You are on page 1of 36

ศ.พญ.

จ รพร สมบญวงค
ภาควิชาสรีรวิทยา
คณะ พทยศาสตร
จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สารอาหารที่ทําให้เกิดพลังงาน เรียกว่าเป็นกลุ่ม macronutrients ส่วนเกลือแร่และวิตามินไม่เกิดพลังงานแต่มีความต่อร่างกายเรียกว่าเป็น micronutrient

i
Carbohydrates
ทําให้เกิดเป็นพลังงานได้ด้วยการสันดาปกับ O2

Protein + O2 CO2 + H2O + Energy


Fats
เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่มีการสลายสารอาหารและทําให้เกิด energy production

Degradation energy production

metabolism แบบนี้เรียกว่าเป็น catabolism คือเป็น metabolism ที่มีการสลายสารและทําให้เกิดพลังงาน


ส่วนประกอบหลักที่ใหญ่ท่ีสุดคือ heat ดังนั้น metabolism ของเราจะมีความร้อนออกมาเป็นส่วนใหญ่
พลังงานที่ได้จากอาหารจะเป็น energy input ให้กับ

IT
ร่างกายและร่างกายก็เอาไปใช้ต่อเป็น energy output Join ouñsv
• พลังงานท่ีเอาไปใช้ทํางาน บางส่วนเก็บไว้เป็นสํารอง ปล่อยออกมาเป็นความร้อน
Energy = Energy = external work + energy storage + heat
input output ATP, CrP, fat
สํารองไว้ในรูปของ >>>
, CrP อยู่ในกล้ามเนื้อ glycogen, protein
ที่ตับและกล้ามเนื้อ
เป็นเรื่องของการสังเคราะห์สารต่าง ๆ ซึ่งกระบวนการ synthesis ต้องใช้พลังงาน metabolism แบบนี้เราเรียกว่า anabolism
Synthesis energy utilization

ดังนั้น metabolism ก็จะประกอบด้วย catabolism (สลายสารให้เกิดพลังงาน) กับ anabolism (สังเคราะห์สารต้องใช้พลังงาน)


1012mW Www Ñsoiu

Metabolic Pool
① เราเก็บสํารองไกลโคเจนไว้ในร่างกายคือที่ตับกับกล้ามเนื้อ
② ①
สลายไกลโคเจนได้ fat ถูกสลายได้ glycerol กับ fatty acid

]

เอามาเปลี่ยนเป็น
④กระบวนการนี้เกิด ATP แต่ว่าเป็นการเกิดพลังงานแบบที่ไม่

ต้องใช้ O2 ดังนั้นจุดนี้เรียกว่าเป็น anaerobic glycolysis
โปรตีนสลายเป็นกรดอะมิโน
เกิด deamination

② พอเปลี่ยนมาเป็น Acetyl coenzyme A และเข้า


เอา NH2 ออกไปจากตัว
สู่ cycle จะเป็นส่วนที่เกิดขึ้นใน mitochondria

Final n ⑤
Pyruvic acid เปลี่ยนมาเป็น
l mouth KREBS

เปลี่ยนเป็น
.

สุดท้ายยังไงก็ตามจะเห็นว่ามีการเข้า ⑦
สู่วงจร krebs cycle และ electron cycle เข้าสู่ electron transport chain บริเวณที่ทําให้เกิด ATP ตรงน้ีต้องใช้
transport chain เช่นเดียวกัน คือ onñnn
หรือ oxidative phosphorylation O2 เรียกว่าเป็น aerobic glycolysis
ตรงส่วนปลายจะเป็น common Mitro Chon
dia ⑧
มีการเกิด ATP จํานวนมาก
pathway ไม่ว่าสารอาหารอะไรก็ต้อง

acetyl coenzyme
เข้าสู่ common pathway นี้เพื่อ A เข้าสู่วงจร
ทําให้มีการสร้างเป็น ATP ขึ้น
จะเห็นว่าร่างกายต้องใช้ O2 สันดาปกับสารอาหารและทําให้เกิด CO2

Respiratory Quotient (RQ)


ถ้าเราเอาอัตราส่วนปริมาตรของ CO2 ที่เกิดขึ้นหารด้วยปริมาตรของ O2 ที่ใช้ไปขณะเดียวกัน
RQ = Vol CO2 จะเรียกอัตราส่วนน้ีว่าเป็น respiratory quotient (RQ) ค่า RQ ของสารอาหารแต่ละประเภทไม่
เท่ากัน
Vol O2
ถ้าเราเอากลูโคสมาสันดาป O2 ได้ CO2 กับ H2O พอ balance สมการก็จะ
CX
] เป็น 6 กับ 6 หารกันก็ได้ 1 ดังนั้น RQ ก็เท่ากับ 1 หมายความว่าเมื่อมีการ
.

1. RQ for carbohydrate = 1 สันดาปกลูโคสจะทําให้มีการเกิด CO2 เท่า ๆ กับปริมาตรของ O2 ที่ใช้ไป


glucose
C 6H12O6 + 6O2 6CO2 + 6H2O
ใช้ O2 ไป 145 โมเลกุล ส่วน CO2 เกิดขึ้น 102 โมเลกุล พอมาหารกัน 102/145 มันก็จะไม่ถึง 1 เฉลี่ยอยู่ที่ 0.7 แสดงว่าในการสันดาปไขมันจะต้องใช้ O2
เยอะกว่า CO2 ที่เกิดขึ้น เพราะว่ามันจะต้องมีการอะไรสักอย่างมากขึ้นกว่ากลูโคส สมองเป็นอวัยวะที่ใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานเป็นหลัก ดังนั้นถ้า
2. RQ for lipid = 0.70 (0.69-0.73) วัด RQ ของสมอง RQ จะใกล้ 1 มาก หรือถ้ามีคนที่ทานแต่แป้ง
เยอะมาก เค้าคนนั้นพอมาวัด RQ ของทั้งตัวก็จะค่าเยอะ
2C51H98O6 + 145O2 102 CO2 + 98H2O

3. RQ for protein = 0.82


Respiratory Quotient (RQ)
01min MUNI UNIV
7 oils
สมมติว่าคน ๆ หนึ่งไม่มีอาหารทาน ช่วงที่ไม่มีอาหารร่างกายจะใช้ fat มาเป็นสาร
4. RQ for mixed diet = 0.82 อาหารหลัก เพราะงั้นช่วงนั้น RQ จะอยู่ที่ประมาณ 0.7 กว่า ๆ

5. Non-protein RQ = 0.82 ขณะปกติ resting ไปจนถึง mild aerobic exercise พบว่าร่างกายจะไม่ใช้โปรตีน


98 moi Iu fat ni +

40% carbohydrate + 60%fat protein IN V N rn Non -


RQ

Energy equivalent of O2 = 4.825 kcal/L


ส่วนประกอบของสารอาหารที่ทําให้เกิดพลังงานตรงนี้ก็คือเมื่อสันดาปกับ O2 จะเกิดพลังงาน 4.825 kcal ต่อ 1 ลิตร O2
พลังงานสํารองของร่างกาย
Energy Storage ①
พลังงานสํารองในสัดส่วนของคนนํ้าหนัก 70
Us now ri s v

The composition of an average 70 kg. human


⑥ ถ้าร่างกายขาดพลังงานจะดึง carbohydrate หรือไกลโคเจนมาเป็นแหล่งแรก แหล่งต่อมาถึงเป็น fat และแหล่งสุดท้ายคือโปรตีน
ไกลโคเจนมีที่กล้ามเนื้อมากกว่า มีมวลมากกว่า แต่ที่ตับจะพิเศษกว่าเพราะการสลายไกลโคเจนที่ตับ เซลล์อื่น ๆ ทั่วร่างกายสามารถดึงไปใช้ได้ แต่ที่กล้ามเน้ือใช้ได้
เฉพาะในกล้ามเนื้อนั้นเท่านั้น main unions ( wit ai Toi I ñwni )
sons

,


้นํ้ากับเกลือแร่
ไม่ให้พลังงาน

เก็บไว้• ในรูปของไกลโคเจน

③ เก็บมากสุด
Protein
14 -1 ② ( fat )
-

t
20 -1 .

fixed protein เช่น ขน


Mobilizable เช่น muscle ใหญ่เล็กขึ้นลงได้
liver cells

ไกลโคเจนจะสลายออกมาได้ glucose - 6 - phosphate หลังจากนั้นจะถูกดึงเอา phosphate ออกไปโดยเอนไซม์ glucose - 6 - phosphatase ทําให้


เหลือกลูโคสเฉย ๆ และกลูโคสนี้ก็จะออกนอกเซลล์เข้าสู่ circulation แล้วก็ไปแจกจ่ายตามเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย

muscle cells
ไกลโคเจนสลายออกมาได้ glucose - 6 - phosphate แต่ muscle ไม่มีเอนไซม์ glucose - 6 - phosphatase ดังนั้นมันก็เลยออกนอกเซลล์ไม่ได้ แต่
glucose - 6 - phosphate สามารถใช้เป็นพลังงานได้ภายในตัว muscle cell นั้น ๆ

เป็นความแตกต่างระหว่างที่ liver กับ muscle เลยทําให้ liver มีบทบาทสําคัญในการที่จะช่วย supply glucose ให้เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายเวลาที่
จําเป็นต้องใช้พลังงาน ส่วน muscle ก็ใช้ไกลโคเจนภายใน muscle cell เอง
Blood Glucose Homeostasis,
illustrating the Glucostatic Function of Liver
ทานอาหารเข้าไปดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด


เวลาที่ทานแล้วมีกลูโคสตรงน้ีเหลือ
มากเกินพอ ก็จะเอาไปเก็บสะสมที่ตับ

③ ② สร้างเป็นไกลโคเจน เรียกว่า glycogenesis


แต่ถ้าเราไม่ได้ทานข้าว นํ้าตาลในเลือดเริ่ม
④ ในขณะเดี
a
ยวกันตับสามารถสร้างกลูโคสขึ้นมาใหม่ได้ด้วย
ตํ่า ตับจะมีการสลายไกลโคเจนเข้าสู่
เรียกว่า hepatic gluconeogenesis โดยการสร้างอาศัย
กระแสเลือดเพื่อให้เซลล์ต่าง ๆ นําไปใช้
เรียกว่า glycogenolysis ( ⑤ oismvrio ,{ no ,
substrate เช่น กรดอะมิโน glyerol lactate
lioiivinnninrrñwinvsvpply
rioiuglvcoselwinonnhlitnns Join > vml
60-100
Noon / animal
mgldl
rglycogendysis
11N
hepatic
gluconeogenesis

ร่างกายมีความจําเป็นต้องรักษาระดับกลูโคสในเลือดในอยู่ในช่วง 60 - 100 mg / dL
ถ้าตํ่าไปเป็น hypoglycemia
- สมองใช้กลูโคสเป็นหลัก ดังนั้นสมองจะขาดพลังงาน
- แหล่งพลังงานที่ 2 คือ fat ดังนั้นมีการสลาย fat เกิด lipolysis พอเกิด lipolysis ก็จะมีการสร้าง ketone body เพิ่มมากขึ้น อันนี้เป็น acid ก็ทําให้เกิด
metabolic acidosis เพราะฉะนั้นการที่อดอาหารหรือว่าขาดพลังงานเป็นเวลานาน ๆ ก็จะมีผลกระทบแบบน้ีได้ รวมท้ังการสลาย fat ก็ทําให้เกิด plasma fatty
acid เพิ่มสูงขึ้นได้ ก็จะเป็นกรด

ถ้าสูงเกินไปเป็น hyperglycemia
- มีการรั่วออกมาทางไต เพราะว่าไตมี renal threshold คือถ้ามีกลูโคสในเลือดสูงเกิน 180 mg / dL หรือเกินค่าที่เรียกว่า transport maximum of glucose
กลูโคสก็จะรั่วออกมาทางปัสสาวะ ดึงนํ้าออกมาด้วย เรียกว่า osmotic diuresis แล้วพอเสียนํ้ามากก็เกิด dehydration ได้ อันน้ีก็เป็นอาการของคนไข้ที่เป็นเบา
หวาน
① เวลาที่นอน ไม่ได้กินข้าว ในช่วงระหว่าง fasting overnight ร่างกายเรารักษาระดับกลูโคสในเลือดได้ยังไง

Glucose Turnover in Overnight Fasted Humans


② ตอนนอนใช้พลังงานน้อยเพราะงั้นตรงน้ีตับจะเป็นตัวสําคัญในการช่วยรักษาระดับกลูโคสระหว่าง fasting overnight
amino acid

far
.

③ , glucose
ได้มาจากการสร้างกลูโคสจากสารอื่น ๆ 1-

oÑvWN1nuqwnñwnpInN
Regulation of Blood Glucose
1. Glucose buffer function of the liver ตับเป็นพระเอก
① Blood glucose inning Blood glucose iinminñi
riuniñw
riuñ arrow

Glycogenesis I Glycogenolysis 2
Gluconeogenesis
การสราง กล ค จน การสลาย กล ค จน การสรางกล คส

2. Sympathetic nervous system มี effect ตอนช่วง hypoglycemia


Blood glucose Norepinephrine Glycogenolysis
เวลาหิว ตอนนั้น sym ถูกกระตุ้น ก็จะ
Epinephrine
( mswinmm
การสลายไกลโคเจน riñu
ทําให้อาจมีอาการใจเต้นเร็ว บางคนมือสั่น

3. Endocrine system ระบบต่อมไร้ท่อ Hormone Aris 2&


Insulin-glucagon Growth hormone - cortisol
nii ตอบสนองเร็ว โดย insulin มีผลลดระดับนํ้าตาลในเลือด nii ตอบสนองช้ากว่า ทั้ง 2 ตัวนี้ทําหน้าที่เพิ่มนํ้าตาล
ในขณะที่ glucagon เพิ่มนํ้าตาลในเลือด
Amino Acid Metabolism
fixed protein

① 01mi ex .

เส้นผมสามารถบอกสภาพของ
protein status ในร่างกายได้
สร้าง ③
101%5%0
Mimo
⑤กรดอะมิโนบางส่วนเข้าสู่ common metabolic เพื่อสร้างพลังงาน
② ย่อยได้กรดอะมิโน


บางส่วนเอาไปสร้างเป็น
สารอื่น ๆ ที่ร่างกายต้องใช้
⑥ deamination เกิดขึ้นคือดึงเอา NH3 ออกซึ่งปกติ


E- แล้วตัวนี้จะกลายเป็นแอมโมเนีย แต่แอมโมเนียเป็น
toxic ต่อร่างกาย เลยต้องเกิด detoxification ที่ตับ
ธาตุที่เป็นตัวสําคัญของ amino acid เปลี่ยนเป็น urea ละลายนํ้าได้ไม่ toxic และขับ
คือไนโตรเจน ดังนั้นจะใช้ไนโตรเจน ⑧ ออกทางปัสสาวะ
I ส่วนเกินก็ถูกขับออกได้ 3 ทาง
เป็น indicator ในการบอกถึง ์nitrogen balance คือเป็นเรื่องของสมดุลไนโตรเจน ในกรณีที่มี input ของโปรตีนมีค่าเท่ากับ output จะเรียกว่ามี nitrogen balance
protein metabolism 8. I ↳⑨
⑨ เช่น ขาดโปรตีนหรือร่างกายมีการสลายโปรตีนมาก input จะน้อยกว่า เรียกว่าเป็น negative nitrogen balance เช่นในคนเป็นมะเร็ง ขาดสารอาหารหรือหลังผ่าตัดใหญ่
8. 2 d
⑨ เช่น มีการสร้างโปรตีนมาก มีการ intake มาก ก็จะทําให้เกิดเป็น positive nitrogen balance เช่น ในสตรีมีครรภ์หรือเด็กกําลังเจริญเติบโต
8. 3 d
① fat จะอยู่ในร่างกายของเราในเลือดเพียว ๆ ไม่ได้เพราะไม่ละลายนํ้า ดังนั้นต้องอยู่ในฟอร์มของ complex ที่เราเรียกว่า lipoprotein

ไม่มีขั้ว ไม่ละลายนํ้า
Lipoprotein ประกอบด้วย 2 ส่วน


Non-polar : Triglyceride ⑤
Vino wñiv
lipoprotein มีหลายขนาด มีความหนาแน่น
มีขั้ว ละลายนํ้า
Cholesterol ต่างกันขึ้นอยู่กับส่วนประกอบ 4 ตัวน้ี

④ Polar : Phospholipid
① ถ้ามีส่วนที่เป็น fat เยอะจะมีความหนาแน่นน้อย เพราะโปรตีนตํ่า
Protein แต่ถ้า fat น้อย โปรตีนเยอะความหนาแน่นก็จะสูงขึ้น

รียงตามความหนา นนจากนอย มาก


1. Chylomicron
2. VLDL = very low density lipoprotein
3. IDL = intermediate density lipoprotein
4. LDL = low density lipoprotein
5. HDL = high density lipoprotein
Types of Lipoprotein

ไม่ค่อยดี

Winn n
,

f.
ทําให้ความหนาแน่นสูง

① HDL เป็น lipoprotein ดี ช่วยป้องกันความเสี่ยงเกิดโรค coronary artery disease bonnin bad


Lipoprotein Metabolism & Lipid Turnover
ร่างกายใช้ tryglyceride ที่อยู่ใน chylomicron กับ
VLDL โดยมีเอนไซม์ lipoprotein lipase ซึ่งอยู่
in Human
บริเวณ capillary endothelium คือเย่ือบุผิวของ
หลอดเลือดฝอย เอนไซม์ LPL นี้จะย่อยสลาย
tryglyceride ออกมาได้ free fatty acid กับ
glycerol และร่างกายก็เอาไปใช้เป็นพลังงานตาม
เนื้อเยื่อไขมัน muscle heart ต่าง ๆ ปฏิกิริยาตรง
ส่วนนี้ที่มีการย่อยสลาย tryglyceride ด้วย LPL มี ลําไส้
HDL เป็น catalyst ก็ดีช่วยลด tryglyceride ได้
แล้วพอ chylomicron กับ VLDL ถูกเอา
tryglyceride ไป มันก็เลยมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น VLDL สามารถสร้างได้จากตับและจากอาหาร
คือ chylomicron จะเล็กลงได้เป็นส่วนที่เรียกว่า
มี tryglyceride สูง
remnant ส่วน VLDL ก็มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น
กลายเป็น IDL ร่างกายมีการใช้ cholesterol ที่อยู่
ภายใน remnant กับ IDL โดย free choresterol
จะถูกเปลี่ยนไปเป็น cholesterol ester โดยอาศัย
เอนไซม์ lecithin cholresterol acyltransferase
หรือ LCAT และก็จะมี HDL เป็น catalyst เช่น
เดียวกัน ก็คือเป็นตัวที่ดีที่ช่วยลด cholesterol หลัง
จากนั้น IDL และ remnant จะถูก reuptake ไปที่
ตับ โดย IDL จะกลายเป็น LDL ซึ่งเป็นตัวที่มี
cholesterol เยอะและก็เอา cholesterol ไปใช้ตาม
เซลล์ต่าง ๆ ส่วน tryglycerol จะถูกขับออกมากับ
นํ้าดีเข้าสู่ลําไส้วนไป
metabolism ของร่างกายหลัก ๆ จะปล่อยออกมาในรูปของพลังงานความร้อน ดังนั้นหน่วยของค่าพลังงานของร่างกายก็คือใช้หน่วยพลังงานความร้อน
คือ calorie
1 calorie คือพลังงานความร้อนที่ทําให้นํ้า 1 กรัมมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส เพราะงั้นบางทีเค้าก็เรียก gram calorie (cal) ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็ก
มาก เอามาใช้พูดในร่างกายมนุษย์ 0 จะเยอะมากเลยไม่นิยม ส่วนใหญ่ก็จะเรียกเป็น kilocalories (kcal) คือ 1000 gram calories อาจจะย่อได้ว่าเป็น
Cal (แปลเหมือน kcal)
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา metabolism

Factors Affecting Metabolic Rate


้เวลาวัดอัตรา metabolism ก็คือเป็นการวัด heat production วัดความร้อนที่เกิดขึ้นภายในร่างกาย

1. Physical activity วันนึงโดยเฉลี่ยร่างกายต้องการพลังงาน 2000 kcal


• Daily energy requirement 2,000 kcal

ลืมตาตื่นอยู่นิ่ง ๆ ใช้มากขึ้นเพราะสมองทํางานมากขึ้น

ประมาณ 4 กม. ต่อชั่วโมง น่าจํา


น่าจํา
ประมาณ 8 กม. ต่อชั่วโมง น่าจํา
innit t.M-osmm.snw.FIใช้มากกว่าเพราะการเดินเร็วต้องใช้กล้ามเน้ือต่าง ๆ เพื่อ
keep ให้ความเร็วนั้นสูง แต่เวลาว่ิงมันมีแรงส่งด้วย
Factors Affecting Metabolic Rate
หลังกินข้าวเสร็จใหม่ ๆ metabolic rate จะเพ่ิมขึ้น ทั้งที่ยังไม่ทําอะไรเลย
2. Dietary-Induced Thermogenesis
= increased metabolic rate after a meal
Protein 30% above normal
Carbohydrate & Fat 4% above normal
การกินข้าวแล้วเพิ่ม metabolic rate เป็นเพราะหลังกินข้าวจะมี chemical reaction ต่าง ๆ เกิดขึ้นทั้งการย่อย ดูดซึม บลา ๆ
Chemical reactions associated with digestion,
absorption, and storage of food
Amino acids directly stimulate the cellular
chemical processes.
การที่โปรตีนกระตุ้นให้เกิด metabolic rate เพ่ิมมากตอนหลังกินข้าวเสร็จใหม่ ๆ เพราะเชื่อว่ากรดอะมิโนเป็นตัวกระตุ้น cellular chemical process โดยตรง
เลยมีการใช้วิธีกิน high protein diet เพื่อลดนํ้าหนัก เพราะหวังว่าจะไปเพิ่ม dietary induced thermogenesis
3. Age & sex มีผลต่อ basal metabolism ของร่างกาย

อัตรา metabolic rate พื้นฐาน


Basal
ผู้ชายมี muscle มากกว่า ซึ่ง muscle
metabolism เป็นตัวที่มี metabolism ที่สูงกว่า fat
(Cal/sq.m./hr)

Age (years) อายุมากขึ้น basal metabolism ก็ลดลง


4. Body surface area คนที่มีพื้นที่ผิวร่างกายมากก็จะมีอัตรา metabolism พื้นฐานที่สูงกว่า

5. Hormones
เพิ่ม metabolism ดังนั้นคนไข้ท่ีมี thyroid hormone ก็จะทําให้มี
Thyroid hormone metabolic rate สูงได้

Testosterone ผู้ชายเลยมีอัตรา metabolism สูงกว่า


Growth hormone คนไข้ที่มี GH มาก เช่น เป็น gigantism ก็จะมีค่า metabolic rate สูงกว่าคนปกติ
6. Sympathetic stimulation
Epinephrine & norepinephrine
Glycogenolysis of muscle and liver cells เพิ่มการสลายไกลโคเจน
Cellular activity
Uncouple oxidative phosphorylation of
mitochondria of brown fat - ñilvwi Nannini ,

Heat , no ATP = nonshivering thermogenesis


ทําให้เกิด heat โดยไม่เกิด ATP สร้างความร้อนโดยไม่ต้องสั่น
เวลาที่มีความโกรธ metabolism สูงขึ้น แต่ถ้า depress ก็จะมี metabolism ตํ่าลง
ไข้ เพิ่ม metabolism

แถบขั้วโลก จะมีค่า metabolism ท่ีสูงกว่า แถบศูนย์สูตร แถบอบอุ่น อากาศสบาย


เกิดจากการปรับตัวของต่อมไทรอยด์ ไม่ว่าอากาศจะหนาวหรือร้อนไป

7. Emotion ก็มีผลกระตุ้น metabolism แต่ถ้าสบายไป metabolism จะลดตํ่าลง

8. Fever
9. Climate
Arctic regions > tropical regions
เวลานอนอัตรา metabolism จะลดตํ(temperate
่าลง regions)
เพราะมีการลด tone ของกล้ามเนื้อลาย
U-shaped
การอดอาหารเป็นเวลานาน จะลด metabolism
ร่างกายใช้พลังงานน้อยลงก็มีความต้องการ
สารอาหารน้อยลง

เวลาท่ีมีการตั้งครรภ์ก็จะมีการกระตุ้น metabolism มากขึ้น


major metabolic Rate

Measurement of the Whole-Body


Metabolic Rate
วัดทางตรง
1. Direct calorimetry
Heat liberation
Calorimeter
หลักการคือวัด heat production หรือ heat liberation ที่เกิดออกมา โดยเครื่องมือที่
ใช้วัดเรียกว่า calorimeter
อุปกรณ์นี้มันยุ่งยาก ใช้คนจํานวนมากในการดูแล subject ราคาสูง ในทางปฏิบัติทําได้ยาก

Er นักเคมี iru นักฟิสิกส์


ATWATER-ROSA CALORIMETER

มี chamber เป็นระบบปิด ทําด้วยฉนวนกันความร้อน เพราะงั้นจะไม่มีความร้อนรั่วไหลออกไป


ให้เข้าไปใช้ชีวิตในนี้

④ ③
ท่อนํ้าขาออก
ท่อนํ้าเข้า บุตรงผนังห้อง
⑤เวลาที่จะวัดการใช้พลังงานก็จะปล่อย
นํ้าเข้าไปในท่อ ความร้อนท่ี่ร่างกาย
มีท่ออากาศ subject สร้างออกมาจะถูก transfer
9 ñauouiluñwñ เข้าไปในท่อนี้ เพราะงั้นนํ้าที่ออกมาก็
absorp CO2 ที่มากับลมหายใจออก จะมีอุณหภูมิสูงกว่าตอนเข้า ความแตก
ต่างของอุณหภูมินี้ก็สามารถนํามา
L I คํานวณเป็นค่าพลังงานที่เกิดขึ้นได้ใน
เพื่อปรับอุณหภูมิให้อากาศที่ใส่เข้าไปคงที่ตลอด เพื่อที่ว่าอุณหภูมิที่ ช่วงเวลานั้น ๆ
เปลี่ยนแปลงภายในตัวห้องจะต้องมาจากความร้อนในร่างกายเท่านั้น
Measurement of the Whole-Body
Metabolic Rate
1. Direct calorimetry
Heat liberation
Calorimeter
INV
วัดทางอ้อม
2. Indirect calorimetry
Oxygen consumption วัสัดนดาปเป็
O2 uptake เพราะเรารู้ว่าร่างกายใช้ O2 มา
-

นพลังงานเป็นส่วนใหญ่
อุปกรณ์ที่ใช้วัดเรียก Closed-circuit spirometry: metabolator
ว่าเป็น spirometryf- Open-circuit spirometry
ÑLHUU
closed ค่าพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อนําสารอาหารมาสันดาปกับ O2 1 ลิตร
= Oxygen uptake Energy equivalent of O2
(Thermal equivalent of O2)
= Oxygen uptake 4.825 kcal/L of O2
(or 5 kcal/L of O2 when RQ=0.82)
เราติ๊ต่างว่าเรากินอาหารเป็น mixed diet เพราะงั้นก็เอา 4.825 คูณได้เลย ออกมาเป็นค่าพลังงานได้เลย
Lilnninnriow ?
closed - circuit spirometry
วัด metabolism ในขณะพัก ② ñwñnnriw
ตรงบริเวณที่บันทึกจะเรียกว่า kymograph
ซึ่งจะหมุนช้า ๆ ได้ หมุนทวนเข็มนาXิกา

I
ถังอากาศมีฝาครอบเคลื่อนขึ้นลงได้
↳ เอากระดาษมาพันรอบ kymograph

มี valve ให้อากาศเดินได้ทางเดียว

ปลายท่อใส่ไว้ในปากของ -

an
subject หายใจทางปาก
→ coz NÑW
เท่านั้นและปิดจมูก
เวลา subject หายใจเข้า อากาศออกจากถัง ฝาก็จะเคลื่อนลง
เวลา subject หายใจออก อากาศเข้าถัง ซึ่งจะมี CO2 ออกมากับลมหายใจด้วย ทีนี้ข้างในจะมีถังเล็ก ๆ บรรจุ soda lime ซึ่งทําหน้าที่ absorp CO2
ปล่อย O2 ที่เหลือกลับคืนเข้าถังไป soda lime จะเป็นส่วนประกอบของพวก calcium hydroxide, sodium hydroxide, potassium hydroxide
เพราะฉะนั้นตอนหายใจออกฝาจะเคลื่อนขึ้น พอหายใจเข้า ฝาเคลื่อนลง เส้นกราฟจะขึ้น พอหายใจออก
ุ6 ช่องคือ 6 นาที ฝาเคลื่อนขึ้น เส้นกราฟลงแต่ลงมาจะไม่แตะ baseline
ตอนตั้งต้นเพราะมีการหายใจเอา O2 ไปบางส่วนแล้ว
ถ้าใน spirometer of benedict roth apparatus จะ
กําหนดว่าต้องหายใจเป็นเวลาครบ 6 นาที

่ค่าปริมาตร O2 ที่เราใช้
Who in close ni source Winn tuns
open - circuit spirometry
source ของ O2 ที่หายใจมาจากบรรยากาศ เลยเป็น open

ถูกวัดปริมาตรโดย meter ที่อยู่ภายในเครื่อง

บางส่วนถูกเก็บไว้ในถุงเล็ก ๆ

ความเข้มข้นของ O2

ลมหายใจปล่อยออกมา

fun ,
"
ring
เอาอากาศที่เก็บไว้มาวิเคราะห์ในห้องแลป เพื่อหาสัดส่วนของ O2 กับ
CO2 ซึ่งจะมีความเข้นข้นของ O2 น้อยกว่าตอนที่อยู่ในบรรยากาศ
เพราะมันมีการหายใจเอา O2 เข้าไปแล้ว

เอาปริมาตรอากาศที่ record ไว้ ซึ่งเป็นปริมาตรอากาศที่หายใจออกมามาคูณกับการเปลี่ยนแปลงความแตกต่างของความเข้นข้นของ


O2 ตรงบรรยากาศกับตรงท่ีหายใจออกมาได้ ก็จะได้ค่า O2 uptake แล้วก็เอามาคํานวณเป็นค่าพลังงานได้ที่หลัง
Open - circuit spirometry มี 3 แบบ

Portable
① potion
?
spirometry
เป็นแบบเป้สะพายหลังหนักประมาณ 3 โล
ใช้หาพลังงานขณะที่ทํากิจกรรมต่าง ๆ ได้
แต่ข้อเสียคือไม่สามารถรองรับ exercise ที่
มันหนักขึ้นได้
Bag
technique
ถุงท่ีเก็บอากาศจะเป็นถุงใหญ่ ๆ สามารถรองรับ
ventilation ที่มากขึ้นได้
สะดวกสบาย หายใจได้ตามปกติใช้ mask ครอบไปเลย สามารถแสดงผลค่า metabolism ได้ real time รวมถึงสามารถแสดงผลของ
cardiovascular respiratory system ต่าง ๆ ได้

Computerized instrumentation
Measurement of the Whole-Body
Metabolic Rate
1. Direct calorimetry
Heat liberation
Calorimeter

2. Indirect calorimetry
Oxygen consumption
Metabolator

= Oxygen uptake Energy equivalent of O2 (Thermal


equivalent of O2)
= Oxygen uptake 4.825 kcal/L of O2 or 5 kcal/L of O2
when RQ=0.82

3. Doubly labelled water technique ไม่ใช้อุปกรณ์อะไรเลย


Doubly labelled water technique

ดื่มนํ้า ที่มี H2O ที่ isotope

เป็น heavy water เป็นนํ้า isotope

พอดื่มนํ้าเข้าไป นํ้านี้จะไป distribute ทั่วร่างกาย และก็มีการขับออกมาทางเหงื่อกับปัสสาวะในรูปของนํ้า แต่ก็เป็นในรูป isotope โดย O18


จะถูกขับออกมาทางนํ้าที่ออกมากับใน CO2 ที่อยู่ในลมหายใจออก สุดท้ายเราจะสามารถคํานวณออกมาได้ว่า CO2 production เป็นเท่าไหร่
แล้วก็ค่อยเอามาคํานวณหาค่าพลังงานที่หลัง เรารู้ว่าค่า RQ อยู่ที่ประมาณ 0.82 เราก็มาคํานวณหาค่า O2 uptake ได้ตามสูตร RQ เท่ากับ
CO2 / O2
*

Basal Metabolic Rate (BMR)


อัตรา metabolism พื้นฐานของร่างกาย เป็นอัตรา metabolism ที่น้อยที่สุดที่ร่างกายใช้เพื่อ maintain function ตามปกติ ขณะที่เราพักผ่อนเต็มที่ทั้งร่างกายและจิตใจ
• The metabolic rate that corresponds to the energy
exchange for the minimal functional activity of the
body (awakening) ขณะตื่น!! อยู่นิ่ง ๆ
Basal conditions
1. No any food at least 12 hrs. งดอาหารอย่างน้อย 12 ชั่วโมง

2. Restful sleep a night before นอนหลับพักผ่อนเต็มที่ในคืนก่อนทําการวัด

3. No strenuous exercise ไม่มี exercise อะไร งดไปประมาณ 12 ชั่วโมง

4. No psychic or physical excitement สงบนิ่ง


5. Comfortable temperature ทําการวัดในห้องอุณหภูมิสบาย ๆ
How to measure BMR ใช้เป็น indirect calorimetry

O2 consumption
RQ=0.82 assume ว่า subject ทานอาหารมามื้อล่าสุด 12 ชั่วโมงที่แล้ว เป็นแบบ mixed diet
“energy equivalent” of oxygen = 4.825 kcal/L
Spirometer of Benedict – Roth apparatus << อุปกรณ์ที่ใช้วัด
Factors affecting BMR
1. Body size : body surface area (BSA) ถ้ามีมาก BMR ก็สูงขึ้น
2. Gender : female ˂ male 5-10%
3. Age : 20-40 years ยิ่งอายุมาก BMR ก็ลดตํ่าลง
ตารางเมตร
Male = 38 kcal/sq.m/hr ผู้ชายมี BMR สูงกว่า
Vuong -408 I so )

Female = 36 kcal/sq.m/hr
_ 24 ชั่วโมง เราใช้พลังงานไปเท่าไหร่ การใช้พลังงานใน 24 ช่ัวโมงมีองค์ประกอบ 3 ส่วน

Total daily energy expenditure


1. Resting metabolic rate หรือ Basal metabolic rate
60-75%
2. Thermic effect of feeding ค่า metabolism ที่เกิดจากการทานอาหาร
10%
3. Physical activity ใช้พลังงานทํากิจกรรมต่าง ๆ
15-30% ขึ้นอยู่กับว่าใคร active ใครไม่ active ขึ้นอยู่กับ lifestyle

You might also like