You are on page 1of 7

โรคกระเพาะอาหารทะลุ

พฤติกรรมเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรค
• การดื่มแอลกอฮอล์ทาลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร จะถูกกระตุ้นให้ผลิตน้าย่อยมากขึ้น
ทาให้กระเพาะอาหารอักเสบ เป็นแผลปวดท้อง หรืออาจถึงขั้นอาเจียนเป็นเลือดได้
• การสูบบุหรี่ กระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารทาให้เป็นโรคกรดไหลย้อนได้
• การใช้ยาเสพติด เช่น โคเคน หรือแอมเฟทามีน
• การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบกลุ่ม NSAIDs ยาในกลุ่ม NSAIDs ออกฤทธิ์
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์COX มีทั้ง COX-1ทาให้เกิดอาการปวด อาการอักเสบ
และไข้ และ COX-2 ปกป้องผนังกระเพาะอาหารและทาให้เกล็ดเลือดเกาะกลุ่ม
อย่างแอสไพริน ไอบูโพรเฟน นาพรอกเซน ยาสเตียรอยด์ และ ยาเคมีบาบัดบางชนิด
• การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารเพื่อ
รักษาโรคอ้วน
• การเจ็บป่วยด้วยโรคบางชนิด เช่น มะเร็งกระเพาะ
อาหาร และกลุ่มอาการโซลลิงเจอร์-เอลลิสัน
(Zollinger-Ellison Syndrome) ซึ่งทาให้มีการ
หลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากผิดปกติ แต่เป็นโรค
ที่พบได้น้อย
• อุบัติเหตุทางร่างกาย เช่น มีด หรือ กระสุนทะลุ
กระเพาะอาหาร เป็นต้น
• กินอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีไนโตรเจนเหลว เป็น
ส่วนประกอบ เช่น ขนมควันทะลัก และ ค็อกเทลที่
มีควันพุ่ง เป็นต้น อาหารหรือเครื่องดื่มเหล่านี้เมื่อ
เข้าสู่ร่างกายไนโตรเจนเหลวจะไหม้ที่กระเพาะ
อาหารและกระเพาะอาหารทะลุได้
อาการของโรค
• ผู้ป่วยมักมีอาการซึ่งเกิดขึ้นร่วมกับเยื่อบุช่องท้องอักเสบปวดท้องมาก โดยเฉพาะ
เมื่อถูกสัมผัสหรือคลาตรวจ โดยผู้ป่วยมักท้องบวมและท้องแข็งกว่าปกติ ซึ่งมี
อาการดีขึ้นเมื่อนอนนิ่งๆ
• คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย
• ปัสสาวะ อุจจาระ หรือผายลมน้อยกว่าปกติ
• หัวใจเต้นเร็ว หายใจหอบเหนื่อย
การป้องกันการเป็นโรค
• รู้จักวิธีจัดการความเครียด
• ไม่ใช้ยาเสพติดทุกชนิด ไม่สูบบุหรี่
• งดหรือลดการดื่มแอลกอฮอล์ โดยไม่
ควรดื่มแอลกอฮอล์มากกว่า 1-2 ดื่ม
มาตรฐาน/วัน
• ไม่รับประทานยากลุ่ม NSAIDs เป็น
เวลานาน โดยต้องปรึกษาแพทย์ก่อน
เสมอหากมีความจาเป็นต้องใช้ยานี้
เช่น การรับประทานแอสไพรินเพื่อ
รักษาโรคหัวใจ
การดูแลระบบย่อยอาหาร
• รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารที่ย่อยง่ายและมีกากใยสูง เช่น ข้าว
กล้อง ผักลวก โดยเคี้ยวอาหารให้ละเอียด 30 ครั้ง
• ระมัดระวังการรับประทานอาหารที่มีสารก่อมะเร็ง เช่น ของทอด ย่าง เผา
หรือ อาหารที่ไหม้เกรียม
• ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาและสม่าเสมอ ซึ่งเวลาขับถ่ายที่ดี คือ ตี 5-7 โมงเช้า
เพราะช่วงนี้ลาไส้ใหญ่จะขับกากอาหารออกจากร่างกาย และ การนั่งให้
ร่างกายทามุม 35 องศา ช่วยให้ลาไส้ใหญ่ขับของเสียออกมาได้สะดวกยิ่งขึ้น
• ดื่มน้าให้เพียงพอวันละประมาณ 8 แก้ว หรือ 2 ลิตรต่อวันหลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน และ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
• ไม่รับประทานอาหารรสจัด และ หมักดอง
• ดูแลสุขภาพฟัน แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง (ช่วงเช้าและเย็น) ควรไป
ตรวจฟันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งและขูดหินปูน 6 เดือนต่อครั้ง

You might also like