพถายแนวดิ่งคลายกับพื้นที่จริง
- ทําภาพสามมิติ ภาพคูสามมิติโดยไมมีความบิดเบี้ยว
• ภาพถายแนวเฉียง (Oblique Photograph) เปนรูปถายทางอากาศที่ถายใหแกนกลองทํามุม
กับเสนดิ่งมี 2 ชนิด คือ
- ภาพถายแนวเฉียงต่ํา (Low – Oblique Photograph) การถายภาพชนิดนี้กําหนดให
แกนกล อ งทํ ามุม กั บ เสนดิ่ง โดยที่ไมป รากฏเสนขอบฟาในภาพถาย มีภาพพื้นดินที่
ปรากฏอยูเ ต็ม ภาพ แต เป นภาพเฉี ยงต่ํา เหมาะสําหรั บถ ายภาพรายละเอี ยดอาคาร
ระฟา แผนผังของยานอุตสาหกรรม งานกอสรางขนาดใหญ เปนตน
- ภาพถายแนวเฉียงสูง (High – Oblique Photograph) การถายภาพชนิดนี้แกนกลอง
ทํามุมกับแนวดิ่ง โดยมีมุมเอียงใหญจนกระทั่งเห็นเสนขอบฟาในภาพ จึงเห็นภาพรวม
พื้นที่ภูมิประเทศไปจนสุดสายตา

รูปถายทางอากาศแนวดิ่งของเมืองริชมอนด ประเทศสหรัฐอเมริกา (ที่มา : ichmond.ca)

36
รูปถายอากาศแนวเฉียงต่ําแสดงพื้นทีท่ ําการเพาะปลูกในประเทศจีน
(ที่มา : http://all-that-is-interesting.com)

รูปถายอากาศแนวเฉียงสูงของกรุงอัมสเตอรดัม ประเทศเนเธอรแลนด
(ที่มา : http://all-that-is-interesting.com)

37
หลักการแปลความหมายจากรูปถายทางอากาศ
การแปลความหมายรูปถายทางอากาศมีหลักการ ดังนี้
• ดูความแตกตางของโทนสีขาว – ดํา วัตถุตาง ๆ จะมีการสะทอนคลื่นแสงตางกัน เชน ดินแหงไมมี
ตนไมปกคลุมสะทอนมากจะมีสีขาว น้ําลึกใสสะทอนนอยจะมีสีดํา เปนตน
• ขนาด และ รูปราง เชน สนามฟุตบอลจะเปนสี่เหลี่ยมขนาดใหญ ถนน ทางรถไฟ เปนเสนยาว
รถยนตเปนสี่เหลี่ยมผืนผาเล็ก ๆ
• เนื้อภาพ และ รูปแบบ เชน ปาไมมีความสูงต่ําไมเทากัน จะเปนจุดเล็กบางใหญบาง
• ความสูง และ เงา หากมีเงาจะทําใหคํานวณความสูงได
• สภาพแวดลอม ตําแหนงความสัมพันธ เชน เรือกับทะเล สนามฟุตบอลกับโรงเรียน
• ขอมูลประกอบ เชน แผนที่การใชที่ดิน

กลองสามมิติ หรือ กลองสเตอริโอสโคป (Stereoscope)


การแปลความหมายรูปถายทางอากาศสามารถแปลไดดวยสายตา หรือใชอุปกรณชวยในการแปล คือ
กลองสามมิติ หรือ กลองสเตอริโอสโคป ซึ่งนิยมใชอยู 2 ชนิดคือ
• กลองแบบกระเปา (Pocket Stereoscope) เปนกลองที่สามารถพกพาติดตัวได ราคาไมแพง
แต มี ขอ จํ ากั ดเรื่ อ งกํ าลัง ขยาย และระยะระหวางจุดที่เ หมือ นกันในภาพถายคู กลอ งชนิดนี้
ประกอบดวยแวนขยายติดอยูบนกรอบโลหะ และมีขาตั้ง สําหรับกางออก หรือพับเก็บได
• กลองแบบกระจก (Mirror Stereoscope)เปนกลองที่ใชในหองปฏิบัติการขนาดใหญ หนัก
เสียหายงาย ราคาแพง ประกอบดวยเลนซมองภาพ และเลนซขยายภาพ 4 ชิ้น ติดกับกรอบ
โลหะ มีขาตั้งถอดพับเก็บได มีประสิทธิภาพสูง นอกจากดูภาพเปนสามมิติแลว สามารถหาคา
ความสูงของวัตถุในภาพได

(ซาย) กลองสามมิติแบบกระเปา (ขวา) กลองสามมิติแบบกระจก


(ที่มา : forestry-suppliers.com)

CHECK THIS OUT!!!


ลองไปชมรูปถายทางอากาศสวยๆและนาทึ่งไดที่
http://all-that-is-interesting.com/astounding-aerial-photography

38
เปรียบเทียบรูปถายทางอากาศกับแผนที่
• ขอไดเปรียบของรูปถายทางอากาศ
- เปนภาพภูมิประเทศจริงที่แผนที่ทําไมได
- นํามาใชไดรวดเร็วภายใน 2 – 3 ชั่วโมง แตแผนที่ใชเวลามากกวาอาจเปนเดือน
- สามารถมองเห็นพื้นที่ที่เราไมสามารถเขาไปดูได เชน ดานการทหาร
- รูปถายทางอากาศจะแสดงใหเห็นการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ซึ่งแผนที่ไมมี
• ขอเสียเปรียบของรูปถายทางอากาศ
- สิ่งที่ปรากฏในภาพถายไมมีสัญลักษณ หรือคําอธิบาย และจะมีสวนที่ถูกปดบัง เชน ตึก
ที่สรางในปาไม
- ตําแหนง ที่ตั้ง มาตราสวน เปนเพียงการประมาณเทานั้น
- ไมทราบความสูงต่ํา หากไมใชกลองสามมิติ ไมมีการบอกระดับความสูง
- ผูใชตองมีความชํานาญกวาผูใชแผนที่
ประโยชนของรูปถายทางอากาศ
• ใชทําแผนที่
• ติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
• ใชในการวางผังเมือง
• ใชสํารวจแหลงโบราณคดี
• ใชในกิจการการคมนาคมทางบก ทางน้ํา
• ใชในกิจการทหาร
• บอกตําแหนงที่ตั้งและขอบเขตของสิ่งที่ปรากฏอยูบนพื้นโลก

รูปถายทางอากาศแนวดิ่งของสวนสาธารณะเซ็นทรัลปารคในเมืองนิวยอรค ประเทศสหรัฐอเมริกา
(ที่มา : http://all-that-is-interesting.com)

39
ภาพจากดาวเทียม (Satellite Imagery)
ภาพจากดาวเทียม คือ ภาพระยะไกลของพื้นโลกที่บันทึกขอมูลภาพโดยดาวเทียมสํารวจทรัพยากร เปน
ขอมูลเชิงเลข (Digital) ที่ไดจากแมสีของแสง (แดง เขียว น้ําเงิน) ซึ่งแตละคลื่นสัญญาณจะรับการสะทอนคา
พลัง งานในชวงคลื่ นที่ แตกตางกัน ภาพจากดาวเที ยมเปนขอมู ลจากวิ ทยาการด านการสํารวจขอมู ลระยะไกล
(Remote Sensing) ประเภทหนึ่ง
ภาพจากดาวเทียมมีคุณสมบัติพิเศษหลายประการคือ สามารถบันทึกภาพไดครอบคลุมบริเวณกวางมี
ขนาดเกินกวา 100 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป ใหรายละเอียดภาพหลายระดับ และสามารถถายซ้ําบริเวณเดิม สามารถ
ติดตามการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เราสนใจศึกษาได ขอมูลที่ไดเปนขอมูลเชิงเลข นําไปใชรวมกับขอมูลระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS)
ปจ จุบั นข อ มู ลจากดาวเทียมสํ ารวจทรัพ ยากรใหขอ มูล ที่มีความละเอียดภาพตั้ง แตความละเอียดต่ํา
ประมาณ 1 กิโ ลเมตรถึ งความละเอียดสู งถึ ง 0.61 เมตร การเลือ กใชขอมู ลจากดาวเทียมชนิดใด ขึ้ นอยูกับ
วัต ถุ ป ระสงคข องการนํ า ไปใช แ ต ล ะด าน ข อ มู ล จากดาวเที ย มเป น ข อ มู ล ที่ บั นทึ ก ค า การสะท อ นพลั ง งาน
แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Energy)

กระบวนการภาพจากดาวเทียม ประกอบดวย
• คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากแหลงพลังงาน คือ ดวงอาทิตย เคลื่อนที่ผานชั้นบรรยากาศสูพื้นผิวโลก
• เกิดปฏิสัมพันธของพลังงานกับวัตถุเปาหมายบนพื้นผิวโลก
• พลังงานจากพื้นผิวสะทอนเขาสูอุปกรณบันทึกขอมูล (Sensor) ที่ติดในตัวยาน
• อุปกรณจากตัวยานถายทอดพลังงานตอใหสถานีรับสัญญาณภาคพื้นดิน
ผลิตขอมูลทั้งที่เปนภาพ และเปนขอมูลเชิงเลข (Digital)
• ผูเชี่ยวชาญตีความ และวิเคราะหขอมูลใหไดรายละเอียดขอมูลของวัตถุเปาหมาย
จากนั้นจึงนําขอมูลไปประยุกตใชในดานตางๆ

40
ภาพจากดาวเทียมที่ยังไมไดแปลผล แสดงภาพออกมาเปนขอมูลเชิงเลขที่แทนคาดวยสี
(ที่มา : geo-airbusds.com)
ดาวเทียมสํารวจทรัพยากร
ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรเปนดาวเทียมที่ทําหนาที่บันทึกภาพจากดาวเทียม ดาวเทียมสํารวจทรัพยากร
ที่ใชอยูในปจจุบัน ไดแก ดาวเทียมแลนดแซท 5 (LANDSAT 5) ดาวเทียมสปอต (SPOT) ดาวเทียมเรดารแซท
(RADASAT) ดาวเทียมไอโคโนส (IKONOS) ดาวเที ยมควิ ก เบิ รด (QUICKBIRD) ดาวเทียมเทอรรา (TERRA)
ดาวเทียมแลนดแซท (LANDSAT 7) ดาวเทียมไออารเอส -1ซี (IRS – 1C) ดาวเทียมโนอา (NOAA)
การสํารวจทรัพยากรดวยดาวเทียมในประเทศไทย
พ.ศ. 2524 ประเทศไทยไดจัดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสํารวจภาคพื้นดินเปนแหงแรก ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งอยูในเขตลาดกระบัง มีรัศมีขอบขายการรับสัญญาณประมาณ 2,800 กิโลเมตร ซึ่ง
ครอบคลุม 17 ประเทศ คื อ ไทย อิ นโดนี เ ซีย ฟลิป ปนส สิง คโปร มาเลเซีย พมา กั ม พูชา เวีย ดนาม ลาว
บังกลาเทศ ภูฏาน เนปาล อินเดีย บรูไน ศรีลังกา ไตหวัน จีน และ ฮองกง สถานีรับนี้สามารถรับสัญญาณจาก
ดาวเทียมแลนดแซท 3 (LANDSAT 3) ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ไดแก ดาวเทียมจีเอมเอส (GMS) และดาวเทียม
โนอา (NOAA)
พ.ศ. 2530 สถานีรับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดินไดรับการพัฒนาปรับปรุงใหสามารถรับสัญญาณจาก
ดาวเทียมรายละเอียดสูงคือระบบTM (Thematic Mapper) ของดาวเทียมแลนดแซท 5 (LANDSAT 5) ซึ่งมี
รายละเอียด 30 เมตร และระบบ HRV ของดาวเทียมสปอต (SPOT) มีรายละเอียดภาพ 20 เมตรในภาพสี และ10
เมตร ในภาพขาวดํา และยังรับสัญญาณดาวเทียมมอส1 (MOS1) ของญี่ปุนที่มีรายละเอียด 50 เมตร ได
ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรประเทศไทย
ประเทศไทยมีดาวเทียมสํารวจทรัพยากรของตนเอง ดวงแรกคือ ดาวเทียมธีออส (THEOS : Thailand
Earth Observation Satellite) หรือ ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote)

41
เดิมประเทศไทยมีดาวเทียมทีส่ ามารถสํารวจทรัพยากรไดแลว คือ ดาวเทียมไทยพัฒ แตมหี นาทีห่ ลักเปน
ดาวเทียมสือ่ สารไมไดสํารวจทรัพยากรโดยเฉพาะ
ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) วงโคจร สัมพันธกับดวงอาทิตย
ความสูงของวงโคจร 822 กิโลเมตร
น้ําหนัก 750 กิโลกรัม
อายุการใชงาน 5 ป
ระยะเวลาการสราง 3 ป
โคจรซ้ําบริเวณเดิม 26 วัน
ที่มา :www.rta.mi.th/data/article/2007/THEOS.pdf
ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) จะถายภาพเส นศูนยสูตรเวลาประมาณ 10.00 น. ตามเวลาทองถิ่น
ใชเวลาโคจรรอบโลกประมาณ 101.14 นาที โคจรรอบโลกทั้งสิ้น 369 วงโคจร ระยะระหวางวงโคจรแตละวง 105
กิโลเมตร ใชสํารวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยโดยความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศส
ดํ า เนิ น งานโดย สํ า นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ (สทอภ. หรื อ GISTDA)
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ บริษัท อี เอ ดี เอสแอสเตรียม (EADS Astrium) ประเทศฝรั่งเศส
ดวยงบประมาณ 6,000 ลานบาท เปนดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อวา ไทยโชต และใหใชชื่อภาษาอังกฤษ
วา Thaichote ตั้งแตวันที่ 10 ธันวาคม 2554 โดยมีความหมายวา "ดาวเทียมที่ทําใหประเทศไทยรุงเรือง" ใช
สํารวจทรัพยากร เชน การสํารวจหาชนิดพืชผล, การประเมินผลผลิต, หาพื้นที่ปาไม, หาพื้นที่ปาถูกไฟไหม, หา
พื้นที่ทํานากุงและประมงชายฝง, หาคราบน้ํามันในทะเล, หาแหลงน้ํา, แหลงชุมชน, หาพื้นที่ปลูกฝน, การวางผัง
เมือง, การสรางถนน , วางแผนจราจร, ใชทําแผนที่, หาบริเวณเกิดอุทกภัย, หาบริเวณดินถลม, หาพื้นที่ประสบภัย
จากคลื่นยักษสึนามิ
ลักษณะเดนของภาพจากดาวเทียม
• ภาพจากดาวเทียมแสดงขอมูลพื้นที่ บนผิวโลกครอบคลุมบริเวณกวาง
• ขอมูลที่ไดสงไปยังสถานีรับภาคพื้นดินไดทันที ทําใหมีขอมูลที่ทันสมัยเปนปจจุบันที่สุด
• บันทึกซ้ําบริเวณเดิมในเวลาที่แนนอน ทําใหสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ได
• ประหยัดงบประมาณ คาใชจายถูกกวาการสํารวจภาคพื้นดิน และการบินถายรูปถายทางอากาศ
• มีความละเอียดหลายระดับ ตั้งแตระดับเซนติเมตรถึงกิโลเมตร สามารถเลือกใชงานในพื้นที่
ตางๆ ไดตามความเหมาะสม
• ภาพจากดาวเทียมบันทึกขอมูลเชิงเลข (Digital) มีระดับความเขมสีเทาหลายระดับ ไมสูญเสีย
รายละเอียดของภาพ สามารถนํ าข อ มู ล ไปผลิ ตเป นภาพขาวดํ า และภาพสี ผ สม หรื อ นําไป
วิเคราะหดวยคอมพิวเตอร ตลอดจนนําไปใชในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
• ขอมูลที่ไดมีลักษณะไรพรมแดน ดาวเทียมโคจรในอวกาศไมมีขอจํากั ดทางภูมิประเทศ หรือ
ขอบเขตการปกครองสามารถบันทึ กข อ มูล ภาพได ทุก ตารางนิ้ วบนพื้ นโลก เอื้อ ประโยชนใน
กิจกรรมเพื่อความมั่นคงและพื้นที่เขาถึงยาก เชน ขั้วโลก
42
ภาพจากดาวเทียมที่ผานการแปลผลแลว แสดงใหเห็นทวีปยุโรปในยามค่ําคืน
ขอมูลภาพจากดาวเทียมใหขอมูลทีล่ ะเอียด ทันสมัย สามารถประยุกตใชงานไดหลากหลาย
(ที่มา : http://resources2.news.com.au)
การวิเคราะหขอมูลภาพจากดาวเทียม
การวิเ คราะห ขอ มู ล ภาพจากดาวเทียม ทํา ได 2 วิ ธี คื อ วิ เ คราะห ดวยสายตา และวิ เ คราะห ดว ย
คอมพิวเตอร ซึ่งมีองคประกอบหลักในการวิเคราะห ดังนี้
• ความเขมของสี และแสง (Tone & Color) ความเขมของสีขึ้นอยูกับคาการสะทอนของวัตถุ
ในแตละชวงคลื่น การทํามุมกับแสง และการเรียงตัวของวัตถุ เชน ในชวงคลื่นที่ตามองเห็น ปา
ทึบจะมีสีเขม ปาโปรงจะมีสีจาง น้ําลึกจะมีสีเขม สวนน้ําตื้นจะมีสีจาง เปนตน
• ขนาด (Size) ขนาดของวัตถุขึ้นอยูกับความละเอียดของภาพและมาตราสวนของภาพภาพอาง
เก็บน้ํายอมมีขนาดใหญกวาหนองน้ํา
• รูปราง (Shape) รูปรางของวัตถุที่มนุษยสรางขึ้นสวนใหญจะมีความสม่ําเสมอเชนคลองขุดจะมี
ลักษณะเปนเสนตรงสวนวัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจะมีลักษณะไมสม่ําเสมอ เชน แมน้ําจะมี
รูปรางคดเคี้ยว
• เนื้อภาพ (Texture) ความหยาบและความละเอียดของภาพ เชน ปาปลูกที่มีระดับความสูงของ
ตนไม เ ทา กันเนื้ อ ภาพจะมีความราบเรีย บสว นปา ธรรมชาติ ที่มีร ะดับ ความสูง ของตน ไมไ ม
สม่ําเสมอกันทําใหเนื้อภาพหยาบ
• รูปแบบ (Pattern) วัตถุแตละชนิดมีรูปแบบเฉพาะตัว เชน บานเปนสี่เหลี่ยม นาขาวมีรูปแบบ
เหมือนตาราง
• ความสูงและเงา (Height & Shadow) วัตถุที่มีความสูง เชนหนาผา ภูเ ขา กอ นเมฆเมื่อ
แสงอาทิตยกระทบวัตถุเหลานี้จะเกิดเงาขึ้นทําใหเราสามารถจําแนกวัตถุไดงายขึ้น

43
• ที่ตั้ง (Site) วัตถุแตละชนิดจะมีที่ตั้งเฉพาะเชนปาชายเลนจะพบบริเวณชายฝงทะเลเปนตน
• ความเกี่ยวพัน (Association) วัตถุบางชนิดจะมีความเกี่ยวพันกับสิ่งแวดลอมเชนพบไรเลื่อน
ลอยอยูในปาไมบนภูเขาหรือบริเวณตนไมที่เปนกลุมๆจะเปนที่ตั้งของหมูบานดวย
การประยุกตใชภาพจากดาวเทียม
• ดานปาไม จากการศึกษาพื้นที่ปาไมทั่วประเทศพบวา ในป 2516 มีพื้นที่ปาไมรอยละ 43.20
ของพื้นที่ประเทศ ป 2532 เหลือเพียงรอยละ 27.95 สามารถใชภาพจากดาวเทียมในการศึกษา
ติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไม โดยเฉพาะปาตนน้ําลําธาร การจําแนกชนิดของปา (Forest
Types) เชน ปาชายเลน (Mangrove Forest) สํารวจหาพื้นที่ปาอุดมสมบูรณ และปาเสื่อมโทรม
ทั่วประเทศ หาพื้นที่ไฟปา หาพื้นที่เหมาะสําหรับการปลูกสรางสวนปาทดแทนบริเวณที่ถูกบุกรุก
• ดานการเกษตร สวนใหญใชศึกษาหาพื้นที่เพาะปลูกของพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ เชน ขาวนาป ขาว
นาปรัง สวนยางพารา สับปะรด ออย และขาวโพด การตรวจสอบสภาพของพืชที่ปลูก การ
เปลี่ยนแปลงบริเวณเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจตลอดจนการกําหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตร
• ดานการใชที่ดิน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินวาเปนแบบใด เชน เกษตรกรรม
เหมืองแร ที่อยูอาศัย สํารวจและวางแผนการใชที่ดิน การจําแนกความเหมาะสมของดิน (Land
Suitability) ตลอดจนการจั ด ทํ า แผนที่ แ สดงขอบเขตการใช ที่ ดิ น แต ล ะประเภทซึ่ ง มี ก าร
เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตาม ฤดูกาลและสภาพเศรษฐกิจสังคมของประเทศ
• ดานธรณีวิทยาและธรณีสัณฐาน การจัดทําแผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณีวิทยา ตรวจสอบภาวะ
ธรรมชาติของดิน หิน และบริเวณเกิดแผนดินไหว ธรณีโครงสรางของประเทศไทยซึ่งเปนขอมูล
พื้นฐานสนับสนุน ในการพัฒนาประเทศดานอื่น เชน การหาแหลงแร แหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ
แหลงน้ําบาดาล การสรางเขื่อน เปนตน
• ดานอุทกวิทยา ศึกษาแหลงน้ําทั้งบนบก ในทะเล น้ําบนดินและน้ําใตดิน รวมถึงแหลง น้ํา และ
ปริ ม าณ คุ ณภาพการไหล การหมุนเวียน ตลอดจนองคป ระกอบอื่นๆ ที่สัม พันธกับ น้ํา การ
ติดตามประเมินผลการบํารุงรักษาระบบและการจัดสรรน้ําของโครงการชลประทานตางๆ สํารวจ
บริเวณที่ราบที่จะเกิดน้ําทวม และสภาวะน้ําทวม
• ดานสมุทรศาสตร ศึกษาเกี่ยวกับการไหลเวียนของน้ําทะเล ตะกอนในทะเลและคุณภาพของน้ํา
บริเวณชายฝง เชน การแพรกระจายของตะกอนแขวนลอยที่เกิดจากกิจกรรมเหมืองแรในทะเล
และศึกษาการแพรกระจายของตะกอนบริเวณปากแมน้ําตาง ๆ ของอาวไทย และการพังทลาย
ของชายฝงทะเล
• ดานภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเทศไทยมักประสบปญหาเกี่ยวกับอุบัติภัย เชน อุทกภัยและ
วาตภัยเสมอ ภาพจากดาวเทียมชวยในการติดตามและประเมินผลเสียหายเบื้อ งตนเกี่ยวกับ
อุบัติภัยตางๆ เชน อุทกภัยที่ จ.นครศรีธรรมราช ป 2531 วาตภัยที่ จ.ชุมพร ป 2532 สึนามิ 26
ธันวาคม 2546 และพายุไซโคลนนากีส พฤษภาคม 2551 ทําใหทราบขอบเขตบริเวณที่เกิด
อุบัติภัยไดอยางรวดเร็ว ซึ่งสามารถใชในการวางแผนการชวยเหลือและฟนฟูตอไป

44
• ดานการวางผังเมือง ใชในการวางผังเมืองของชุมชนที่อยูในเมืองใหญ และหมูบานที่อยูใกลพนื้ ที่
ปาไม การวางแผนสรางสะพาน แหลงชุมชนแออัด การพัฒนาเมืองเกา การกอสรางเมืองใหม
และการเคลื่อนยายเมืองที่มีความแออัดไปอยูในที่แหงใหม ตลอดจนการออกแบบถนนหนทาง
ไฟฟา ประปา และระบบสาธารณูปโภคตางๆ ใหเหมาะสม
• ดา นการประมง ใช ในการสํารวจหาพื้นที่เ พาะเลี้ยงสัตวน้ําประเภทตางๆ รวมถึง หาแหลง
ปะการังใตทะเลดวย
• ดา นสิ่ งแวดล อม ใช ในการตรวจสอบน้ําเสียที่ไหลลงสูแมน้ํา ลําคลอง ตรวจสอบบริเ วณที่
ครอบคลุมดวยควันพิษ ตรวจดูผลเสียที่เกิดจากสิ่งแวดลอมเปนพิษ

ภาพจากดาวเทียมหลากหลายรูปแบบ ขวามือจะเปนที่แปลผลแลว ซายมือจะอยูในรูปขอมูลที่แสดงผลเปนสี


(ที่มา : geo-airbusds.com, uflib.ufl.edu, techcrunch.com)

45
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
(Geographic Information System : GIS)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) หมายถึงกระบวนการทํางาน
เกี่ยวกับขอมูลในเชิงพื้นที่ดวยระบบคอมพิวเตอร ใชกําหนดขอมูลและสารสนเทศที่มีความสัมพันธกับตําแหนงใน
เชิงพื้นที่ เชนที่อยู บานเลขที่ สัมพันธกับตําแหนงในแผนที่ ตําแหนง ขอมูล พิกัดภูมิศาสตร และแผนที่ใน GIS
เปนระบบขอมูลสารสนเทศในรูปตารางขอมูลและฐานขอมูลมีสวนสัมพันธกับขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่ง
สามารถนํามาวิเคราะหความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธกับเวลาได เชนการแพรขยายของโรคระบาด
การยายถิ่นฐาน การบุกรุกทําลายการเปลี่ยนแปลงของการใชพื้นที่ ฯลฯ

องคประกอบของ GIS (Components of GIS) แบงออกเปน5 สวนใหญๆ คือ


• อุปกรณคอมพิวเตอร (Hardware) เพื่อใชในการนําเขาขอมูล ประมวลผล แสดงผลและผลิต
ผลลัพธของการทํางาน
• โปรแกรม (Software) คือ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป สําหรับนําเขาและปรับแตงขอมูล จัดการระบบ
ฐานขอมูล เรียกคน วิเคราะห และจําลองภาพ
• ขั้นตอนการทํางาน (Methods) คือ วิธีการนําเอาระบบ GIS ไปใชงานโดยแตละองคกรยอมมี
ความแตกตางกันผูปฏิบัติงานตองเลือกวิธีการในการจัดการกับปญหาใหเหมาะสมที่สุดสําหรับ
หนวยงานนั้นๆ
• ขอมูล (Data) คือ ขอมูลที่จะใชในระบบ GIS และถูกจัดเก็บในรูปแบบของฐานขอมูลโดยไดรับ
การดูแลจากระบบจัดการฐานขอมูล ขอมูลจะเปนองคประกอบที่สําคัญรองลงมาจากบุคลากร
ขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ประกอบดวยขอมูล 2 รูปแบบ คือ

46
- ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) เปนขอมูลที่เกี่ยวของกับตําแหนงที่ตั้งของขอมูลตางๆ บน
พื้นโลกซึ่งขอมูลเชิงพื้นที่สามารถแสดงสัญลักษณได 3 รูปแบบ คือ
o จุด (Point) จะใชแสดงขอมูลที่เปนลักษณะของตําแหนงที่ตั้งไดแก ที่ตั้งโรงเรียน
ในสังกัด กทม. , ที่ตั้งศูนยบริการสาธารณสุข ,ที่ตั้งสํานักงานเขต เปนตน
o เสน (Line) จะใชแสดงขอมูลที่เปนลักษณะของเสนเชน ถนน, แมน้ําเปนตน
o พื้นที่ (Area or Polygon) จะใชแสดงขอมูลที่เปนลักษณะของพื้นที่เชน พื้นที่
ขอบเขตการปกครอง, พื้นที่อาคาร เปนตน
- ขอมูลที่ไมอยูในเชิงพื้นที่ (Non- Spatial data) เปนขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute) ซึ่งจะ
อธิบายถึงคุณลักษณะตางๆ ในพื้นที่ นั้นๆ ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือหลายๆ ชวงเวลา
เชนขอมูลจํานวนประชากรในเขตตางๆขอมูลจํานวนนักเรียนแตละชั้นของโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา เปนตน
• บุคลากร (People) คือ ผูปฏิบัติงานซึ่งเกี่ยวของกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เชนผูนําเขา
ขอมูล ผูควบคุมดูแลระบบ ผูนําเสนอขอมูล เปนตน
GIS เป นโปรแกรมเก็ บ รวบรวม
ประมวลและแสดงผลสารสนเทศ
ทางภูมิศาสตร ซึ่งนําเขาขอมูลทาง
ภู มิ ศ าสตร เ ทคนิ ค กายภาพ และ
มนุษยห ลายประการทับซอ นกันไว
อาทิ เชน ขอมูล แผนที่ รูปถายทาง
อากาศ ภาพจากดาวเที ย ม ข อ มู ล
ประชากร การใชที่ดิน ภู มิประเทศ
การจัดโซนนิ่ง การจัดผังเมือง การ
แบงเขตเมือง เศรษฐกิจ และอาชีพ
ของประชากร ฯลฯ

47
ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
(Global Positioning System : GPS)
ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เปนระบบการคนหาตําแหนงและนําทางดวยดาวเทียม สามารถใชบอก
ตําแหนงและทิศทางโดยอัตโนมัติในระดับความสูง 10 – 20 เมตร สามารถใชหาตําแหนงไดตลอด 24 ชั่วโมง ทุก
พื้นที่บ นโลกใช เ วลาน อ ย สะดวกรวดเร็ วถู กตอ ง แตมีขอ เสีย คือ ถาพื้นที่เ ปนปาทึบ หรือ อาคารทึบสัญ ญาณ
ดาวเทียมเขาไมถึง และเครื่องมือมีราคาแพง ลาสมัยเร็ว
สวนประกอบของ GPS ประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ
• สวนอวกาศ มีดาวเทียมหลัก 3 คาย คือ อเมริกา รัสเซีย ยุโรป
• สวนควบคุม มีสถานีภาคพื้นดิน สถานีใหญอยูที่สหรัฐฯและศูนยควบคุมยอย 5 จุด ทั่วโลก
• สวนผูใชงาน
ดาวเทียม GPS ประกอบดวยดาวเทียม 24 ดวง 6 รอบวงโคจร วงละ 4 ดวง แตละดวงโคจรรอบโลก 12
ชั่วโมง GPS ทํางานโดยการรับสัญญาณจากดาวเทียมแตละดวง เปนขอมูลระบุตําแหนงและเวลาขณะสงสัญญาณ
เครื่องรับสัญญาณ จะประมวลผลความแตกตางของเวลาในการรับสัญญาณเทียบกับเวลาจริง ณ ปจจุบัน เพื่อ
แปลงเปนระยะทางระหวางเครื่อ งรั บสั ญญาณกับดาวเทียมแตล ะดวง ถาตองการใหเกิดความแมนยํา ตอ งมี
ดาวเทียมอยางนอย 4 ดวง เพื่อบอกตําแหนงบนผิวโลก ซึ่งระยะหางจากดาวเทียมทั้ง 3 กับเครื่อง GPS จะระบุ
ตําแหนงบนผิวโลกได หากพื้นโลกอยูในแนวระนาบ แตพื้นโลกมีความโคงดังนั้นดาวเทียมดวงที่ 4 จะสามารถ
คํานวณเรื่องความสูงเพื่อทําใหไดตําแหนงที่ถูกตองมากขึ้น

ระบบการทํางานของ GPS
(ที่มา : geneko.rs)

48
การใชงาน GPS
• กําหนดพิกัดของสถานที่ตาง ๆ เชน การทําแผนที่ งานสํารวจ การนําทาง
• กําหนดจุดเพื่อบรรเทาสาธารณะภัย เชน เสื้อกั๊กชูชีพที่มีเครื่องสงสัญญาณจีพีเอส
• วัดความเร็ว ระยะทาง บันทึกเสนทาง เครื่องบิน/รถบังคับ
• ใชประโยชนทางทหาร ตามติดหนวยทหาร และพลรบในสนามรบ
• วางแผนการใชที่ดิน สํารวจ รังวัดที่ดินตามสภาพจริงบนพื้นโลก
• การในกระบวนการยุติธรรม เชน การติดตามบุคคล การติดตามการคายาเสพติด ติดตามบุคคล
การปองกันการโจรกรรมและติดตามทรัพยสิน
• การกี ฬา เชน การฝก ฝนเพื่ อ วัดความเร็ว ระยะทาง แคลอรี ที่ เ ผาผลาญ ใช ในสนามกอลฟ
คํานวณระยะจากจุดที่อ ยูถึง หลุ ม การสั นทนาการ เช น กํ าหนดจุ ดตกปลา หาระยะเวลาที่
เหมาะสมในการตกปลา

QUIZ : คําถามชวนคิด ???


GPS เปนเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
ภู มิ ศ า ส ต ร ที่ ใ ก ล ตั ว ข อ ง เ ร า ใ น
ชี วิ ต ประจํ า วั น มากที่ สุ ด อย า งหนึ่ ง
แอปพลิ เ คชั่น มากมายใช ป ระโยชน
จากเทคโนโลยี ช นิด นี้ ไม เ ฉพาะแต
โปรแกรมหาเส น ทาง หรื อ นํ า ทาง
เทานั้น นักเรียนพอจะนึกออกบางไหม
วาเราพบการใช งาน GPS ฝงลึกอยู
กับแอปพลิเคชั่นหรือโปรแกรมใดบาง
ในชีวิตประจําวันปจจุบันของเรา และ
หนาที่ของ GPS ในแอปหรือโปรแกรม
เหลานั้นคืออะไร?

49
สารสนเทศทางภูมิศาสตรที่ใหขอมูลอื่นๆ
ขอมูลสถิติ
ขอมูลสถิติ เปนขอเท็จจริงสําหรับใชเปนหลักฐานในการอางอิงขอมูลที่รวบรวมไว มีทั้งที่เปนขอความและ
ตัวเลข เชน ตารางสถิติ และกราฟ
• ตารางสถิติ คือ แผนภูมิที่แสดงขอมูลทางภูมิศาสตรไวในรูปของตาราง เชน สถิติเนื้อที่ของทวีป
หรือประเทศ สถิติประชากร สถิติอุณหภูมิห รือปริมาณฝน เชนตารางแสดงจํานวนแรงงานป
พ.ศ. 2558 เปนตน
• กราฟ คือ แผนภูมิที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงการเปลี่ยนคาของตัวแปรหนึ่งเปรียบเทียบกับคาของตัว
แปรอื่น เปนเครื่อ งมือสําคัญ อยางหนึ่งในการศึกษาภูมิศาสตร เพราะจะชวยใหการวิเคราะห
ความรวดเร็ว การเปรียบเทียบ ทําไดสะดวก และเขาใจไดงาย

ตารางแสดงจํานวนประชากร (ที่มา : geoolympiad.org)

กราฟแสดงจํานวนประชากรทาบทับลงบนแผนทีโ่ ลก (ที่มา : geoolympiad.org)

50
กราฟประชากรแสดงตามสัดสวนอายุ และแยกเพศ (ที่มา : advisorperspectives.com)

กราฟเสนและกราฟแทงแสดงปริมาณน้ําฝนและอุณหภูมิเฉลี่ยแตละเดือนของประเทศสมมติแหงหนึ่ง
(ที่มา : bbc.co.uk)

51
แผนภาพ
แผนภาพ (Diagram) คื อ รู ป ที่ เ ขี ยนขึ้นเพื่อ ประกอบคําอธิบ ายปรากฏการณตางๆ ที่เ กี่ยวขอ งกับ
การศึกษาวิชาภูมิศาสตร เชน วัฏจักรของน้ํา การเกิดทะเลสาบรูปแอก เปนตน การใชแผนภาพอธิบายจะทําให
เขาใจเรื่องราวเหลานั้นไดงายขึ้น

แผนภาพแสดงองคประกอบของดินชนิดตางๆ (ที่มา : soilsensor.com)

วัฏจักรของหิน (ที่มา : http://media.web.britannica.com)

52
เครื่องมือประเภทอุปกรณ
THERMOMETER เทอรโมมิเตอร
ใชวัดระดับอุณหภูมิ

BAROMETER บารอมิเตอร
ใชวัดระดับความกดอากาศ

PSYCHROMETER ไซโครมิเตอร
ใชวัดระดับความชื้น แบบกระเปาะเปยก-แหง

HYGROMETHER ไฮโกรมิเตอร
ใชวัดระดับความชื้น

ANEMOMETHER แอนิมอมิเตอร
ใชวัดระดับความเร็วลม

WINDVANE ศรลม
ใชวัดทิศทางลม

53
RAINGAUGE เรนเกจ
ใชวัดระดับน้ําฝน

COMPASS เข็มทิศ
ใชบอกทิศ

TELESCOPE กลองวัดระดับ
ใชวัดระดับแนวระดับความสูงจากพื้นดิน

STEREOSCOPE กลองสามมิติ
ใชวัดดูภาพสามมิติจากรูปถายทางอากาศ

PLANIMETER แพลนิมิเตอร
ใชวัดระยะทางในแผนที่

54

You might also like