You are on page 1of 16

ชีวโมเลกุล : ลิพด


ลิพด
ิ เป็ นสารชีวโมเลกุล
(biological molecule) ทีมี 3
ความหลากหลายทังโครงสร 8 ้างและ
หน้าที3 เนื3 องจากไม่ละลายในนํ า8 แต่
ละลายได ้ในสารละลายอินทรีย ์ เช่น
อีเทอร ์ เบนซิน โทลูอน ี และ
คลอโรฟอร ์ม
ลิพด 0
ิ มีโครงสร ้างทีประกอบด ้วยอะตอมของ
ไฮโดรเจนและคาร ์บอนจํานวนมาก ซึงทํ 0 าให ้เป็ น
โมเลกุลทีก่0 อเกิดพลังงานมากทีสุ 0 ด เมือเที
0 ยบกับ
0
โมเลกุลอืนในปริ 0 ากัน
มาณทีเท่
ร่างกายต ้องการลิพด ิ ในการสร ้างสารทีจํ0 าเป็ น
ในการดํารงชีวต ิ เช่น กรดไขมันจําเป็ น
(essential fatty acid)
การย่อยและดูดซึม
ลิพดิ ถูกย่อยและดูดซึมในรูป
สารละลาย ดังนั8นโมเลกุลจะต ้องถูก
3 ้อยูใ่ นสารละลายได ้
จัดเรียงตัวเพือให
หรือทําให ้อยูใ่ นรูปของสารละลายกลุม ่
3 มพื
เล็ก (droplet) เพือเพิ 3 นที
8 สั3 มผัสกับ
3 อย
เอนไซม ์ทีจะย่
บทบาทหน้าที(

1. ให ้พลังงานมาก เป็ นแหล่งกักเก็บพลังงาน


2. เป็ นส่วนประกอบของเยือหุ ; ้มเซลล ์และเยือหุ; ้มออร ์แกเนลล ์
(organelle membrane)
B ้น (precursor) ของการสังเคราะห ์ฮอร ์โมน
3. เป็ นสารตังต
สเตียรอยด ์
4. ลดแรงกระทบกระแทกต่อเซลล ์
5. ร ักษาอุณหภูมริ า่ งกาย
6.ขนส่งอิเล็กตรอน
7. โคเอนไซม ์
ตัวอย่างบทบาทหน้าทีของลิ ; พดิ เช่น แมวนํ าB นกเพนกวิน หมี
B
ขัวโลก
ภาวะเมทาบอลิกของลิพด ิ ไม่สมดุล นํ าไปสูโ่ รคต่างๆ เช่นโรค
อ ้วน (obesity) โรคหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis)
การแบ่งประเภทลิพด ิ
แบ่งตามบทบาทและหน้าที7 สามารถจําแนกได้ 2
7 บพลังงาน (storage
กลุ่ม คือกลุ่มทําหน้าทีเก็
lipid) และกลุ่มทีเป็7 นองค ์ประกอบของผนังเซลล ์
(membrane lipid)
1. กรดไขมัน (fatty acid)
0 น (fat and oil)
2. ไขมันและนํ ามั
3. ไข (wax)
4. ฟอสโฟลิพด ิ (phospholipid)
5. สเตียรอล (sterol)
>
6. วิตามินทีละลายในไขมั น (fat soluble vitamin)
>
วิตามินทีละลายในไขมั น (fat soluble vitamin)
>
วิตามินทีละลายในไขมันจะเก็บสะสมอยูใ่ นตับและ
0 อไขมั
เนื อเยื > น (adipose tissue) ซึงมั > กจะกําจัดออกได ้
>
ยากกว่าวิตามินทีละลายในนํ า0 ดังนั0นหากได ้ร ับมากเกิน
อาจเกิดพิษ (toxicity) ตามมา
>
วิตามินทีละลายในไขมั
น (fat soluble vitamin)

วิตามิน แหล่งที.พบ ความสําคัญ


A (retinol) ? นของวิตามิน A
มีเบต้ าแคโรทีน เป็ นสารตังต้ ช่วยการมองเห็นเวลากลางคืน
ปลา ตับ ชีส ไข่แดง แครอท ฟั กทอง ช่วยต่อต้ านอนุมลู อิสระ
D ไข่แดง นํ ?ามันปลา สังเคราะห์ได้ เองจากการ ส่งเสริ มการดูดซึมแคลเซียมที.ลาํ ไส้
(cholecalcifero ได้ รับแสงแดด เล็ก หากวิตามินมากเกิน ทําให้
l) แคลเซียมในเลือดสูง
เพิ.มความแข็งแรงกระดูกและฟั น
หากขาดในเด็ก เกิดโรคกระดูกอ่อน
ในเด็ก (rickets) กระดูกนิ.มและ
โค้ งงอ (osteomalasia)
>
วิตามินทีละลายในไขมั
น (fat soluble vitamin)

วิตามิน แหล่งที.พบ ความสําคัญ


E (แอลฟาโทโคเฟอรอล) ถัว. ไข่แดง ตับ ธัญพืช นํ ?ามันพืช สารต้ านอนุมลู อิสระ ป้องกันเยื.อหุ้มเซลล์ถกู
ทําลาย
ปกป้องวิตามิน A C และกรดไขมัน
หากขาดในหญิงตังครรภ์
? ทําให้ คลอดก่อน
กําหนด ทารกนํ ?าหนักน้ อย

K (ฟิ ลโลควิโนน) ตับ ผักใบเขียวเข้ ม สังเคราะห์เอง การแข็งตัวของเลือด ขาด เลือดออกง่าย


จากแบคทีเรี ยในลําไส้ เล็ก เสริ มความแข็งแรงของกระดูก
กรดไขมันจําเป็ น
• สังเคราะห์เองไม่ได้ เนื4องจากไม่มีเอนไซม์ ดีแซทูเรส (desaturate) ในการ
สังเคราะห์ จําเป็ นต้ องได้ รับจากอาหาร
• แบ่งได้ 2 ชนิด
• กรดไลโนเลอิก (linoleic acid)
• กรดไลโนเลนิก (linolenic acid)
• พบได้ ในอาหารจําพวกนํ Jามันจากพืช เช่น มะกอก ถัว4 เหลือง ข้ าวโพด เมล็ด
ทานตะวัน ปลา และอโวคาโด
• โอเมก้ า 3 ช่วยลดระดับ LDL cholesterol และ triglyceride
เมทาบอลิซึมของกรดไขมัน

ก. กรดไขมัน (fatty acid) ในร่ างกายจะถูกเก็บสะสมในรู ปของไทรเอซิลกรี เซอรอล


ข. การสร้างกรดไขมัน เมื?อร่ างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตมากเกินพอ ตับจะเปลี?ยนกลูโคสเป็ น
pyruvate ด้วยกระบวนการ glycolysis เมื?อ pyruvate เข้าสู่ ไมโทคอนเดรี ยเพื?อ
เปลี?ยนเป็ นอะเซตทิลโคเอ และ oxaloacetate และจะรวมตัวกันเป็ น citrate
สําหรับ TCA cycle citrate บางส่ วนถูกขนส่ งออกจากไมโทคอนเดรี ยเข้าสู่ ไซโทซอล เพื?อ
สร้างกรดไขมัน
การย่อยและการดูดซึมลิพิด
กระบวนการย่อยและการดูดซึมลิพิดจะเกิดขึ ?นส่วนใหญ่ที.ลาํ ไส้ เล็กส่วนต้ นและส่วนกลาง โดยปกติแล้ ว
ประมาณ VW% ของลิพิดที.รับประทานจะถูกดูดซึม
เอนไซม์ที.ใช้ ยอ่ ยเริ. มต้ น คือ ลิเพสที.หลัง. จากต่อมหลังลิ ?น (lingual lipase) และหลัง. จากเซลล์ของ
กระเพาะอาหาร (gastric lipase) ซึง. ลิเพสทังสองชนิ ? ดนี ?ทํางานในสภาวะที.เป็ นกรด โดยจะย่อย
ไตรกรี เซอร์ ไรด์ที.ประกอบด้ วย กรดไขมันที.มีคาร์ บอนไม่เกิน YZ อะตอม (short และ medium-
chain fatty acids)
ซึง. กรดไขมันเหล่านี ?มักพบในนํ ?านม ดังนันจึ ? งมีบทบาทสําคัญในทารกที.ต้องการพลังงานส่วนใหญ่จาก
นํ ?านม
ในลําดับถัดมา ลิพิดจะถูกย่อยต่อที8ลาํ ไส้ เล็ก ด้ วยเอนไซม์ลเิ พสที8สงั เคราะห์จากตับอ่อน
(pancreatic lipase) และ เอนไซม์โคลิเพส (colipase) ที8ทํางานร่วมกัน
ซึง8 โคลิเพสจะจับกับลิเพสจากตับอ่อน ในอัตราส่วน I:I ตับอ่อนจะสร้ างโคลิเพสในรูปที8ยงั
ไม่ทํางาน (procolipase) หรื อไซโมเจน (zymogen) ก่อนจะก่อนจะถูกย่อยด้ วยท
ริ ปซิน (trypsin) แล้ วเปลีย8 นเป็ นโคลิเพส
นอกจากนี Mตับอ่อนยังสร้ างไบคาร์ บอเนต เพื8อทําให้ สารละลายอยูใ่ นสภาวะด่างที8
เหมาะสมกับการทํางานของเอนไซม์ การย่อยในขันตอนนี M M เกลือนํ Mาดี (bile salt) ที8
สังเคราะห์จากตับแล้ วนําไปเก็บไว้ ที8ถงุ นํ Mาดี (gall bladder) หลัง8 ออกมาเพื8อช่วยทํา
ให้ ลพิ ิดเพิ8มพื Mนที8สมั ผัสในสารละลาย (emulsifcation) โดยลิพิดที8ถกู ย่อย
ประกอบด้ วย ไทรกลีเซอไรด์ ฟอสโฟลิพิด และคอเลสเทอริ ลเอสเทอร์
บทสรุป
ลิพิดมีคณุ สมบัตทิ ี.ไม่ละลายนํ ?า ซึง. จําแนกอย่างง่าย ๆ ออกได้ เป็ น \ ประเภท
โดยเกือบทังหมดจะมี
? กรดไขมันเป็ นองค์ประกอบ กรดไขมันเป็ นโมเลกุลแอมฟิ พาติก
โดยมีบริ เวณไฮโดรคาร์ บอนสายยาวเป็ นส่วนที.ไม่ชอบนํ ?า และปลายคาร์ บอกซิลเป็ น
ด้ านที.สมั ผัสกับนํ ?า การเรี ยกชื.อของกรดไขมันขึ ?นอยูก่ บั จํานวนคาร์ บอนและพันธะคู่
ที.เป็ นองค์ประกอบในโมเลกุลของกรดไขมัน โดยสามารถเรี ยกได้ ใน Z ระบบ คือ
ระบบคาร์ บอกซิล และระบบโอเมกา
กรดไขมันจําเป็ นที8ร่างกายต้ องการ มี T ชนิด คือ กรดลิโนเลอิก และ กรดลิ
โนเลนิก ส่วนกรดอะแรชิโดนิกไม่จดั เป็ นกรดไขมันจําเป็ น เนื8องจากร่างกาย
สามารถสังเคราะห์ขึ Mนได้ จากกรดดิโนเลอิก
ซึง8 กรดอะแรชิโดนิกใช้ เป็ นตัวตังต้
M นสําหรับการสังเคราะห์ พรอสทาแกลนดิน
ลิวโคไทรอีน และทรอมบอกแซน
ไขมันนิวทรัล เช่น กลีเซอไรด์ จัดอยูใ่ นกลุม่ ไขมันและนํ Mามัน โดยมีตวั อย่างที8
สําคัญคือ ไตรกลีเซอไรด์ ซึง8 ในโครงสร้ างประกอบด้ วย กลีเซอรอล I โมเลกุล และ
ไขมัน V โมเลกุล
ส่วนไขเกิดได้ จากปฏิกิริยาของกรดไขมันและแอลกอฮอล์สายยาว ซึง8 มักจะถูก
นํามาใช้ ในอุตสาหกรรมเคลือบเงาและเครื8 องสําอาง เป็ นต้ น
Q&A

You might also like