You are on page 1of 5

ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Atorvastatin

Atorvastatin (อะทอร์วาสแตติน) คือยาในกลุ่มสแตติน (Statins หรือ HMG CoA Reductase


Inhibitors) มีคุณสมบัตใิ นการลดระดับคอเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
(Triglyceride) ในขณะเดียวกันก็ช่วยในการเพิ่มปริมาณคอเลสเตอรอลชนิดทีด
่ ีในร่างกาย (HDL)
ได้บ้าง นอกจากนีย
้ ังช่วยลดความเสีย
่ งโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนที่เกีย
่ ว
กับหัวใจในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2

สรรพคุณ รักษาภาวะคอเลสเตอรอลสู ง ลดความเสี่ ยงโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง

การใช้ยา Atorvastatin อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงทีพ


่ บได้บ่อยหลายอย่าง เช่น ปวดตามข้อ ท้อง
เสีย มีอาการอักเสบที่คอและจมูก หรืออาจมีอาการติดเชื้อทีท
่ างเดินปั สสาวะ นอนไม่หลับ ปวดขา
ปวดกล้ามเนื้อแขนและขา กล้ามเนื้อเกร็ง และคลื่นไส้ เป็ นต้น
ทัง้ นีย
้ ังอาจมีผลข้างเคียงต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการที่ร่างกายกำลังปรับตัวจากการใช้ยา ซึ่งจะเกิดเพียง
ช่วงเวลาสัน
้ ๆ และอาจหายไปได้เอง คือปวดศีรษะ เสียงแหบ ปวดหลังส่วนล่างหรือด้านข้าง รู้สึก
ปวดหรือรู้สึกเจ็บเมื่อสัมผัสกล้ามเนื้อบริเวณดวงตาและแก้ม ปั สสาวะติดขัดหรือรู้สึกเจ็บเวลา
ปั สสาวะ รวมถึงมีอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ขณะที่อาการที่อาจพบแต่เกิดขึน
้ ได้นอ
้ ยกว่าอาการ
ข้างต้น ได้แก่ ปวดท้อง ปวดหลัง ท้องอืด ท้องผูก รู้สึกไม่สบายตัว อาหารไม่ย่อย แสบร้อนกลาง
อก ไม่มีแรง ความอยากอาหารลดลง คลื่นไส้ สั่น เหงื่อออก หรืออาเจียน ทัง้ นีห
้ ากอาการเริ่ม
รุนแรงขึน
้ จนรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันควรไปพบแพทย์เพื่อป้ องกันอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจ
เกิดขึน

ขณะที่การแพ้ยาดังกล่าวก็ถือเป็ นผลข้างเคียงที่อน
ั ตราย ซึ่งหากผู้ป่วยมีอาการของลมพิษ หายใจ
ไม่ออก มีอาการบวมที่บริเวณใบหน้า ริมฝี ปาก ลิน
้ และคอ ควรรีบแจ้งหน่วยแพทย์ฉุกเฉินเพื่อ
ทำการรักษาโดยเร็วทีส
่ ุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
ในบางกรณีที่พบน้อย ยา Atorvastatin ก็อาจส่งผลให้ทำลายกล้ามเนื้อลาย และหากรุนแรงอาจ
นำมาสู่ภาวะไตวาย ดังนัน
้ หากผู้ป่วยมีอาการปวดกล้ามเนื้อไม่ทราบสาเหตุ กล้ามเนื้ออ่อนแรง มี
ลักษณะกดเจ็บ มีไข้ อ่อนเพลียอย่างไม่มีสาเหตุปัสสาวะเป็ นสีเข้ม หรือมีอาการอื่น ๆ เช่น
ระบบไต - ปั สสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย มีอาการเจ็บขณะปั สสาวะ หรือปั สสาวะขัด มี
อาการบวมทีเ่ ท้าและข้อเท้า รู้สก
ึ เหนื่อย หายใจสัน

ระบบตับ - คลื่นไส้ ปวดท้องส่วนบน มีอาการคัน รู้สึกเหนื่อย ความอยากอาหารลดลง ปั สสาวะมี
สีเข้ม อุจจาระมีสีซีด หรือมีอาการดีซ่าน
รวมถึงสัญญาณโรคหลอดเลือดสมองบางอย่าง ได้แก่ อาการชา หรือรู้สึกอ่อนแรงที่ซก
ี ใดซีกหนึ่ง
ของร่างกาย มีอาการปวดหัวอย่างรุนแรง พูดไม่ชัด มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็นและการทรงตัว
หากมีอาการเหล่านีค
้ วรรีบไปพบแพทย์โดยทันที

ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Levodopa

ยา ลีโวโดปา เป็ นยาที่ใช้ในการรักษาโรคพาร์กินสันมากที่สุด และจัดว่าเป็ นยาที่มีประสิ ทธิภาพสู งที่สุดเมื่อเทียบกับยาพาร์กินสันชนิด อื่น ใน


ปั จจุบนั ยาลีโวโดปาที่มีใช้ จะมีส่วนผสมของเบนเซอราไซด์ (Benserazide) หรื อ คาร์บิโดปา(Carbidopa)เพื่อลดผลข้างเคียงที่
เกิดจากยา โดยเฉพาะอาการคลื่นไส้ อาเจียน และทำให้ผปู้ ่ วยไม่จ ำเป็ นต้องรับประทานยาในปริ มาณสู งๆ

การใช้ยา Levodopa อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงที่พบได้ทั่วไป ดังนี ้


 เวียนศีรษะ
 เป็ นลม
 คลื่นไส้ อาเจียน
 ไม่อยากอาหาร
 ปวดท้อง และผายลมบ่อย
 ปากแห้ง มีน้ำลายมากผิดปกติ กลืนลำบาก
 รู้สึกชา หรือไม่สบายตัว
 กัดฟั น
 ซุ่มซ่าม มือสั่น
 อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายผิดปกติ
 รู้สึกเครียดหรือวิตกกังวล
 มีความคิดทีผ
่ ิดไปจากปกติ เกิดความสับสน กระสับกระส่าย ประสาทหลอน หรือฝั นร้าย
 มีการเคลื่อนไหวทีผ
่ ิดปกติบริเวณใบหน้าหรืออวัยวะส่วนบนของร่างกายอย่างควบคุมไม่ได้
ส่วนผลข้างเคียงอื่น ๆ อาจพบได้ไม่บ่อยนัก แต่ก็อาจเกิดขึน
้ ได้ เช่น มองเห็นภาพซ้อน ตาพร่ามัว
มีผ่ น
ื ขึน
้ บนผิวหนัง ปั สสาวะลำบาก ปวดท้อง ท้องผูก ท้องเสีย ขยับปากลำบาก รู้สึกร้อนวูบวาบ
ผิวหนังแดง สะอึก มีเหงื่อออกมาก มีปัญหาในการนอนหลับ เวียนศีรษะเมื่อลุกขึน
้ จากท่านั่งหรือ
ท่านอน กล้ามเนื้อกระตุก ตากระตุก กะพริบตาถี่ มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และจิตใจ ซึม
เศร้า และน้ำหนักตัวเพิ่มขึน
้ หรือลดลง เป็ นต้น ในบางกรณี Levodopa อาจส่งผลให้ปัสสาวะ
น้ำลาย หรือเหงื่อของผู้ป่วยมีสีคล้ำกว่าปกติด้วย และอาจทำให้มีอาการขมปากขมคอหรือรู้สก

แสบร้อนบริเวณลิน
้ ได้เช่นกัน
นอกจากนี ้ การใช้ยา Levodopa อาจทำให้มีผลข้างเคียงอื่น ๆ ที่พบได้น้อยมาก เช่น ปวดหลัง
ปวดขา มีไข้ รู้สึกหนาว มีอาการชัก ความดันโลหิตสูง อุจจาระมีสีดำหรือมีเลือดปน ควบคุมการ
เคลื่อนไหวของดวงตาไม่ได้ เบื่ออาหาร ผิวซีด อาเจียนเป็ นเลือดหรือมีลก
ั ษณะคล้ายเมล็ดกาแฟที่
ถูกบดแล้ว มีอาการบวมบริเวณใบหน้า ขาและเท้าบวม เจ็บคอ และอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชาย
อาจแข็งตัวนานผิดปกติ เป็ นต้น  
ทัง้ นี ้ ผลข้างเคียงบางอย่างอาจไม่รุนแรงและอาจไม่ต้องได้รับการรักษาจากแพทย์ แต่หากผู้ป่วยมี
ผลข้างเคียงที่รุนแรง หรือมีข้อสงสัยเกีย
่ วกับอาการทีเ่ กิดขึน
้ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที นอกจากนี ้
หากผู้ป่วยพบอาการผิดปกติใด ๆ นอกเหนือจากอาการข้างต้นทีอ
่ าจก่อให้เกิดความกังวลใจ ควร
ไปปรึกษาแพทย์ด้วยเช่นกัน

Clopidogrel

Clopidogrel (โคลพิโดเกรล) คือ ยาต้านเกล็ดเลือดไม่ให้เกิดการจับตัวกันเป็ นลิ่มเลือด นำมาใช้


ในการช่วยลดความเสีย
่ งจากโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และลด
การเสียชีวิตในผู้ทเี่ คยป่ วยด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดใน
สมอง หรือโรคเกีย
่ วกับหัวใจและหลอดเลือด ที่เกิดจากการตีบตัวของหลอดเลือดแดง และยังอาจ
ใช้รักษาโรคอื่น ๆ ตามแพทย์เห็นสมควร
 ป้ องกันภาวะเส้นเลือดแดงอุดตันเนื่องจากมีลิ่มเลือดในหลอดเลือดในผูป้ ่ วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉี ยบพลัน  โรคหลอดเลือดใน
สรรพคุณ สมองตีบตันโรคกล้ามเนื้ อหัวใจขาดเลือด และโรคเส้นเลือดแดงส่ วนปลายอุดตัน

ผลข้างเคียงจากยา :
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักสามารถทนต่ออาการข้างเคียงของยาได้ดี โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อย
ก็เช่นเดียวกับยาต้านเกล็ดเลือดอื่น ๆคือการมีเลือดออกผิดปกติ และอาจพบอาการท้องเสีย เบื่อ
อาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง แผลในทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการอาหารไม่ย่อย
ข้อควรระวัง :
ผู้ป่วยที่แพ้ยานี ้ ผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของภาวะตกเลือดทีก
่ ำลังดำเนินอยู่ เช่น ภาวะเลือดออกใน
สมอง

Omeprazole

โอเมพราโซล (Omeprazole) เป็ นยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการกรด


ไหลย้อนหรือโรคที่มีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป รักษาโรคหลอดอาหารอักเสบจากกรดใน
กระเพาะ และยังใช้ควบคู่กับยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร (H. pylori)

ผลข้างเคียงจากการใช้ยาโอเมพราโซล

 ผลข้างเคียงจากการใช้ยาทีพ
่ บได้บ่อย ได้แก่ ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊ส
ในกระเพาะอาหาร
 อาการแพ้ยา ได้แก่ หายใจลำบาก ริมฝี ปาก ลิน
้ ลำคอ และใบหน้ามีอาการบวม เกิดลมพิษ
 หากมีอาการเหล่านีค
้ วรรีบไปพบแพทย์ทันที
 อาการชัก อาการบวม
 ปวดท้องรุนแรง ท้องเสีย ถ่ายท้องเป็ นน้ำหรือเป็ นเลือด
 ปั สสาวะน้อยหรือบ่อยกว่าปกติ ปั สสาวะมีเลือดปน
 น้ำหนักเพิ่มอย่างรวดเร็ว
 อาการภาวะแมกนีเซียมต่ำ ได้แก่ เวียนศีรษะ สับสน อัตราการเต้นหัวใจเร็วและไม่สม่ำเสมอ มี
อาการสัน
่ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อกระตุก รู้สก
ึ ว้าวุ่นใจ เป็ นตะคริว กล้ามเนื้อมือและเท้าหด
ตัว ไอหรือสำลัก

You might also like