You are on page 1of 5

ใบความรู้ เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration)

การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration)เป็ นกระบวนการสลายอาหารภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงาน


ออกมาใช้ในกิจกรรมของเซลล์มี 2 รู ปแบบ คือ
1. การหายใจแบบใช้ ออกซิเจน (Aerobic Respiration)
เ ป็ นการสลายอาหารพวกคาร์ โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยมีออกซิ เจนเข้าร่ วมปฏิกิริยามีอยู่
4 ขั้นตอน คือ
1.1 ไกลโคไลซิส(Glycolysis)
- เกิดในไซโทพลาซึ ม
- มีการสลายกลูโคส 1 โมเลกุลเป็ นกรดไพรู วกิ 2 โมเลกุล
- เกิด 4 ATP จึงเหลือสุ ทธิเพียง 2 ATP
+
- เกิด 4 H มี NAD+ รับไปเข้าสู่ กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน

- ไม่มี CO2 เกิดขึ้น และเกิดได้โดยไม่ตอ้ งมีออกซิ เจน


1.2 การสร้ างแอซิทลิ โคเอนไซม์ เอ (Acetyl Coenzyme A)
- เกิดใน Matrix ภายในไมโทคอนเดรี ย
- กรดไพรู วกิ มีการเปลี่ยนแปลงเป็ นแอซิ ทลั ดีไฮด์ และรวมตัวกับโคเอนไซม์เอ กลายเป็ น
แอซิทิล-โคเอนไซม์เอ
- เกิด CO2 2 โมเลกุล
- เกิด 4 H+มี NAD+ รับไปเข้าสู่ กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
- ไม่มี ATP เกิดขึ้น
1.3 วัฏจักรเครบส์ (Kreb’s Cycle)
- เกิดใน Matrix ภายในไมโทคอนเดรี ย
- อาจเรี ยกว่า Citric Acid Cycle หรื อ TCA Cycle
- Acetyl Coenzyme A (C = 2) รวมตัวกับ Oxaloacetate (C = 4) เกิดเป็ น Citrate (C = 6) แล้วมี
การเปลี่ยนแปลงเป็ น Isocitrate (C = 6)α- Ketoglutarate (C = 5), Succinyl Co A (C = 4), Succinate (C = 4),
Fumarate (C = 4), Malate (C = 4) และ Oxaloacetate เป็ นวัฏจักรตามลาดับ
- ถ้าใช้กลูโคส 1 โมเลกุล เมื่อผ่านวัฏจักรเครบส์ จะเกิด 4 CO2 2 GTP และ 16 H+ ซึ่งจะมี
NAD+ และ FAD มารับ เข้าสู่ กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
1.4 การถ่ ายทอดอิเล็กตรอน (Electron Transport System)
- เกิดที่ Cristae ของไมโทคอนเดรี ย
- เป็ นปฏิกิริยา Oxidation-Reduction หรื อ Redox มีการรับส่ งอิเล็กตรอนและปลดปล่อย
พลังงานออกมาในรู ป ATP
- มี NAD+ , FAD และ Cytochrome เป็ นตัวนาอิเล็กตรอน ตามลาดับ โดย O2เป็ นตัวรับ
อิเล็กตรอนตัวสุ ดท้ายทาให้เกิดน้ าขึ้นจากปฏิกิริยา
- หากNAD+ เป็ นตัวรับอิเล็กตรอน จะเกิด 3 ATP ต่อ H2 1 โมเลกุล และ FADเป็ นตัวรับ
อิเล็กตรอนจะเกิด 2 ATP ต่อ H2 1 โมเลกุล
- H2 1 โมเลกุล เมื่อผ่านการถ่ายทอดอิเล็กตรอน 1 รอบ จะเกิดน้ า 1 โมเลกุล
- ผลจากการสลายกลูโคส 1 โมเลกุล เมื่อผ่านการถ่ายทอดอิเล็กตรอน จะเกิด 34 ATP และ 12
H2O
- การสร้าง ATP ในขั้นตอนการถ่ายอิเล็กตรอน เรี ยกว่า “Oxidative Phosphorylation”

การสลายสารอาหารระดับเซลล์
2. การหายใจแบบไม่ ใช้ ออกซิเจน(Anaerobic Respiration) เป็ นกระบวนการสลายสารอาหารของสิ่ งมีชีวติ โดย
ไม่มี O2เข้าร่ วมปฏิกิริยาแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
2.1 การหมักแอลกอฮอล์ (Alcoholic Fermentation)
- มีการสลายกลูโคส กรดไพรู วกิ แอซิตลั ดีไฮด์ เอทานอล ตามลาดับ (จึงมีเฉพาะ
ไกลโคไลซิ ส ไม่มีวฏั จักรเครบส์ และการถ่ายทอดอิเล็กตรอน)
- การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล เกิด 2 ATP, 2CO2 และ Ethyl Alcohol
- พบในเซลล์ยสี ต์ และเซลล์พืช

การหมักแอลกอฮอล์

2.2 การหมักกรดแลกติก(Lactic Acid Fermentation)


- มีการสลายกลูโคส กรดไพรู วกิ กรดแลกติก ตามลาดับ (จึงมีเฉพาะไกลโคไลซิส)
- การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล เกิด 2 ATP และ 2 Lactic Acid แต่ไม่มี CO2 เกิดขึ้น
- พบในเซลล์กล้ามเนื้อลาย พยาธิ ตวั ตืด และแบคทีเรี ยบางชนิด
ข้ อสั งเกต- หากกรดแลกติกสะสมในเซลล์มาก ๆ จะทาให้มีอาการเมื่อยล้า- แบคทีเรี ยบางชนิดผลิตกรดแลกติก
ได้ดี จึงนามาใช้ในการถนอมอาหาร เช่น เต้าเจี้ยว เต้าหูย้ ้ ี นมเปรี้ ยว ผักผลไม้ดอง เป็ นต้น

การหมักกรดแลกติก

สรุ ปเปรียบเทียบการหายใจแบบใช้ ออกซิเจนและแบบไม่ ใช้ ออกซิเจน

การหายใจแบบใช้ ออกซิเจน การหายใจแบบไม่ ใช้ ออกซิเจน

1. มีครบ 4 ขั้นตอน 1. มีเฉพาะไกลโคลิซิส

2. เกิด 36-38 ATP ต่ อกลูโคส 1 โมเลกุล 2. เกิด 2 ATP ต่ อกลูโคส 1 โมเลกุล

3. ผลิตผลคือ CO2 , H2O , ATP 3. ยีสต์ เกิดเอทานอล , CO2 , ATP สั ตว์เกิดกรดแลกติก, ATP
4. เกิดในไซโทพลาซึม และไมโทคอนเดรีย 4. เกิดเฉพาะในไซโทพลาซึม

การสลายไขมัน ไขมันถูกเอนไซม์ไลเปสสลายเป็ นกลีเซอรอลและกรดไขมัน จากนั้น


1. กลีเซอรอล ฟอสโฟกลีเซอรอลดีไฮด์ (PGAL) ซึ่ งจะเข้าสู่ ไกลโคไลซิ สต่อไป
2. กรดไขมันถูกสลายโดยกระบวนการ β-Oxidation เกิดเป็ นแอซิ ทิลโคเอนไซม์เอ ซึ่ งจะเข้า
สู่ วฏั จักรเครบส์ต่อไป
การสลายโปรตีนโปรตีนถูกเอนไซม์Protease ย่อยสลายเป็ นกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ จากนั้นกรดอะมิโน
จะถูกสลายโดยกระบวนการ Oxidative Deamination เกิดเป็ น
1. แอมโมเนีย (NH3) ซึ่ งเป็ นสารพิษ จึงถูกกาจัดออกนอกร่ างกายในรู ปของยูเรี ย (พวก
สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม) หรื อกรดยูริก (สัตว์ปีก, แมลง)
2. สารตัวกลาง ในขั้นตอนไกลโคไลซิ สหรื อวัฏจักรเครบส์

You might also like