You are on page 1of 96

วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงานช่ าง)

รหัสวิชา ง 22102
สอนโดย ครู วรวิทย์ ศรีสุพล

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


อ ัตราสว่ นคะแนนระหว่างภาค : ปลาย
ภาค = 80 : 20
รายละเอียดการเก็บคะแนน

1. คะแนนระหว่างเรี ยน = 60 คะแนน
2. คะแนนสอบกลางภาค = 20 คะแนน
3. คะแนนสอบปลายภาค = 20 คะแนน
รวม = 100 คะแนน

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ตัวชี้วดั
ง 1.1 ตัวชี้วดั ที่ 2 ใช้ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
ง 2.1 ตัวชี้วดั ที่ 2 สร้างสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อวิธีการตามกระบวนการ
เทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่ าง 3 มิติ
หรื อภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อถ่ายทอด
ความคิดของวิธีการเป็ นแบบจำลองความคิด และการรายงานผล เพื่อนำเสนอวิธี
การ
ตัวชี้วดั ที่ 3.มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ
ในงานที่ผลิตเอง
ง 4.1 ตัวชี้วดั ที่ 3.มีทกั ษะพื้นฐานที่จำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพที่
สนใจ

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


คุณค่ าของงานช่ าง
งานช่าง เป็ นงานวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ โดยการนำเอา
ทฤษฎีหรื อหลักการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้งานให้เกิด
ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน ตั้งแต่ตื่นเช้ายันเข้านอน เช่น
ไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ ถนน ยานพาหนะ ที่อยูอ่ าศัย เครื่ อง
มือทางการแพทย์ เครื่ องมือช่าง เครื่ องการเกษตร ฯลฯ

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ผลงานช่ าง

ถนนมิตรภาพ ตึกใบหยก

สะพานพระราม 8
วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ผลงานช่ าง

สะพานพระราม 9

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ประโยชน์ ของการเรียนงานช่ าง

1. เป็ นพื้นฐานในการเรี ยนต่อระดับสูง


2. เป็ นความรู ้ในการนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
3. นำไปใช้ในชีวติ ประวัน

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


• การเขียนแบบ เป็ นภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อความหมายในทางความคิด
ในรูปแบบของสัญลักษณ์ เส้น รูปทรง พื้นผิว และถือเป็ นหัวใจของทุกช่าง

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ประเภทของงานช่ าง
1. การเขียนแบบทางวิศวกรรม (Engineering Drawing) การเขียนแบบ
นำไปใช้ใน งานอุตสาหกรรมทางเครื่ องจักรกล สามารถแยกได้ดงั นี้ คือ
    1.1 การเขียนแบบเครื่ องกล(Machines Tool Drawing)
    1.2 การเขียนแบบงานไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า (Electrical Electronic Drawing)
    1.3 การเขียนแบบเครื่ องยนต์(Automotive Drawing)
    1.4 การเขียนแบบงานแผนที่และช่างสำรวจ(Map & Survey Drawing)
    1.5 การเขียนแบบช่างกลและแผ่นโลหะ(Metal & Sheet Metal -Drawing)

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


2. การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) เป็ นการเขียนแบบ
ในงานก่อสร้าง ซึ่งแยกงานเขียนได้ดงั นี้ คือ
    2.1 การเขียนแบบโครงสร้าง(Structural Drawing)
    2.2 การเขียนแบบสัดส่ วนของรู ปต่างๆ(Shape & Proportion Drawing)
    2.3 การเขียนรู ปตัด(Section Drawing)
    2.4 การเขียนภาพร่ าง(Sketching Drawing)

ที่มา ; http://www.noahhome.blocspot.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


3. การเขียนแบบตกแต่ งภายใน (Interior Design Drawing) เป็ นการเขียนแบบ
ที่ใช้ ในการออกแบบตกแต่งภายใน ซึ่งแยกงานเขียนได้ดงั นี้ คือ
    3.1 การเขียนแบบเครื่ องเรื อน (Furniture Drawing)
    3.2 การเขียนแบบทัศนียภาพ (Perspective Drawing)

ที่มา ; http://www.tumcivil.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


4. การเขียนแบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) เป็ นการเขียนแบบที่เกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์ จำแนกได้ดงั นี้ คือ
    4.1 การเขียนภาพฉาย (Orthographic Drawing)
    4.2 การเขียนภาพสามมิติ (Three Dimension Drawing)

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


1.โต๊ ะเขียนแบบ (TABLE DRAWING) ต้องมีพ้ืนโต๊ะที่เรี ยบ และ
ขอบโต๊ะต้องได้ฉาก

ที่มา ; http://www.furnitures-village.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


2. ไม้ ที (T-SQUARE) ใช้ ในการขีดตีเส้ นระดับ (180) หรื อประกอบกับไม้
เซ็ทในการขีดตีเส้ นให้ มีมมุ ต่าง ๆ ตลอดจนใช้ เป็ นเส้ นระดับที่เลื่อนขึ ้นลง
ได้ มี 2 แบบ คือ
2.1ไม้ ทแี บบธรรมดา

ที่มา ; http://www.boatbook.co.th/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


2.2 ทีสไลด์

เชือกขึงกับขอบโต๊ ะด้ านบนและล่าง

โต๊ ะเขียนแบบ ลูกรอก


สไลด์เลื่อนขึ ้นลง

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


ไม้ ทสี ไลด์

ที่มา ; http://www.skr.ac.th/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


ทีมา ; http://slideplayer.in.th/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


3. ไม้ เซ็ทหรื อไม้ สามเหลี่ยม (SET-SQUARE) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้
ในการขีดตีเส้ นให้ เป็ นมุมต่าง ๆ มี 2 แบบคือ

บรรทัดโค้ง ใช้เขียนวงรี 60

3.1 แบบมุม 30, 60, 90


30 90

90

3.2 แบบมุม 45, 45, 90


45 45

ที่มา ;
งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล
4. บรรทัดสเกล (SCALE) ใช้ ในการขีด วัดย่อรูปที่เขียนในระบบเอสไอ
(SI) เช่น 1:1, 1:25, 1:50, 1:100

ที่มา ; http://zirieng.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


5. วงเวียน (DIVIDER) ใช้ ในการเขียนรูปทรงเรขาคณิต หรื อแบ่งเส้ นและ
รูปทรงเรขาคณิตออกเป็ นส่วน ๆ

ที่มา ; http://www.sd.ac.th/ /

ที่มา; http://www.hhkint.com

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


6. ดินสอ (PENCIL) ใช้ในการร่ างภาพ เขียนรู ป เขียนตัวหนังสื อ แบ่งออกเป็ น 3
เกรด คือ
.1 ดินสอไส้อ่อน (SOFT) เป็ นดินสอที่ใช้ในการแลเงาในงานศิลปะ
B = ดำ (BLACK)
2B 3B 4B 5B 6B 7B
6.2 ดินสอไส้ปานกลาง (MEDIUM) เป็ นดินสอที่ใช้ในการเขียนรู ป และ

ตัวหนังสื อ
F = เริ่ มแข็ง (FIRM)
B HB F H 2H 3H

6.3 ดินสอไส้แข็ง (HARD) เป็ นดินสอที่ใช้ในการร่ างภาพ


H = แข็ง (HARD)
4H 5H 6H 7H 8H 9H
งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล
ดินสอกด ปัจจุบนั นิยมใช้ดินสอกด เพราะสะดวก เส้นมีขนาดให้เลือกตามเหมาะสม
เส้นเต็มใช้ขนาด 0.5

ที่มา ; http://www.banasarn.com

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


7. ยางลบ (RUBBER) ใช้ในการลบแก้ไขงานที่ผดิ พลาด ซึ่งจะต้องมี
เนื้อนิ่มไม่ทำให้กระดาษเป็ นขุยหรื อขาด

ที่มา ; http://equipment.hmz-support.com/

8. มีดเหลาดินสอ (CUTTER) ในการเหลาดินสอทำได้ท้ งั แบบลิ่ม และแบบกรวย

ที่มา ; http://thailandmall.net/
งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล
9. กระดูกงูและบรรทัดโค้ ง (FLEXIBLB CURVE & IRREGULAR CURVE) ใช้
ในการเขียนส่ วนโค้งที่วงเวียนเขียนไม่ได้

กระดูกงู

ที่มา ; http://www.aliexpress.com

บรรทัดโค้ง

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


10. แผ่ นแบบตัวอักษร (LETTERING TEMPLATE) ทำจากพลาสติกฉลุเป็ นรู ร่องตัว
หนังสื อ ใช้ทาบลงบนกระดาษเขียนแบบ แล้วเขียนตามร่ องตัวหนังสื อนั้น ๆ

ABCDEFGHIJKLMO
P Q R S T U V W X Y Z1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
ดตถทธนบปผฝพภมยรลวศษสห
ฬอฮ

ที่มา ; http://kritmodel.weloveshopping.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


11. ปากกาเขียนแบบ (PENS) เป็ นปากกาชนิดหมึกแห้งเร็ วใช้ในการเขียนแบบลงบน
กระดาษไขเขียนแบบ

0.13 0.18 0.25 0.35 0.50 0.70 1.00 1.40 2.00

ที่มา ; http://pantip.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


12. กระดาษเขียนแบบ (PAPER DRAWING) เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอีกอย่าง
หนึ่ง ซึ่งมีขนาดเรี ยกเป็ นปอนด์ ที่นิยม คือ 80 และ 100 แกรม/ตร.ม. (Gsm=Gram per
Square Metre ) กระดาษเขียนแบบแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ กระดาษไขเขียนแบบ
ใช้ในการกับปากกาเขียนแบบกระดาษเขียนแบบทัว่ ไป ขนาดกระดาษแบ่งตาม
มาตรฐานไอเอส (IS = INTERNATIONAL STANDARD) ได้ ดังนี้
1189

A2

420 x 594
A1

A4 594 x 841 cm. 841


210 x 297 cm. A3
A6 276 x 420 cm.
105 x 148 cm. A5
A6
148 x 210 cm.

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


ตารางแสดงขนาดกระดาษ มาตรฐาน IS : International Standard

ความกว้ างยาวเป็ น ความกว้ างยาวเป็ นนิว้


ขนาด หมายเหตุ
ม.ม. (ระบบเมตริก) (ระบบอังกฤษ)
A0 841 x 1189 33.11 x 46.81

A1 594 x 841 23.39 x 33.11

A2 420 x 594 16.54 x 23.39

A3 276 x 420 11.69 x 16.54

A4 210 x 297 8.27 x 11.69

A5 148 x 210 5.83 x 8.27

A6 105 x 148 4.13 x 5.83 ขนาดไปรษณียบัตร

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


13. สก๊ อตเทปหรื อเทปใส (TAPE) ใช้ ในการติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ ะเขียนแบบ

ที่มา ; http://topsproducts.tarad.com

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


14. แปรงปั ดผง (BRUSH) ใช้ ในการปั ดฝุ่ นผงจากการใช้ ยางลบ

ที่มา ; http://www.srcbeauty.com

15. ผ้ า ใช้ ในการเช็ดเหงื่อมือ เครื่ องมือ เพื่อป้องกันกระดาษเขียนแบบสกปรก

ที่มา ; http://towelbeauty.lnwshop.com/

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
เส้ น (LINE) คือ จุดที่ลากต่อเนื่องกันไปทิศทางใดทิศทาง
หนึง่ ซึง่ เส้ นที่ใช้ ในการเขียนแบบมีดงั ต่อไปนี ้
1.เส้ นเต็ม (VISIBLE LINE) คือ เส้ นที่ลากต่อเนื่องกัน
ไปใช้ ในการสร้ างเส้ นรูปในการเขียนแบบ เช่น เส้ นตรง, เส้ นโค้ ง, เส้ น
ซิกแซก

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


2. เส้ นประ (HIDDEN LINE / DOTTED LINE) คือ เส้ นที่ขีด
1 1
สัน้ ๆ ต่อเนื่องกันไป แต่ละเส้ นยาว 8 นิ ้ว ห่างกัน 6 นิ ้ว ใช้ แสดงภาพในส่วนที่ถกู
บังหรื อมองเห็นให้ มองเห็น

ยาว 18 ระยะห่าง 16

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


3. เส้ นแสดงระนาบตัด (CUTTING PLANE) คือ เส้นที่ใช้ในการ
ตัดชิ้นงานให้ออกเป็ น 2 ส่ วน เพื่อให้เห็นรายละเอียดหรื อส่ วนประกอบภายใน

การนำไปใช้ แสดงรายละเอียดหลังจากตัด
เส้นแสดงระนาบภาพตัด

ทิศทางการหัน

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


4. เส้ นแสดงศูนย์ กลาง (CENTER LINE) เป็ นเส้ นที่ใช้ แสดง
จุดศูนย์กลางของรูปทรงกลมหรื อทรงกระบอก โดยจะเขียนเส้ นยาว34 นิ ้ว ถึง 112นิ ้ว ขีด
1
เส้ นสัน้ นิ1้ว เว้ นช่องว่าง นิ ้ว 16
8

เส้ นแสดงศูนย์ กลางรูปทรงกลม

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


เส้ นแสดงศูนย์ กลางรู ปทรงกระบอก

ใช้แสดงเส้นผ่าศูนย์กลางของรู ปทรงกระบอก

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


5. เส้นกำหนดขนาด (EXTENTION LINE) คือ เส้นที่เขียนขึ้นตรงส่ วน
1นิ ว
ที่สุดความยาวหรื อความกว้างของรู ปด้านทุกด้าน โดยเขียนห่างเส้นรู ป 16 ้

1
ห่างเส้ นรูป 16
นิ ้ว

3
เส้ นกำหนดขนาดยาว 8

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


6. เส้ นบอกขนาด (DAIMENTION LINE) คือ เส้ นที่มีหวั ลูกศรทังสองข้ ้ าง
โดยหัวลูกศร จะไปชนกับเส้ นกำหนดขนาด ตรงกลางเว้ นช่องว่างไว้ เขียนตัวเลขบอกขนาด
1
หัวลูกศรกว้ าง 6นิ ้ว ยาว นิ ้ว หรื18อ 1 ใน 3
16 1
16

1
16
1
8

3
1

5 3

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


7. เส้ นแสดงรอยตัด (BREAK LINE) เป็ นเส้นที่มีลกั ษณะซิกแซก ใช้ในการ
แสดงให้ทราบว่าวัตถุ หรื อชิ้นงานนั้นยังมียาวต่อไปอีกที่มีขนาด และรู ปร่ างเท่าเดิม ซึ่ง
เว้นไว้ในฐานที่เข้าใจและไม่ให้เปลืองพื้นที่การเขียน มีสองแบบ คือ เส้นแสดงรอยตัด
ระยะสั้น และเส้นแสดงรอยตัดระยะยาว

เส้ นรอยตัดระยะสัน้ (SHORT BREAK LINE)

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


เส้ นรอยตัดระยะยาว (LONG BREAK LINE)

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


เส้ น (LINE) คือ จุดที่ลากต่อเนื่องกันไปทิศทางใดทิศทางหนึ่ง
ซึ่งเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบมีดงั ต่อไปนี้
1.เส้ นเต็ม หรือเส้ นแสดงแบบ (ANT LINE/VISIBLE LINE) คือ
เส้นที่ลากต่อเนื่องกันไปใช้ในการสร้างเส้นรู ปในการเขียนแบบ เช่น
เส้นตรง, เส้นโค้ง, เส้นซิกแซก

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


2. เส้ นประ (DASH LINE) คือ เส้นที่ขีดสั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป แต่ละเส้นยาว 18 นิ้ว
ห่างกัน 16 นิ้ว ใช้แสดงภาพในส่ วนที่ถูกบัง (Hidden)หรื อมองเห็นให้มองเห็น

ยาว 18 ระยะห่าง 16

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


3. เส้ นแสดงระนาบตัด (CUTTING PLANE) คือ เส้นที่ใช้ในการตัดชิ้นงานให้
ออกเป็ น 2 ส่ วน เพื่อให้เห็นรายละเอียดหรื อส่ วนประกอบภายใน

การนำไปใช้ แสดงรายละเอียดหลังจากตัด
เส้นแสดงระนาบภาพตัด

ทิศทางการหัน
งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล
5. เส้ นแสดงศูนย์ กลาง (CENTER LINE) เป็ นเส้นที่ใช้แสดงจุดศูนย์กลางของรู ป
ทรงกลมหรื อทรงกระบอก โดยจะเขียนเส้นยาว 1 นิ้ว เส้นเส้นสั้น 1/8 นิ้ว เว้นช่อง
ว่าง 1/16 นิ้ว

เส้ นแสดงศูนย์ กลางรูปทรงกลม

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


เส้ นแสดงศูนย์ กลางรู ปทรงกระบอก

ใช้แสดงเส้นผ่าศูนย์กลางของรู ปทรงกระบอก

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


6. เส้นกำหนดขนาด (EXTENSION LINE) คือ เส้นที่เขียนขึ้นตรงส่ วนที่สุดความยาว
หรื อความกว้างของรู ปด้านทุกด้าน โดยเขียนห่างเส้นรู ป 1/16 นิ้ว

ห่างเส้นรู ป 1/16 นิ้ว

เส้นกำหนดขนาดยาว 3/8 นิ้ว

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


7. เส้ นบอกขนาด (DAIMENSION LINE) คือ เส้นที่มีหวั ลูกศรทั้งสองข้างโดยหัวลูกศร
จะไปชนกับเส้นกำหนดขนาด ตรงกลางเว้นช่องว่างไว้เขียนตัวเลขบอกขนาด หัวลูกศร
กว้าง 1/16 นิ้ว ยาว 1/8 นิ้ว หรื อ 1 ใน 3

1
16
1
8

3
1

5 3

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


8. เส้ นแสดงรอยตัด (BREAK LINE) เป็ นเส้นที่มีลกั ษณะซิกแซก ใช้ในการแสดงให้
ทราบว่าวัตถุ หรื อชิ้นงานนั้นยังมียาวต่อไปอีกที่มีขนาด และรู ปร่ างเท่าเดิม ซึ่งย่อไว้ให้
เข้าใจตรงกัน และไม่ให้เปลืองพื้นที่การเขียน มีสองแบบ คือ เส้นแสดงรอยตัดระยะสั้น
และเส้นแสดงรอยตัดระยะยาว

เส้ นรอยตัดระยะสั้ น (SHORT BREAK LINE)

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


เส้ นรอยตัดระยะยาว (LONG BREAK LINE)

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


9. เส้ นนำ (LEADER LINE) คือ เส้นลูกศรที่ใช้ในการชี้บอกหรื ออธิบายรายละเอียด
(DETAIL)ประกอบแบบ

ขอบมอบเหล็กฉาก ¾”

ผนังตู้ไม้ อดั 20 ม.ม.

งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรี สุพล


วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ภาพไอโซเมตริ ก (ISOMETRIC) คือ ภาพที่มีมมุ 30 องศา จากเส้ นระดับ
ถ้ ารวมสามแกนจะได้ 120 องศา ภาพนี ้บางทีเรี ยนกว่า “ภาพสามมิติ” มุมของเส้ นที่
ใช้ ในการเขียนคือมุม 30 องศา และ 90 องศา

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


1. .ติดกระดาษเขียนแบบลงบนโต๊ ะเขียนแบบ โดยใช้ ไม้ ทีเกี่ยวกับขอบโต๊ ะ
ด้ านซ้ ายมือ และวางไม้ เซ็ทให้ ทำมุม 90องศา แล้ ววางกระดาษเขียนแบบลงให้ เข้ ามุม
ติดด้ วยสก๊ อตเทปทังสี
้ ่ด้าน

90° โต๊ ะเขียนแบบ

สก๊ อตเทป

ไม้ เซ็ท กระดาษเขียนแบบ

ไม้ ที 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


2. .เขียนเส้ นระดับ 180 องศา โดยใช้ ไม้ ที

 180° 

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


3. ขีดเส้ นดิ่งหรื อเส้ นแกนกลางภาพ (90°) โดยใช้ ไม้ เซ็ทมุม 90 องศา ตังบนขอบสั
้ นไม้ ที

90°

180° 

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


4. ขีดเส้ นยกระดับมุม 30องศา ทังทางซ้
้ ายและทางขวา โดยใช้ ไม้ เซ็ทมุม 30 องศา
ตังบนขอบ
้ สันไม้ ที

90°

30°
 30°

 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


5. ขีดเส้ นดิ่ง 90 องศา ขนานกับเส้ นแกนกลาง ตามความกว้ างความยาวของภาพ

90°
  90°  
90°

180°

สนใจ
หน่อ
พรรค ย
พวก

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


6. ขีดเส้ นเอียง 30 องศา ตามขนาดความสูงของภาพที่กำหนด ซึง่ จะได้ พื ้นที่รูป
ด้ านหน้ าและด้ านข้ าง (ใช้ ไม้ เซ็ทมุม 30 องศา ตังบนขอบสั
้ นไม้ ที) และจะเกิดจุดตัด
ที่มมุ ขอบด้ านบนของภาพ ด้ านหน้ าและด้ านข้ าง

 30°  
30°

180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


7. ใช้ จดุ ตัดที่มมุ ขอบด้ านบนของภาพด้ านหน้ าและด้ านข้ าง ขีดเส้ นเอียง 30 องศา
เข้ าหากัน ซึง่ จะเป็ นผลทำให้ เกิดพื ้นที่ภาพด้ านบน (ใช้ ไม้ ทีเซ็ทมุม 30องศา ตังบนขอบ

สันไม้ ที)

30°
30°  
 บน
ข้ าง หน้ า
180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


30°
30°
90°
30° 90°
30°
120°
30° 120°
120°
30°

เส้ นระดับ 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ภาพออบลิค (OBLIQUE) คือ ภาพด้ านหน้ าด้ านบนยกทำมุม 45 องศา
(ตามมุมมอง ISO.)กับเส้ นระดับ (180 องศา) ภาพนี ้จะใช้ มมุ 45องศา และ 90 องศา
ซึง่ มีขนตอนในการเขี
ั้ ยนดังนี ้

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


1. .ขีดเส้ นระดับ (180 องศา)

180° 

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


2. .ขีดเส้ นแกนหรื อเส้ นดิ่ง (90°) โดยใช้ ไม้ เซ็ทมุม 90 องศา ตังบนขอบสั
้ นไม้ ที

 90°

180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


3. .ขีดเส้ นมุม 45 องศา โดยใช้ ไม้ เซ็ทมุม 45 องศา ตังบนขอบสั
้ นไม้ ที

90° 45° 90°



45°
180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


4. .ขีดเส้ นดิ่ง (90°) ตามขนาดความกว้ างของภาพด้ านหน้ า(90°) โดยใช้ ไม้ เซ็ทมุม
90 องศา ตังบนขอบสั
้ นไม้ ที

90°

90° 90° 90°

180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


5. .ขีดเส้ นดิ่ง (90°) ตามขนาดความกว้ างของภาพด้ านข้ าง

90°
90° 90° 90°

180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


6. .ขีดเส้ น 180° จากเส้ นระดับตามความสูงในเส้ นแกนดิ่ง
(ซึง่ จะได้ พื ้นที่ของภาพด้ านข้ าง)

90°
90° 
180°
180° 
180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


7. .ขีดเส้ น 45° จากเส้ นระดับตามความสูงดิ่ง (ซึง่ จะได้ พื ้นที่ของภาพด้ านหน้ า)

45°
45° 90° 
90°

 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


8. .ขีดเส้ น 45° จากจุดตัดที่เกิดจากการลากเส้ น 180° ตัดกับเส้ น 90°
(เริ่ มขีดจากมุมบนซ้ ายของรูปด้ านข้ าง)

45°

45° 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


9. .ขีดเส้ น 180° จากจุดตัดที่เกิดกับความสูงกับความกว้ างของภาพด้ านตัดกัน

 180°
 180°
180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


เส้ นแกน
90°

45°

เส้ นระดับ 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. สร ้างสเี่ หลีย
่ มขนาด 110 x 60 x70 (ใช ้
มาตราสว่ น 1:10)
180˚
45˚
45˚
180˚ 90˚

70 90˚
90˚
45˚
180˚
60
110

3. ลงหนักและให ้ขนาดตามแบบในหน ้า
2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


80 30

30
60

20

20

70

20
20
20
110

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ภาพเปอร์ สเปคทีฟ (PERSPECTIVE) เป็ นภาพที่มีรูปร่างเหมือนจริ งที่สดุ
คือส่วนที่อยูใ่ กล้ ตาจะโต และส่วนที่ไกลออกไปจะค่อย ๆ เล็กลง ๆ เป็ นจุดอันตรธาน
(VP. = VANISHING POINT) ภาพแบบนี ้แบ่งออกได้ เป็ น 2 แบบ

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.ขีดเส้ นระดับสายตา (EYE LEVEL) ที่มีมมุ 180องศา

180° 
 EYE LEVEL 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


2. ขีดเส้ นแกนภาพ 90°

90°
90°
 
180° 180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


3. กำหนดจุดอันตธาน (VP) แล้ วขีดโยงมายังเส้ นแกนตามขนาดความสูงของภาพ


VP VP

EYE LEVEL

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


4. ขีดเส้ น 90° ตามขนาดความกว้ างของภาพ

90°
90°
 
VP

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


5. ขีดเส้ น 180° ตามขนาดความสูงของภาพที่กำหนด

180°
180°


VP


180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


6. ขีดเส้ น 90° ตามความยาวของภาพด้ านข้ างที่กำหนด

90° 90°
 VP
180°

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


7. ขีดเส้ นเอียงตามมุมของจุด VP ซึง่ จะได้ รูปด้ านข้ าง


 VP
EYE
LEVELEYE

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


VP เส้ นระดับสายตา
EYE LEVEL

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ข้าง หน้า

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


เหนือระดับสายตา
ABOVE EYE LEVEL

ล่าง

ระดับสายตา
EYE LEVEL VP ข้าง

บน
ใต้ ระดับสายตา
BELO EYE LEVEL
วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. .ลากเส้ นระดับสายตา (EYE LEVEL) และกำหนดจุด VP. ทังสองข้
้ าง

 180° 
VP1 VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


2. .ลากเส้ นแกน 90° (LINE OF SIGHT) ให้ ตงฉากกั
ั้ บเส้ นระดับสายตา

90°

VP1 VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


3. .ลากเส้ นมุมภาพ (ANGLE OF VIEW) จากจุด VP1 และ VP2 ให้ ทำมุมฉากกัน


VP1 VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


4. กำหนดความสูงของภาพตามเส้ นแกน แล้ วลากเส้ นไปยังจุด VP1 และ VP2


 VP1

VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


5 . กำหนดความกว้ างยาวของภาพที่จดุ A และ B แล้ วลากเส้ นไปยังจุด VP1 และ VP2

  VP1
A VP2
B

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


6. .ลากเส้ นความสูงของขอบภาพ (90°) ทังสองด้
้ าน



VP1 VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


VP1 เส้ นระดับสายตา VP2

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


บน

ข้างซ้าย ข้างขวา

วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


1 ทำความเข้ าใจกับสถานการณ์

2 กำหนดปัญหาที่สำคัญและชัดเจน

3 วิเคราะห์ หาสาเหตุทสำ
ี่ คัญ

4 หาวิธีแก้ ปัญหาทีเ่ ป็ นไปได้

5 เลือกวิธีแก้ ปัญหาทีด่ สี่ ุ ด

6 วางแผนปฏิบัติ

7 ติดตามประเมิ นผล
วรวิทย์ ศรี สุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

You might also like