You are on page 1of 50

โปรตีน

• ประกอบดวยหนวยที่เล็กๆ เรียกวา กรดอะมิโน เปนจํานวนมาก


• โปรตีนเปนสารอาหารหลักที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอรางกาย
ในการสรางเซลลเนื้อเยื่อตางๆ
• เปนสวนประกอบสําคัญของเอนไซม ฮอรโมน เฮโมโกลบิน และ
แอนติบอดีหรือภูมิคุมกัน
• รางกายของคนเรามีโปรตีนอยูประมาณรอยละ 20 ของน้ําหนักตัว
โปรตีน
• โปรตีนนอกจากจะจําเปนตอการเจริญเติบโตของ
รางกายแลว ยังใหพลังงานแกรางกายอีกดวย โดย
นํามาเผาผลาญใหเกิดพลังงานทดแทนในภาวะอด
อาหาร
• แตในกรณีที่รางกายไดรับคารโบไฮเดรตและไขมันอยาง
เพียงพอ รางกายจะสงวนโปรตีนไวใชเพื่อเสริมสราง
การเจริญเติบโตและหนาที่สําคัญอื่นๆ
โปรตีน
• ในวันหนึ่งๆ รางกายคนเราควรจะไดรับสารอาหารประเภท
โปรตีนในปริมาณ 1 กรัมตอน้ําหนักรางกาย 1 กิโลกรัม
• แหลงอาหารที่ใหสารอาหารประเภทโปรตีน ไดแก เนื้อ นม
ไข และพืชจําพวกถั่ว
• นอกจากนี้เรายังพบโปรตีนในพืชชนิดอื่นๆ อีก เชน ขาว
เจา ขาวเหนียว ขาวสาลี ขาวโพดเหลือง เปนตน แตพบใน
ปริมาณนอย
คารโบไฮเดรต
• เปนสารอาหารประกอบอินทรียที่มีคารบอน
(C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) เปน
องคประกอบสําคัญ
• คารโบไฮเดรตที่มีในอาหารสามารถจัดจําแนกได
เปน 2 กลุม ตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ไดแก
– น้ําตาล
– พวกที่ไมใชน้ําตาล
น้ําตาล
• เปนคารโบไฮเดรตที่มีรสหวานและละลายน้ําได แบงออกได 2 ชนิด คือ
1) น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว หรือ มอโนแซ็กคาไรด (Monosaccharide )
– เปนคารโบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุด
– รางกายสามารถสามารถดูดซึมไปใชประโยชนไดทน ั ที
– ตัวอยางของน้ําตาลชนิด ไดแก กลูโคส ฟรักโทส และกาแล็กโทส
– กลูโคสพบในผักและผลไมท่ม ี รี สหวาน
– ฟรักโทสมีรสหวานกวาน้ําตาลชนิดอื่นพบในน้ําผึ้ง ผักและผลไมที่มีรส
หวาน
– กาแล็กโทสพบในน้ํานม
น้ําตาล
2) น้ําตาลโมเลกุลคู หรือ ไดแซ็กคาไรด (Disaccharida )
– เปนคารโบไฮเดรต ที่เกิดจากการรวมตัวของน้ําตาลโมเลกุล
เดี่ยว 2 โมเลกุล ซึ่งอาจเปนชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกันก็ได
– น้ําตาลชนิดนี้รางกายจะยอยสลายใหเปนน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยวกอนที่
จะดูดซึมไปใชประโยชน
– ตัวอยางของน้ําตาลชนิดนี้ ไดแก ซูโครส มอลโทส และแล็กโทส
น้ําตาล
– ซูโครส (กลูโคส+ฟรักโทส) พบในผักและผลไมทั่วไป เชน
ออย ตาล มะพราว หัวบีท เปนตน
– มอลโทส (กลูโคส+กลูโคส) พบในขาวบารเลยหรือขาวมอลต
ที่นํามาใชทําเบียร เครื่องดื่ม และอาหารสําหรับเด็ก
– แล็กโทส (กลูโคส+กาแล็กโทส) พบในน้ํานม
พวกที่ไมใชน้ําตาล
• เปนคารโบไฮเดรตที่ไมมีรสหวาน ละลายน้ํายากหรือไมละลายเลย
• เกิดจากน้ําตาลโมเลกุลเดีย ่ วหรือมอโนแซ็กคาไรดจํานวนมากมาเกาะรวมตัว
กันเปนสารที่มีโมเลกุลเชิงซอน เรียกวา พอลิแซ็กคาไรด (Polysaccharide)
• ตัวอยางของคารโบไฮเดรตกลุมนี้ ไดแก
– แปง เปนคารโบไฮเดรตที่พชื เก็บสะสมไวตามสวนตางๆ โดยเฉพาะ
เมล็ด รากหรือหัว
– เซลลูโลส เปนคารโบไฮเดรตที่มีโครงสรางสวนใหญของพืช โดยเฉพาะที่
เปลือก ใบ และเสนใยที่ปนในเนื้อผลไม
พวกที่ไมใชน้ําตาล
– เซลลูโลสรางกายคนเราไมสามารถยอยสลายได แตจะมีการขับถาย
ออกมาในลักษณะของกากเรียกวา เสนใยอาหาร ชวยกระตุนใหลาํ ไส
ใหญทํางานอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทําใหขับถายสะดวก
– พืชประเภทผัก ถั่ว ผลไม จัดเปนแหลงที่ใหเสนใยอาหาร เพราะมี
เซลลูโลสอยูประมาณสูง จึงควรกินเปนประจําทุกวัน วันละ
ประมาณ 20 - 36 กรัม
พวกที่ไมใชน้ําตาล
– ไกลโคเจน เปนคารโบโฮเดรตประเภทแปงที่สะสมอยูในรางกายของ
คนและสัตว พบมากในตับและกลามเนื้อ
– เมื่อปริมาณน้ําตาลในเลือดลดลงหรือรางกายขาดสารอาหาร ตับจะ
เปลี่ยนไกลโคเจนเปนกลูโคส เพื่อใหพลังงานแกรางกายตอไป
คารโบไฮเดรต
• คารโบไฮเดรตเปนสารอาหารหลักที่ใหพลังงานแกรา งกายเพื่อนํามาใชใน
การทํากิจกรรมตางๆ
• ในวันหนึ่งๆ รางกายตองใชพลังงานจากคารโบไฮเดรตประมาณรอย
ละ 50 - 55 ของพลังงานทั้งหมดที่ไดรับจากอาหาร
• เราควรกินอาหารคารโบไฮเดรตประเภทแปงใหไดปริมาณ 300 -
400 กรัมตอวัน จึงจะเพียงพอกับปริมาณพลังงานที่รา งกายตองการ
คารโบไฮเดรต
• แหลงอาหารที่ใหสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรต
ไดแก ขาว แปง น้ําตาล เผือก มัน ขาวโพด พืชผัก และผลไมท่ม
ี รี ส
หวาน ขนมและอาหารที่ทําจากแปงหรือขาว
ไขมัน
• ไขมันเปนสารอาหารที่เกิดจากการรวมตัวกันของกรดไขมันกับกลีเซอรอล
• เมื่อไขมันสลายตัวก็จะใหกรดไขมันและกลีเซอรอลซึ่งมีขนาดเล็กพอที่จะ
ผานเขาออกจากเซลลได
• กรดไขมัน เปนสวนประกอบของไขมันที่จาํ เปนตอ
รางกาย มี 2 ประเภท กรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไมอ่ม ิ ตัว
– กรดไขมันอิ่มตัวพบมากในไขมันสัตว
– กรดไขมันไมอ่ม ิ ตัวมากในน้ํามันพืช เชน น้ํามันถั่วเหลือง น้ํา
มะพราว น้ํามันเมล็ดดอกคําฝอย
ไขมัน
• กรดไลโนเลอิก เปนกรดไขมันที่ไมอิ่มตัวที่จําเปนตอรางกาย
และรางกายไมสามารถสรางขึ้นเองได และถารางกายไมไดรับ
กรดนี้อยางเพียงพอ
• จะทําใหรางกายไมเจริญเทาที่ควร
• มีอาการผิวหนังอักเสบ เกิดการหลุดออกของผิวหนังอยาง
รุนแรงติดเชื้อไดงาย และบาดแผลหายชา
• โดยปกติแลวรางกายควรจะไดรับกรดไขมันที่จําเปนทุกๆ
วัน วันละประมาณ 2 - 4 กรัม
ไขมัน
• แหลงอาหารที่ใหสารอาหารประเภทไขมัน ไดแก
– ในพืชมักพบในผลและเมล็ด เชน มะพราว น้ํามันมะกอก น้ํามันถั่ว
เหลือง น้ํามันเมล็ดทานตะวัน เปนตน
– ในสัตวพบตามผิวหนังและในชองทอง ซึ่งสะสมอยูในเนื้อเยื่อ
ไขมัน เชน ไขมันหมู ไขมันวัว ไขมันแกะ น้ํามันตับปลา เปนตน
สารอาหารที่ไมใหพลังงาน
• แตมีความสําคัญตอการทํางานของระบบตางๆในรางกาย
• รางกายตองการในปริมาณนอยแตขาดไมได ไดแก วิตามิน แร
ธาตุ และน้ํา
วิตามิน
• ชวยควบคุมการทํางานของระบบตางๆ ของรางกายโดยเปนตัว
ชวยในการทํางานของเอนไซม
• ทําใหเซลลทําหนาที่ไดตามปกติ เชน วิตามินซีจากผักและ
ผลไม
วิตามิน
จําแนกตามลักษณะของการละลายไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
• วิตามินที่ละลายในน้ํา ไดแก วิตามิน B และ C
• วิตามินที่ละลายในไขมัน ไดแก วิตามิน A , D , E , K
วิตามิน A (retinol)
แหลงอาหาร
นม เนย ไขแดง ตับ น้ํามันตับปลา ผัก และผลไม
ประโยชน
บํารุงสายตา บํารุงผิวหนัง
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- ไมสามารถมองเห็นในที่สลัว
- ตาดําอักเสบ
- ผิวหนังแหงหยาบ
วิตามิน D (calciferol)
แหลงอาหาร
น้ํามันตับปลา ไข ตับ นม เนย
ประโยชน
รางกายสรางเองไดจากคอเลสเทอรอลใตผิวหนังเมื่อไดรับ
แสงแดด ชวยดูดซับแคลเซียม และฟอสฟอรัสที่ลําไสเล็ก
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- โรคกระดูกออน ฟนผุในเด็ก
- ในผูใหญกระดูกจะผิดรูปรางไมแข็งแรง
วิตามิน E (-tocopherol)
แหลงอาหาร
ผักสีเขียว ไขมันจากพืช เมล็ดพืช
ประโยชน
เม็ดเลือดแดงแข็งแรง สลายโมเลกุลของกรดไขมัน ชวย
สรางเอนไซม
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- เปนหมัน
- แทงงายในหญิงตั้งครรภ
- เกิดโรคโลหิตจางในเด็กชายอายุ 6 เดือนถึง 2 ขวบ
วิตามิน K (-phylloquinone)
แหลงอาหาร
ผักและตับ
ประโยชน
นอกจากนี้วิตามิน ยังสรางจากแบคทีเรียในลําไส ชวยสราง
สารที่จําเปนในการแข็งออกตัวของเลือด
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- เลือดแข็งตัวชาในเด็กแรกเกิดและทารกอายุ 2 สัปดาหถงึ
2 เดือนจะมีอาการเลือดออกทั่วไปตามผิวหนัง
วิตามิน B1 (thiamine)
แหลงอาหาร
ขาวซอมมือ ตับ ไข ถั่ว มันเทศ
ประโยชน
ชวยบํารุงระบบประสาทและการทํางานของหัวใจ
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- โรคเหน็บชา
- ระบบประสาท
- ระบบยอยอาหารผิดปกติ
วิตามิน B2 (riboflavin)
แหลงอาหาร
ไข นม ผัก ถั่วเหลือง
ประโยชน
ทําใหการเจริญเติบโตเปนปกติ บํารุงผิวหนัง ลิ้น และตา
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- โรคปากนกกระจอก
- ตาสูแสงไมได ลิ้นอักเสบ
- ผิวหนังแตกแหง
- การเจริญเติบโตไมเต็มที่
วิตามิน B3 (niacin)
แหลงอาหาร
เนื้อสัตว ตับ ถั่ว ขาวซอมมือ ขาวสาลี ยีสตและรางกาย
สรางไดเองจากกรดอะมิโนบางชนิด
ประโยชน
บํารุงประสาท ชวยในปฏิกิริยาการหายใจ เปนตัวชวยใน
การสรางพลังงานและการสังเคราะหสาร
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- ผิวหนังหยาบแหงมีสีดํา
- ลิ้นบวม
- ระบบยอยอาหารและประสาทผิดปกติ
วิตามิน B6 (pyridoxine)
แหลงอาหาร
นม ตับ เนื้อ ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ขาวซอมมือ
ประโยชน
บํารุงผิวหนังและประสาท ชวยการทํางานของระบบยอย
อาหาร
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- ประสาทเสื่อม บวม คันตามผิวหนัง
- การทํางานของกลามเนื้อผิดปกติ
วิตามิน B12 (cyanocobalamine)

แหลงอาหาร
ไข เนยแข็ง ตับ สมองเนื้อสัตว
ประโยชน
ชวยในการสรางเม็ดเลือดแดง ไขกระดูกและการทํางานของระบบ
ประสาท
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- โรคโลหิตจาง เม็ดเลือดมีรูปรางผิดปกติและมีฮโี มโกบินนอย
- เสนประสาทไขสันหลังเสื่อม
- เจ็บลิ้นและปาก
วิตามิน C (ascorbic acid)

แหลงอาหาร
สม มะขามปอม ฝรั่ง มะนาว มะเขือเทศ กะหล่ําปลี ผักสีเขียว
ประโยชน
ทําใหผนังเสนเลือดเหนียวและแข็งแรง บํารุงฟนและเหงือก
อาการเมื่อขาดวิตามิน
- เลือดออกตามไรฟน (ลักปดลักเปด)
- ผนังเสนเลือดฝอยเปราะแตกงาย ภูมิตา นทานลดลง
แรธาตุ

เปนสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ไมใหพลังงาน แตรา งกายตองการ


และขาดไมได ประโยชนของแรธาตุที่มีตอ
 รางกายมีดังนี้
• เปนสวนประกอบของอวัยวะบางอยาง เชน กระดูก ฟน กลามเนื้อ เซลล
ประสาท เปนตน
• เปนสวนประกอบของสารตางๆ ในรางกาย เชน เลือด น้ําในเซลล
• ชวยในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆใหทําหนาที่เปนปกติ
• รางกายของคนมีความตองการแรธาตุตางๆ หลายชนิดและตองการใน
ปริมาณที่แตกตางกัน
แรธาตุแคลเซียม (Ca)

แหลงอาหาร
ปลาไสตัน กุงแหง เนยแข็ง นมสด ไข ผัก
ประโยชน
- เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน
- ชวยในการแข็งตัวของเลือดและการทํางานของกลามเนื้อ
- เกี่ยวกับการถายทอดกระแสประสาท
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- โรคกระดูกออน (ricket)
- การทํางานของกลามเนื้อผิดปกติ
- เลือดแข็งตัวยาก
แรธาตุฟอสฟอรัส (P)
แหลงอาหาร
กุง ปลาไสตัน ไข นมสด ถั่วเหลือง ผักใบเขียว
ประโยชน
- เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน
- รักษาสมดุลของกรดและเบสในรางกาย
- ชวยในการสรางเซลลสมองและประสาท
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- โรคกระดูกออน
- ออนเพลีย
แรธาตุโพแทสเซียม (K)

แหลงอาหาร
เนื้อสัตว นม กลวย ผักใบเขียว สม ถั่ว ขาว เห็ด ไข
ประโยชน
- ควบคุมระดับของเหลวในเซลล
- การทํางานของกลามเนื้อของระบบประสาท
- ชวยในการผาตัดใหญ
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- เลือดไหลไมหยุด
- การทํางานของกลามเนื้อและระบบประสาทผิดปกติ
- เบื่ออาหาร ซึมเซา
แรธาตุเหล็ก (Fe)
แหลงอาหาร
ไขแดง ผักสีเขียว ตับ เนื้อวัว งาดํา
ประโยชน
- เปนสวนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
- เปนสวนประกอบของเอนไซมบางชนิด
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- โรคโลหิตจาง
- ออนเพลีย
แรธาตุไอโอดีน (I)
แหลงอาหาร
เกลือแกง นม ไข อาหารทะเล
ประโยชน
- ปองกันโรคคอพอก
- ชวยในการเจริญเติบโต
- เปนสวนประกอบของฮอรโมนไทรอกซินที่ตอม
ไทรอยด
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- ถาเด็กขาดจะเตี้ย แคะแกร็น สติปญญาเสื่อม
- ในผูใหญจะเปนโรคคอพอกธรรมดา
แรธาตุโซเดียม (Na)
แหลงอาหาร
อาหารทะเล น้ําปลา เกลือแกง ไข นม เนย
ประโยชน
- ชวยรักษาสมดุลของน้ําและความเปนกรดในรางกาย
- ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อและระบบประสาท
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- เบื่ออาหาร เปนตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส ความดันต่ํา
แรธาตุแมกนีเซียม (Mg)
แหลงอาหาร
รําขาว พืชสีเขียว ถั่ว นม งา อาหารทะเล
ประโยชน
- ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อและระบบประสาท
- ควบคุมการสรางโปรตีน
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- เปนสวนประกอบของกระดูก และเลือด
- เกิดอาการผิดปกติทางระบบประสาทและกลามเนื้ออาจ
เกิดอาการชัก
แรธาตุกํามะถัน (S)
แหลงอาหาร
ไข เนื้อสัตว นม
ประโยชน
- จําเปนตอการสรางโปรตีนในรางกาย
แรธาตุฟลูออไรด (F)
แหลงอาหาร
น้ําดื่มจากบอธรรมชาติบางแหง อาหารทะเล
ประโยชน
- ชวยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
- เปนสวนประกอบของสารเคลือบฟน ทําใหฟนแข็งแรง
ปองกันฟนผุ
อาการเมื่อขาดแรธาตุ
- ฟนผุงาย
น้ํา
• เปนสารที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวต
ิ ทุกชนิดในรางกายของ
เรามีนํา้ เปนองคประกอบอยู 2 ใน 3 สวนของน้ําหนักตัว น้ําจึงมี
ความสําคัญตอรางกาย ดังนี้
1. เปนองคประกอบของอวัยวะตางๆ ในรางกาย เชน เลือด ตับ ไต ลําไส หัวใจ
เปนตน
2. ชวยควบคุมอุณหภูมขิ องรางกายใหคงที่
3. ชวยใหกลไกการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีในรางกายเปนไปตามปกติ
4. ชวยกําจัดของเสียออกจากรางกายทางเหงื่อและปสสาวะ
รางกายจะไดรับน้ําโดยตรงจากการดื่มน้ําสะอาดและไดจากอาหารที่
รับประทานเขาไปซึ่งมีปริมาณน้ําเปนองคประกอบในปริมาณที่แตกตางกัน
9 วิธีการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
เคล็ดลับงายๆ ของการกินใหไดประโยชนสูงสุดตอสุขภาพอยาง
เต็มที่
1. กินอาหารครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลาย และหมั่นดูแล
น้ําหนักตัว
2. กินขาวเปนอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ
3. กินพืชผักใหมาก และกินผลไมเปนประจํา
4. กินปลา เนื้อสัตวไมตด
ิ มัน ไข และถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา
5. ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย
9 วิธีการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
6. กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร
7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
8. กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน
9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
อาหารที่กอใหเกิดโรค
• อาหารที่ขึ้นรางาย เชน ถั่วลิสงที่เรามาบดใสในกวยเตี๋ยวตมยํา
ถาเก็บรักษาไมดี ไวในที่ชื้นๆ จะทําใหเกิดเชื้อราที่มีสารพิษ ซึ่ง
ทําใหสามารถเกิดโรคมะเร็งของตับได
• อาหารหมักที่ใชดินประสิว การหมักดวยดินประสิวจะทําให
เนื้อสัตวมีสีแดงนารับประทาน ถารับประทานดินประสิวเขาไป
บอยๆ จะไปรวมกับสารอาหารบางอยางในอาหารอื่นๆ
กอใหเกิดสารกอมะเร็งของตับและสมองได
อาหารที่กอใหเกิดโรค
• อาหารที่มียาฆาแมลงติดคางอยู เชน พวกผักผลไมตางๆ ตองมี
การแชน้ําไว 15-20 นาที หรือลาง 2-3 ครั้ง ยาฆาแมลง
บางอยางอาจเปลี่ยนเปนสารกอมะเร็งในรางกาย ทําใหเกิด
มะเร็งของกระเพาะอาหาร มะเร็งของตับและไตได
• อาหารที่ใสสีที่ไมไดทําไวสําหรับผสมอาหาร อาจกอใหเกิด
โรคมะเร็งได
• อาหารที่สุกเกินไปจากการทอดหรือยาง มีลักษณะสีดําเหมือน
ถาน ซึ่งเชื่อกันวามีสารกอมะเร็งอยูในสวนที่ไหมเกรียมนั้น
อาหารที่มีสารปนเปอน

สารฟอกขาว หนอไมดอง ทุเรียนกวน ถั่วงอก น้ําตาลมะพราว ขิงหั่นฝอย กระทอนดอง


ฟอรมาลีน อาหารทะเล เนื้อสัตวตางๆ ผักสดชนิดตางๆเชน ถั่วงอก
ยาฆาแมลง ผักสด ผลไมสด ปลาเค็ม
ผงบอแรกซ หมูบด ปลาบด ทอดมัน ลูกชิ้น หมูสด เนื้อสด ไสกรอก ผลไมดอง
ทับทิมกรอบ ลอดชอง
สารกันรา อาหารหมักดอง ผักดอง ผลไมดอง
สี หามใชสีกบ
ั อาหาร : ผลไมดอง ผักดอง เนื้อสัตวปรุงรส (ปลาเค็ม เนื้อ
หวาน กุงแหง ไกยาง) กะป ลูกชิ้น ไสกรอก แหนม กุนเชียง น้ําพริก
เสนบะหมี่ เกี้ยว
น้ําสมสายชูปลอม น้ําสมพริกดอง น้ําสมสายชู (ควรใสภาชนะแกว)
ภัยจากบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป

• การกินบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปแทนขนมโดยไมตม  กอน มีผลเสียตอรางกายเรา


หลายอยาง เชน ทําใหคอแหง ดื่มน้ํามาก
• ถากินบะหมี่ก่งึ สําเร็จรูปที่ไมไดตมเขาไปมากๆ บะหมี่จะดูดน้ําในกระเพาะ
อาหาร จนเกิดอาการขาดน้ํา ทําใหเกิดหนามืด วิงเวียน อาจเปนลมได
• บะหมี่กึงสําเร็จรูปมีสวนประกอบหลักคือ แปง ถากินมากๆ หรือกินเปน
ประจําก็ทําใหขาดอาหารได ที่อันตรายก็คอ ื มีผงชูรสคอนขางมาก ซึ่งมัก
เลี่ยงพิมพบนฉลากวา โมโนโชเดียมกลูตาเมต
บะหมี่ก่งึ สําเร็จรูป
• ถาจําเปนตองกินควรเติมเนื้อสัตว ไขและผัก เพื่อใหได
สารอาหารครบตามที่รางกายตองการ
อาหารจานดวน (Fast Food)

• อาหารจานดวน เชน รานอาหารขายพิซซา แฮมเบอรเกอร ไกทอด โดนัท


ตั้งขายประจําอยูตามหางสรรพสินคาทุกแหง ซื้อหาสะดวก ใชเวลารอไม
นาน และยังมีบริการสั่งทางโทรศัพทสงถึงที่
• อาหารจานดวนแบบไทยๆ เชน ขาวเหนียวหมูปง ลูกชิ้นปง ลูกชิ้นทอด
ทอดมัน ไสกรอกปง
• การกินอาหารจานดวนพวกนี้เปนประจําอาจทําใหอว นและเปนผลเสีย
ระยะยาวดวย อาจเปนสาเหตุใหเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจและ
โรคอวนตามมา

You might also like