You are on page 1of 44

สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิต

สารชีวโมเลกุล(biological molecule)
สารอินทรียเ์ ป็นสารทีม ่ ธ
ี าตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหล ัก 
และนอกจากนีย ้ ังมีธาตุออกซเิ จน ไนโตรเจน ฟอสฟอร ัส และกำมะถ ันเป็นองค์
ประกอบ
่ ว้ ย สารอินทรียใ์ นเซลล์ มีความสำค ัญต่อสงิ่ มีชวี ต
อยูด ิ ทุกชนิด เพราะสาร
อินทรียบ ์ าง
ชนิดเป็นแหล่งพล ังงานของเซลล์ บางชนิดเป็นสว่ นประกอบและโครงสร้าง
ของเซลล์
บางชนิดเป็นต ัวเร่งปฏิกริ ย ิ าเคมีภายในเซลล์ และควบคุมการทำงานของเซลล
สารอินทรียท ี่ บในเซลล์สงิ่ มีชวี ต
์ พ ิ ซงึ่ มีหลากหลายชนิด เรียกว่า สารชวี
โมเลกุล(biological molecule)
การสร้ างสารอินทรีย์ท่ พ
ี บในสิ่งมีชีวติ เกิดจากการที่อะตอมของธาตุสร้ าง
แรงยึดเหนี่ยวกันด้ วยพันธะโควาเลนท์ (covalent bond) และยังมีพนั ธะเคมีอ่ ืนๆ
อีก เช่ น พันธะไอออนิก พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรโฟบิก เป็ นต้ น
พันธะโควาเลนท์ เป็ นพันธะเคมีท่ ไี ม่ แตกสะลายง่ าย โมเลกุลเล็กๆ หลาย
ชนิดจึงมีความคงทนพิเศษ และถูกใช้ เป็ นหน่ วยย่ อย (monomer) ในการสร้ าง
โมเลกุลใหญ่ (polymer)
อะตอมคาร์ บอนมีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 4 การยึดเหนี่ยวของอะตอมของ
คาร์ บอน เกิดจากการสร้ างพันธะโคเวเลนซ์ จึงเกิดขึน้ ได้ ทงั ้ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ และ
พันธะสาม
นอกจากจะสร้างพันธะกับอะตอมของคาร์บอนด้วยกันแล้ว
อาจรวมกับอะตอมของไฮโดรเจน ได้สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน เช่น
R = hydrocarbon
หมู่ฟังก์ชันที่พบในสารอินทรีย์บางชนิด

R = hydrocarbon
2.2.1
คาร์โบไฮเดรต(carbohydrate)
คาร์โบไฮเดรต หมายถึง คาร์บอนทีอ ่ ม ั้ เ้ พราะ
ิ่ ต ัวด้วยน้ำ ทงนี
คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วยไฮโดรเจนอะตอมก ับออกซ เิ จน
อะตอม ในอ ัตราสว่ น 2 :1 เชน
่ เดียวก ับน้ำ(H2O)
1.

มอนโนแซ็กคาไรด์ เป็ นผลึกแข็ง ไม่ มีสี รสหวาน และละลายน้ำได้ ดีเป็ น


คาร์ โบไฮเดรตที่มีขนาดเล็กที่สุด เพราะมีโมเลกุลเดียว (monomer) เมื่อเข้ าสู่ร่างกายจะ
ซึมผ่ านผนังลำไส้ โดยไม่ ต้องผ่ านกระบวนการย่ อย
ประกอบด้ วยอะตอมของคาร์ บอนตัง้ แต่ 3-7 อะตอม เช่ น
 น้ำตาลที่มีคาร์ บอน 3 อะตอม เรียกว่ า ไทรโอส (triose)
 น้ำตาลที่มีคาร์ บอน 4 อะตอม เรียกว่ า เทโทรส (tetrose)
 น้ำตาลที่มีคาร์ บอน 5 อะตอม เรียกว่ า เพนโทส (pentose)
น้ำตาลที่มีคาร์ บอน 6 อะตอม เรียกว่ า เฮกโซส (hexose)
น้ำตาลที่มีคาร์ บอน 7 อะตอม เรียกว่ า เฮพโทส (heptose)
***ในธรรมชาติจะพบมอโนแซ็กคาไรด์ทมี่ ีคาร์บอน 5
มอนโนแซ็กคาไรด์
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวสามารถแบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน ได้ 2
ประเภท คือ
1. น้ำตาลอัลโดส คือ น้ำตาลที่มีหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group)ได้แก่
น้ำตาลกลูโคส ,น้ำตาลกาแลกโทส
2. น้ำตาลคีโตส คือ น้ำตาลที่มีหมู่คีโตน (ketone group) ได้แก่
น้ำตาลฟรักโทส

aldehydes ketones
โครงสร้างน้ำตาลโมเลกุล
เดีย
่ ว
น้ำตาลกลูโคส (glucose) หรือเด็กซ์โทส (dextrose) หรือน้ำตาลองุน่ (grape sugar)

- เป็ นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและเป็ นน้ำตาลพื้นฐานของคาร์โบไฮเดรตทุกตัว มีรสหวาน


- เป็ นสารตัง้ ต้นของการผลิตพลังงาน
- พบมากในร่างกายโดยเฉพาะในเลือดบางครัง้ จึงเรียกว่า blood sugar
- เซลล์ในสมองใช้น้ำตาลกลูโคสเพียงอย่างเดียวเป็ นแหล่งพลังงาน
  แหล่งอาหารธรรมชาติท่พี บกลูโคส คือ ข้าว แป้ ง น้ำตาล น้ำผึ้ง ผัก และผลไม้ ผลไม้ท่พี บว่ามี
มาก คือ องุน่ ในร่างกายของคน และสัตว์ได้จากการย่อยแป้ ง และน้ำตาลทุกชนิ ด ด้วยเหตุน้ ี กลูโคสจึง
เป็ นน้ำตาลที่พบมากในร่างกาย
- เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดียกาแลกโทส (Galactose)
่ วทีไ่ ม่พบอิสระในธรรมชาติ ได้จากการ
ย่อยน้ำตาลแลกโทส (lactose)ในน้ำนม โดยเอนไซม์แลกเทส มีรส
หวานน้อยกว่ากลูโคส
- ในเด็กจะพบมาก เพราะดืม ่ นมเป็นอาหารหล ัก
- พบในสมองและเนือ ้ เยือ
่ ประสาท
- เป็นองค์ประกอบของยางและเมือกในต้นไม้
- รงคว ัตถุในพืช เชน ่ anthocyanine เป็นสารทีใ่ ห้สแ
ี ดงและสน
ี ้ำเงินแก่
ดอกไม้

ถูกสงเคราะห์ ในร่างกายได้เกิดเป็นไกลโคไลปิ คและไกลโค
โปรตีนในเนือ ้ เยือ
่ หลายชนิด
น้ำตาลฟรักโทส (fructose) เลวูโลส (levulose)
เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดีหรื
ย่ อวที
ฟรุตพ
่ ซูกบอิ
าร์ (fruit sugar)
สระในธรรมชาติ พบตามเกสร
ดอกไม้ น้ำผึง้ ผ ัก และผลไม้ พบปนอยูก ่ ับน้ำตาลกลูโคส น้ำตาล
ฟร ักโทส เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดีย ่ วทีม่ ค
ี วามหวานมากทีส ่ ด
ุ ใน
ร่างกายพบหล ังจากกินอาหารประเภทผ ัก ผลไม้ และอาหารทีป ่ รุง
โดยใชน ้ ้ำตาลทุกชนิด น้ำตาลฟร ักโทสได้จากการย่อยน้ำตาล
ซูโครส หล ังการดูดซม ึ น้ำตาลฟร ักโทสจะถูกเปลีย ่ นเป็นน้ำตาล
กลูโคสทีต ่ ับ
ผูป
้ ่ วยเบาหวานอาจบริโภคแทนน้ำตาลทรายได้ เพราะมีความ
หวานมากกว่า ร่างกายดูดซม ึ ได้ชา้ ทำให้ระด ับน้ำตาลในเลือดไม่
เพิม
่ เร็ว
2.โอลิโกแซ็กคาไรด์(oligosaccharide)
ประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2-10โมเลกุล ต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก ระหว่างหมู่-OH ของ
แต่ละโมเลกุล โอลิโกแซ็กคาไรด์ท่ปี ระกอบด้วยมอโนแซกคาไรด์ 2 โมเลกุล เรียกไดแซ็กคาไรด์
ได้แก่ มอลโทส แล็กโทส และ ซูโครส โอลิโกแซ็กคาไรด์ท่ปี ระกอบด้วยมอโนแซกคาไรด์
3โมเลกุล เรียกไตรแซ็กคาไรด์ ซึ่งเป็ นอิสระในธรรมชาติ ได้แก่ ราฟฟี โนส ซึ่งประกอบด้วยมอ
โนแซ็กคาไรด์ 3 หน่ วยของ ฟรักโทส กลูโคส และกาแลกโทส พบมากในพืชชัน้ สูงและน้ำตาลที่
ได้จากหัวบีท
ไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide)เป็ นคาร์โบไฮเดรตที่พบน้อยในร่างกายเพราะเมื่อได้รบั จากอาหาร
เอนไซม์ในลำไส้เล็กจะย่อยให้เป็ นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว คุณสมบัตทิ วั ่ ไปของน้ำตาลโมเลกุลคู่คอื มีรสหวาน
ละลายน้ำได้งา่ ย ย่อยง่าย เมื่อแตกตัวจะให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
น้ำตาลซูโครส
น้ำตาลที่ใช้มากที่สดุ ในชีวติ ประจำวัน ที่รูจ้ กั กันดีในชื่อน้ำตาลทราย หรือเรียกว่า “table
sugar” ได้จากอ้อย มะพร้าว ตาล เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์น้ำตาลทุกชนิ ดจะมีน้ำตาลซูโครส
ปริมาณสูง คนทัว่ ไปได้รบั พลังงานจากน้ำตาลซูโครส ประมาณร้อยละ 25 ของพลังงานที่ได้
จากคาร์โบไฮเดรต น้ำตาลซูโครส เกิดจากการเชื่อมต่อกัน ของน้ำตาลกลูโคสกับน้ำตาล
ฟรักโทส ด้วยพันธะ 1-2 glycosidic bond ได้โมเลกุลของน้ำ 1 โมเลกุล การย่อยน้ำตาล
ซูโครส โดยเอนไซม์ซูเครส (sucrase) จะได้กลูโคสกับฟรักโทส ใช้น้ำ 1 โมเลกุล
สามารถละลายน้ำได้ค่อนข้างดี จะไม่พบอยู่เป็ นอิสระในธรรมชาติ แต่จะพบในกระบวนการย่อยแป้ งหรือ
ไกลโคเจนโดยใช้เอนไซม์อะไมเลส ในเมล็ดธัญพืชที่กำลังงอกข้าวมอลต์ ข้าวบาร์เลย์ท่นี ำมาผลิตเบียร์ ข้าวเจ้า ข้าว
เหนี ยวเครื่องดื่มและอาหารสำหรับเด็ก น้ำตาลมอลโทสมีความหวานไม่มาก
น้ำตาลมอลโทสเกิดจากการเชื่อมต่อกันของน้ำตาลกลูโคส 2 โมเลกุล ด้วยพันธะ 1-4 glycosidic linkage
ได้โมเลกุลของน้ำ 1 โมเลกุล
การย่อยน้ำตาลมอลโทส โดยเอนไซม์มอลเทส (maltase) ได้น้ำตาลกลูโคส 2 โมเลกุล ใช้น้ำ 1 โมเลกุล
น้ำตาลแลกโทสหรือมิลค์ ชูการ์ (milk sugar) พบในน้ำนมมารดาร้อยละ 70 ในสัตว์ อาหารนม และผลิตภัณฑ์จากนม
ไม่พบในพืช เป็ นน้ำตาลที่หวานน้อยกว่าซูโครส 5 เท่า ละลายน้ำได้นอ้ ย ย่อยช้ากว่าน้ำตาลตัวอืน่ และ
บูด(ferment)ยากกว่าน้ำตาลซูโครส
ในอุตสาหกรรมอาหารและยาใช้เป็ นส่วนประกอบของยาเม็ดบางชนิ ด น้ำตาลแลกโทสเกิดจากการเชื่อมต่อกันของ
น้ำตาลกลูโคสและน้ำตาลกาแลกโทส ด้วยพันธะ 1-4 glycosidic linkage ได้โมเลกุลของน้ำ 1 โมเลกุล
การย่อยน้ำตาลแลกโทส โดยเอนไซม์แลกเทส (lactase) จะได้น้ำตาลกลูโคสและน้ำตาลกาแลกโทส
ใช้น้ำ 1 โมเลกุล
3.

เป็ นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ท่พี บในธรรมชาติมากที่สดุ และมีความสำคัญทาง


โภชนาการเพราะเป็ นแหล่งพลังงานหลักของผูบ้ ริโภคทัง้ สัตว์และมนุ ษย์ เกิดจาก
มอโนแซ็กคาไรด์ตง้ั แต่ 11โมเลกุลขึ้นไป เป็ นสารที่มีน้ำหนักโมเลกุลมาก ไม่ละลายน้ำ
และไม่มีรสหวาน มีน้ำตาลกลูโคสเป็ นองค์ประกอบหลัก และอาจมีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
ชนิ ดอืน่ ๆ เป็ นองค์ประกอบ
ประเภทของ polysaccharide
-ประเภทสะสม(storage polysaccharides) เช่ น starch , glycogen
-ประเภทโครงสร้ าง(structural polysaccharides) เช่ น peptidoglycan,
cellulose ,chitin
พอลีแซ็กคาไรด์ สะสม (storage polysaccharides)
1.แป้ ง (starch)สะสมในพืช ไม่ละลายในน้ำเย็น แต่ละลายในน้ำร้อน เม็ดแป้ งจะดูดน้ำและพองตัวออกคล้ายกาว
โมเลกุลของแป้ ง มีโครงสร้างแตกต่างกัน 2 แบบ คือ
1.1 อะไมโลส (amylose)ประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 70- 300 หน่ วย ต่อเป็ นสายยาว บิดเป็ นเกลียว
(helix) ไม่มีการแตกแขนง ไม่ละลายน้ำ การทดสอบอะไมโลส ด้วยสารละลายไอโอดีน จะได้สารสีน้ำเงินปนดำ
1.2 อะไมโลเพกติน (amylopectin) ประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 100,000 หน่ วยต่อเป็ นสายยาว และ
แตกแขนงเป็ นกิ่งก้าน ละลายน้ำได้ การทดสอบอะไมโลเพกติน ด้วยสารละลายไอโอดีน จะได้สารสีม่วง
แป้ งในพืช ประกอบด้วยอะไมโลสและอะไมโลเพกตินในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน เช่น ข้าวเจ้ามีอะไมโลส
17-30% เท่านั้น ขณะที่ขา้ วเหนี ยวมีไม่เกิน 1% ที่เหลือเป็ นอะไมโลสเพกตินทัง้ หมด สำหรับแป้ งมัน
สำปะหลังมีอะไมโลสประมาณ 18% ในขณะที่แป้ งมันข้าวโพดมีอะไมโลสประมาณ 26%
2.

ไกลโคเจน พบสะสมในเซลล์สตั ว์ มักเรียกว่า animal starch เช่น ตับ กล้ามเนื้ อ พบมากในตัวอ่อนของ


ผึ้งและหอยชนิ ดต่างๆ
ไกลโคเจนประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 10,000-30,000 โมเลกุล ต่อกันเป็ นสายยาวและ
แตกแขนงเป็ นกิ่งก้านคล้ายกับอะไมโลเพกติน แต่สายโมเลกุลจะสัน้ และแตกแขนงมากกว่า ไกลโคเจน
ละลายน้ำได้บา้ ง
เมื่อทดสอบกับสารละลายไอโอดีน จะเกิดสีแดง
3.ฟรักทาน (fructan) หรือ ฟรักโทซาน (fructosan)
เป็ นพอลิเมอร์ ที่มีมอนอเมอร์คอื ฟรักโทสเชื่อมต่อกัน มีลกั ษณะคล้ายแป้ ง แต่
ขนาดโมเลกุลเล็กกว่า ตัวอย่างเช่น อินูลนิ (inulin) ประกอบด้วยน้ำตาลฟรักโทส
ประมาณ 35 โมเลกุลเชื่อมต่อกัน พบมากใน พลับพลึง รักเร่ หอม กระเทียม หน่ อ
ไม้ฝรัง่ เป็ นต้น
เอนไซม์ในลำไส้เล็กไม่สามารถย่อยอินูลนิ แต่แบคทีเรียในลำไส้ใหญ่สามารถย่อ
ยอินูลนิ ได้เป็ นฟรักโทส ปัจจุบนั มีการนำอินูลนิ ที่สงั เคราะห์จากซูโครส มาใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหารในลักษณะต่างๆ เช่น แทนน้ำตาลในผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต เพิม่
ใยเส้นอาหารในผลิตภัณฑ์นม ขนมอบ และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอืน่ ๆ
พอลิแซ็กคาไรด์ประเภท
โครงสร้าง
(structural polysaccharides)
1.

ประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 3,000 โมเลกุล ต่อกันเป็ นเส้นใยยาว โดยไม่มีก่งิ ก้านสาขา ส่วน


ใหญ่เซลลูโลสจะเรียงตัวเป็ นมัดๆ เรียกว่า ไฟบริล(fibril)
เป็ นสารอินทรียท์ ่มี ีมากที่สดุ ในโลก พบเป็ นโครงสร้างหลักของผนังเซลล์พชื เซลล์ของมนุ ษย์และสัตว์
โดยทัว่ ไปไม่มีเอนไซม์สำหรับย่อยเซลลูโลส เซลลูโลสจึงเป็ นกากอาหารที่ช่วยในการขับถ่ายให้ดีข้ ึน ช่วย
ดูดซึมสารพิษในลำไส้ใหญ่และไม่กอ่ ให้เกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ ส่วนสัตว์เคี้ยวเอื้องมีแบคทีเรียในกระเพาะ
อาหาร ซึ่งผลิตเอนไซม์เซลลูเลส (cellulase) สามารถย่อยเซลลูโลสเป็ นกลูโคสได้
The arrangement of cellulose in plant cell walls
2.ไคทิน (chitin)
มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose พบในเซลล์ ของรา เห็ด ยีสต์ เป็ นexoskeleton
กระดองปู เปลือกกุง้ และแมลงเปลือกแข็ง ซึ่งในเปลือกจะมีแคลเซียมคาร์บอเนต โปรตีน และสารประ
กอบอืน่ ๆ ไคทินเป็ นสารที่ทำให้เปลือกสัตว์มีความแข็ง

ประโยชน์ไคทิน เชน ่ ทำไหมเย็บแผลแบบ


ละลายได้ ลดปริมาณโลหะหน ักในน้ำ เคลือบ

ผลไม้ ดูดซบไขม ่ ม
ัน ทำเยลใสผ
3.เฮมิเซลลูโลส
เป็ นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนที่มีลกั ษณะโครงสร้างทางเคมีท่แี ตกต่างจากเซลลูโลส คือ ประกอบด้วย
น้ำตาลกลูโคส เพนโทส และกรดน้ำตาล จำนวนของน้ำตาลในเฮมิเซลลูโลสมีนอ้ ยกว่าเซลลูโลส ส่วน
ประกอบที่มีเฮมิเซลลูโลสไม่สลายตัวในทางเดินอาหาร จึงนำมาใช้เป็ นพลังงานไม่ได้ แต่ทำหน้าที่เพิม่
ปริมาณกากอาหารเพราะจะดูดน้ำทำให้พองตัว และช่วยให้อาหารอยู่ในกระเพาะนานขึ้น

cellulose,hemicellulose
ประกอบก ันเป็น
microfibril
Cell wall
4.เพกทิน (pectin)
เป็ นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนที่อยู่สว่ นกลางของผนังเซลล์ ทำหน้าที่ยดึ เซลล์ให้ตดิ กัน โครงสร้าง
ของเพคตินไม่ได้เรียงตัวเป็ นเส้นใย แต่เรียงตัวแบบไม่เป็ นระเบียบ ในทางอุตสาหกรรมอาหารใช้เพคติน
เป็ นตัวทำให้อาหารข้นขึ้น หรือทำให้ผลไม้กรอบขึ้น เพคตินพบในแอปเปิ้ ล กระเจี๊ยบ มะดัน เปลือกส้มชนิ ด
ต่างๆ ใช้ในการทำเยลลี่ มีประโยชน์ คือ ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และลดระดับไขมันในเลือด

**คาร์โบไฮเดรตเชงิ ซอ้ น
เมือ
่ กินเข้าไปแล้วกระบวน
การเปลีย ่ นแป้งให้เป็น
น้ำตาลชา้ ทำให้ได้พล ังงาน
ต่อเนือ่ งยาวนาน ระด ับ บริเวณเปลือกผลส้มโอที่มีสขี าว
5.กัม (gum)
เป็ นสิง่ ที่พชื ขับออกมาเมื่อเกิดบาดแผลที่เปลือกของลำต้น มีลกั ษณะเป็ นยางเหนี ยว ยางไม้น้ ี จะอุม้ น้ำ
ไว้ และทำให้เกิดความข้นเหนี ยว กัมเป็ นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนเช่นเดียวกับเพคติน แต่โครงสร้าง
ส่วนกลางเป็ นกลูโคส กาแลกโทส แมนโนส และอะราบิโนส ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร ใช้กมั ใส่ใน
อาหารเพือ่ ให้อาหารข้น

คาร์โบไฮเดรตเชงิ ชอ ้ น คือ
คาร์โบไฮเดรตเชงิ ชอ ้ นทีไ่ ม่
ี ารข ัดส ี เชน
ได้ผา่ นกรรมวิธก ่
ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต
6. ลิกนิ น (lignin)

เป็ นส่วนประกอบของผนังเซลล์ เป็ นใยอาหารชนิ ดที่เป็ นคาร์โบไฮเดรต ไม่ละลายน้ำ ถูก


ย่อยโดยจุลนิ ทรียใ์ นลำไส้ได้นอ้ ยกว่าใยอาหารชนิ ดอืน่ ลิกนิ นจะรวมกับน้ำดี และป้ องกันการ
ดูดซึมกลับของน้ำดี จึงช่วยลดอนุ มูลอิสระในลำไส้ และทำหน้าที่เป็ นสารต้านมะเร็ง
พบมากในผลไม้สกุ มากกว่าผลไม้ดิบ พืชที่ค่อนข้างแก่ และเมล็ดพืช
สว่ นมากได้จากสาหร่ายทะเล 7.มิวซิมี
เลจความเหนี
(mucilage) ยวและหนืด พบบ้างใน
เมล็ดพืช มีคณ ุ สมบ ัติ อุม ้ น้ำได้มาก เมือ ่ ถูกน้ำจะพองต ัว มิวซเิ ลจ
จึงม ักถูกใชเพื ้ อ ่ ชว ่ ยระบายท้อง มิวซเิ ลจนิยมทีใ่ ชก ้ ันมาก คือ วุน

(agar-agar)
วุน
้ (Agar) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ เกิดจากการยึด
เหนีย ่ วด้วยพ ันธะเคมีระหว่างโมกุลของกาแลกโทส ทำหน้าที่ เป็น
ผน ังเซลล์หรือโครงสร้างในเซลล์ของสาหร่ายทะเล ใชเ้ ป็นอาหาร
ในการเพราะเลีย ่ ใสใ่ นอาหาร เชน
้ เยือ
้ งเนือ ่ เยลลี่ ไอศกรีม หรือใช ้
เป็นสารทีช ่ ยในการแขวนต ัวในอาหาร
่ ว

สาหร่ายทะเลสีแดง Gracilaria สกัดวุน้


พอลิแซ็กคาไรด์อน่ื ๆ
ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ประกอบด้วย ไกลโคเจน + โปรตีนเป็ นส่วนประกอบของเยื่อหุม้ เซลล์
เป็ นบริเวณที่ยดึ เกาะของแบคทีเรีย ไวรัส หรือโมเลกุลของสารต่างๆ กับเซลล์
ไกลโคลิพดิ (glycolipid) ประกอบด้วย ไกลโคเจน + ลิพดิ เป็ นส่วนประกอบของเยื่อหุม้ เซลล์
หน้าทีข
่ อง carbohydrate

sugars :
ทำหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ งิ มีชีวติ
ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid
polysaccharide :
เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวติ โดยพืชเก็บสะสมพลังงานในรู ปของ starch
ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานในรูปของ glycogen
cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและสัตว์

You might also like