You are on page 1of 35

โครงการนำร่องขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพหม้อ

น้ำโดยวิศวกรด้านหม้อน้ำหรือวิศวกรพลังงาน

ภายใต้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ปี งบประมาณ ๒๕๖๑

พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับไอน้ำและระบบไอน้ำทั้งสี่ส่วน
หัวข้อการนำเสนอ
• ไอน้ำและคุณสมบัติของไอน้ำ
• หม้อน้ำ และอุปกรณ์ประกอบ
• ระบบน้ำสำหรับหม้อน้ำ
• พื้นฐานการเผาไหม้
• ระบบไอน้ำทั้ง 4 ส่วน (ส่วนการผลิตไอน้ำ การส่งจ่ายไอน้ำ อุปกรณ์ใช้ไอน้ำ
และ การนำความร้อนกลับ)
• การประเมินระบบไอน้ำด้วย SSST

2
ไอน้ำ (steam) คืออะไร?
ไอน้ำเกิดจากน้ำที่ได้รับความร้อนจนถึงจุดเดือดและเดือดกลายเป็ นไอ ซึ่ง
ไอที่เกิดขึ้นจะสะสมอยู่บริเวณเหนือผิวน้ำหรือส่วนเก็บไอ ถ้าไม่มีการระบาย
ออกจะอัดตัวเกิดเป็ นความดันขึ้น

อุปกรณ์ใช้ไอน้ำ
ไอน้ำ
น้ำ

ความร้อน
ที่ถูกถ่ายเท

หม้อน้ำ คอนเดนเสท3
จุดเดือด
จุดเดือด หมายถึง อุณหภูมิของน้ำที่เดือดกลายเป็ นไอ จะขึ้นอยู่กับความดันภายในภาชนะ
ที่ใช้ต้ม เช่น
•ต้มน้ำที่ภาชนะเปิ ด น้ำจะเดือดกลายเป็ นไอที่อุณหภูมิ 100 oC
•แต่ถ้าต้มภายในภาชนะปิ ดจุดเดือด จุดเดือดของน้ำจะสูงเปลี่ยนแปลงตามความดัน

ไอน้ำไปใช้งาน
เกจวัด
ความดัน
ไอน้ำ

น้ำ

ความร้อน
4
ประเภทของความดัน
• ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure): เป็นค่าความดันจริงที่วัดอ้างอิงกับสูญญากาศสัมบูรณ์ (ความ
ดันศูนย์สัมบูรณ์)
• ความดันเกจ (Gage pressure): : ผลต่างของความดันระหว่างความดันสัมบูรณ์กับความดันบรรยากาศ
• ความดันสุญญากาศ (Vacuum pressure): ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ

5 5
การเปลี่ยนสถานะของน้ำภายใต้ความดันคงที่

น้ำ น้ำอิ่มตัว ของผสมระหว่างน้ำและไอน้ำอิ่มตัว ไอน้ำอิ่มตัว ไอแห้ง


Compressed liquid Saturated liquid Liquid and vapour mixture Saturated vapour Superheated steam

Tsuperheat
จุดเดือด
ไอแห้ง หรือไอดง
Tsat

ไอน้ำอิ่มตัว

6
พลังงานของไอน้ำ

7
ความร้อนสัมผัส ความร้อนสัมผัส

539 kcal/kg

100 kcal/kg 639 kcal/kg 7


การหาเอนทาลปี ของไอน้ำ (ใช้ app ในมือถือ)
Saturated steam table

Superheated steam table

8
PROPERTIES OF PURE
SUBSTANCE EXCERCISE

9
ส่วนผลิตไอน้ำ (หม้อน้ำ)
“หม้อน้ำ” ตามกฎกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2549
"หม้อน้ำ" หมายถึง ภาชนะปิดสำหรับบรรจุน้ำที่มี
ปริมาณความจุเกิน 2 ลิตรขึ้นไปเมื่อได้รับความร้อน
จากการสันดาปของเชื้อเพลิงหรือแหล่งพลังงานความ
ร้อนอื่นน้ำจะเปลี่ยนสถานะกลายเป็ นไอน้ำภายใต้
ความดันมากกว่า 1.5 เท่าของความดันบรรยากาศที่
ระดับน้ำทะเล หรือ ภาชนะปิดสำหรับบรรจุน้ำซึ่งใช้ใน
การผลิตน้ำร้อนที่มีพื้นที่ผิวรับความร้อนตั้งแต่ 8
ตารางเมตรขึ้นไป

10
กำลังการผลิตไอน้ำ
• กำลังการผลิตไอน้ำ (Steam rate)
หมายถึง ความสามารถของหม้อน้ำ ในการผลิตไอน้ำในเวลา 1 ชั่วโมง ภายใต้ความ
ดันบรรยากาศ (1 atm หรือ 0 barg)

• หม้อน้ำขนาด 1 ตันต่อชั่วโมง
หมายถึง หม้อน้ำที่สามารถทำให้น้ำ 1 ตัน (1,000 ลิตร) ระเหยกลายเป็ นไอน้ำได้หมด
ภายในเวลา 1 ชั่วโมง ภายใต้ความดันบรรยากาศ (1 atm หรือ 0 barg)

• แรงม้าหม้อน้ำ (Boiler Horse Power)


เป็ นหน่วยวัดกำลังการผลิตไอน้ำของหม้อน้ำ คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำขนาด
34.5 ปอนด์ ที่อุณหภูมิ 212 ºF กลายเป็ นไอน้ำที่อุณหภูมิ 212 ºF หมดในเวลา 1 ชั่วโมง
หรือ 1 แรงม้าหม้อน้ำ
11
ประเภทของหม้อน้ำ
หม้อน้ำแบ่งตามการจัดการไหลของน้ำและก๊าซไอเสียจะแบ่งได้ 2 แบบ คือ
1. หม้อน้ำแบบท่อไฟ (Fire-tube Boiler)
หม้อน้ำแบบนี้ภายในท่อจะมีความร้อนหรือเปลวไฟวิ่งอยู่ ส่วนน้ำจะอยู่ภายนอกท่อ เป็น
หม้อน้ำที่พบว่ามีใช้อย่างกว้างขวางในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น หม้อน้ำสำเร็จรูป หม้อน้ำ
รถไฟ และหม้อน้ำเรือ เป็นต้น
2. หม้อน้ำแบบท่อน้ำ (Water-tube Boiler)
หม้อน้ำแบบนี้ภายในท่อจะมีน้ำวิ่งอยู่ ส่วนภายนอกจะมีความร้อนหรือเปลวไฟล้อมรอบ
เช่น หม้อน้ำท่อน้ำขวาง และหม้อน้ำท่อน้ำงอบางส่วน เป็นต้น

12
อุปกรณ์ที่สำคัญของหม้อน้ำ
ระบบวัดและควบคุมความปลอดภัย

ระบบป้ อน
อากาศที่ใช้ใน
การเผาไหม้

ระบบน้ำป้ อน
ระบบป้ อนและ
ควบคุมเชื้อเพลิง 13
ระบบควบคุมอัตโนมัติด้วย PLC
น้ำสำหรับหม้อน้ำ

14
น้ำสำหรับหม้อน้ำ
น้ำมัน
O2 CO2 มลทินในน้ำ ไขมัน
NH3 H2S ก๊าซ สารละลายน้ำ สารแขวนลอย
จุลินทรีย์
สารอินทรีย์

สารที่กระด้าง สารที่ไม่ กระด้าง

ชั่วคราว

ถาวร

TDS
NaSO4 NaNO3 NaCl
มลทินในน้ำ Mn(HCO3)2 Fe(HCO3)2
ก๊าซ สารละลายน้ำ สารแขวนลอย
CaCO3 Ca(HCO3)2
สารอินทรีย์

สารที่กระด้าง สารที่ไม่กระด้าง
MgCO3 Mg(HCO3)2
ชั่วคราว

ถาวร
CaCl2 CaSO4 CaNO3
MgCl2 MgSO4 MgNO3 15
ผลกระทบต่อหม้อน้ำ หากใช้น้ำไม่เหมาะสม
ความกระด้าง เกิดเป็ น ตะกรัน

ท่อแตก
ออกซิเจน เป็ นสาเหตุ สนิม ฉีกขาด

ถ้าใช้หม้อน้ำในสภาพนี้เรื่อยๆ ท่อน้ำจะตัน และเกิดสนิม อาจทำให้ท่อน้ำแตกได้


16
ผลกระทบต่อหม้อน้ำ หากใช้น้ำไม่เหมาะสม
O2 , CO2 pH Ca , Mg , Si

Pitting corrosion การกัดกร่อนและการแตก การเกิดตะกรันเนื่อง


ร้าวเนื่องจาก ค่า pH ความกระด้างของน้ำ 17
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องคุณสมบัติของน้ำสำหรับ
หม้อน้ำ พ.ศ. 2549 เล่ม 123 ตอนพิเศษ 125 ง

หม้อน้ำขนาดไม่เกิน 20 ton/h ความดันไม่เกิน 20 barg 18


ค่า pH ที่เหมาะสมสำหรับหม้อน้ำ

19
การเผาไหม้สำหรับหม้อน้ำ

20
การเผาไหม้
• เชื้อเพลิง และ อากาศ (ออกซิเจน)

21
เชื้อเพลิงที่ใช้ในหม้อน้ำ
• เชื้อเพลิง
– Gas
• LPG or NG

– Liquid
• น้ำมันเตา A, C
• น้ำมันดีเซล

– Solid
• ถ่านหิน
• ชีวมวล เช่น ใยปาล์ม กะลาปาล์ม หรือ กากอ้อย 22
ลักษณะการเผาไหม้
• เชื้อเพลิงก๊าซ

• เชื้อเพลิงเหลว
Liquid
ระเหย
fuel

Air
23
ลักษณะการเผาไหม้
• เชื้อเพลิงแข็ง

800
O
C
Char
burning Heat
production
Ignition

200-
300
Pyrolysis Heat consumption

105
Volatiles Char
Moisture
80-90 % 10-20 %
evaporation

24
ลักษณะการเผาไหม้
• เชื้อเพลิงแข็งและชีวมวล
เชื้อเพลิงแข็งและชีวมวล มีขั้นตอนการเผาไหม้หลายขั้นตอน โดย
ขั้นแรกสุดและเป็ นขั้นตอนที่สำคัญมาก คือ การระเหยความชื้นในเชื้อ
เพลิง (Moisture evaporation) ถ้ามีความชื้นในเชื้อเพลิงมากจะทำให้
ต้องใช้พลังงานและเวลามาก และถ้าความชื้นมากเกินไปอาจทำให้การ
เผาไหม้ล้มเหลวได้ เมื่อเชื้อเพลิงถูกระเหยความชื้นหมดแล้ว ขั้นตอนที่
สอง คือ การปลดปล่อยสารระเหยในเชื้อเพลิง (Pyrolysis) ซึ่งสารระเหย
เหล่านี้จะลอยออกมาจากเชื้อเพลิง และจะถูกผสมกับอากาศและเริ่ม
ติดไฟ (ignition of volatiles) ซึ่งก็คือขั้นตอนที่สาม และในขั้นตอนที่สี่
คือ การเผาไหม้ของสารระเหยนั้นให้เห็นเป็ นเปลวไฟ (burning of
volatiles (flaming)) เมื่อสารระเหยถูกเผาไหม้หมด ขั้นตอนที่ห้าจะเกิด
ขึ้น คือ มองไม่เห็นเปลวไฟ หรือเปลวไฟดับ (flame extinguish) และขั้น
ตอนสุดท้าย คือ การเผาไหม้ถ่าน (คาร์บอน) ที่เหลืออยู่ โดยใช้การแพร่
ของออกซิเจนเข้าสู่ผิวถ่านที่พรุน เพื่อส่งเสริมการเผาไหม้ของถ่าน (Char
burning) 25
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชื้อเพลิงแข็ง
มี 2 แบบ
FC
(1) การวิเคราะห์โดยประมาณ VC
(proximate analysis) A
(2) การวิเคราะห์โดยละเอียด M
(ultimate analysis)

26
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเผาไหม้
• ระยะเวลาในการเผาไหม้ (Time)
• อุณหภูมิในการเผาไหม้ (Temperature)
• ความปั่นป่ วนคลุกเคล้ากันระหว่างอากาศกับเชื้อเพลิง
(Turbulence)
3T’s

27
อากาศส่วนเกินในการเผาไหม้
ตัวแปรชี้วัด
อากาศส่วนเกินที่ยอมรับได้โดยเฉลี่ย ตามแนวทางปฏิบัติที่ดี

CO ในก๊าซไอเสีย (ppm)
ชนิดเชื้อเพลิง %O2ในก๊าซไอเสีย อากาศส่วนเกิน (%)
based on 7% O2
ก๊าซ 1-2 <690* 5-10
เหลว 3-4 <690 10-20
แข็ง 7-10 <690 50-70

*ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องกำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน พ.ศ. 2459 เล่ม 123 ตอนพิเศษ 125 ง
28
หัวเผาเชื้อเพลิงก๊าซในหม้อน้ำ

29
ชนิดต่างๆ ของหัวเผาเชื้อเพลิงเหลว
(1) พ่นฝอยด้วยความดันน้ำมัน (Pressure of Mechanical Atomized)

(2) พ่นฝอยด้วยอากาศความดันต่ำ (LP Air Atomized) (TD = 4-6:1)

(3) พ่นฝอยด้วยไอน้ำ (Steam Atomized) (4) ถ้วยสลัดน้ำมัน (Rotary Cup Burner)

30
เทคโนโลยีการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็ง
1. Inclined/Fixed Grate ตะกรับเตาอยู่กับที่ และตะกรับเอียง
2. Traveling Grate ตะกรับเตาเคลื่อนที่
3. Spreader Stoker
4. Step Grate or Pushing Grate เตาแบบขั้นบันได
5. Bubbling Fluidized Bed or Circulating Fluidized Bed
6. Vibrating Grate Stoker
7. Under Feed Stoker เตาแบบป้ อนเชื้อเพลิงจากด้านล่าง

31
ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแข็ง
• ความชื้นในเชื้อเพลิง
• ขนาดของเชื้อเพลิงแข็ง
• การกระจายของเชื้อเพลิงในเตา
• อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง
• ลักษณะการป้ อนอากาศ

32
ระบบไอน้ำทั้ง 4 ส่วน

33
ระบบไอน้ำ

1. ส่วนผลิตไอน้ำ (Generation)
2. ระบบส่งจ่ายไอน้ำ (Distribution)
3. ส่วนใช้ไอน้ำ (End use)
4. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recovery)

ส่วนผลิตไอน้ำ ระบบส่งจ่ายไอน้ำ ส่วนใช้ไอน้ำ การนำกลับมาใช้ใหม่


34
ขอบคุณครับ

35

You might also like