You are on page 1of 229

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (สาระ

ภูมิศาสตร์)

ตัวชีว
้ ัด สาระภูมิศาสตร์ ชัน
้ ม.5
ส 5.1 ม.4-6/3 เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
ส 5.1 ม.4-6/1 ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ส 5.1 ม.4-6/2 ภัยพิบัติทางธรรมชาติและการ
เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติในโลก
ส 5.2 ม.4-6/ , ส 5.2 ม.4-6/2 สถานการณ์ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภูมิศาสตร์ (geography) 
คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย
ตลอดจน องค์ประกอบด้าน
มนุษย์  โดยเป็ นการศึกษาในลักษณะความหมาย รูปแบบการก
ระจาย กระบวนการเกิด
การเปลี่ยนแปลง วิวัฒนาการ ตลอดจนความสัมพันธ์กับสิ่ง
แวดล้อมทัง้ ในอดีตและปั จจุบัน
วิธีการศึกษาภูมศิ าสตร์

การศึกษาลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะธรณี วทิ ยา
ระบบกายภาพ  ภูมิอากาศทรัพยากรธรรมชาติ

ระบบสั งคมมนุษย์   ศึกษาเกี่ยวกับประชากร การเมือง เศรษฐกิจ

การศึกษาทั้ง 2 ระบบนี้
เพื่อให้เข้าใจเรื่ องพื้นที่อย่างถูกต้องและครบถ้วน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้และ แก้
ปัญหาสังคมตลอดจนปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ดังที่ กล่าวมาแล้ววา่ ภู มิศาสตร์เป็ นศาสตร์ท่ี วา่ ด้วยการศึกษาพื้ นที่
เคร่ื องมื อที่ ใช้จึงมี หลายประเภท ทั้งเครื
เครื เคร่ื องมื อที่ ใช้ศึกษามิติของ
และเครื่ื องมื อที่ ใช้สำหรั บศึกษาลักษณะ และระบบของสิ่ง
พื้ นที่ และเคร
ต่างๆ ในพื้ นที่ โดยจะมี การนำความรู้ เก่ี ยวกับลักษณะและระบบ
ของสิ่งต่างๆ ในพื้ นที่ มาบู รณาการเป็ นองคค ์ วามรู้ ของพื้ นที่ ต่อไป
หน่วยที่
1
เครื่องมื อและ
เทคโนโลยี ทาง
ภู มิศาสตร์
ขอบเขตการศึกษา
เครื่องมือ
เครื่องมือทาง และ เทคโนโลยีทาง
ภูมิศาสตร์ เทคโนโล การรั
ภูมบิศรูาสตร์
้จากระยะไกล
(3S)
ยีทาง (RS)
แผนที่ ภูมิศาสต ระบบกำหนดตำแหน่ง
• แผนที่อ้างอิง ร์ บนพื้นโลกหรือจีพีเอส
• แผนที่เฉพาะ (GPS)
เรื่อง ระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์
หรือจีไอเอส (GIS)
เครือ
่ งมือทางภูมศ
ิ าสตร์
หมายถึง ว ัสดุอป ุ กรณ์ในรูปแบบ
่ มาใชเ้ ป็นสอ
ต่างๆ ทีนำ ื่ เพือ
่ การ
ศกึ ษา การสำรวจ การเก็บรวบรวม
การบ ันทึก การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
ทางภูมศ ิ าสตร์ทงตำแหน่
ั้ ง ทีต
่ งั้
การกระจายขอบเขตความหนาแน่น
ของข้อมูลหรือปรากฏการณ์ตา่ งๆ
เครือ
่ งมือทางภูมศ
ิ าสตร์
จำแนกตามการใช ง้ านได้ 2 ประเภท
ด ังนี้
1. เครือ
่ งมือทีทำ
่ หน้าทีเ่ ป็นสอ ื่ ความรู ้
ทางภูมศ ิ าสตร์ เผยแพร่ความรู ้ เชน ่
ตำราเรียน website แผนที่ ลูกโลก
รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจาก
ดาวเทียม
2. เครือ่ งมือทีทำ
่ หน้าทีเ่ ป็นสอ ื่ เก็บ
รวบรวมข้อมูลทางภูมศ ิ าสตร์ เชน ่
เทปว ัดระยะทาง กล้องสามมิต ิ
เครื่องมือที่ทำ
หน้าที่เป็ นสื่อ
ความรู้ทาง
ภูมิศาสตร์
แผนที่
การแปลความหมายแผนที่
พจนานุกรมศพท์ ั ภม ู ศ
ิ าสตร์ ให้ความหมาย
“แผนที”่ ไว้วา ่
“แผนที่ คือ สงิ่ ทีแ ่ สดงล ักษณะของพืน ้ ผิวโลก
ทงทีั้ ม่ อ ี ยูต่ ามธรรมชาติและทีป ้ โดย
่ รุงแต่งขึน
แสดงลงในพืน ้ แบนราบ ด้วยการย่อให้เล็กลงตาม
ขนาดทีต ่ อ้ งการและอาศยเครื ั อ
่ งหมายก ับ

สญล ักษณ์ทีกำ ่ หนดขึน ้ ”
แผนทีเ่ ป็นเครือ ่ งมือทีด ่ ที ส
ี่ ด
ุ ในการใชศ ้ ก
ึ ษา
วิชาภูมศ ิ าสตร์ เพราะชว ่ ยประหย ัดเวลา
เขา
เล่า
ว า
่ วิวัฒนาการของแผนที่
มนุษย์รู้จกั บันทึกสิ่ งต่างๆ ลงบนแผนที่มาตั้งแต่สมัยโบราณ ก่อนที่จะมีการ
ประดิษฐ์ตวั อักษรขึ้นใช้ ความสามารถในการทำแผนที่เป็ นสัญชาติญาณ
อย่างหนึ่งของมนุษยชาติ พฤติกรรมที่แสดงออกทาง แผนที่มีมานานแล้ว 

ชาวเมโสโปเตเมีย ทำด้ วยดินเหนียว แสดงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ นิ

ชาวเอสกิโม ใช้ ไม้ สลักติดลงบนหนังแมวน้ำ


แสดงแหล่ งล่ าสั ตว์ ตกปลา

ชาวเกาะมาร์ แชล ใช้ เปลือกหอยแทนเกาะ และก้ านมะพร้ าว


แทนเส้ นทางเดินเรือและบริเวณทีม่ คี ลืน่
 สมัยกรีกโบราณ
ชาวกรีกโบราณเป็ นผู้วางรากฐานการทำแผนทีเ่ ริ่ม
ด้ วยการพิสูจน์ ว่าโลกกลม เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 193 ต่ อมา
พ.ศ. 323 อีแรโตสเตนีส (Eratosthenes) ก็วดั ขนาดของ
โลกได้ เป็ นคนแรก โดยใช้ หลักทางคณิตศาสตร์ เบือ้ งต้ น
เท่ านั้น และเขาได้ คดิ สร้ างเส้ นสมมติทเี่ รียกว่ า เส้ นขนาน
และเส้ นเมอริเดีย
      ต่ อมาอีกราว 370 ปี ปโตเลมี (Claudius Ptolemy) คิด
ทำแผนทีใ่ ห้ ดยี งิ่ ขึน้ โดยนำเอาผลงานของ อีแรโตสเตนี
สมารับปรุงคิดหาวิธีกำหนดค่ าของมุมของเส้ นขนานและ
เส้ นเมอริเดียน ต่ อมาแผนทีข่ องปโสตเลมีได้ หายสาบสู ญ
ไปเป็ นเวลาถึง 1,500 ปี
การจำแนกชนิดของแผนที่
เป็ นแผนที่ ที่ ใช้เป็ น
แผนที่ อ้างอิ ง ฐานในการสร้างแผน
ที่ อ่ื นๆ
ทั่วไป
เช่ น แผนที่ภูมิประเทศ ซึ่ง
ชนิ ดของ ประเทศไทยใช้ ชุด L7018
มาตราส่ วน 1:50,000
แผนที่
เป็ นแผนที่ ท่ี สร้างขึ้ น
เพื่ อใช้ในกิ จการ
แผนที่ เฉพาะ เฉพาะอย่าง
เร่ื อง เช่น แผนที่ แสดงเส้น
ทางคมนาคม แผนที่
ธรณี วิทยา แผนที่
ท่องเที่ ยวแผนที่ การ
ใช้ท่ี ดิน
แผนที่ ภูมิประเทศ (Topographic
map)
เรียกอีกชอ ื้ ว่า
แผนทีอ ่ า้ งอิง แสดง
รายละเอียดของพืน ้ ผิว
โลกทีเ่ กีย ่ วก ับภูม ิ
ล ักษณ์แบบต่างๆ ทงที ั้ ่
เกิดขึน ้ จากธรรมชาติ
และมนุ
แผนทีษ่ ชย์ นิสดนี
ร้า้ มีงขึน้ ทงั้
ทางแนวราบและแนว แผนที ่ แสดง
ประโยชน์มาก แต่เสีย
้ ภู มิ ป ระเทศ แบบ
ดิง่ 3 มิตแ ิ ละเชงิ เสน
เวลาและแรงงานในการ
แผนที่ ภูมิประเทศแบบ
3 มิ ติ
แผนที่ แสดงความ
ลาดชัน
เส้นชั้นความสู ง
คื อเส้นจินตนาการ
ของระดับที่ คงที่ บน
พื้ นดิ น ซ่ึ งได้จาก
การลากเส้นคงที่
ผ่านจุ ดต่างๆ บนพื้ น
ดิ นที่ มีค่าระดับเท่า
้ ชนความสู
เสน ั้ ง
(contour line)
จ ัดทำโดย กรม
แผนทีท่ หาร
แผนที่ เฉพาะเร่ื อง (Thematic
Map)
เป็นแผนทีท ่ สี่ ร้างเพือ ่ ใชใ้ นกิจการเฉพาะ
อย่าง แสดงข้อมูลเฉพาะเรือ ่ งลงไป บางครงั้
เรียกว่า แผนทีส ่ ถิต ิ เชน ่ แผนทีด ่ น
ิ แผนที่
ประชากร แผนทีพ ่ ช ื พรรณธรรมชาติ แผนที่
ธรณีวท ิ ยา แผนทีท ่ อ่ งเทีย่ ว เป็นต้น
ปัจจุบ ันมีความสำค ัญมากขึน ้ เพราะใชใ้ นการ
ทำวิจ ัยเชงิ วิทยาศาสตร์ การวางแผนด้าน
วิศวกรรม
แผนทีเ่ หล่านีจ ้ ะมีการสำรวจเพิม ่ เติมหรือปร ับ
แผนทีท
่ อ
่ งเทีย
่ ว

มักทำเป็ นมาตรสว ่ นขนาด


เล็ ก
ต้องมี รูปแบบเข้าใจง่าย
โดยเนนขอมู ลดานการเดิ น

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
ชาร์ตและแผนที่
เส้นทาง
(Charts and road map)
ทำโดยกรมทางหลวง สร้าง
เพือ่ การกำหนดเดินทาง
ระยะทางโดยประมาณ หลีก
เลีย
่ งเสน ้ ทางทีม
่ ป
ี ญ
ั หาปกติ
เนือ่ งจากมีขอ้ มูลไม่มาก
จึงม ักผลิตเป็นมาตราสว่ น
เล็ก เชน ่ ชาร์ตเดินเรือ ชาร์
ตการบิน 
แผนที่ เส้นทางการ
บิ่ น
แผนที เส้นทาง
เดิ นเรือ
แสดงข้อมู ลของหิ น คำถาม ?
โดยกรม แผนที่ นี้มี ก่ี ชั้น
ทรั พยากรธรณี ข้อมู ล

แผนที่ แผนที่ แสดงอุ ทยาน


แผนทีช
่ ายฝั่งทะเล

คำถาม ?
แผนที่ นี้มี ก่ี ชั้น
ข้อมู ล
แผนทีก ้ ระโยชน์ท ด
่ ารใช ป ี่ น

เนื่ องจากที่ ดินเปลี่ ยนแปลงรวดเร็ว จึ งต้องปรั บปรุ ง


ให้ทันสมัยตลอดเวลา ปัจจุ บันใช้ข้อมู ลจาก
ดาวเที ยม ทำโดยกรมพัฒนาที่ ดิน
แผนทีเ่ ล่ ม
แผนทีเ่ ล่ ม (อังกฤษ: atlas) คือ แผนที่ที่รวมแผนที่ต่าง ๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ, ค่าเฉลี่ย
ของฝน, ด้านประชากร รวมเอาไว้ในเล่มเดียวกันและนอกเหนือจากการนำเสนอ
คุณลักษณะทางภูมิศาสตร์และขอบเขตทางการเมืองแล้ว แผนที่เล่มยังมีการแสดงสถิติทาง
ภูมิศาสตร์ การเมือง สังคม ศาสนา พืชพรรณธรรมชาติ และเศรษฐกิจ
อะๆ ก่อนจะใช้แผนที่เรา
ต้องรู้จกั อ่านและแปลความ
แผนที่กนั ก่อนนะ
การอ่านและแปลความในแผนที่

การใชแ ้ ผนทีเ่ พือ


่ ประโยชน์ศก ึ ษาข้อมูลต่างๆ
ควรเริม ่ ต้นด้วยการอ่านและแปลความหมายของ
แผนทีใ่ ห้เข้าใจถูกต้องและชดเจนเส ั ี ก่อน เชน
ย ่
เข้าใจสญล ั ักษณ์ มาตรสว ่ น ทิศ และการเปรียบ
เทียบ ระยะทางในแผนทีก ่ ับระยะทางใน
ภูมปิ ระเทศจริง เป็นต้น
การศก ึ ษาให้เข้าใจ “องค์ประกอบของแผนที”่
จะชว ่ ยให้สามารถอ่านและแปลความหมายจาก
แผนทีไ่ ด้ถก ั
ู ต้อง สะดวก และชดเจนยิ ้
ง่ ขึน
องค์ประกอบของแผนที่
• องค์ประกอบแผนที่ หมายถึง สงิ่ ต่างๆ
ทีป
่ รากฏอยูบ ่ นแผนที่
• แผนทีท ่ จ
ี่ ัดทำเพือ ้ ทีใ่ ดพืน
่ แสดงพืน ้ ที่
หนึง่ เรียกว่า “ระวาง”(Sheet) แต่ละ
ระวางมีองค์ประกอบ 3 สว่ น
้ ขอบระวาง
1. เสน
2. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง
้ ขอบระวาง
1. เสน
• เป็นเสน ้ กนพื ั้ น ้ ทีบ
่ นแผ่นแผนทีอ ่ อกเป็นสองสว่ น
คือพืน ้ ทีภ ่ ายในขอบระวางแผนทีแ ่ ละนอกขอบ
ระวางแผนที่ มีขอบเขตเป็นรูปสเี่ หลีย ่ ม
• เสน้ ขอบระวางแผนทีบ ่ างแบบมีขอบสองชน ั้ สว่ น
แผนทีภ ่ ม
ู ป ิ ระเทศทว่ ั ไป มีเสน้ ขอบระวางเสน ้ เดียว
• โดยทีเ่ สน ้ ขอบระวางแต่ละด้านจะมีต ัวเลขบอกค่า
พิก ัด กริด (ค่าเหนือก ับค่าตะว ันออก) และค่าพิก ัด
ภูมศ ิ าสตร์ (ค่าของละติจด ู และลองติจด ู )
องค์ประกอบของระวาง
แผนที่
2. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง

หมายถึง สงิ่ ทีผ่ ผ


ู ้ ลิตแผนทีแ
่ สดงข้อมูลทีผ ้ วรทราบ
่ ใู ้ ชค
้ ทีต
ในพืน ่ งแต่
ั้ เสน้ ขอบระวางไปถึงริมแผ่นแผนทีท ่ งส ี่ า้ น
ั้ ด

1. ช่ื อชุ ดแผนที่ และ 7. ศัพทานุ กรม


มาตราสว ่ น
2. ช่ื อระวาง 8. สารบาญ
3. หมายเลขประจำ 9. คำอธิบายสั ญลักษณ์
ระวาง
4. หมายเลขประจำชุ ด 10. บันทึ ก
5. การจัดพิ มพ์ 11. แผนภาพเดคลิ
2. ช่ื อแผนที่
3. เข็ มทิ ศ
4. มาตราสว
่ นแผนท
มาตราส่ วน ในประเทศไทยถูกกำหนดโดย กรมแผนทีท่ หาร
คือ
- แผนทีม่ าตราส่ วนเล็ก ได้ แ
มีบริเวณกว้ างใหญ่ และเฉพาะจุดทีสำ ่ คัญเท่ านั้น
- แผนทีม่ าตราส่ วนกลาง ได้ แก่ แผนที่
มาตราส่ วนใหญ่ พืน้ ทีก่ ว้ างเพือ่ แสดงรายละเอียดที่
สำคัญเท่ านั้น
- แผนทีม่ าตราส่ วนใหญ่ ได้ แก่ แผนทีม่ าตราส่ วนตำกว่ า
พืน้ ทีท่ มี่ ีขนาดเล็ก และเขียนรายละเอียดต่ างๆของ
พืน้ ทีไ่ ด้ ตามต้ องการ
่ นแผนที่
มาตราสว
่ นเปรียบเที ยบระหวา่ งระยะ
คื อ อัตราสว
ทางในแผนที่ กับระยะทางในภู มิประเทศจริง
 1.มาตราสว ่ นเศษสว ่ น
1 : 50,000 1 : 100,000
2. มาตราสว ่ นคำพู ด
1 เซนติเมตรต่อ 1 กิโลเมตร , 1 นิ้ ว ต่อ 2
ไมล์
3. มาตราส
1 ว่ นรู0ปภาพหรือมาตราส
1 ว
่ นเส2้ นKm.
บรรทัด
ขี ดสว
่ นแบ่งย่อย ขี ดสว
่ นแบ่งเต็ ม
วิธีคดิ การแปลงมาตราส่ วน
ข้อ.1 จงแปลงมาตราส่ วนเศษส่ วน 1: 50,000 ให้เป็ นมาตราส่ วนบรรทัด
* โดยจะต้องแปลงมาตราส่ วนเศษส่ วนเป็ นมาตราส่ วนคำพูดก่อน
เป็ น 1 เซนติเมตร ต่อ 50,000 เซนติเมตร โดยให้ทำให้หน่วยเป็ นกิโลเมตร
วิธีทำ 1 เซนติเมตร ต่อ 50,000 เมตร = 1 เซนติเมตร ต่อ 50,000 กิโลเมตร
100 100 x 1,000
1 เซนติเมตร ต่อ 0.5 กิโลเมตร
หรื อ 2 เซนติเมตร ต่อ 1 กิโลเมตร
จำแนกตามขนาดหรือมาตราส่ วน แบ่ งได้ 2 แบบ

แบ่ งตามกิจการทหารแบ่ งเป็ น 3 ชนิดคือ


- แผนทีม่ าตราส่ วนขนาดเล็ก คือ แผนทีท่ ใี่ ช้ มาตราส่ วนเล็กกว่ า 1:600,000
ใช้ แสดงข้ อมูลในพืน้ ทีท่ มี่ อี าณาเขตกว้ างใหญ่ เช่ น แผนทีป่ ระเทศไทย
แผนทีท่ วีปเอเชีย
มาตราส่ วนทีน่ ิยมใช้ คอื 1:1,000,000
- แผนทีม่ าตราส่ วนขนาดกลาง คือ แผนทีท่ ใี่ ช้ มาตราส่ วน 1:60000ถึง 1:75,000
เพือ่ แสดงข้ อมูลของพืน้ ทีท่ กี่ ว้ างใหญ่ ขนึ้ เช่ น พืน้ ที่อำเภอ จังหวัด
มาตราส่ วนทีน่ ิยมใช้ คือ 1:250,000
- แผนทีม่ าตราส่ วนขนาดใหญ่ คือ แผนทีท่ ใี่ ช้ มาตราส่ วนใหญ่ กว่ า 1:75,000
สำหรับแสดงข้ อมูลพืน้ ทีข่ นาดเล็กเช่ น หมู่บ้าน ตำบล เขตเทศบาล
มาตราส่ วนทีน่ ิยมใช้ คือ 1:50,000
มาตราสว่ นแผนทีสำ ่ หร ับน ักภูมศ ิ าสตร์
1) แผนทีม ่ าตราสว่ นเล็ก ได้แก่ แผนที่
มาตราสว่ นเล็กกว่า 1 : 1,000,000 ใช ้
แสดงข้อมูลทีใ่ นพืน ้ ทีท
่ ม
ี่ อ
ี าณาเขตกว้าง
ใหญ่ เชน ่ แผนทีโ่ ลก แผนทีป ่ ระเทศไทย
แผนทีเ่ อเชย ี
2) แผนทีม ่ าตราสว่ นกลาง ได้แก่ มาตราสว่ น
ตงแต่
ั้ 1 : 250,000 ถึง 1:
1,000,000 แสดงข้อมูลทีก ่ ว้างขึน ่
้ เชน
อำเภอ ่ ท
แผนที จ ่ี ังหว ัด
มีมาตราส ว
่ นเล็ กมากๆ อาจอยู ่
แผนที
ในรู
3) ปของม าตราสว่ เนใหญ่
่ แผนที ได้แก่
ล่ม (Atlas map)แผนที่
มาตราสว่ นใหญ่กว่า 1 : 250,000 แสดง
แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศในปัจจุบัน มีใช้ อยู่ 2 มาตราส่ วน คือ
ลักษณะ แผนทีช่ ุด 1501 S แผนทีช่ ุด L7017
มาตราส่ วน 1 : 250,000 มาตราส่ วน 1 : 50,000
จำนวนระวางครบชุด 48 ระวาง 430 ระวาง
(1 ระวาง=1 ตารางกริด)
พืน้ ทีค่ รอบคลุม 19,429.5 ตร.กม. 716.76 ตร.กม.
ปี ทีพ่ มิ พ์ พ.ศ.2528 พ.ศ.2511-2514
เขตการปกครอง แสดงเขตจังหวัด แสดงเขตจังหวัด และเขต
อำเภอ
เส้ นชั้นความสู ง ทุก 100 เมตร ทุก 20 เมตร
4. มาตราสว
่ นแผนท
ปุ จฉา.... แผนที่ ชุดนี้ มาตราสว
่ น 1:50,000
ถามวา่ 2 ซม. บนแผนที่ เท่าก่ี กิโลเมตรบน
้ น ่
วิสัชนา.... 1จรกิ งิ โ??
พื ที ลเมตร
วิธีคิด 1 ซม บนแผนที่ เทา่ กับ 50,000 ซม. บนพื้นที่
จริ ง
หรื อ 1 ซม บนแผนที่ เทา่ กับ 0.5 ก.ม. บนพื้นที่จริ ง
้ 2 ซม บนแผนที่ เทา่ กับ 1 ก.ม. บนพื้นที่จริ ง
ฉะนัน
การวัดระยะทางบนแผนที่
มาตราสว่ นแผนที่      =      ระยะทางในแผนที่
                           ระยะทางในภูมิประเทศ
ตัวอยา่ 1 = 10 เซนติเมตร
ง 50,000 ?
ระยะทางในภูมิประเทศ = 50,000 x 10
= 500,000 = 5,000 เมตร
1,000
5. คำอธิบายสั ญลักษณ
้ ชนความสู
6. เสน ั้ ง (Contour)
เส้ นชั้นความสู งหลัก Index Label เริ่ มจาก
0 หรื อระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยเส้นชั้น
ความสูงที่ 5 จะเป็ นเส้นชั้นความสูงหลัก
จะใช้เส้นหนาพร้อมกำกับด้วยค่าระดับ
ความสูง

เส้ นชั้นความสู งรอง Intermediate


Contour Line เป็ นเส้นชั้นความสูงที่อยู่
ระหว่างเส้นชั้นความสูงหลัก จะมีจำนวน
4 เส้น โดยจะเขียนด้วยเส้นที่บางกว่าหรื อ
ใช้สีที่อ่อนกว่าเส้นชั้นความสูงหลักและ
ไม่มีตวั เลขค่าระดับความสูงกำกับไว้
เส้ นชั้นความสู งแทรก (Supplementary Contour Line)
เป็ นเส้นชั้นความสูงที่เขียนแทรกเพิ่มเติม ระหว่างเส้น
ชั้นความสูงหลักกับเส้นชั้นความสูงรอง โดยปกติแล้ว
มักจะเขียนแทนด้วยเส้นประ
เส้ นชั้นความสู งดีเพรสชั่น (Depression Contours Line)
เป็ นเส้นชั้นความสูงที่แสดงลักษณะของพื้นที่ที่มี ความ
สูงน้อยกว่าภูมิประเทศที่อยูโ่ ดยรอบ เช่น แอ่ง บ่อ เหว
เส้นชั้นความสูงชนิดนี้จะเขียนขีดสั้นๆ เพิ่ม ลงที่เส้น
ชั้นความสูงด้านใน โดยหันปลายขีดไปทางลาดลง

เส้ นชั้นความสู งโดยประมาณ (Approximate Contours


Line) เป็ นเส้นชั้นความสูงที่เขียนด้วย เส้นประต่อจาก
เส้นชั้นความสูงอื่นๆ หรื อเขียนด้วยเส้นประทั้งหมด
จะเขียนแสดงไว้บริ เวณภูมิประเทศที่ ไม่มีรายละเอียด
เกี่ยวกับความสูงที่แน่นอน ปกติมกั จะเกิดจากการถ่าย
ภาพทางอากาศเพื่อทำแผนที่แล้ว ได้ภาพถ่ายที่คุณภาพ
ไม่ดี
ทรวดทรง การเปลี่ยนแปลงในทางความสูง และรู ปร่ างลักษณะของภูมิประเทศ สามารถสรุ ป
ลักษณะภูมิประเทศ ออกมาได้เป็ น 5 ลักษณะใหญ่ๆ คือ ยอดเขา สันเขา หุบเขา คอเขา และที่ต ่ำ
1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสูงเรี ยงห่ างเท่ า ๆ กัน แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศแบบลาดสม่ำเสมอ 47


1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสูงเรี ยงชิ ดกันสม่ำเสมอ แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศแบบลาดชัน 48


1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสู งเรี ยงชิ ดกันบริ เวณยอดและค่ อย ๆ ห่ างกันบริ เวณฐาน


49
แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศแบบลาดเว้ า
1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสู งเรี ยงห่ างกันบริ เวณยอดและค่ อย ๆ ชิ ดกันบริ เวณฐาน


50
แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศแบบลาดนูน
1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสูงที่เป็ นวงซ้ อนกัน แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขายอดแหลม 51


1. แผนที่
1.3 แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

1. เส้นชั้นความสูง (contour line)

เส้ นชั้นความสู งที่ ชิดกันมาก ๆ หรื อซ้ อนทับกันเป็ นเส้ นเดียวกัน


52
แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศเป็ นหน้ าผาชัน
เส้นชั้นความสู งในแผนที่ ภูมิประเทศรู ปแบบต่างๆ

ภูเขายอดมน

ภูเขาที่มีความชั นมากทางดา้ นทิศตะวันอ

ภูเขายอดตัด
เส้นชั้นความสู งในแผนที่ ภูมิประเทศรู ปแบบต่างๆ

ภูเขาที่มี 2 ยอดเขา

ภูเขาที่มีแอง่ ยุบบริ เวณยอดเขา


7. หมายเลขประจำชุ ดของแผนที่

ระวาง
ที ชื่อชุดแผนที่
หมายเลขประจำชุด (Series number)  บอกให้ ทราบถึงการปกคลุมพืน้ ทาง
ภูมศิ าสตร์ ซึ่งเป็ นการกำหนดหมายเลขชุดตามมาตรฐานสากลของ
ประเทศสหรัฐอเมริกาตามข้ อตกลงขององค์ การสนธิสัญญาแอตแลนติค
เหนือหรือ NATO)

ยกตัวอย่ าง เช่ น แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ ชุด L7018 มาตราส่ วน 1:50,000


หมายเลขประจำชุดประกอบด้ วย

องค์ ประกอบที่ 1 ให้ อกั ษร A-Z องค์ ประกอบที่ 3 เลข 0 หมายถึง ตัวเลข
ครอบคลุมพืน้ ทีบ่ ริเวณ 24 ภูมิภาคทัว่ โลก แสดงส่ วนย่ อยของภูมิภาค เช่ น ภูมิภาค 0 มี
ตัวเลขแสดงส่ วนย่ อยของไทยกำหนด
ตัวอักษร L ครอบคลุมภูมิภาคของทวีป ขอบเขตไว้ แน่ นอนเป็ นเลข 0 เช่ น ไทย ลาว
เอเชีย ซึ่งตรงกับของประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย จีน
กัมพูชา เวียดนาม มาเลซีย จีน ไต้ หวัน
เกาหลีและญี่ปุ่น

องค์ ประกอบที่ 2 เลข 7 หมายถึง กลุ่ม องค์ ประกอบที่ 4 ประกอบด้ วยตัวเลข 2


ของมาตราส่ วนที่กำหนดไว้ แน่ นอน คือ ตำแหน่ ง หมายถึงรหัสหรือรุ่นของแผนที่
ใช้ กบั แผนทีม่ าตราส่ วนระหว่ าง แสดงว่ าแผนทีช่ ุดนั้นจัดทำเป็ นครั้งทีเ่ ท่ าใด
มาตราส่ วน 1:70,000 ถึง 1:35,000 ในภูมิภาค เช่ น ครั้งที่ 17 หรือครั้งที่ 18
8. สารบัญติดต่อ
8. สารบัญติดต่อ

ทั้งหมด 844
ระวาง
คำถาม
มีสารบัญระวางติดต่ อ (Adjoining sheets)  มาให้ แต่ blank พวก 5238 IV ไว้ บางช่ อง
กำหนดมาตราส่ วนมาให้ แล้ วถามว่ าช่ องที่ blank ไว้ ต้องเติมเลขไหนลงไป เราจะมีวธิ ีคดิ โจทย์
ลักษณะนีอ้ ย่ างไร

ประกอบด้วยตัวเลขอารบิค 4 ตัว และเลขโรมัน (I II III หรื อ IV)


ตัวใดตัวหนึ่ง เช่น แผนที่มาตราส่ วน 1:50,000 ได้ 4 ระวาง แสดง
ดังภาพ

วิธีคดิ I II III IV วนแบบ ตามเข็มนาฬิกา 

IV    I
III    II

เส้นแนวนอน สองบล็อค ติดกัน ใช้เลขเส้นรุ ้งเดียวกัน


เส้นแนวตั้ง สองบล็อก ติดกัน ใช้เลขเส้นแวงเดียวกัน 
สี่ บล็อก เป็ นหนึ่งชุด เช่น 5238I  5238II 5328III 5328IV
เลขโรมัน เรี ยงตามเข็มนาฬิกา 
เส้ นรุ้ง

เส้ นแวง
ปกติ 4 ตารางย่อย นับเป็ น 1 ตารางใหญ่
5238  จะมี 4 ช่องเล็กๆ คือ 5238 I ,  5238 II  5238 III,  5238 IV หมุนตามเข็มนาฬิกา  

วิธีจำง่ ายๆ
แนวแกน Y ตัวเลข ที่เปลี่ยน คือ 2 ตัวหลัง  ถ้าขึ้นบน เลขจะเพิ่ม ถ้าลงล่าง เลขจะลด
แนวแกน X ตัวเลข ที่เปลี่ยน คือ 2 ตัวหน้า  ถ้าไปทางขวา เลขจะเพิ่ม ถ้าไปทางซ้ายเลขจะลด
9. ผู้ ผลิ ตแผนท
ปุ จฉา.... หน่วยงานใดเป็นผู้ ผลิ ตแผนที่
ชุ ดนี้ ????
วิสัชนา.... กรมแผนที่ ทหาร
องคป ์ ระกอบภายนอก
1. ช่ื อขอบระวาง
ชุ ดแผนที่ และ
มาตราสว
่ น

2. ช่ื อระวาง

3. หมายเลขประจำระวาง

4. หมายเลขประจำชุ ด

5. การจัดพิ มพ์ เช่น


์ รั ้ งที่ .... โดย....
พิ มพค
6. มาตราสว ่ นแผนที่
องคป
์ ระกอบภายนอก
ขอบระวาง
7. ศัพทานุ กรม

8. สารบาญ
องคป
์ ระกอบภายนอก
ขอบระวาง
9. คำอธิบายสั ญลักษณ์

10. บันทึ ก
องคป
์ ระกอบภายนอก
ขอบระวาง
11. แผนภาพเดคลิ เนชั่น

12. หมายเลขประจำ
แผนที่
(เก็บเข้าคลัง เบิกจ่าย
ง่าย)
3. องค์ประกอบภายในขอบระวาง

หมายถึง สงิ่ ทงหลายที


ั้ แ่ สดงไว้ภายในกรอบ ซงึ่
ล้อมรอบด้วยเสน ้ ขอบระวางแผนที่ ด ังต่อไปนี้
1. สั ญลักษณ์               
2. สี
3. ช่ื อภู มิศาสตร์
4. ระบบอ้างอิ งในการกำหนด
ตำแหน่ง
- พิ กัดภู มิศาสตร์ (ละติจูด ลองติจูด)
- พิ กัดกริด (พิ กัดฉาก)
10. ตัวแผนท

ค่า
เคร่ื องหมายที่ ใช้
แทนสิ่งต่างๆ บน
ผิ วโลก ซ่ึ งมี รูป
ร่างคล้ายของจริง
และรู ปลักษณะ
ที่ ประดิ ษฐ์ข้ึ น
เป็นรู ปภาพ เส้น
จุ ด วงกลม
ส่ี เหลี่ ยม บางครั ้ ง
ใช้สีช่วยทำให้มี
ช่ื อ
ภูเป็มนต
ิศาสตร ์
ั วอักษร
กำกับราย
ละเอี ยดในขอบ
ระวางแผนที่
เพื่ อบอกให้
ทราบวา่ สถาน
ที่ นั้นหรือสิ่ง
นั้นมี ช่ื อเรียก
อะไร
ระบบอ้างอิ ง
กำหนด
ไดตำแหน
แก
้ ่ เป็ ่
นเสง ้น
หรือตารางที่
แสดงไว้ใน
ขอบระวาง
แผนที่ เพื่ อใช้
ในการกำหนด
ค่าพิ กัดของ
ตำแหน่งต่างๆ
ในแผนที่ นั้น
Latitude (ละติจูด) หรื อเส้นรุ้ ง เส้นแนวนอน
ระยะทางที่วัดเป็นมุมไปทางเหนื อและใตข้ องเสน ้ ศูนยส์ ูตร
้ ศุนยส์ ูตรเป็นตน
เสน ้ กำเนิ ดของละติจูดตา่ ง ๆ มีคา่ เริ่ มตน

0 - 90 ใชบ ้ อกภูมิอากาศของโลก
Longitude (ลองจิจูด) หรื อเส้นแวง
เส้นแนวตั้ง
โลกหมุนบนแกนหมุนของโลก
(ตต.ตอ.) รู้ จุด 2 จุดที่แน่นอน

คือ ขัวโลกเหนื อและใต้ เสน ้ ที่ลากใน
แนวเหนื อ-ใต้ เช่ือมขัวโลกท
้ ้
ั งสอง
ตัดกับเสน ้ ศูนยส์ ูตรเป็นมุมฉาก เรี ยก
วา่ เสน ้
เมริ เดียน ใชบ ้ อกวัน - เวลา
1. พิ กัดกริด (พิ กัด
ฉาก)
ประเทศไทยจึงตกอยูใ่ น GZD 47N 47P 47Q 48N 48P
และ 48Q

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
2. พิ กัดภู มิศาสตร์ (ละติจูด ลอง
ติจ, 1ู ดลิ)ปดา = 60 ฟิ
หน่วยวัด : 1 องศา = 60 ลิ ปดา
ลิ ปดา
ระบบว ันเวลาของโลก

• เส้นที่ ใช้ในการคำนวณคื อ เมอริเดี ยน


ปฐม 0° ลากผ่านตำบลกรีนิช กรุ ง
ลอนดอน ที่ น่ี จะมี นาฬิกาชนิ ดหนึ่ ง
เรียกวา่ นาฬิกาโครโนมิเตอร์
• เวลาที่ ปรากฏบนเส้นนี้ เรียกวา่ เวลา
สากล
หลักการคำนวน
• เส้นเมอริเดี ยนทุ ก 15° เวลาต่างกัน 1
เมอริเดี ยนปฐม เริ่มเวลาสากล

- 0 +
เส้นเขตวันสากล
คื อ เส้นเมริเดี ยน
180° ลากผ่านใน
มหาสมุ ทรแปซิฟิก
โดยไม่ผ่านแผ่นดิ น
ใดๆ
โดยผู้ เดิ นทางจาก
ซีกโลกตะวันออกไป
ซีกโลกตะวันตก จะ
ต้องลดลง 1 วัน และผู้
Time zone
สว ่ นประกอบอื่ น ๆ เช่น
ทิ ศ สว
่ นใหญ่อยู ่ภายในขอบระวาง
หากแผนที่ ใดไม่มีเคร่ื องหมายทิ ศ ให้
ถื อวา่ ด้านบนของแผนที่ คือทิ ศเหนื อ
ทิ ศเหนื อกริด (Grid
North) สั ญลักษณ์
คื อ กริด (GN) ได้แก่
แนวทิ ศเหนื อตาม
ทิ ศเหนื อจริง
เส้นกริดทางดิ่ งของ
(True North)
ระบบเส้นกริดใน
สั ญลักษณ์คือ
แผนที่ หรือเรียกวา่
ดาวเหนื อ คื อ
ทิ ศเหนื อแผนที่ ใช้
แนวทิ ศเหนื อ
ในการหาค่าพิ กัดบน
ภู มิศาสตร์ แนว ทิ ศเหนื อแม่เหล็ ก (Magnetic
แผนที่ และมุ ม ภาค
ทิ ศทางหรือเส้น North) สั ญลักษณ์คือคร่ึ งลู กศร
ของทิ ศ
ตรงที่ ชี้ไปยังขั้ว แนวที่ ปลายเข็ มของเข็ มทิ ศชี้ไปใน
โลกเหนื อของ ทิ ศทางที่ เป็ นขั้วเหนื อของแม่เหล็ ก
โลก โดยทั่วไป โลกตลอดเวลา ใช้ประโยชน์ในการ
ประโยชน์ของ
แผนที่
1. ด้านการวางแผนพ ัฒนาประเทศ เชน ่ วาง
ผ ังเมือง
2. ด้านการเมืองการปกครอง เชน่ แนว
พรมแดน การปกครองสว่ นท้องถิน่
3. ด้านการทหาร วางแผนทางยุทธศาสตร์
ข่าวสาร

4. ด้านเศรษฐกิจและสงคม ่ ทำเลทีต
เชน ่ งั้
แหล่งทร ัพยากร วางแผนคุณภาพชวี ต ิ
5. ด้านการเรียนการสอน
6. ด้านการท่องเทีย
่ ว
เคร่ื องมื อที่ ทำหน้าที่ เป็น
ส่ื อ เก็บรวบรวมข้อมู ล
ทางภู มิศาสตร์
ภูมศ
ิ าสตร์สารสนเทศ
ศาสตร์ : 3S

ระบบ ระบบ
การรั บรู้ ระยะ ดาวเที ยมนำ สารสนเทศ
ไกล (RS) หนของโลก ภู มิศาสตร์
(GNSS) (GIS)

เทคโนโลยี ทั้ง 3 ทำงานเป็ นอิ สระต่อกัน หรือนำ


มาเช่ื อมโยงร่วมกันได้ ั
สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
1. รีโมตเซนซ
Remote งิ RS
= ระยะไกล และ Sensing = การ
รั บรู้
"Remote Sensing" = การรั บรู้ จากระยะ
ไกล
หมายถึ ง การรั บสั ญญาณภาพหรือ
สั ญญาณข้อมู ลตัวเลขที่ เกิดขึ้ นจากวัตถุ หรือ
พื้ นที่ โดยไม่ได้สัมผัสกับวัตถุ พื้นที่ นั้น แล้ว
บันทึ กข้อมู ลด้วยการสะท้อนแสงหรือแผ่น
รั งสีพลังงานแม่เหล็ กไฟฟ้า โดยอุ ปกรณ์
บันทึ กจะติดอยู ่กับยานสำรวจ เช่น ดาวเที ยม 92
รีโมทเซนซิง เกิดขึ้ นครั ้ งแรกในสถานี
วิจัยของกองทัพเรือสหรั ฐ เมื่ อปี พ.ศ.2503
การใช้รีโมตเซนซิงเริ่มแพร่หลายเมื่ อ
สหรั ฐอเมริกาได้สง่ ดาวเที ยมสำรวจ
ทรั พยากรดวงแรก LANDSAT-1 ใน
พ.ศ.2515 ิ
หลักการรีโมตเซนซง : องค์
ประกอบสำคัญของการสำรวจ
ข้อมู ลระยะไกล คื อ คลื่ นแสง ซ่ึ ง
เป็ นพลังงานแม่เหล็ กไฟฟ้าที่
เกิดขึ้ นเองตามธรรมชาติ ไม่วา่
เป็ นพลังงานที่ ได้จากดวง
อาทิ ตยห ์ รือเป็ นพลังงานจากตัว 93
หลักการรี โมตเซน
ซิง


สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
Remote Sensing
เครือ
่ งมือทีเ่ กีย
่ วข้องก ับ
รีโมตเซนซงิ ได้แก่
1. รู ปถ่ายทางอากาศ
2. ข้อมู ลจาก
ดาวเที ยม
1. ภาพถ่ายทาง
อากาศ
รู ปที่ ได้จากการถ่ายทางอากาศ ผ่านกล้อง
และฟิลม ์ จะถ่ายจากเคร่ื องบิน กล้องที่ ใช้
ถ่ายจะมี ขนาดใหญ่ เลนสย ์ าวกวา่ ปกติ จะให้
ข้อมู ลทางทรั พยากรธรรมชาติท่ี ค่อนข้าง
ละเอี ยดดี กวา่ ข้อมู ลดาวเที ยม เพราะสามารถ
ดู เป็ นเชิงสามมิติได้
ในประเทศไทยสว ่ น
ใหญ่ กรมแผนที่ ทหาร
กระทรวงกลาโหม
เป็นหน่วยผลิต ตั้งแต่
พ.ศ.2496
**ผู้ ใช้ต้องมี ความรู้
และการแปลความจาก
สิ่งที่ มองเห็ นจากรู ป
เพราะบนภาพถ่ายจะ
ไม่มีคำอธิบายใดๆ
การถ่ายภาพ
ทางอากาศ

กล้องถ่ายภาพ
ทางอากาศ

ฟิลม
์ ภาพถ่าย
ทางอากาศ
ประเภทของรู ปถ่ายทางอากาศ

จะแบ่งได้ตามล ักษณะของ
การถ่ายรูป ด ังนี้
 รูปถ่ายทางอากาศเฉียงสูง
 รูปถ่ายทางอากาศเฉียงต่ำ
 รูปถ่ายทางอากาศดิง่
1. รู ปถ่ ายเฉียงสู ง (High Oblique Photograph) คือ รู ปถ่ ายทาง
เฉียงที่มภี าพพืน้ ขอบฟ้ า
2. รู ปถ่ ายเฉียงต่ำ (Low Oblique Photograph) คือ รูปถ่ ายเฉียงที่ไม่ มี
ภาพพืน้ ขอบฟ้า
3. รู ปถ่ ายแนวดิง่ (Vertical Photograph) ได้ จากการถ่ ายรู ป
ด้ วยกล้ องทีต่ ดิ ตั้งไว้ ให้ แนวแกนกล้ องขนานกับแนวดิง่
ตั้งฉากกับพืน้ ผิวโลก
 รูปถ่ายเฉียงสูงก ับเฉียงต่ำ ใชถ ้ า่ ยรูป
เพือ่ แสดงภาพรวมของพืน ้ ที่ แต่จะมี
มาตราสว่ นแตกต่างก ัน อยูใ่ กล้
มาตราสว่ นใหญ่ อยูห ่ า่ งมาตราสว่ นเล็ก
ลงไปขอบฟ้า
 สว่ นรูปถ่ายแนวดิง่ จะมีความผ ันแปรของ
มาตราสว่ นเล็กน้อยและนิยมใชก ้ ันมาก
และม ักเรียกว่า ภาพถ่ายทางอากาศ
การศึกษาข้อมู ลจากรู ปถ่ายทาง
ึ อากาศ
 การศกษาข้อมู ลจากรู ปถ่ายทาง
อากาศ ทำได้ 2 วิธี คื อ การศึกษาด้วย
สายตา และ การศึกษาด้วยกล้องสามมิติ
์ ู ่ ใช้ภาพ 2 ใบ)
(กล้องเลนสค
การแปลภาพถ่ายทางอากาศแตกต่าง
จากการดู ภาพทิ วทัศน์ทั่วไป เพราะผู้
แปลจะต้องตรวจหาเพื่ อรู้ จักวัตถุ บน
ภาพและการวิเคราะห์ เพื่ อตี ความสิ่งที่

หล ักเกณฑ์การแปลความหมาย
ภาพถ่ายทางอากาศ
1. รูปถ่ายทางอากาศทีใ่ ชต ้ อ
้ งเป็นรูปถ่ายต่อเนือ
่ งก ัน
และแนวบินเดียวก ัน ท้องฟ้าโปร่ง ไม่มเี มฆบ ัง
้ ล้องสามมิตต
2. ผูใ้ ชก ิ อ
้ งมีสายตาปกติดู
3. โต๊ะทีว่ างกล้องต้องเป็นแนวราบ แสงสว่างเพียงพอ
4. ผลการแปลฯ จะต้องให้ใกล้เคียงสภาพจริงมากทีส ่ ด

5. ต้องนำความรูห ้ ลายศาสตร์มาประกอบการแปล
6. ต้องมีการออกภาคสนามเพือ ่ ตรวจสอบความถูก
ต้อง
ประโยชน์ของภาพถ่ายทางอากาศ
ในประเทศไทย
1. ด้านผ ังเมือง เป็นภาพรวมการใชพ ้ น้ื ทีใ่ นเมือง
2. ด้านเกษตรกรรม สามารถตรวจสอบการปลูกพืช
แต่ละชนิดได้ โดยไม่ตอ ้ งเข้าไปสำรวจ (ล ักษณะ
แปลง)
3. ด้านอุตสาหกรรม เพือ ่ การจ ัดนิคมอุตสาหกรรม
ระบบการขนสง ่ ท่าเรือ สาธารณู ปโภคเพือ ่ การผลิต
4. ด้านการบริการ เพือ ่ วางแผนการบริการจากร ัฐและ
เอกชน เชน ่ สถานีตำรวจ สถานีน้ำม ัน ศูนย์การค้า
5. ด้านการเปลีย ่ นแปลง เชน ่ การเพิม่ -ลดของผืนป่า
กิจกรรมการซ้อนทับข้อมู ลแผนท
1. ให้นกั เรี ยนส่ งตัวแทนออกมาจับฉลากโจทย์การทำแผนที่
2. ตัวแทนกลุ่มอ่านโจทย์และสมาชิกภายในกลุ่มตีความจากโจทย์ที่ให้
พร้อมวาดออกมาเป็ นภาพ
3. ให้ใช้สญั ลักษณ์ในแผนที่ท้ งั 3 แบบ วาดออกมาเป็ นภาพ
4. ส่ งตัวแทนนำเสนอภาพของกลุ่มตนเองในคาบถัดไป
ตน
้ ไม้

สวน,ไร่
2. ข้อมูลจากดาวเทียม
ข้อมูลจากดาวเทียมเป็นสญญาณต ั ัวเลขทีไ่ ด้ร ับ

ณ สถานีร ับสญญาณดาวเที ยมภาคพืน ้ ดินซงึ่
กระจายทว่ ั โลก
เมือ ั
่ สถานีร ับสญญาณภาคพื ้ ดินได้ร ับข้อมูล

ต ัวเลขทีส ่ มาแล้ว จะแปลงต ัวเลขออกเป็นภาพอีก
่ ง
เรียกว่า “ภาพจากดาวเทียม” ทีนำ ่ ไปแปลความ
หมายต่อไปได้
อนึง่ ภาพทีป ่ าพของข้อมูลบนโลก
่ รากฏไม่ใชภ
โดยตรง แต่ดาวเทียมจะเก็บร ังสห ี รืออุณหภูมข ิ อง
ว ัตถุและประมวลผลผ่านคอมพิวเตอร์
ภาพถ่ายดาวเทียม (satellite
imagery) เป็นข้อมูล ทีไ่ ด้จากการ
สำรวจจากระยะไกลประเภทหนึง่
โดยมีคณ ุ สมบ ัติพเิ ศษหลายประการ

เชน
• สามารถถ่ายภาพคลุมบริเวณ
กว้างมีขนาดเกินกว่า 100
กิโลเมตรขึน ้ ไป ให้ภาพทีสำ
่ รวจ
้ ทีบ
พืน ่ ริเวณกว้างในขณะเวลา
เดียวก ัน
ภาพจากดาวเทียม
ลักษณะภาพจากดาวเทียม เกิดจากข้อมูลเชิงเลข
ประกอบด้วยจุดภาพ

ที่มา : กรมแผนที่ทหาร
ภาพถ่ายดาวเทียมเพือ
่ พยากรณ์อากาศ
ติดตามการเคลื่ อนที่ ของพายุ


สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
ภาพจากดาวเทียมแสดงให้ เห็นการเปลีย่ นแปลง
ของทะเลน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือ

16 กันยายน พ.ศ. 2555 10 กันยายน พ.ศ. 2559


ด้านปรากฏการณ์ที่เกิด
ด้านตําแหน่งที่ตงั ้ และ ขึน

ขอบเขต บนพื้นผิวโลก
ประโยชน์ของการ
ใช้
ภาพจากดาวเทียม
ด้านการแก้ปัญหา ด้านการเปลี่ยนแปลง
เกี่ยวกับ ข้อมูล
ทรัพยากรธรรมชาติ บนพื้นโลก
ประเภทของดาวเที ยม
1. ข้อมูลดาวเทียมแบบพาสซพ ี เป็นการ

ร ับสญญาณข้ อมูลจากการสะท้อนคลืน ่
แสงและคลืน ่ ความร้อนจากดวงอาทิตย์
จะโคจรจากขวโลกเหนื
ั้ อไปย ังขวโลก
ั้
ใต้ มีขอ ้ จำก ัด คือ ไม่สามารถ
ทะลุผา่ นเมฆได้ ทำให้มป ี ญ ั หา
ในการบ ันทึกภาพ ในชว ่ ง
มีเมฆปกคลุดาวเที
ม ยมเทลสตาร์
เป็ นดาวเที ยมแบบ
พาสซีพ 
2. ข้อมูลดาวเทียมแบบแอคทีฟ (ขยาย

สญญาณ) เป็นข้อมูลดาวเทียมทีไ่ ด้ร ับ
จากการสง ั
่ สญญาณไปย ังโลก และ
สะท้อนกล ับมาย ังเครือ ่ งร ับ (จานร ับ
ข้อมูล) โดยอาศยพล ั ังงานจาก
ดาวเทียม ่ ไม่
่ ตอ้ งอาศ ั
ยพล ังงานจาก
สั ญญาณคลื นที ใช้
่ ดวง
มาก คื อ คลื น
อาทิตย์ (ระบบเรดาร์)
ไมโครเวฟ สามารถ
ทะลุ ผ่านลงสู ใ่ ต้ดิน
3-5 เมตร ผ่านเมฆ
ได้ อากาศจึ งไม่เป็ น ั
สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
เปรียบเทียบระหว่าง Passive และ Active

Passive Sensor Active Sensor


• ถา่ ยภาพในแนวดิ่ง • ถา่ ยภาพในแนวเฉียง
• ใชพ ้ ลังงานจากดวงอาทิตย ์ • ใชพ ้ ลังงานเทียมจากแผง
• ถา่ ยในเวลากลางวัน พลังงาน
• ใชค ้ วามยาวคลื่นสัน:
้ • ถา่ ยไดท ้
้ ั งกลางวั นและกลาง
ไมโครเมตร คืน
• ถา่ ยภาพไมท ่ ะลุเมฆ หมอก • ใชค ้ วามยาวคลื่นยาว:
ฝน ซม./เมตร
• วัดคา่ การสะทอ ้ น การดูด • ถา่ ยภาพทะลุเมฆ หมอก ฝน
ซึม (เบา)
• วัดคา่ การกระจัดกระจายกลับ
• ขึ้นกับปัจจัย : ชั น้ ของสัญญาณเรดาร์
ประเภทของดาวเที ยม
1. ดาวเที ยมส่ื อสาร เช่น ไทยคม
2. ดาวเที ยมสำรวจทรั พยากร เช่น LANDSAT 1-7
(USA) SPOT (ฝรั ่ งเศสและยุ โรป) MOS (ญี่ ป่ ุ น)
3. ดาวเที ยมพยากรณ์อากาศ เช่น NOAA(USA),GMS
4. ดาวเที ยมทางการทหาร
5. ดาวเที ยมด้านวิทยาศาสตร์
6. ดาวเที ยมนำหน (GNSS)
วงโคจรของ
ดาวเที ยม
ดาวเที ยม
สำรวจ
ทรั พยากร
ดาวเที ยมส่ื อสาร
ยมพยากรณ์อากาศ
ื่ สาร เพือ่ การติดต่อ
ดาวเทียมสอ
สอื่ สารและโทรคมนาคม เชน ่ ร ับสง ่

สญญาณโทรศ ั
พท์ โทรท ัศน์ วิทยุ
ข่าวสารคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ดาวเทียมสอ ื่ สารเป็นดาวเทียมค้างฟ้า
(โคจรรอบโลกใชเ้ วลา 24 ชว่ ั โมง จึง
เห็น ณ จุดเดิมตลอดเวลา)
ดาวเทียมไทยคม (ไทย) ดาวเทียม
ซากุระ (ญีป ่ ่ น)

พิ สัยของดาวเที ยมไทยคม 1A และ พิ สัยของดาวเที ยมไทยคม 5


ดาวเทียมเพือ ่ กำหนดตำแหน่งบน
้ โลก (ดาวเทียมนำร่อง) ใชใ้ นการ
พืน
สำรวจหาตำแหน่งของว ัตถุบนพืน ้ โลก
เชน่ เครือ
่ งมือนำร่องยานพาหนะ (GPS
Navigation) หาตำแหน่งวางแผนการ
ก่อสร้าง เป็นต้น
ดาวเทียมเพือ ่ กิจการทหาร
ดาวเทียมทว่ ั ไปก็ใชไ้ ด้ เชน ่ ดาวเทียม
สอ ื่ สารใชต ้ ดิ ต่อระหว่างกองท ัพก ับ
ฐานท ัพ และใชร้ ับสญญาณจากสายล
ั ับ
หรือจากอุปกรณ์สอดแนมอ ัตโนม ัติทต ี่ งั้
ทิง้ ไว้ในแดนข้าศก ั
ึ สญญาณเหล่ านี้

ต้องเข้ารห ัส ผูร้ ับสญญาณจะถอดรห ัส
ได้ก็ตอ ่ เมือ
่ มีเครือ่ งร ับชนิดพิเศษทีทำ

ไว้เพือ ่ การนีโ้ ดยเฉพาะเท่านน ั้
ดาวเทียมทหารแท้ ม ักจะเป็นความ
ล ับของทุกประเทศ และบางทีดาวเทียม
ต ัวอย่าง ดาวเทียม Cosmo-SkyMed
เป็นดาวเทียมชนิดเรดาร์ (SAR) ทีม ่ ี
คุณล ักษณะเดียวก ัน จำนวน 4 ดวง ใช ้
เพือ่ กิจการพลเรือนและทหาร สร้างโดย
กระทรวงกลาโหมประเทศอิตาลี
จุดประสงค์หล ักใชเ้ พือ
่ ติดตามการ
เปลีย ่ นแปลงของโลกในกรณีฉุกเฉินเร่ง
ด่วน
ชนิดของดาวเทียมสำรวจ
ทร ัพยากรธรรมชาติ
ดาวเทียมสำรวจ
ทร ัพยากรธรรมชาติ ให้ขอ ้ มูลแก่ผใู ้ ช ้
ซงึ่ เป็นประโยชน์ในการสำรวจพืน ้
แผ่นดิน การเฝ้าตรวจสภาวะแวดล้อม
ล ักษณะอากาศ และการจ ัดการ
ทร ัพยากร ได้แก่
1. ดาวเทียมอุตน
ุ ย
ิ มวิทยา
2. ดาวเทียมสมุทรศาสตร์
ดาวเทียม GMS
ดาวเที ยม FY 2

ดาวเทียม NOAA

ดาวเที ยม
GOES
ต.ย.ดาวเที ยมอุ ตุนิยมวิทยา
ดาวเทียมสมุทรศาสตร์ สำรวจทาง
ทะเล ในปี พ.ศ. 2521 ดาวเทียมดวง
่ น
แรก คือ ดาวเทียม Seasat สว
ดาวเทียม Robinson 34 มีบทบาทมาก
ในปัจจุบ ัน
ดาวเทียมสำรวจ
ทร ัพยากร

ดาวเที ยม MOS 1 ญี่ ป่ ุ น


ดาวเที ยม LANDSAT
USA

ดาวเที ยม SPOT
ฝรั ่ งเศส

ดาวเที ยม ERS-1 กลุ่มยุ โรป ดาวเที ยม JERS-1 ญี่ ป่ ุ น


Landsat by USA NASA


สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
Landsat 8 CONUS WELD August 2013 ั
สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
การใช้ ข้อมูลจากดาวเทียมในประเทศไทย
อดีตไทยต้ องซื้อจาก USA ต่ อมาไทยร่ วมมือกับนาซ่ าตั้งสถานีรับ
สั ญญาณดาวเทียมทีล่ าดกระบัง กรุงเทพฯ ตั้งแต่ พ.ศ.2525 (รับผิดชอบ
โดย สทอภ.)
ดาวเทียมสั ญชาติไทย เริ่มต้ นจริงจังขึน้ เมือ่ 11 กันยายน 2534 คือ
• ไทยคม 1 พ.ศ. 2536-2551 หมดอายุ
• ไทยคม 2 พ.ศ. 2537-2552 หมดอายุ
• ไทยคม 3 พ.ศ. 2540-2549 ปลดระวาง
• ไทยคม 4 พ.ศ. 2548 ใช้ งานได้
• ไทยคม 5 พ.ศ. 2549 เริ่มมีปัญหา
การใช้ข้อมู ลจากดาวเที ยมใน
ประเทศไทย
• ไทยคม 6 ม.ค.2557 ใช้ งานได้ (รองรับทีวดี จิ ิดอล)
• ไทยคม 7 ก.ย.2557 ใช้ งานได้ (รักษาสิ ทธิวงจรของไทย)
• ไทยคม 8 (28พ.ค.59) รองรับอุตสาหกรรมบรอดคาสต์
ปัจจุบันบริษทั ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำกัด ได้ หมดสั มปทาน อำนาจการ
ดูแลสั ญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร

ไทยคม 7

ปล่อยจรวดสง่ ไทยคม 7
VDO ดาวเทียมไทยคม 8
การใช้ข้อมู ลจากดาวเที ยมใน
ประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สามารถสร้ างดาวเทียม “ไทย
พัฒ” เป็ นดวงแรก แต่ มขี นาดเล็กจึงใช้ เพือ่ การศึกษา
ไทพัฒ 1 (Thaipat-1) เป็ นดาวเทียมวงโคจร
ต่ำ ปล่ อยสู่ อวกาศเมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2541

ไทพัฒ 2 (Thaipat-2) เป็ นดาวเทียมสื่ อสารและสำรวจพืน้ ผิวโลก


ปล่ อยสู่ อวกาศเมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ.2546
ปัจจุบันกำลังศึกษาความเป็ นไปได้ ทจี่ ะพัฒนาดาวเทียม ไทพัฒ 3
เป็ นดาวเทียมสำรวจข้ อมูลระยะไกล
ดาวเที ยมธีออส : ไทย
 ก่อนดาวเทียมธีออสจะขึน้ โชต
สู่ อวกาศ ไทยมีการ
รับสั ญญาณและให้ บริการข้ อมูลดาวเทีย
ม SPOT-2,4, และ 5
 ดาวเทียมธีออส : THEOS (Thailand Earth Observation Satellite)
เป็ นดาวเทียมสำรวจข้ อมูลระยะไกล (RS) เพือ่
สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของไทย
 เป็ นความร่ วมมือระหว่ างรัฐบาลไทยและ
รัฐบาลฝรั่งเศส
 ดำเนิ นงานโดยสำนักงานพัฒนา
เทคโนโลยี อวกาศและภู มิสารสนเทศ
(สทอภ.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ร่วมกับบริษัท อี เอ ดี เอส
 เป็นดาวเที
แอสเตร ี ยมยประเทศฝรั ่ งเศส งบประมาณ
มสำรวจดวงแรกของไทย
และเอเช
6,000 ล้าี ย ตะวันออกเฉียงใต้
นบาท
 ่ วกาศ วันที่ 1 ตุ ลาคม
ขึ้ นสู อ
2551 ฐานสง่ จรวดเมื องยา
สนี รั สเซีย
 เป็ นดาวเที ยมขนาดเล็ ก

 เป็นดาวเทียมวงโคจรต่ำ (ระยะสูงจากพืน้
โลกไม่เกิน 2,000 กม.)
 โคจรรอบโลกทุก 26 ว ัน

 อาศ ั
ยแหล่
สถานี รั บสั ญญาณง พล ังงานจากดวงอาทิ
ต ย์
(ดาวเที
พาสซยพ ี มที
) ่ เขตลาดกระบัง
กรุ งเทพ และสถานี
ควบคุ มดาวเที ยมที่
ศรีราชา ชลบุ รี
 มี หน่วยงานหลายประเทศ
สนใจขอรั บสั ญญาณจาก
THEOS 26 กุ มภาพันธ ์ 2552
บริเวณปากน้ำเจ้าพระยา

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
VDO ดาวเทียมธีออส
้ ระโยชน์ดาวเทียมธี
การใชป
ออสของไทย
1. สำรวจหาแหล่งน้ำ
2. ประเมินอุทกภ ัย พืน ้ ทีก
่ ารเกิดสน ึ ามิ
3. สำรวจหามลพิษจากคราบน้ำม ัน
4. เป็นข้อมูลจ ัดทำแผนทีภ ่ มู ป
ิ ระเทศ ธรณีวท ิ ยาของ
ไทย
5. หาพืน้ ทีเ่ พาะปลูก วางแผนกำหนดเขตเศรษฐกิจ
6. ติดตามการเปลีย ่ นแปลงพืน ้ ทีป
่ ่ าไม้
7. ติดตามการเปลีย ่ นแปลงของชุมชน การวางผ ังเมือง
8. การพ ัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐานด้านสาธารณู ปโภค
ทำแผนที่
(เฉพาะ
เร่ื อง)
แผนที่ ท่ี มี
จัดการ การ
ทรั พยากร อุ ตุนิยมวิท
เปลี่ ยนแปล ยา ติดตาม
และสิ่ง ง
แวดล้อม อากาศ
จัดการพื้ นที่ เตื อนภัย
สรุ ป
ประโยชน์
ของข้อมู ล
จาก
ดาวเที ยม
2. ระบบดาวเทียมนำหน
ของโลก : GNSS
(Global Navigation Satellite Systems)
VDO ระบบนำทาง
จาก GPS มา
เป็น GNSS
o ในการทำงานจริงมักพบปัญหาจำนวนดาวเทียม GPS ไม่ เพียงพอต่ อการ
ทำงาน (< 4 ดวง) เช่ น เขตเมือง บริเวณเหมือง เป็ นต้ น
o การเพิม่ สั ญญาณใหม่ ให้ กบั GPS ก็ไม่ ช่วยอะไรได้
o ในปัจจุบันมีระบบดาวเทียมทีส่ ามารถใช้ งานได้ และกำลังจะใช้ ได้ ในอนาคต
อีกหลายระบบ (GLONASS, GALILEO, COMPASS)ทำให้ มกี ารเรียน
ระบบดาวเทียมทั้งหลายนีว้ ่ า GNSS (Global Navigation Satellite Systems)
ซึ่งในอนาคตคาดว่ าจะมีดาวเทียมทีใ่ ช้ ในการหาตำแหน่ งมาก ถึง 134 ดวง!!!
o จำนวนดาวเทียมทีม่ ากขึน้ จะมีผลทำให้ การหาตำแหน่ งทีถ่ ูกต้ องสู งได้ เร็วขึน้
เพิม่ เมืองมากขึน้ และถูกรบกวนสั ญญาณน้ อยลง
ระบบดาวเทียมนำหนของ
โลก : GNSS
คือ ระบบทีใ่ ช้ ในการบอกพิกดั บนโลกโดยการใช้ ข้อมูลดาวเทียมในการบอกตำแหน่ ง
ปัจจุบันมีหลายระบบ เช่ น
(1) GPS ของประเทศสหรัฐอเมริกา
(2) GLONASS ของประเทศรัสเซีย
(3) Galileo ของกลุ่มประเทศยุโรป
(4) Compass ของประเทศจีน
เป็ นระบบดาวเทียมทีโ่ คจรรอบโลกในระดับความสู งทีแ่ ตกต่ างกัน และยังมีดาวเทียมนำ
หนระดับภูมภิ าค เช่ น
(5) QZSS ของญีป่ ุ่ น และ
(6) IRNSS ของอินเดีย เป็ นต้ น
องค์ประกอบของ
ระบบนำหน
ประกอบไปด้ วย 3 ส่ วนหลัก คือ
1. ส่ วนอวกาศ มีเครือข่ ายดาวเทียมหลัก 3 ค่ าย คือ
– อเมริกา ชื่อ NAVSTAR มีดาวเทียม 28 ดวง ใช้ งานจริง 24 ดวง
อีก 4 ดวงเป็ นตัวสำรอง มีรัศมีวงโคจรจากพืน้ โลก 20,162.81
กม. แต่ ละดวงโคจรรอบโลก 12 ชั่วโมง
– ยุโรป ชื่อ Galileo มี 30 ดวง พร้ อมใช้ งานในปี 2008
– รัสเซีย ชื่อ GLONASS มีดาวเทียม 24 ดวง คล้าย GPS
ปัจจุบัน ภาคประชาชนทัว่ โลกสามารถใช้ ข้อมูลจากดาวเทียมของ
ทางอเมริกา (NAVSTAR) ได้ ฟรี
องค์ประกอบของระบบนำหน
ด้วยดาวเทียม
2. ส่ วนควบคุม ประกอบด้ วยสถานีภาคพืน้ ดิน สถานีใหญ่ อยู่ที่ Falcon
Air Force Base ประเทศสหรัฐอเมริกาและศูนย์ ควบคุมย่ อยอีก 5 จุด
กระจายไปทัว่ โลก
3. ส่ วนผู้ใช้ งาน ผู้ใช้ งานต้ องมีเครื่องรับสั ญญาณทีส่ ามารถรับคลืน่ และ
แปรรหัสจากดาวเทียม
ทุ กวันนี้ มักจะเข้าใจผิ ดวา่ GPS
เป็ น GPRS
GPRS (General Packet Radio Service) เป็ น
ระบบสื่ อสารสำหรับโทรศัพท์ มอื ถือใช้ เพือ่ บริการส่ ง
ข้ อมูลและเชื่อมต่ อโทรศัพท์ มอื ถือ กับเครือข่ าย
อินเตอร์ เน็ต
ทุ กวันนี้ มักจะเข้าใจผิ ดวา่ GPS
เป็ น GPRS

GPS (Global Positioning System) เป็ นระบบการระบุ


ตำแหน่ งบนพืน้ โลกด้ วยดาวเทียม อาศัยเครื่องรับ
สั ญญาณจากดาวเทียมหรือเครื่อง GPS ซึ่งมี 2
ประเภท คือ
• จีพเี อสเพือ่ ใช้ ในการนำทาง (GPS Navigator)
• จีพเี อสเพือ่ การติดตามและบอกตำแหน่ ง (GPS Tracker)
ในปัจจุบันมีหลายขนาดและหลากรู ปร่ าง บางแบบมีหน้ าจอแสดง
ตำแหน่ งการเดินทางและในโทรศัพท์ มอื ถือบางรุ่นก็มรี ะบบจีพเี อสด้ วย
เช่ น iPhone 
หล ักการทำงานของ GPS
(USA)
1. ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกประมาณ 24 ดวง วงโคจรละ 4ดวง
2. การคำนวณพิกดั โดยระบบจีพเี อส ใช้ ดาวเทียม 4 ดวงเป็ นอย่ างน้ อย
เพือ่ ความแม่ นยำ (3 ดวงก็หาตำแหน่ งได้แต่ ไม่ แม่ นยำ)
3. ดาวเทียมอยู่สูงกว่ าผิวโลก 20,200 กม. (วงโคจรระดับกลาง)
4. โคจรรอบโลกภายใน 11 ชั่วโมง 50 นาที
5. มีสถานีภาคพืน้ ดินตรวจสอบการโคจรโดยคลืน่ วิทยุ
6. ผู้ใช้ เครื่องรับสั ญญาณตรวจจุดพิกดั ภาคพืน้ ดินของตนเองว่ าอยู่โซน
ใดของโลกก่ อนใช้ ทุกครั้ง
7. ระบบ GPS เป็ นระบบทีใ่ ช้ เรียกดาวเทียมนำร่ องของ USA
หล ักการทำงานของ
GNSS


สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
ี ของ
ข้อดีและข้อเส ย
ระบบ GNSS
ข้อดี ข้อเสีย
1. สามารถหาตำแหน่ง 1. ถ้าพื้ นที่ มีต้นไม้
ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ปกคลุ ม สั ญญาณ
2. สามารถหาตำแหน่ง ดาวเที ยมจะลงมาไม่
ได้ทุกพื้ นที่ ในโลก ถึ ง
3. ใช้เวลาวัดน้อยและ 2. ตัวเคร่ื องมี ราคาแพง
มี ความถู กต้องสู ง 3. เคร่ื องล้าสมัยเร็ว
4. มี ความสะดวก
รวดเร็วในการ
ปฏิ บัติ พกพาง่าย

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
การพ ัฒนาการของ
เครือ
่ งร ับ GNSS
o ราคาเคร่ื องถู กลง ขนาดเคร่ื องเล็ กลง
o การทำงานเร็วขึ้ น ประสิทธิภาพดี ข้ึ น
o เน้นตลาดใหญ่เป็นการใช้ในรถยนต์ เพื่ อ
การนำหน
o ตลาดที่ ใหญ่มากเป็ นการใช้ในโทรศัพท์มือ
ถื อ
o เริ่มมี การผลิ ตเคร่ื องรั บที่ สามารถใช้ภายใน
อาคารได้
ประโยชน์ของระบบ GNSS

ใช้ในกิจการทหาร เช่น กำหนดเป้าหมาย

ใช้ในการกำหนดจุ ดพิ กัดผิ วโลก แสดง


ข้อมู ลใน GIS

ใช้ในการสำรวจทิ ศทาง เดิ นทาง

ใช้ในการสำรวจตำแหน่งที่ เกิดภัย
ธรรมชาติ
ใช้ในกิจการอื่ น เช่น การบิน ตำแหน่ง
การลงจอด ั
สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
3. สารสนเทศทาง
ภู มิศาสตร : GIS
ระบบสารสนเทศทาง
ภูมศ
ิ าสตร์
Geographic Information System : GIS
หมายถึ ง เคร่ื องมื อที่ ใช้ระบบคอมพิ วเตอร์ เพื่ อ
ช่วยในการนำเข้า จัดเก็บ จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข
จัดการและวิเคราะห์ พร้อมทั้งแสดงผลข้อมู ลเชิง
พื้ นที่ ตามวัตถุ ประสงคต ์ ่างๆ ที่ กำหนดไว้
VDO ระบบ GIS
ดังนั้น GIS จึงเป็ นเครื่องมือทีม่ ปี ระโยชน์ เพือ่ ใช้ ในการจัดการ และ
บริหารการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมและสามารถติดตาม
การเปลีย่ นแปลงข้ อมูลด้ านพืน้ ที่ ให้ เป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
GIS ระบบแรกของโลก คือ The Canada Geographic
Information System (CGIS) ซึ่งพัฒนาขึน้ เมือ่ ปี ค.ศ. 1964
องคป
์ ระกอบหลักของระบบ GIS
อุ ปกรณ์คอมพิ วเตอร์
ข้อมู ล

โปรแกรม

บุ คลากร
*สำคัญ
วิเคราะห์ข้อมู ล/ขั้นตอนการทำงาน ที่ สุด*
ข้อมู ลมี ทั้งที่
เป็นแบบกริดและ
1. คอมพิวเตอร์
2. เครื่องกำหนดค่ าพิกดั (GPS)
3. แผงแป้นอักขระ
4. เครื่องอ่านพิกดั (Digitizer)
5. เครื่องกราดตรวจ (Scanner)
6. เครื่องวาดรูป (Plotter)
7. เครื่องพิมพ์ (Printer)

อุ ปกรณ์
คอมพิ วเตอร์
1 (จัดเก็บข้อมู ล) 2 – 5 (นำเข้าข้อมู ล) 6 – 7
องพิ มพ์ (Printer)

เครื่ องพิ มพ์ (Printer)

เครื่ องอา่ นพิกัดเครื่ องวาดรู ป (Plotter)


บอก scale แผนที่ ขณะ พิ กัดของ
เมนู ต่างๆ
นั้น pointer

หน้าต่าง Project บอกข้อมู ลของสิ่งที่ หน้าต่าง


เลืต
อั วอย
ก ่าง View

โปรแกรม GIS
ขั้นตอนการใช้ระบบสารสนเทศทางภู มิศาสตร์
การใช้ระบบสารสนเทศ
ภู มิศาสตร์
ระบบสารสนเทศมีประโยชน์ อย่ างยิง่ ต่ อการจัดเก็บระบบ
ข้ อมูลทีม่ อี ยู่มากมาย โดยเฉพาะในเรื่อง
1. ด้ านจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น ป่ าไม้ แหล่งน้ำ แร่ ธาตุ
2. ด้ านจัดการทรัพยากรเกษตร เช่ น คุณภาพพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ระบบ
ชลประทาน
3. ด้ านจัดการภัยพิบัติ เช่ น พืน้ ทีเ่ สี่ยงภัยแผ่นดินถล่ม อุทกภัย
4. ด้ านจัดการสิ่ งแวดล้อม เช่ น การกระจายของฝุ่ นและก๊าซ
5. ด้ านสั งคม เช่ น ความหนาแน่ นของประชากร เพศ อายุ
6. ด้ านเศรษฐกิจ เช่ น รายได้ของประชากร ทีต่ ้งั โรงงาน
ข้อดีของระบบสารสนเทศทางภูม ศ
ิ าสตร์

1. จัดเก็บข้อมู ลได้ไม่จำกัด เช่น ตาราง ภาพ


ข้อมู ลสแกน
2. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ข้อมู ล
เชิงพื้ นที่ ท่ี มีการเปลี่ ยนแปลงอย่างต่อ
เนื่ อง
3. การเรียกใช้ข้อมู ลสามารถทำได้อย่าง
รวดเร็ว
4. การปรั บปรุ งและแกไขขอมู ลทำไดงายและ
เครือ
่ งประเภททีเ่ ป็นอุปกรณ์
1. ลูกโลกจำลอง
ลู กโลกจะแสดงเป็ นสอง
แบบ คื อ
• แสดงลักษณะผิ วโลก
(พื้ นทวี ปและพื้ น
มหาสมุ ทร)
• แสดงแสดงสว ่ นที่ สมมติ
ขึ้ น (เส้นเมอริเดี ยนและ
ข้อเสดี เห็ น ภาพรวมท ่ ั ้ ง
้ นขนาน เพื อบอกพิ กัดหมด เข้ าใจง่ า ย
ข้อเสีย คื อ มี รายละเอี ยดน้อย ตัว
ภู มศาสตรเป็นคาละตจู ด
2. เข็มทิศ
อุ ปกรณ์พื้นฐานในการ
เรียนรู้ ของนักภู มิศาสตร์ ใช้
บอกทิ ศทาง
วางเข็ มทิ ศในแนวระนาบ
ตั้งแกนเล็ งวัตถุ หมุ นหน้าปัด
ให้เข็ มบอกค่าหันไปทางทิ ศ
เหนื อแม่เหล็ กโลก
3. เคร่ื องมื อวัดพื้ นที่
มี ลักษณะคล้าย
ไม้บรรทัดทำด้วยโลหะ
ยาว 1 ฟุ ต ใช้สำหรั บวัด
พื้ นที่ ในแผนที่ ท่ี แสดง
บนพื้ นที่ ราบเท่านั้น
วิธีใช้ ลากเส้นจน
ครบรอบ เคร่ื องจะ
คำนวณระยะที่ ลากออก
4. เทปวัดระยะทาง
ใช้ สำหรับออกภาคสนาม มี 3 ชนิด
- เทปที่ทำด้ วยผ้ า วัดระยะสั ้ นๆ
- เทปที่ทำด้ วยโลหะ
- เทปที่ทำด้ วยโซ่ ใช้ วดั ระยะทางยาวๆ
# ถือเทป 2 คน บางชนิดใช้ เป็ นวงล้อ
เทปว ัด
ระยะทาง
เครือ
่ งมือว ัดระยะในแผนที่ เรียกว่า “ล้อว ัด
ระยะ” สามารถว ัดระยะในแผนทีไ่ ด้โดยรวดเร็ว
สามารถแปลงระยะทีว่ ัดได้ในแผนทีใ่ ห้เป็นระยะ
ทางในภูมป ิ ระเทศได้โดยเทียบก ับมาตราสว่ น
ของแผนทีน ่ นๆ
ั้
5. กล้องวัดระดับ
ใช้วัดระดับความสู งจากพื้ นดิ น
การทำงาน วัดระดับของตำแหน่งหนึ่ ง
กับอี กตำแหน่งหนึ่ งให้สูงจากพื้ นดิ นระดับ
เดี ย##
วกนิ
ั นยมตั้งกล้องบน
โต๊ะราบ 3 ขา ผู้ ใช้ต้อง
ผ่านเลนสท ์ ่ี ขยายให้
เห็ นมาตราวัดบนไม้
วัด
้ ที่
กล้องว ัดระด ับพืน
staff วัดระดับความสู งต่ำ
6. เคร่ื องย่อขยายแผนที่
ใช้ในการย่อหรือ
ขยายแผนที่ ให้ได้
ขนาดหรือมาตราสว ่ น
ตามที่ ต้องการ
เป็ นอุ ปกรณ์ท่ี ใช้ได้
สะดวกและราคาถู ก
ที่ สุด บางชนิ ดเป็นตู้
กระจกหรือโต๊ะไฟ
กล้องสามมิติหรือสเตริโอสโคป
ศึกษาและมองดู ความสู งต่ำของ ลักษณะ
ภู มิประเทศในรู ปภาพถ่ายทางอากาศ
ประกอบด้วยเลนส์ 2 อัน
** วางรู ปถ่ายทางอากาศซ้อนต่อกันใต้
กล**้ อง ป
ปรั
ั จจุบรู
บัป จนมองเห็ นเป็ นสามมิ ติ
นมี
กล้องสามมิติแบบ
พกพาสะดวกขึ้ น
กล้องสามมิติหรือสเตริ
โอสโคป Stereoscope
8. เคร่ื องวัดลักษณะอากาศ
1) เทอร์โมมิเตอร์ วัด
อุ ณหภู มิ
โดยทั่วไปนิ ยมใช้แบบ
หลอดแก้วที่ บรรจุ ปรอท
หรือแอลกอฮอลไ์ ว้
ภายใน
ค่าของอุ ณหภู มิ 2 ระบบ
คื อ
เทอร์ โมมิเตอร์


สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
เทอร์ โมมิเตอร์ วัดยอดหญ้ า

วัดแสงแดด
สวริ นทร์ เลิศวัฒนเรื องชัย
2) บารอมิเตอร์ (Barometer) เป็ นอุปกรณ์ ทใี่ ช้ วดั ความ
กดอากาศ มี 2 ชนิด คือ
(1) แบบปรอท (2) แบบแอนิรอยด์

แอนิรอยด์ บารอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ แบบปรอท


สวริ นทร์ เลิศวัฒนเรื องชัย
3) แอโรเวน (Aerovane) เป็ นอุปกรณ์ สำหรับวัดทิศทาง
และความเร็วของลม แยกตามการใช้ งานได้ 2 ชนิด ดังนี้

(1) แอนนิโมมิเตอร์
(Anemometer) ใช้ วดั
ความเร็วของลม
(2) วินเวน (Wind Vane) ใช้ วดั
ทิศทางของลม

สวริ นทร์ เลิศวัฒนเรื องชัย


แอโรเวน :
Aerovane

เคร่ื องวัดลมรู ปถ้วย


4) เครื่องวัดน้ำฝน (Rain Gauge) ทำด้ วยโลหะทรง
กระบอกซ้ อนกัน 2 ชั้น
5) ไฮโกรมิเตอร์ (Hygrometer) ใช้ วดั ความชื้นของอากาศ โดย
มีเส้ นผมเป็ นอุปกรณ์ สำคัญ ถ้ าอากาศมีความชื้นสู งจะทำให้
เส้ นผมยืดตัว แต่ ถ้ามีความชื้นน้ อยเส้ นผมจะหดตัว
6) ไซโครมิเตอร์ (Psychrometer) อุปกรณ์ ใช้ วดั
ความชื้นของอากาศอีกแบบหนึ่ง
มีเทอร์ โมมิเตอร์ 2 อัน คือ เทอร์ โมมิเตอร์ ปรอท (ตุ้มแห้ ง)
และเทอร์ โมมิเตอร์ ทใี่ ช้ ผ้ามัสลินหล่อน้ำให้ เปี ยกตลอดเวลา
(ตุ้มเปี ยก)
9. เครื่องกำหนดค่ าพิกดั GNSS
• หรือเป็ นเครื่องมือสำหรับบอกตำแหน่ งบนพืน้ โลกและนำทางด้ วย
สั ญญาณดาวเทียม
• นอกจากจะแสดงและบันทึกค่ าพิกดั ของตำแหน่ งปัจจุบัน ยังสามารถ
แสดงรู ปแผนทีบ่ นหน้ าจอได้
• เครื่องกำหนดพิกดั จึงเป็ นเครื่องมือนำทางในการสำรวจได้ สะดวก
รวดเร็วและถูกต้ อง 

สวริ นทร์ เลิศวัฒนเรื องชัย


จบ
เครือ
่ งมือทาง
ภูมศิ าสตร์
และสารสนเทศ
ทางภูมศ ิ าสตร์
http://warin-social.blogspot.com/

สวรินทร์ เลิศวัฒนเรืองชย
มาตอบคำถาม
ทบทวนความจำกันเถอะ
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร์ใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสัชวินา ....................................
สัชนา ดาวเทียมธีออส
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร์ใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสัชนา
วิสัช
....................................
นา ล้อวัดระยะ
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร์ใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสัชนา วิ....................................
สัชนา เข็มทิศ
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร์ใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสวิัชสนา
ัชนาเครื....................................
่ องวัดระดับสูงต่ำบนพื้นที่
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ แผนที่ใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสวิัชสนา
ัชนา....................................
ภาพถ่ายดาวเทียม
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยีทาง
ภูมิศาสตร์ใดและใช้ในกรณีใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสวิ
ัชสนา
ัชนาดาวเที ยมใช้กรณีส่งสัญญาณ
....................................
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ใด
และใช้ทำงานระบบใดบ้าง
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสวิ สัชดาวเที
ั ชนา นา ย....................................
มใช้ 2 ระบบ แบบPassive และ Active
ปุจฉา สิ่งที่เห็นในภาพ คือ เส้นชัน
้ ความสูง
แบบใด
1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

วิสัชนา ....................................
วิสัชนา หน้ าผาชัน
เห็นจากม
1 ุมสูง

กินพืน้ ทีม่ ากกว่2า 100 กิโลเมตร

สามารถคาดเหต3ุการณ์ ล่วงหน้ าได้

ถ่ ายซ้ำบริ4เวณเดิมได้

ปุจฉา เห็นภาพถ่
ในสิ่ งทีายดาวเทียม
ม่ องจากสายตาไม่ ได้
เครื่องมือทีด่ ที สี่ ุ ดในการใช้
1 ศึกษาวิชาภูมศิ าสตร์

2 น้ ผิวโลก
แสดงลักษณะของพื

ย่ อให้ เล็กลงตามขนาดที
3 ต่ ้ องการ

อาศัยเครื่องหมายกับ4สั ญลักษณ์ ที่กำหนด

แผนที
ปุจฉา เราทุกคนผ่ ่
านการใช้ มาแล้ ว
สร้ างเพือ่ ใช้ ในกิจ1การเฉพาะอย่ าง

แผนทีด่ นิ แผนทีป่ ระชากร แผนทีพ่ 2ชื พรรณธรรมชาติ แผนทีธ่ รณีวทิ ยา

มีการสำรวจเพิม่ เติมหรือปรับ3แก้ไขข้ อมูลให้ ทนั สมัยเป็ นระยะๆ

บางครั้งเรียกว่4า แผนทีส่ ถิติ

แผนทีเ่ ฉพาะเรื่องบเรามากขึน้
ปุจฉา อำนวยความสะดวกกั
เส้ น1ขอบระวาง

ปรากฏอยู2่ บนแผนที่

3
องค์ ประกอบภายในขอบระวาง

องค์ ประกอบภายนอกขอบระวาง
4

ปุองค์
จฉาปคืระกอบของแผนที
อภาพรวมทั้งหมด่
สามารถดูเ1ป็ นเชิงสามมิตไิ ด้

2 ยงต่ำ
รู ปถ่ ายเฉี

3 ยงสู ง
รู ปถ่ ายเฉี

รูปถ่ ายแนวดิ
4 ง่

ภาพถ่ ายทางอากาศ
ปุจฉา วิวดีจัง
ปัจจุบันอยู
1 ่ ใ นความดู แ ลของ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร

ดาวเทียมสั2ญชาติไทย

อดีตบริษทั ชิน คอร์ ปอเรชั


3 ่น จำกัด ถือสั มปทาน

4 ยมทีล่ าดกระบัง
สถานีรับสั ญญาณดาวเที

ปุจฉาดาวเที
ในทียส่ มไทยคม
ุ ดไทยก็ทำได้
แผนทีใ่ ดแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับการ
ปกครองและอาณาเขตของประเทศ
ก. แผนที่ทางหลวง     
ข. แผนที่ภมู ิประเทศ 
ค. แผนที่ภมู ิอากาศ     
ง. แผนที่รัฐกิจ
ใช้ บอกตำแหน่ งบนพืน้ โลกด้ วยวิธีอ้างอิงตำแหน่ ง
เป็ นค่ าระยะเชิงมุมของละติจูด และลองจิจูด
เป็ นลักษณะขององค์ ประกอบแผนทีใ่ นข้ อใด
     
ก.  พิกดั ภูมิศาสตร์
      ข.  ชื่อตำแหน่งภูมิศาสตร์
      ค.  เส้นขอบระวาง
      ง.  พิกดั ฉาก
เครื่องมือระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ชนิดใดที่
สามารถบอกค่ าพิกดั ของวัตถุบนพืน้ โลกได้ อย่ าง
ถูกต้ องแม่ นยำ

      ก.  RS
      ข.  GIS
      ค.  GPS
      ง.   3S
ตัวอักษรใดทีอ่ ยู่ข้างบนของทิศเหนือกริดใน
แผนทีป่ ระเทศไทย มาตราส่ วน 1:50,000

ก. GN
ข. GD
ค. MN
ง. MD
เพราะเหตุใดแผนทีช่ ุด L7018 ของกรมแผนทีท่ หาร
จึงจัดเป็ นแผนทีอ่ ้ างอิง
ก. เพราะเป็ นแผนที่ที่เป็ นสากล
ข. เพราะเป็ นแผนที่ที่แสดงภูมิประเทศ
ค. เพราะเป็ นแผนที่ที่จดั ทำขึ้นจากหน่วยงาน
ที่น่าเชื่อถือ
ง. เพราะเป็ นแผนที่ที่จดั ทำด้วยระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์
เส้ นชั้นความสู งในแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศนิยมใช้
เส้ นสี ใด

ก. สี ดำ
ข. สี แดง
ค. สี เขียว
ง. สี น ้ำตาล
ถ้ าวัดระยะทางในแผนทีม่ าตราส่ วน 1:250,000 ได้
27.5 เซนติเมตร แสดงว่ าในภูมปิ ระเทศจริงมีระยะ
ทางเท่ าไร

 ก. 67.5 กิโลเมตร


 ข. 68.5 กิโลเมตร
 ค. 67.75 กิโลเมตร
 ง. 68.75 กิโลเมตร
ดาวเทียมธีออสของประเทศไทยถูกส่ งขึน้ สู่ อวกาศ
เพือ่ จุดประสงค์ ใด

ก. พยากรณ์อากาศ
ข. สำรวจทรัพยากร
ค. ตรวจสภาพการเกิดพายุ
ง. วิเคราะห์ความเสี ยหายจากภัยธรรมชาติ
ประเทศไทยเริ่มทำแผนทีแ่ บบชาวตะวันตกขึน้ ครั้ง
แรกเมือ่ ใด 

ก. พ.ศ.2394 สมัยรัชกาลที่ 3
ข. พ.ศ.2411 สมัยรัชกาลที่ 4
ค. พ.ศ.2418 สมัยรัชกาลที่ 5 
ง. พ.ศ.2453 สมัยรัชกาลที่ 6

You might also like