You are on page 1of 8

โรคตับอักเสบ (Hepatitis)

สาเหตุของโรคตับอักเสบที่พบบ่อย คือ
1. ตับอักเสบเกิดจากเชื ้อไวรัส มี 5 ชนิดคือ เอ บี ซี ดี อี (ใหม่ที่สด
ุ คือ จี )
2. ตับอักเสบเกิดจากการถูกทำลายของเซลล์ตบ
ั เกิดพังผืดแทนเนื ้อตับที่ดี และเซลล์ตบั เกิดขึ ้นใหม่ ทำให้ ตบั ลักษณะ
เป็ นตุม่ ขรุขระทัว่ ทังตั
้ บ ซึง่ อาจเกิดจาก พิษของสุรา, ยา เช่น ยาแก้ ปวด ยารักษาวัณโรค ยาปฏิชีวนะ ยารักษาความดัน
โลหิตสูง ยาคุมกำเนิด เป็ นต้ น และเกิดจากได้ รับสารเคมี สารพิษ ต่างๆ หรื อแม้ แต่สารพิษจากเห็ดที่มีพิษ ฯลฯ
โรคตับอักเสบจำแนกออกเป็ น 2 ชนิด
1.ชนิดเฉียบพลัน ตับอักเสบที่เกิดจากเชื ้อไวรัสแบบเฉียบพลันเป็ นโรคที่ผ้ ปู ่ วยส่วนใหญ่จะหายเองได้ ด้วยระบบ
ภูมิค้ มุ กันของตนเอง จะกำจัดเชื ้อไวรัสออกจากร่างกาย และยังมีภมู ิค้ มุ กันให้ ไม่เป็ นซ้ำอีก สำหรับประเทศไทย เชื ้อไวรัส
ชนิดบี สำคัญที่สดุ เพราะเป็ นสาเหตุให้ ตบั ถูกทำลาย มีอาการอักเสบ บวม โตขึ ้น โรคตับอักเสบเรื อ้ รัง ตับแข็ง และมะเร็ง
ตับ มากที่สดุ
2. ชนิดเรื อ
้ รัง ผู้ป่วยตับอักเสบชนิดเฉียบพลัน ที่ร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื ้อได้ หมดจะมีเชื ้อไวรัสตับอักเสบเรื อ้ รัง
อยู่ในร่างกาย มีการอักเสบอย่างต่อเนื่องเป็ นเวลานานเกิน 6 เดือน ซึง่ อาจกลายเป็ นโรคตับแข็ง และมะเร็งตับในที่สดุ (5 –
10 %) ของผู้ที่ติดเชื ้อไวรัสบีกลายเป็ นพาหะของโรค หากร่ างกายไม่สามารถกำจัดได้ หมดและเซลล์ของตับถูกทำลายไป
มากๆ ผู้ป่วยจะเสียชีวิตเพราะตับวาย
การรักษา
พักผ่อนให้ มากพอไม่ทำงานหนัก
การใช้ ยาตามแพทย์สงั่
การใช้ อาหารบำบัด

อาหารบำบัดโรคตับอักเสบอักเสบ
ผู้ป่วยตับอักเสบอันเกิดจากเชื ้อไวรัส พื ้นฐานสำคัญที่จะช่วยให้ เซลล์ของตับฟื น้ ตัวได้ เร็วขึ ้น ถ้ าให้ อาหารที่เพียงพอ
และเหมาะสม ดังนี ้
 พลังงาน ระยะนอนพักผ่อนก็ต้องให้ พลังงานมากเพียงพอ แม้ ลกุ จากเตียงได้ แต่มิได้ ออกแรงเหมือน
ปกติ มักจะให้ พลังงาน 2,500-3,000 กิโลแคลอรี่ /วัน ให้ เพียงพอกับความต้ องการใช้ พลังงาน
เพื่อการซ่อมแซม ฟื น้ ฟูเนื ้อเยื่อชดเชยกับการเผาผลาญที่สงู ขึ ้นในระยะมีไข้ ให้ ผ้ ปู ่ วยฟื น้ ตัว มีกำลัง
และสุขภาพดี
 โปรตีน ต้ องได้ รับเพียงพอ เพื่อให้ ตบั ได้ มีโอกาสซ่อมแซม ฟื น้ ฟูเซลล์ที่อกั เสบ ร่างกายของผู้ป่วยจะ
มีการสลายตัวของโปรตีนมาก ควรให้ โปรตีนคุณภาพดีเช่ น เนือ้ นม ไข่ ควรได้ รับประมาณ
1.5-2 กรั ม/น้ำหนักตัวจริง 1 กิโลกรั ม/วัน ในโปรตีนมีสารซึง่ จำเป็ นในการที่จะเปลี่ยนไขมันให้
เป็ น ไลโปโปรตีนและถูกพาออกไปนอกตับ
 คาร์ โบไฮเดรต ต้ องได้ รับเพียงพอ เพื่อให้ ร่างกายสร้ างและสะสม ไกลโคเจนในตับและเพื่อให้ ได้
พลังงานเพียงพอ จะช่วยป้องกันมิให้ โปรตีนถูกนำมาสลายตัวเพื่อเผาผลาญเป็ นพลังงานแทน จึง
ควรให้ มีคาร์ โบไฮเดรต 50-55% ของพลังงานที่ได้ รับ หรือวันละประมาณ 300-400 กรัม
 ไขมัน ให้ ได้ รับปานกลาง (ไม่มากเกินไป) จะช่วยให้ อาหารมีลกั ษณะ รสชาติดี ชวนรับประทาน ควร
ให้ ไขมัน 25-40% ของพลังงานที่ได้ รับจากอาหาร หรือวันละประมาณ 80-100 กรัม
 วิตามิน เสริ มทังวิ
้ ตามินที่ละลายในไขมัน และละลายในน้ำ
 ของเหลวหรื อปริมาณน้ำ ควรให้ วันละ 3,000 ซี.ซี. จะทำให้ ผ้ ปู ่ วยรู้สกึ สดชื่นไม่กระหาย และอาจ
จะมีความอยากอาหารมากขึ ้น
การจัดอาหาร
การจัดอาหารสำหรับผู้ป่วยตับอักเสบต้ องจัดอาหารที่ให้ สารอาหารมากทุกอย่างในขณะที่ผ้ ปู ่ วยเบื่ออาหาร อาจช่วยได้
โดยให้ อาหารเหลว ในระยะแรกที่มีคณุ ค่ามาก (ทำด้ วยนม ไข่ น้ำตาล ไอศกรี ม ฯลฯ) ผสมกันให้ ดื่มบ่อยๆ
ระยะต่อมาเมื่อผู้ป่วยดีขึ ้น รับประทานอาหารธรรมดาได้ จงึ ให้ อาหารธรรมดาที่มีคณ ุ ค่าครบถ้ วน เลือกจัดอาหารที่ผ้ ู
ป่ วยชอบ จัดให้ น่าดู ปรุงให้ รสชาติดี ผู้ดแู ลผู้ป่วยควรให้ ความสนใจ และพยายามที่จะให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับอาหารเพียงพอตามที่
ร่างกายต้ องการเพราะอาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้ ผ้ ปู ่ วยฟื น้ ตัวจากโรคและเป็ นปกติได้ เร็วที่สดุ
ข้ อควรระวัง
โรคนี ้เป็ นโรคติดต่อ ภาชนะและอุปกรณ์ ในการกินของผู้ป่วยต้ องแยกต่างหาก เมื่อหายแล้ วต้ องฆ่าเชื ้อเครื่ องใช้ ในการ
กินทังหมด
้ (ต้ มในน้ำให้ เดือดสักครู่ )

โรคตับแข็ง (Cirrhosis of Liver)


เป็ นความผิดปกติของเซลล์ตบั ถูกทำลายอย่างเรื อ้ รัง เกิดพังผืดและเซลล์ไขมันเข้ ามาแทนที่เนื ้อตับและมีการสร้ างเซลล์
ใหม่ ทำให้ ตบั มีลกั ษณะตะปุ่ มตะป่ำ การสร้ างสารต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ลดลงความสามารถในการกำจัดสารพิษลดลง
เกิดความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญพลังงานในตับผู้ป่วย อาจมีอาการป่ วยเรื อ้ รังเป็ นเวลาหลายปี หรื ออาจเสีย
ชีวิตได้ จาก hepatic coma หรื อการเสียเลือดจากหลอดเลือดดำบริ เวณหลอดอาหารโป่ งพองและแตก
สาเหตุของโรคตับแข็ง
 เกิดจากโรคตับอักเสบเรื อ้ รัง เช่น ติดเชื ้อไวรัสตับอักเสบบี
 จากพิษสุราเรื อ้ รัง
 จากสารพิษ เช่น ยาบางชนิด สารเคมี ฯลฯ
 ทางเดินท่อน้ำดีอดุ ตัน น้ำดีลงมาสูล่ ำไส้ เล็กไม่ได้ ท่วมล้ นกลับไปทำลายเซลล์ตบั
อาการของโรคตับแข็ง
 Chronic เจ็บป่ วยเรื อ้ รังเป็ นระยะเวลานาน
 Malnutrition อาจมีอาการซูบผอมจากการขาดสารอาหาร
 Electrolyte imbalance อาจมีความผิดปกติของดุลของแร่ ธาตุ
 Jaundice อาจมีอาการดีซา่ น เกิดจากน้ำดีเข้ าสูล
่ ำไส้ น้อยลงและซึมเข้ าสูก่ ระแสโลหิต ทำให้ มีอาการตัวเหลือง
ตาขาวเหลือง
 Malabsorption เป็ นผลกระทบต่อการย่อยและการดูดซึมไขมัน รวมทังความสามารถในการดู
้ ดซึมวิตามินที่
ละลายในไขมัน (A,D,E,K) ลดลงด้ วย
 Edema อาจมีอาการบวม จากการมีระดับอัลบูมินในเลือดต่ำ ทำให้ เกิดอาการตัวบวม เห็นได้ ง่ายที่หลังเท้ า
 Ascites อาการท้ องมาน มีน้ำคัง่ ในช่องท้ อง จะทำให้ ท้องบวมมากอาจต้ องเจาะเอาน้ำออกจากช่องท้ องเป็ นครัง้
คราว
 Prolong prothrombin time เลือดแข็งตัวช้ า และ
 Bleeding Esophageal varices และอาจมีเลือดออกมากในกระเพาะอาหารทำให้ อาเจียนเป็ นเลือด
 Cirrhosis with encephalopathy เมื่อเซลล์ตบ ั เสียมากขึ ้นและฟื น้ ฟูไม่ได้ มีสารพิษแอมโมเนีย คัง่ ในเลือด
อาจมีอาการทางสมอง เช่น ซึม ง่วงนอน ความคิด ความจำ และคำพูดเลอะเลือน คล้ ายอาการคนเมา ถ้ าอาการ
รุนแรงจะหมดสติ (coma) ซึง่ อาจแก้ ไขได้ หรื อแก้ ไขไม่ได้ หมดสติ และเสียชีวิตได้
อาหารบำบัดโรคตับแข็ง
ภาวะโรคตับแข็งก็ต้องใส่ใจการรับประทานอาหารให้ หลากหลาย และครบหมวดหมู่ อาหารพวกข้ าว แป้ง ผัก ผล
ไม้ สด และอาหารพวกโปรตีนควรรับประทานอย่างเหมาะสม และให้ เพียงพอต่อความต้ องการของร่างกาย ดังนี ้
1. พลังงาน
ผู้ป่วยที่เป็ นโรคตับแข็งในระยะเริ่มต้ น การรับประทานอาหารไม่แตกต่างจากคนปกติ แต่ในผู้ป่วยที่
เป็ นตับแข็ง และมีภาวะทุพโภชนาการร่วมด้ วย จำเป็ นต้ องได้ รับพลังงานเพิ่มขึ ้นให้ เพียงพอ เหมาะสมตามน้ำหนักตัวและ
สภาวะของโรค การให้ พลังงานเพียงพอ ป้องกันการสลายโปรตีนจากกล้ ามเนือ้ มาใช้ เป็ นพลังงานแทน ปกติให้
ประมาณ 2,500-3,000 กิโลแคลอรี่ /วัน
แหล่งพลังงานจากอาหารที่สำคัญควรได้ มาจากอาหารคาร์ โบไฮเดรตจำพวกข้ าวและแป้งเป็ นหลัก เช่น
ข้ าวสวย ข้ าวต้ ม ข้ าวเหนียว ขนมปั ง เส้ นก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมที่ทำจากแป้ง และเพิ่มการรับประทาน ข้ าว แป้ง ที่ไม่ได้
ขัดสี เช่น ข้ าวกล้ อง ขนมปั งโฮลวีต เส้ นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากแป้งข้ าวกล้ อง ฯลฯ
2. โปรตีน แพทย์จะสัง่ ปรับเพิ่มหรื อลดปริ มาณโปรตีนให้ เหมาะกับคนไข้ แต่ละคนตามสภาพของโรค
2.1 ในระยะแรกของการเป็ นตับแข็ง(compensated cirrhosis) ที่ยังไม่ มีภาวะตับวาย หรื อไม่ มี
อาการทางสมอง
แพทย์จะสัง่ ให้ ในระดับ 30-50 กรัม/วัน สามารถได้ รับปริ มาณของโปรตีนหรื อเนื ้อสัตว์ได้ ไม่แตกต่าง
จากคนปกติทวั่ ไป คือประมาณวันละ 6-12 ช้ อนโต๊ ะ ควรเริ่ มต้ นด้ วยการให้ โปรตีนที่มีคณ
ุ ภาพดี เช่น นม ไข่ทงฟอง
ั้ เนื ้อ
สัตว์ไม่ติดมัน เช่น เนื ้อปลา เนื ้อไก่ เนื ้อหมู เป็ นต้ น
2.2ถ้ าเป็ นตับแข็งที่เริ่มมีอาการทางสมองร่ วมด้ วย หรือตับมีการเสื่อมลงอย่ างมาก
การได้ รับโปรตีนมากเกินไปก็จะเกิดอันตรายต่อร่างกาย เนื่องจากของเสียที่ได้ จากการสลายโปรตีน คือ
แอมโมเนีย ไม่สามารถขับออกได้ เนื่องจากภาวะตับแข็ง ซึง่ จะมีผลเสียต่อสมอง ดังนัน้ จะลดโปรตีนลงต่ำมากเหลือ
20-30 กรั ม/วัน หรื อประมาณเนือ้ สัตว์ วันละ 2-3 ช้ อนโต๊ ะเท่ านัน้ หรื องดโปรตีน ชัว่ ระยะหนึง่ (ใช้ หมู่แป้งปลอด
โปรตีนและน้ำตาล)พยายามกระจายโปรตีนออกไปหลายๆมื ้อตลอดวัน
ปั ญหาของการรับประทานอาหารโปรตีนในผู้ป่วยที่เป็ นโรคตับนัน้ ผู้ป่วยอาจไม่สามารถรับประทานโปรตีนได้
ตามที่ร่างกายต้ องการ เนื่องจากอาจจะมีอาการแน่นท้ องจากภาวะน้ำในช่องท้ อง หรื อการรับประทานโปรตีนเป็ นจำนวน
มาก อาจทำให้ เกิดภาวะสับสน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้ าโปรตีนที่ได้ นนเป็
ั ้ นโปรตีนที่มาจากสัตว์ ดังนัน้ การแก้ ไขภาวะดัง
กล่ าว โดยอาจให้ โปรตีนเสริมจากพืช เช่ น โปรตีนที่ได้ จากถั่วต่ างๆ เช่ น น้ำนมถั่วเหลือง เต้ าหู้ เต้ าฮวย ถั่ว
เขียว ถั่วแดง ถั่วดำ นำไปประกอบอาหารประเภทต่ างๆ ทัง้ คาว และหวาน เช่ น ข้ าวผัดใส่ ถ่ วั ตุ๋นเนือ้ ใส่ ถ่ วั
ถั่วต้ มน้ำตาล ถั่วกวนฯลฯ อย่ างไรก็ตามโปรตีนที่ได้ จากพืชนัน้ จะมีปริมาณที่ได้ น้อยกว่ าโปรตีนที่ได้ จากสัตว์
หากรับประทานจำนวนมากจะทำให้ มีอาการท้ องอืดได้ บางครัง้ แพทย์ อาจจะให้ ผ้ ูป่วยรับประทานอาหารเสริม
ที่เป็ นกรดอะมิโนชนิดที่เป็ นกิ่งโซ่ (Brand Chain Amino Acid:BCAA ) ซึ่งเป็ นอาหารทางการแพทย์ สำหรับโรค
ตับโดยเฉพาะ เพื่อช่ วยให้ ผ้ ูป่วยได้ รับโปรตีนที่เพียงพอ นอกจากนี ้อาหารที่ให้ ใยอาหารสูง เช่น ผักสด ผลไม้ มีความ
เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโรคตับแข็ง เนื่องจากมีกรดอะมิโนหกเหลี่ยมต่ำ และมีใยอาหารมากทำให้ เพิ่มการขับถ่ายอุจจาระ
มากขึ ้นซึง่ ช่วยลดของเสียจากการเผาผลาญโปรตีนได้ บ้าง
3. คาร์ โบไฮเดรท
ควรให้ ในรูปของแป้งมากเท่าที่ผ้ ปู ่ วยจะรับได้ (ผู้ป่วยมักกินอาหารได้ น้อย จึงอาจต้ องให้ น้ำตาล
ด้ วย)อาหารหลักหมู่ข้าว มี คาร์ โบไฮเดรท ประมาณ 80 % แต่ก็มีโปรตีนอยู่ด้วยประมาณ 7 % ดังนันถ้ ้ าต้ องจำกัด
โปรตีน ต้ องจำกัดอาหารหมู่ข้าวด้ วย โดยใช้ อาหารหมู่แป้งปลอดโปรตีน เช่ น วุ้นเส้ น ก๋ วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ แป้งซา
หริ่ม แป้งสาคู แป้งมัน ฯลฯ ใช้ ทดแทนอาหารหมู่ข้าวได้ เนื่องจากให้ คาร์ โบไฮเดรทแต่ไม่มีโปรตีน น้ำตาลเป็ นแหล่งให้
พลังงานที่ควรใช้ ปรับเมื่อมีการสัง่ เพิ่มหรื อลดพลังงาน เพราะผู้ป่วยโรคตับแข็งมักกินอาหารได้ น้อย การใช้ น ้ำตาลเสริ ม
ทดแทนหมู่ข้าวและแป้ง จะให้ แต่ คาร์ โบไฮเดรทไม่มีผลกระทบต่อปริ มาณโปรตีนใส่น้ำตาลลงในอาหารคาว ใช้ ในขนม
ต่างๆ ใส่ในน้ำผลไม้ หรื อให้ ผลไม้ เชื่อม ผลไม้ ลอยแก้ ว

4. ไขมัน
ผู้ป่วยโรคตับแข็งมีปัญหาด้ านการย่อยและดูดซึมไขมันทัว่ ไปในอาหาร ดังนันอาจลดไขมั
้ นที่ใช้ ตามปกติใน
อาหาร และทดแทนด้ วย น้ำมันเอ็มซีที (MCT oil: medium chained fatty acid) คือ น้ำมันที่มีกรดไขมันที่มีโมเลกุล
ยาวปานกลาง เนื่องจากไม่ต้องการน้ำดีในการย่อย สามารถดูดซึมเข้ าสูต่ บั ได้ โดยตรง
5. วิตามิน
ผู้ป่วยมีปัญหาด้ านการย่อย การดูดซึม และการเก็บวิตามินหลายชนิดในตับ ดังนัน้ วิตามินที่ได้ รับจากอาหาร
อาจไม่เพียงพอ จำเป็ นที่แพทย์ต้องสัง่ เสริ มทัง้ วิตามินที่ละลายในไขมัน (A, D, E, K) และวิตามินที่ละลายน้ำ คือ B1, B2,
B6, B12 และกรดโฟลิก

อาการเบื่ออาหาร ท้ องอืด แน่นท้ อง คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารไม่ลง เป็ นอาการที่พบทัว่ ไปในคนที่เป็ น


โรคตับแข็ง เนื่องจากมีการย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ จึงควรรับประทานอาหารบ่อยขึ ้น แบ่งอาหารออกเป็ นหลายๆมื ้อ
เพื่อทำให้ ร่างกาย ได้ รับอาหารเพียงพอ ควรทานอาหารเสริ มระหว่างมื ้อหลักและทานอาหารว่างมื ้อดึกก่อนนอน (ถ้ าไม่มี
ข้ อห้ ามเช่น โรคเบาหวาน) โดยสามารถเลือกรับประทานอาหารว่าง เช่น น้ำเต้ าหู้,ไข่หวาน หรื อเต้ าฮวยได้
โรคตับแข็งที่มที ้ องมานและบวมหลังเท้ า แนะนำให้ จำกัดเกลือและลดอาหารเค็ม โดยการหลีกเลี่ยงการเติม
เครื่ องปรุงรสชนิดต่างๆ จำพวกน้ำปลา ซีอิ๊ว ในขณะที่รับประทานอาหาร ลดการรับประทานอาหารที่ผ่านการแปรรูป
จำพวก ไส้ กรอก หมูยอ กุนเชียง แฮม เบคอน เป็ นต้ น เพราะอาหารที่ผา่ นการแปรรูปเหล่านี ้มักมีการเติมสารที่มีโซเดียม
เป็ นส่วนประกอบในกระบวนการผลิตอาหาร และควรหลีกเลี่ยงขนมขบเคี ้ยวต่างๆ ด้ วย ไม่ ด่ มื น้ำมากเกินไป โดยทัว่ ไปไม่
ควรเกิน ๖ แก้ วต่ อวัน หรื ออาจต้ องลดมากกว่านี ้ถ้ ามีอาการบวมมาก หรื ออาจต้ องกินยาขับปั สสาวะตามที่แพทย์สงั่ ด้ วย
ที่สำคัญที่สดุ คนเป็ นโรคตับแข็ง ต้ องเลิกดื่มเหล้ าโดยเด็ดขาด เพื่อป้องกันมิให้ เซลล์ตบั ส่วนที่ยงั ดีอยู่ ถูกทำลายมากขึ ้น
รับประทานอาหารที่สะอาด ไม่เป็ นอาหารที่เก็บค้ าง หรื ออาหาร สุกๆดิบๆ โดยเฉพาะอาหารทะเล เนื่องจากในอาหาร
ทะเลมักจะมีเชื ้อโรคบางชนิด อาจทำให้ เกิดการติดเชื ้อรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ หลีกเลี่ยงอาหารที่ชื ้น เช่น ถัว่ ป่ น พริ กป่ น ที่
เป็ นแหล่งของสารอะฟลา-ท็อกซิน ทำให้ ตบั ต้ องทำงานมากขึ ้น และยังทำให้ เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับมากขึ ้น

มะเร็งตับ (Hepatocellular carcinoma)


โรคมะเร็งตับ เป็ นโรคที่เกิดจากเซลล์ของตับกลายเป็ นมะเร็ง ผู้ที่ป่วยเป็ นมะเร็งตับมักจะพบเมื่อเป็ นมากและแพร่
กระจายไปยังอวัยวะอื่น ผู้ป่วยมะเร็งตับในระยะแรกมักไม่มีอาการ หรื อมีอาการเพียงเล็กน้ อย ในประเทศไทยผู้ป่วยส่วน
ใหญ่ จึงมักจะมาพบแพทย์ในระยะที่เป็ นโรคแล้ ว มะเร็งตับพบได้ บ่อย โดยไม่จำเป็ นว่าจะต้ องอยู่ในผู้สงู อายุเท่านัน้ ถึงจะ
มีโอกาสเสี่ยงเผชิญกับโรคนี ้ คนอายุน้อยที่อยู่ในวัยทำงาน ก็มีความเสี่ยงด้ วยเช่นกัน และผู้ป่วยที่เป็ นมะเร็งตับนี ้เมื่อตรวจ
พบก็มกั จะเสียชีวิตใน 3 ถึง 6 เดือน

สาเหตุของโรคมะเร็งตับ
การติดเชื ้อไวรัสตับอักเสบบีเป็ นปั จจัยเสี่ยงที่สำคัญ ผู้ป่วยมักไม่ทราบถึงปั จจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งตับ จึงไม่มีการ
ตรวจคัดกรองเพื่อสามารถตรวจพบโรคมะเร็งตับได้ ในระยะเริ่ มต้ น ปั จจุบนั ผู้ป่วยโรคมะเร็งตับสามารถรักษาให้ หายขาดได้
หากมีการตรวจพบตังแต่ ้ ระยะแรก หากไม่ได้ รับการรักษา การลุกลามมากแล้ ว ไม่สามารถรักษาโรคมะเร็งตับให้ หายขาด
ได้
อาการ
ผู้ที่ป่วยเป็ นมะเร็งตับมีอาการเหมือนกับมะเร็งระบบอื่นๆ อาการคือ น้ำหนักลดเบื่ออาหารจุกเสียดแน่นท้ อง ปวดท้ อง
ตลอดเวลา ท้ องบวมขึ ้น หายใจลำบากตัวเหลือง ตาเหลือง คลำได้ ก้อนที่บริ เวณตับ อาการผู้ป่วยทรุดลงอย่างรวดเร็ว
อาหารบำบัดโรคมะเร็งตับ

อาหารบำบัดโรคมะเร็งตับ
ผู้ป่วยมะเร็งตับจำเป็ นต้ องได้ รับความใส่ใจดูแลเป็ นพิเศษ เพราะอาการของโรคอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เสมอ อาการ
ที่พบบ่อย คือ ท้ องอืด เนื่องจากตับเป็ นอวัยวะในการผลิตน้ำดีเพื่อทำการช่วยย่อยไขมัน และตับอยู่ใกล้ ชิดกับบริ เวณลำไส้
จึงอาจส่งผลกระทบต่อระบบการย่อยอาหารได้ ง่าย นอกจากอาการทางระบบย่อยอาหารแล้ ว ยังอาจส่งผลต่อการรับรส
อาหารที่เปลี่ยนแปลงไป รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของสมองและระบบประสาท ดังนันอาหารจึ ้ งเป็ นสิ่งสำคัญในการดูแล
ผู้ป่วยให้ มีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี และอยู่อย่างมีความสุข
1. โปรตีน ช่วงแรกของการเกิดโรคผู้ป่วยควรได้ รับโปรตีนเพิ่มขึ ้นเป็ น 1.5 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เพื่อให้
ร่างกายมีโปรตีนเพียงพอที่จะไปซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซึง่ โปรตีนควรได้ รับจากเนื ้อปลา ไข่ไก่ เป็ นต้ น ในผู้ป่วย
มะเร็งตับหากมีอาการบวมน้ำที่มีสาเหตุมาจากการมีโปรตีนอัลบูมิน (albumin) ต่ำ ควรได้ รับการเสริ มอาหารประเภท
โปรตีนโดยเฉพาะไข่ขาว เพราะในไข่ขาวจะมีโปรตีนอัลบูมินอยู่สงู คุณสมบัติของโปรตีนนี ้จะช่วยอุ้มน้ำ ดังนันจึ
้ งสามารถ
ทำให้ อาการบวมน้ำดีขึ ้นได้ อาจรับประทานไข่ขาวลวกวันละ 2 ฟอง เพื่อเพิ่มอัลบูมินแก่ร่างกาย
ในบางกรณีผ้ ปู ่ วยมีอาการทางระบบประสาทที่เป็ นสาเหตุมาจากตับ ได้ แก่ มึนงง เบลอ การควบคุมตนเองผิด
ปกติอาจถึงขันชั
้ กได้ การรับประทานโปรตีนจะได้ รับในปริ มาณมากไม่ได้ ควรต้ องได้ รับการดูแลและควบคุมโปรตีนเป็ น
พิเศษ จึงควรปรึกษาแพทย์เพื่อได้ รับคำวินิจฉัยที่ถกู ต้ องเพื่อการดูแลตนเองที่ถกู ต้ อง
2. คาร์ โบไฮเดรต สารอาหารชนิดนี ้สามารถรับประทานได้ ตามปกติ โดยควรได้ รับคาร์ โบไฮเดรต 55-60% ของ
พลังงานที่ร่างกายต้ องการในแต่ละวัน หรืออาจจะเพิ่มได้ ในรายที่ไม่ เป็ นโรคเบาหวาน รับประทานคาร์ โบไฮเดรต
ประเภทข้ าว และในรูปแบบของน้ำหวาน ไม่ควรบริ โภคธัญพืชผักใบเขียวในปริ มาณที่มากเกินไป เพราะอาจส่งผลให้
ระบบทางเดินอาหารทำงานมากขึ ้นและเกิดอาการแน่นท้ องมากขึ ้นได้ ผู้ป่วยควรได้ รับพลังงานที่เพียงพอ เพื่อป้องกัน
การเกิดภาวะทุพโภชนาการ ทำให้ น้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว แล้ วร่างกายดึงโปรตีนมาใช้ ทำให้ กล้ ามเนื ้ออ่อนแรง ซึง่
หากเกิดภาวะดังกล่าวจะทำให้ ผ้ ปู ่ วยเกิดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื ้อได้ ง่าย และอาจเกิดโรคแทรกซ้ อน
3. ไขมัน ผู้ป่วยควรระวังการบริ โภคไขมันเป็ นพิเศษเพราะเมื่อมะเร็งเกิดขึ ้นที่ตบั ทำให้ การสร้ างน้ำดีอาจจะมี
น้ อยลงหากรับประทานไขมันในปริ มาณสูงเข้ าไป ไขมันจะย่อยยากหรื อไม่สามารถย่อยได้ ทำให้ เกิดภาวะถ่ายเป็ นหยดไข
มัน แน่นท้ อง ท้ องอืด จากการที่มีไขมันคัง่ ค้ าง จุลินทรี ย์ในลำไส้ จะเปลี่ยนไขมันเป็ นแก๊ ส ทำให้ เกิดแก๊ สในทางเดินอาหาร
จึงเป็ นสาเหตุของอาการท้ องอืด แน่นท้ อง ในบางกรณีแพทย์ มักจะให้ ใช้ ไขมัน คือ MCT ให้ ผ้ ูป่วยทดแทนไขมัน
ปกติ โดยแพทย์หรื อนักกำหนดอาหารจะเป็ นผู้สงั่ ให้ รับประทานในรูปแบบอาหารทางการแพทย์
การจัดอาหาร
ผู้ป่วยมะเร็งตับบางครัง้ อาจมีการย่อยอาหารยาก แน่นท้ อง ท้ องอืดได้ ง่าย ทำให้ ไม่สามารถรับประทานอาหารใน
ปริ มาณเท่ากับคนปกติ ดังนันควรจั
้ ดอาหารให้ ผ้ ูป่วย โดยกระจายมือ้ อาหารจากปกติ 3 มือ้ เป็ น 5-6 มือ้ เช่น จาก
เดิมรับประทานอาหาร 3 มื ้อ เช้ า กลางวัน เย็น ก็เพิม่ เป็ น เช้ า ว่างเช้ า กลางวัน ว่างบ่าย เย็น ก่อนนอน นอกจากผู้ป่วย
มะเร็งตับต้ องได้ รับอาหารให้ พอเพียงกับความต้ องการของร่างกาย แล้ วยังต้ องปราศจากสิ่งปนเปื อ้ น เพราะหากได้ รับสิ่ง
ปนเปื อ้ นจะทำให้ ตบั ต้ องทำงานในการกำจัดสารพิษมากขึ ้น อีกทังผู ้ ้ ป่วยมะเร็งตับจะมีการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ
ร่างกายเกิดขึ ้นบ่อย ดังนันควรได้
้ รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ ชิด
ผู้ป่วยมะเร็งตับจำเป็ นต้ องได้ รับความใส่ใจดูแลเป็ นพิเศษ เพราะอาการของโรคอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เสมอ อาการ
ที่พบบ่อย คือ ท้ องอืด เนื่องจากตับเป็ นอวัยวะในการผลิตน้ำดีเพื่อทำการช่วยย่อยไขมัน และตับอยู่ใกล้ ชิดกับบริ เวณลำไส้
จึงอาจส่งผลกระทบต่อระบบการย่อยอาหารได้ ง่าย นอกจากอาการทางระบบย่อยอาหารแล้ ว ยังอาจส่งผลต่อการรับรส
อาหารที่เปลี่ยนแปลงไป รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของสมองและระบบประสาท ดังนันอาหารจึ ้ งเป็ นสิ่งสำคัญในการดูแล
ผู้ป่วยให้ มีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี และอยู่อย่างมีความสุข

ตัวอย่ างเมนูอาหาร(กรณีกินข้ าวไม่ ได้ อาจเปลี่ยนเป็ นน้ำตาล ข้ าว หนึ่งทัพพี=น้ำตาลสี่ช้อนชา )


ตัวอย่ างเมนูอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคตับ

Ref: หน่วยงานโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี

You might also like