You are on page 1of 49

ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 7 สมด ุลเคมี


บ ท ที่ 7 ส ม ดุ ล เ ค มี
7.1 การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได้
การเปลีย่ นแปลงทีผ่ ันกลับได้ คือการเปลี่ยนแปลงที่
เมื่อเปลี่ยนไปแล้วสามารถเปลี่ยนกลับคืนสู่ สภาพเดิมได้ เช่น
การระเหยของน้ ากลายเป็ นไอน้ าในภาชนะปิ ด ไอน้ าที่เกิดขึ้น
สามารถควบแน่นกลับมาเป็ นน้ าเหมือนเดิมได้ เป็ นต้น
น้ า  ไอน้ า
ปฏิกิริยาเคมีหลายปฏิกิริยาสามารถผันกลับได้ เช่นการเผา CaCO3(s) ในภาชนะปิ ด
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)
ปฏิกิริยาย้อนกลับ
CaCO3(s) จะเกิ ด การสลายตัวเป็ น CaO(s) กับ CO2(g) ซึ่ งผลิ ตภัณ ฑ์ ท้ งั สองนี้ สามารถท า
ปฏิกิริยากันเองแล้วกลับมาเป็ น CaCO3(s) ได้เหมือนเดิม ปฏิกิริยาเช่ นนี้ จึงเรี ยกปฏิกิริยาที่ผัน
กลับ ได้ โดยที่ ป ฏิ กิ ริย าเปลี่ ยนสารตั้งต้นไปเป็ นผลิ ตภัณ ฑ์ เรี ยกปฏิ กิริยาไปข้ างหน้ า ส่ วน
ปฏิกิริยาเปลี่ยนผลิตภัณฑ์กลับมาเป็ นสารตั้งต้นจะเรี ยกปฏิกริ ิยาย้อนกลับ
( หมายเหตุ ปฏิกิริยาเผา CaCO3(s) นี้ ต้องทาในภาชนะปิ ดจึงจะผันกลับได้ หากทาในภาชนะเปิ ดจะไม่ผนั
กลับ เพราะแก๊ส CO2 จะหนีหายหมด )

1. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับได้


ก) น้ าระเหยกลายเป็ นไอ ในภาชนะปิ ด
ข) เกล็ดไอโอดีนละลายน้ า
ค) เนื้ อหมูถูกทิ้งไว้ 3 วัน แล้วเน่า
ง) ลูกเหม็นระเหิ ดในที่โล่งแจ้ง
จ) CO 32  (aq) + 2H+(aq)  H2O(l) + CO2(g) ( ทาในภาชนะเปิ ด )
1. ก. เท่านั้น 2. ก. และ ข. 3. ก. ข. และ จ. 4. ก. และ จ.

1
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.2 การเปลีย่ นแปลงทีภ่ าวะสมดุล


7.2.1 สมดุลในปฏิกริ ิยาเคมี
พิจารณาตัวอย่างปฏิ กิริยาที่ เกิ ดจากการผสม FeSO4 เข้ากับ AgNO3 ที่ มากเกิ นพอจะ
เกิดปฏิกิริยาดังนี้
Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag (s)
ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาที่ผนั กลับได้
 ในตอนแรกปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเกิดเร็ ว เพราะสารตั้งต้นมีความเข้มข้นสู ง
แต่ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดช้า เพราะผลิตภัณฑ์มีความเข้มข้นต่า
 ต่อมาปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเกิดช้าลง เพราะความเข้มข้นสารตั้งต้นลดลง
แต่ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดเร็ วขึ้น เพราะความเข้มข้นผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
 ในที่สุด อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
ซึ่ งจะส่ งผลทาให้ปริ มาณสารทุกตัวในปฏิ กิริยามี ปริ มาณคงที่ เพราะอัตราการเกิ ด
และการสลายตัวมี ค่าเท่ากันนั่นเอง ภาวะเช่ นนี้ จึงเรี ยกเป็ นภาวะสมดุ ล และเนื่ องจากสมดุ ล
แบบนี้ระบบยังคงมีการหมุนเวียนอยูต่ ลอดเวลา จึงเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าสมดุลไดนามิก
หมายเหตุ : 1) ที่ภาวะสมดุ ลปริ มาณสารทุกตัวจะมีปริ มาณคงที่ แต่ไม่จาเป็ นว่าปริ มาณสาร
ทุกตัวต้องเท่ากันทุ กสาร สารบางตัวอาจมีมาก บางตัวอาจมีน้อยก็ได้ แต่ปริ มาณที่มีน้ นั
ต้องคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
2) สารทุ ก ตัวในระบบจะไม่ ห มดไปจากระบบแม้ว่าจะทิ้ ง ไว้น านเท่ าใดก็ ตาม
เพราะเมื่อสลายไปก็จะผันกลับมาเกิดใหม่ได้
2. จากปฏิกิริยา Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s) ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. ในช่วงแรกปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเกิดขึ้นเร็ ว แต่ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดช้า
2. เมื่อทิง้ ไว้ปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะช้าลง แต่ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเร็ วขึ้น
3. ในภาวะสมดุลระบบจะนิ่ งไม่มีการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ในภาวะสมดุล อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

2
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
3. ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ในภาวะสมดุล ปริ มาณสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์จะมีค่าคงตัว
2. ในภาวะสมดุล ปริ มาณสารตั้งต้น = ปริ มาณผลิตภัณฑ์
3. หากทิ้งระบบไว้นานๆ สารตั้งต้นจะหมดไปเหลือแต่ผลิตภัณฑ์
4. ถูกทุกข้อ

7.2.2 กราฟของภาวะสมดุล
กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
เนื่ องจากในตอนแรกปฏิ กิ ริยาไปข้างหน้าจะเกิ ดเร็ วแต่ป ฏิ กิ ริยาย้อนกลับ จะเกิ ดช้า
ต่อมาปฏิ กิริยาไปข้างหน้าจะเกิ ดช้าลงขณะที่ปฏิ กิริยาย้อนกลับจะเกิ ดเร็ วขึ้น ในที่สุดอัตราการ
เกิ ดปฏิ กิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับอัตราการเกิ ดปฏิ กิริยาย้อนกลับ ดังนั้นเมื่อเขียนกราฟอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับจึงได้ดงั รู ป
อัตราการเกิดปฏิกิริยา

อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
เวลา
กราฟแสดงปริมาณสารตั้งต้ นและผลิตภัณฑ์
เนื่ องจากในตอนแรกปริ มาณสารตั้งต้นจะลดลงส่ วนผลิ ตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว
และเมื่อเข้าสู่ ภาวะสมดุ ลปริ มาณสารทุกตัวจะคงที่ แต่ปริ มาณสารแต่ละตัวไม่จาเป็ นต้องมีค่า
เท่ากัน สารตั้งต้นและผลิ ตภัณฑ์อาจมีค่ามากกว่ากัน หรื อน้อยกว่ากัน หรื อเท่ากันก็ได้ ดังนั้น
กราฟแสดงปริ มาณสารจึงเป็ นได้ 3 รู ปแบบดังนี้
3
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
แบบที่ 1 สารตั้งต้นเหลือน้อยกว่าผลิตภัณฑ์
ปริ มาณสาร

ผลิตภัณฑ์

สารตั้งต้น
เวลา
แบบที่ 2 สารตั้งต้นเหลือมากกว่าผลิตภัณฑ์ แบบที่ 3 สารตั้งต้นเหลือเท่ากับผลิตภัณฑ์
ปริ มาณสาร ปริ มาณสาร

สารตั้งต้น
สารตั้งต้น
ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์
เวลา เวลา
4(แนว En) ปฏิกิริยาเคมี N2O4(g)  2 NO2(g) ดาเนินไปจนสู่ ภาวะสมดุล ถ้าสร้างกราฟ
อัตราการเกิดปฏิกิริยากับเวลาควรได้กราฟอย่างไรเมื่อเริ่ มต้นปฏิกิริยาด้วย N2O4 ตัวเดียว
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยา 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา

N2O4(g)  2NO2(g)
N2O4(g)  2NO2(g)
2 NO2(g)  N2O4(g) 2 NO2(g)  N2O4(g)
เวลา เวลา
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา 4. อัตราการเกิดปฏิกิริยา

2 NO2(g)  N2O4(g) 2 NO2(g)  N2O4(g)

N2O4(g)  2NO2(g) N2O4(g)  2NO2(g)


เวลา เวลา

4
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
5(แนว มช) จากปฏิกิริยา Q(s)  S(g) ความเข้มข้นเปลี่ยนแปลงตามเวลาตามรู ปกราฟใด
1. ความเข้มข้น 2. ความเข้มข้น

S (g) S (g)

Q (s) Q (s)
เวลา เวลา
3. ความเข้มข้น 4. ความเข้มข้น

Q (s) Q (s)

S (g) S (g)
เวลา เวลา

6(แนว En) กราฟที่แสดงต่อไปนี้สอดคล้อง ความเข้มข้น (mol/dm3)


กับปฏิกิริยาในข้อใด
1. 2A  B 0.20
2. 2A  2B
0.10 B
3. A  B A
4. A  2B 5 10 15 เวลา (นาที)

5
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
เนื่ องจากภาวะสมดุ ล ไดนามิ ก ปฏิ กิ ริยาจะมี ก ารหมุ นเวียนกลับไปกลับ มาสม่ าเสมอ
ดังนั้นที่ภาวะสมดุลปริ มาณสารทุกตัวยังคงมีอยูไ่ ม่อาจหมดไปได้ เช่นสมดุลของปฏิกิริยาข้างต้น
ทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์จะยังคงมีอยูใ่ นระบบตลอดเวลา สามารถพิสูจน์ดงั นี้
Fe2+ (aq) + Ag+ (aq) Fe3+(aq) + Ag(s)
ทดสอบโดย ทดสอบโดย

เติมสาร เหลืออยูแ่ น่เพราะ เติมสาร เป็ นตะกอน


K3[Fe(CN)6] ใช้มากเกินพอ NH4SCN มองเห็นได้

เกิดเป็ น KFe[Fe(CN)6] เกิดเป็ น Fe(SCN)2+


เป็ นตะกอนสี น้ าเงิน ทาให้สารละลายมีสีน้ าตาล
7. จากปฏิกิริยา Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+(aq) + Ag(s)
หากต้องการทดสอบว่าที่ภาวะสมดุลจะเหลือ Fe2+ อยูห่ รื อไม่ สามารถทาได้โดย
1. ใช้ K3Fe(CN)6 ถ้ามีตะกอนสี น้ าเงินแสดงว่ามี Fe2+
2. ใช้ K3Fe(CN)6 ถ้ามีตะกอนสี น้ าตาลแสดงว่ามี Fe2+
3. ใช้ Cu(NH3)4SO4 ถ้าสารละลายมีสีน้ าตาลแสดงว่ามี Fe2+
4. ใช้ Cu(NH3)4SO4 ถ้าสารละลายมีสีน้ าเงินแสดงว่ามี Fe2+

6
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.3 การเปลีย่ นแปลงภาวะสมดุล


การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล คือการทาให้ปริ มาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่ งแต่เดิ มคงที่
ให้มีปริ มาณเปลี่ยนไป
ปัจจัยที่ทาให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนมี 3 ประการคือ
1. การเพิ่มหรื อลดความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
2. การเพิม่ หรื อลดความดันหรื อปริ มาตรของระบบ
3. การเพิ่มหรื อลดอุณหภูมิของระบบ
การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็ นไปตามหลักของ “ เลอร์ ซาเตอริเยร์ ” ซึ่ งกล่าวว่า
“ เมื่ อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุ ลถู กรบกวนโดยมีปัจจัยที่มีผลต่ อภาวะสมดุ ลของระบบ
ตัวระบบจะเปลีย่ นแปลงไปในทิศทางทีจ่ ะลดผลรบกวนนั้นแล้ วเข้ าสู่ สมดุลใหม่ อกี ครั้งหนึ่ง ”
จาง่ ายๆ ว่า
ถ้าเราเพิ่มอะไรก็ตามให้แก่ระบบ ระบบจะพยายามลดสิ่ งนั้นลง
ถ้าเราลดอะไรของระบบลง ระบบจะพยายามสร้างสิ่ งนั้นชดเชยกับสิ่ งที่สูญเสี ยไป
7.3.1 การเพิม่ หรื อลดความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นและผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)
ถ้าเราเพิ่มความเข้มข้นของ Fe2+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
 ปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเกิดมากขึ้น เพราะความเข้มข้นสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น เรี ยกว่า
สมดุลเลื่อนไปทางขวา
 เมื่อทิง้ ไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] เพิ่ม เพราะใส่ เข้าไปตอนแรก และจะใช้ในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
ไม่หมด ส่ วนที่เหลือตกค้างเมื่อไปรวมกับของเดิมจึงทาให้มีปริ มาณเพิ่มขึ้น
[Ag+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
[Fe3+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตาม
Ag เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตาม
7
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)
ถ้าเราเพิ่มความเข้มข้นของ Ag+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
 ปฏิ กิริยาไปข้างหน้าจะเกิ ดมากขึ้น เพราะความเข้มข้นสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นเรี ยกว่า
สมดุลเลื่อนไปทางขวา
 เมื่อทิ้งไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
[Ag+] เพิม่ เพราะใส่ เข้าไปตอนแรก และจะใช้ในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
ไม่หมด ส่ วนที่เหลือตกค้างเมื่อไปรวมกับของเดิมจึงทาให้มีปริ มาณเพิ่มขึ้น
[Fe3+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตาม
Ag เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตาม

ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)


ถ้าเราเพิม่ ความเข้มข้นของ Fe3+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
 ปฏิ กิริยาย้อนกลับจะเกิ ดมากขึ้ น เพราะความเข้มข้นผลิ ตภัณฑ์เพิ่มขึ้ น เรี ยกว่า
สมดุลเลื่อนไปทางซ้าย
 เมื่อทิ้งไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้นสารตั้งต้นจะเพิ่มตาม
[Ag+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้นสารตั้งต้นจะเพิ่มตาม
[Fe3+] เพิ่ม เพราะใส่ เข้าไปตอนแรก และจะใช้ในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับไม่
หมด ส่ วนที่เหลือตกค้างเมื่อไปรวมกับของเดิมจึงทาให้มีปริ มาณเพิม่ ขึ้น
Ag ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

8
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ถูกต้องและได้ใจความ
จากปฏิกิริยา Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s)
1) เมื่อเติม Fe2+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............
2) เมื่อเติม Ag+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............
3) เมื่อเติม Fe3+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............

8. จากปฏิกิริยา Fe3+(aq) + SCN–(aq)  FeSCN2+(aq)


สี เหลือง ไม่มีสี สี แดง
ก. เติม Fe3+(aq) ข. เติม SCN–(aq) ค. เติม FeSCN2+(aq)
ข้อใดที่ทาให้สมดุลเลื่อนไปทางขวาแล้วได้สีแดงเข้มขึ้น
1. ก. เท่านั้น 2. ข. เท่านั้น 3. ก. และ ข. 4. ถูกทุกข้อ

9. 2 Fe+3 (aq) + 2 I– (aq)  2 Fe2+ (aq) + I2 (s)


จากปฏิกิริยาที่กาหนดให้หากเติมสารต่อไปนี้ สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
ก) เติม Li I ข) เติม NH4 I
1. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนขวา 2. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนซ้าย
3. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนซ้าย 4. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนขวา

9
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
10. 2 Fe+3 (aq) + 2 I– (aq)  2 Fe2+ (aq) + I2 (s)
จากปฏิกิริยาที่กาหนดให้หากเติมสารต่อไปนี้ สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
ก) เติม FeCl2 ข) เติม Fe(NO3)3
1. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนขวา 2. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนซ้าย
3. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนซ้าย 4. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนขวา

11. 2 Fe+3 (aq) + 2 I– (aq)  2 Fe2+ (aq) + I2 (s)


จากปฏิกิริยาที่กาหนดให้หากเติม NaCl ลงไป สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

12. หากเติม Ag(s) ลงในสมดุลของปฏิกิริยา


Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s)
สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

13. เติมก้อนน้ าตาลลงในน้ าเชื่อมที่อิ่มตัวที่มีผลึกของน้ าตาลอยู่ จะทาให้สมดุลเลื่อนไปทางใด


1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

10
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)

ถ้าเราลดความเข้มข้นของ Fe2+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้


 ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดมากขึ้น เพื่อสร้างสารตั้งต้นชดเชยกับที่สูญเสี ยไปเรี ยก
ว่าสมดุลเลื่อนไปทางซ้าย
 เมื่อทิ้งไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] ลดลง เพราะถูกนาออกมาตั้งแต่แรก แม้การเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับจะมีการ
สร้างชดเชย แต่ชดเชยได้ไม่เท่ากับที่เสี ยไป จึงทาให้ปริ มาณที่เหลืออยูล่ ดลง
[Ag+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้นสารตั้งต้นจะเพิ่มตาม
[Fe3+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
Ag ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)

ถ้าเราลดความเข้มข้นของ Ag+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้

 ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดมากขึ้น เพื่อสร้างสารตั้งต้นชดเชยกับที่สูญเสี ยไปเรี ยกว่า


สมดุลเลื่อนไปทางซ้าย
 เมื่อทิ้งไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] เพิ่ม เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้นสารตั้งต้นจะเพิ่มตาม
[Ag+] ลดลง เพราะถูกนาออกมาตั้งแต่แรก แม้การเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับจะมีการ
สร้างชดเชย แต่ชดเชยได้ไม่เท่ากับที่เสี ยไป จึงทาให้ปริ มาณที่เหลืออยูล่ ดลง
[Fe3+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
Ag ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

11
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา Fe2+(aq) + Ag+(aq) Fe3+(aq) + Ag(s)

ถ้าเราลดความเข้มข้นของ Fe3+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้


 ปฏิ กิ ริยาไปข้างหน้าจะเกิ ดมากขึ้ น เพื่ อสร้ างผลิ ตภัณฑ์ ชดเชยกับที่ สูญเสี ยไป
เรี ยกว่าสมดุลเลื่อนไปทางขวา
 เมื่อทิ้งไว้สักพักระบบจะปรับตัวเข้าสู่ สมดุลครั้งที่ 2 โดย
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ อีกครั้ง
 ที่สมดุลใหม่
[Fe2+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
[Ag+] ลดลง เพราะถูกใช้ไปในการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
[Fe3+] ลดลง เพราะถูกนาออกมาตั้งแต่แรก แม้จะมีการสร้างชดเชย
แต่ชดเชยได้ไม่เท่ากับที่เสี ยไป จึงทาให้ปริ มาณที่เหลืออยูล่ ดลง
Ag เพิม่ เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้นผลิตภัณฑ์จะเพิม่ ตาม
ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและได้ใจความ
จากปฏิกิริยา Fe2+ (aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s)
1) เมื่อลด Fe2+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............
2) เมื่อลด Ag+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............
3) เมื่อลด Fe3+ สมดุลจะเลื่อนไปทาง ...................
ปริ มาณ Fe2+............. Ag+............ Fe3+............ Ag.............

14. HA + H2O  H3O+ + A– จากสมการที่ กาหนดให้ สมดุ ลจะเลื่ อนไปทางใดหาก


เราลดความเข้มข้นของสารต่อไปนี้
ก) ลด HA ข) ลด H3O+
1. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนขวา 2. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนซ้าย
3. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนซ้าย 4. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนขวา

12
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
15. ในการเติม CaCl2 ( เป็ นสารดูดความชื้น ) ลงในปฏิกิริยา
4 A(s) + O2 (g)  2 H2O(g) + ความร้อน
จะส่ งผลให้สมดุลเลื่อนไปทางใด
1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

16. 2 Fe3+ + 2 I–  2 Fe2+ + I2 จากปฏิ กิ ริยาที่ กาหนดให้ หากเติ ม สารต่อไปนี้


สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
ก) เติม Pb(NO3)2 ข) เติม AgNO3
1. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนขวา 2. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนซ้าย
3. ก) เลื่อนซ้าย ข) เลื่อนซ้าย 4. ก) เลื่อนขวา ข) เลื่อนขวา

17(แนว มช) จากผลการทดลองต่อไปนี้


2 CrO24 + 2 H+  Cr2 O72 + H2O
สี เหลือง สี ส้ม
ถ้าเติ ม NaOH 6 โมล/ลิ ตร 10 หยด ลงในสารผสมของปฏิ กิ ริย า ผลคื อ ปฏิ กิ ริย าจะ
ดาเนินไปทางด้านขวาหรื อด้านซ้าย และสารละลายจะมีสีอะไร
1. ขวา , สี ส้ม 2. ซ้าย , สี เหลือง
3. ขวา , ไม่มีสี 4. ซ้าย , ไม่มีสี

13
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
18. CaCO3(s)  Ca2+(aq) + CO32 (aq) หากเติมน้ าลงไป สมดุลจะเลื่อนไปทางใด
1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

7.3.2 การเพิม่ หรื อลดความดันหรื อปริมาตรของระบบ


การเปลี่ยนแปลงความดันหรื อปริ มาตรของระบบ จะส่ งผลต่อสารที่มีสถานะเป็ นแก๊ส
เท่านั้น เมื่อความเพิ่มความดันสมดุลจะเลื่ อนจากด้ านที่มีโมลแก๊ สมากไปหาด้ านที่มีโมลแก๊ ส
น้ อยของสมการเคมี ทั้งนี้ เพราะเมื่อเพิ่มความดันจะทาให้ปริ มาตรแก๊สลดลง โมเลกุลแก๊สจะ
เบียดชิ ดกันมากยิ่งขึ้น ทาให้ความเข้มข้นมากขึ้นด้วย และเนื่ องจากด้านที่มีโมลแก็สมากความ
เข้มข้นก็จะเพิ่มขึ้นมากกว่าด้านที่มีโมลแก๊สน้อย ดังนั้นสมดุลจึงเลื่อนจากด้านที่มีโมลแก๊สมาก
ไปหาด้านที่มีโมลแก๊สน้อยดังกล่าวนั้นเอง
ส่ วนการลดความดันจะส่ งผลในทางตรงกันข้ามกับการเพิ่มความดันคือทาให้สมดุ ล
เลื่อนจากด้านที่มีโมลแก๊สน้อยไปหาด้านที่มีโมแก๊สมากนัน่ เอง
สารที่ มีสถานะเป็ นของแข็ง ของเหลวหรื อสารละลายนั้น เมื่ อเพิ่ มหรื อลดความดัน
ปริ มาตรจะไม่เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นจึงคงที่เสมอไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นความดันจึงไม่ส่งผล
ต่อสารที่มีสถานะเหล่านี้

ตัวอย่าง จากสมการ 2 NO2 (g)  N2O4 (g)


จะเห็นว่าสารตั้งต้นมีโมลแก๊ส (g) 2 โมล ส่ วนผลิตภัณฑ์มีโมลแก๊ส (g) 1 โมล
( ดูจากสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารที่เป็ นแก๊สแต่ละตัวในสมการ )
เมื่อเพิม่ ความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางขวา
( คือเลื่อนจากด้านที่มีโมลแก๊สมากไปหาด้านที่มีโมลแก๊สน้อย )
เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทางซ้าย
( คือส่ งผลตรงกันข้ามกับการเพิ่มความดัน )

14
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ตัวอย่าง จากสมการ 2 NH3 (g)  N2(g) + 3 H2 (g)
จะเห็นว่าสารตั้งต้นมีโมลแก๊ส (g) 2 โมล ส่ วนผลิตภัณฑ์มีโมลแก๊ส (g) รวมทั้งสิ้ น
4 โมล คือ N2 1 โมล และ H2 3 โมล ( ดูจากสัมประสิ ทธิ์หน้าสารที่เป็ นแก๊สแต่ละตัวในสมการ )
เมื่อเพิ่มความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางซ้าย
เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทางขวา
ตัวอย่าง จากสมการ N2 (g) + O2 (g)  2 NO (g)
จะเห็นว่าสารตั้งต้นมีโมลแก๊ส (g) รวมทั้งสิ้ น 2 โมล คือ N2 1 โมล และ O2 1
โมล ส่ วนผลิตภัณฑ์มีโมลแก๊ส (g) 2 โมลเช่นกัน
ปฏิกิริยานี้การเพิ่มหรื อลดความดัน จะไม่ทาให้สมดุลเปลี่ยน
เพราะ โมลแก๊สสารตั้งต้น = โมลแก๊สผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง จากสมการ BiCl3 (aq) + H2O (g)  BiOCl (s) + 2 HCl (aq)
จะเห็นว่าสารตั้งต้นมีโมลแก๊ส (g) 1 โมล คือ H2O (g) ส่ วนผลิตภัณฑ์ไม่มีสารที่เป็ น
แก๊สเลย ( สารที่มีสถานะของแข็ง ( s ) ของเหลว ( l ) สารละลาย ( aq ) ไม่ตอ้ งพิจารณา )
เมื่อเพิ่มความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางขวา
เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทางซ้าย

ตัวอย่าง จากสมการ 3 Fe (s) + 4 H2O (g)  Fe3O4 (s) + 4 H2 (g)


จะเห็นว่าสารตั้งต้นมีโมลแก๊ส (g) 4 โมล คือ H2O (g) ส่ วนผลิตภัณฑ์มีโมลแก๊ส (g)
4 โมล คือ H2 (g)
ปฏิกิริยานี้การเพิ่มหรื อลดความดัน จะไม่ทาให้สมดุลเปลี่ยน
เพราะ โมลแก๊สสารตั้งต้น = โมลแก๊สผลิตภัณฑ์

ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและได้ใจความ
1. จากสมการ 2 NO2 (g)  N2O4 (g)
เมื่อความดันเพิม่ สมดุลจะเลื่อนไปทาง......... เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทาง........
2. จากสมการ 2 NH3 (g)  N2(g) + 3H2 (g)
เมื่อความดันเพิ่ม สมดุลจะเลื่อนไปทาง......... เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทาง........

15
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
3. จากสมการ N2 (g) + O2 (g)  2NO(g)
เมื่อความดันเพิม่ สมดุลจะเลื่อนไปทาง......... เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทาง........
4. จากสมการ BiCl3 (aq) + H2O(g)  BiOCl(s) + 2HCl (aq)
เมื่อความดันเพิ่ม สมดุลจะเลื่อนไปทาง......... เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทาง........
5. จากสมการ 3Fe(s) + 4 H2O(g)  Fe3O4(s) + 4H2(g)
เมื่อความดันเพิ่ม สมดุลจะเลื่อนไปทาง......... เมื่อลดความดันจะเลื่อนไปทาง........
19. จากปฏิกิริยา A(g) + B(g)  C(s) + D(g) เมื่อเพิ่มความดันจะส่ งผลให้สมดุลเลื่อนไป
ทางใด
1. ทางขวา 2. ทางซ้าย 3. ไม่เปลี่ยนแปลง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

20(แนว มช) ถ้าเพิ่มความดันให้แก่ระบบแล้ว ปฏิกิริยาข้อใดที่จะเลื่อนไปทางด้านขวา


1. 2 CO(g) + 2 NO(g)  2 CO2(g) + N2(g)
2. C2H4(g)  C2H2(g) + H2(g)
3. C(s) + O2(g)  CO2(g)
4. 3 Fe(s) + 4 H2O(g)  Fe3O4(s) + 4 H2(g)

16
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
21(แนว En) กาหนดปฏิกิริยาต่อไปนี้
ก. N2O4(g)  2 NO2(g)
ข. N2(g) + O2(g)  2 NO(g)
ค. 2 HBr(g) + Cl2(g)  2 HCl(g) + Br2(g)
ง. H2(g) + I2(s)  2 HI (g)
การเปลี่ยนแปลงความดันจะไม่มีผลต่อภาวะสมดุลของปฏิกิริยาในข้อใด
1. ก. และ ค. 2. ก. และ ง. 3. ข. และ ค. 4. ข. ค. และ ง.

22(แนว En) สมดุลของปฏิกิริยาในข้อใด เมื่อลดปริ มาตรแล้วสมดุลจะเลื่อนไปทางด้านซ้าย


1. AB(s)  A+ (aq) + B-(aq)
2. A2(g) + B2(g)  2 A2B(l)
3. A(s) + B(l)  C(g)
4. A2(g) + C(s)  CA2(l)

17
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
23(แนว มช) ปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุลที่อุณหภูมิคงที่ต่อไปนี้ ปฏิ กิริยาใด หากมีการขยายปริ มาตร
จากเดิมเป็ นสองเท่า จะมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางของปฏิกิริยาไปทางขวามือ
1. H2(g) + CO2(g)  H2O(g) + CO(g)
2. PCl5(g)  PCl3(g) + Cl2(g)
3. H2(g) + Cl2(g)  2 HCl(g)
4. N2(g) + 3H2(g)  2 NH3(g)

7.3.3 การเพิม่ หรื อลดอุณหภูมิของระบบ


1. สาหรับปฏิกิริยาดูดความร้ อน
เช่น 2 NH3(g) + 92 kJ  N2(g) + 3 H2(g)
จากสมการของปฏิกิริยาที่ดูดความร้อน จะเห็ นได้ว่าความร้อนเปรี ยบเสมือนสาร
ตั้งต้นตัวหนึ่ ง ดังนั้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิปฏิ กิริยาจะเลื่อนไปทางขวา และเมื่อลดอุณหภูมิปฏิกิริยา
จะเลื่อนไปทางซ้าย
2. สาหรับปฏิกิริยาคายความร้ อน
เช่น 2NO2(g)  N2O4 (g) + 58.1 kJ
จากสมการของปฏิ กิ ริย าที่ ค ายความร้ อน จะเห็ นได้ว่าความร้ อนเปรี ยบเสมื อน
ผลิ ตภัณ ฑ์ ตวั หนึ่ ง ดังนั้น เมื่ อเพิ่ ม อุ ณหภู มิ ป ฏิ กิ ริยาจะเลื่ อนไปทางซ้าย และเมื่ อลดอุ ณ หภู มิ
ปฏิกิริยาจะเลื่อนไปทางขวา

18
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
ฝึ กทา. ก) จากปฏิกิริยา A + B  C + D + ความร้อน
เมื่อเพิม่ อุณหภูมิทาให้สมดุลเลื่อนไปทาง.............
ด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา.............
เมื่อลดอุณหภูมิทาให้สมดุลเลื่อนไปทาง........ ....
ด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา..............
ข) จากปฏิกิริยา A + B + ความร้อน  C + D
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิทาให้สมดุลเลื่อนไปทาง.............
ด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา............
เมื่อลดอุณหภูมิทาให้สมดุลเลื่อนไปทาง.............
ด้วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา...........

24. จากปฏิกิริยา N2(g) + 3 H2(g)  2 NH3(g) + ความร้อน


ถ้าเพิ่มอุณหภูมิของปฏิกิริยานี้ให้สูงขึ้น ความเข้มข้นของสารใดบ้างจะลดลง
1. N2 2. H2 3. NH3 4. ถูกทุกข้อ

25(แนว En) CH3OH (g) + 12 O2 (g)  CH2O (g) + H2O(g) เป็ นปฏิ กิ ริ ย าคาย
ความร้อน หากต้องการจะเพิ่มผลิตภัณฑ์ควรทาอย่างไร
1. ใช้ตวั เร่ งปฏิกิริยา 2. เพิ่มอุณหภูมิ 3. ลดอุณหภูมิ 4. เพิม่ ความดัน

19
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
26(แนว En) เมื่อปฏิกิริยาต่อไปนี้อยูใ่ นสมดุล 2 A(g) + B(g)  2 C(g) + พลังงาน
วิธีใดบ้างที่จะทาให้สมดุลเลื่อนไปทางผลิตภัณฑ์
อุณหภูมิ ความดัน ปริมาณสาร
1. ลด เพิม่ เพิม่ A
2. เพิ่ม ลด ลด B
3. เพิ่ม ลด คงเดิม
4. เพิ่ม คงที่ คงเดิม

27(แนว En) ปฏิกิริยา 2 SO3(g)  2 SO2(g) + O2(g) เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้ อน ถ้า


ระบบนี้อยูใ่ นภาวะสมดุล มีวธิ ี ใดที่จะเพิม่ ปริ มาณของ SO3 ได้
ก. เพิ่มอุณหภูมิ ข. เพิ่มความดัน ค. ลดอุณหภูมิ ง. ลดความดัน
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ข และ ง

20
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
28(แนว มช) ปฏิกิริยาในการผลิตแก๊สแอมโมเนีย
N2(g) + 3 H2(g)  2 NH3(g) + 92 kJ
ข้อใดต่อไปนี้ผดิ
1. ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. การลดอุณหภูมิทาให้เกิดแก๊สแอมโมเนียมากขึ้น
3. การเพิ่มความดันทาให้เกิดแก๊สแอมโมเนียน้อยลง
4. การผลิตแก๊สแอมโมเนียสามารถใช้เหล็ก เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาได้

ข้ อต้ องรู้ เกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงสมดุล


ตัวเร่ งปฏิกิริยาจะทาให้ปฏิกิริยาไปข้างหน้าเพิ่มขึ้น แต่ปฏิกิริยาย้อนกลับก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
อัตราเร็ วที่เท่ากัน ดังนั้นตัวเร่ งปฏิกิริยาจึงไม่ทาให้สมดุลเปลี่ยนไป
29(แนว En) ผลของตัวเร่ งปฏิ กิริยาที่มีต่อปฏิ กิริยาที่ ผนั กลับได้ ปฏิ กิริยาหนึ่ งจะเป็ นดังข้อใด
ในแง่ของอัตราของปฏิกิริยา และการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของระบบ

อัตราของปฏิกิริยาไปข้ างหน้ า อัตราของปฏิกิริยาย้อนกลับ ภาวะสมดุลของระบบ


1. เร็ วขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง เคลื่อนไปทางขวา
2. เร็ วขึ้น เร็ วขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง
3. ไม่เปลี่ยนแปลง เร็ วขึ้น เคลื่อนไปทางซ้าย
4. เร็ วขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง

21
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.4 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเข้ มข้ นของสารต่ างๆ ณ ภาวะสมดุล


7.4.1 ค่ าคงทีส่ มดุลกับสมการเคมี
ในปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ อัตราส่ วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์แต่
ละชนิ ดยกกาลังด้วยสัมประสิ ทธิ์ ของผลิ ตภัณฑ์น้ นั ๆ ต่อผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้น
แต่ละชนิดยกกาลังด้วยสัมประสิ ทธิ์ ของสารตั้งต้นนั้นๆ จะมีคงที่เสมอ เมื่ออุณหภูมิคงที่
ตัวอย่างเช่น 2 H I (g)  H2(g) + I2(g)
[H ][I ]
จะได้วา่ K = 2 2
[HI] 2
เรี ยกสมการนี้วา่ กฎภาวะสมดุลทางเคมี
เรี ยกค่า K ว่าค่าคงที่สมดุล
ข้ อต้ องรู้เกี่ยวกับค่ าคงทีส่ มดุล ( K )
1. กรณี ของปฏิกิริยาเนื้อผสม ค่า K จะขึ้นกับความเข้มข้นของสารที่เป็ นแก๊ส (g) และสาร
ละลาย (aq) เท่านั้น
( จาง่ าย ๆ การคิดค่าคงที่สมดุลจะคิดเฉพาะแก๊สกับสารละลายเท่านั้น ไม่คิดของแข็ง , ของเหลว )
ตัวอย่าง CO2(g) + H2(g)  CO(g) + H2O(l)
K = [CO]
[CO ][H ]
2 2
ไม่ตอ้ งคิด H2O ( l ) เพราะเป็ นของเหลว
ตัวอย่าง Fe2+(aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s)
[Fe 3 ]
Kc =
[Fe 2  ][Ag  ]
ไม่ตอ้ งคิด Ag ( s ) เพราะเป็ นของแข็ง
ตัวอย่าง CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g)
Kc = [CO2]
ไม่ตอ้ งคิด CaCO3(s) กับ CaO(s) เพราะเป็ นของแข็ง
2. ค่า K ที่ได้จากการใช้ความเข้มข้นของสารมาคานวณ อาจเรี ยกชื่อเฉพาะว่า Kc
22
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
3. ถ้าเป็ นปฏิกิริยาของแก๊สความดันต่า อาจใช้ความดันหาค่า K ก็ได้ ค่าที่ได้เรี ยก KP
เช่น N2 (g) + 3 H2 (g)  2 NH3 (g)
2
PNH
จะได้วา่ KP = 3
PN . PH3
2 2
ความสัมพันธ์ระหว่าง Kc กับ Kp คือ
Kp = Kc ( RT )n
เมื่อ R = 0.0821 Lit. atm / mol . K
T = อุณหภูมิ ( เคลวิน )
n = จานวนโมลของผลิตภัณฑ์ – จานวนโมลของสารตั้งต้น

4. กรณี ของสารที่ละลายน้ าได้นอ้ ย


เช่น Mg(OH)2 (s)  Mg2+(aq) + 2 OH–(aq)
จะได้วา่ Ksp = [Mg2+] [OH–]2
เนื่องจากเป็ นค่าคงที่ของการละลาย จึงอาจเรี ยก Ksp (Solubility Product Constant)
5. หากนาจานวนจริ ง n ใดๆ คูณสมการเคมีโดยตลอด
จะได้วา่ Kใหม่ = K เดิ n

เช่น สมมุติ A+B C มีคา่ คงที่สมดุล = K1
เมื่อนา 2 คูณตลอด 2 A + 2B  2C จะได้ ค่าคงที่สมดุลใหม่ = K12
1
เมื่อนา 12 คูณตลอด 12 A + 12 B  12 C จะได้ ค่าคงที่สมดุลใหม่ = K12 = K
1
6. ถ้าเขียนสมการกลับด้าน
จะได้วา่ Kใหม่ = K 1
เดิม
เช่น สมมุติ A+B C มีค่าคงที่สมดุล = K1
ดังนั้นสมการ C  A+B จะมีค่าคงที่สมดุล = 1
K
1
23
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
7. ถ้านาสมการ 2 สมการมาบวกกัน ค่า Kรวม จะเท่ากับค่า K ของแต่ละสมการคูณกัน
เช่น สมมุติ AB+C มีค่าคงที่สมดุล = K1
C+D E มีค่าคงที่สมดุล = K2
ถ้านาสมการ 1 + 2 เป็ น A + C + D  B + C + E จะได้วา่ Kรวม = K1  K2
ถ้านาสมการ 1 - 2 เป็ น A – C – D  B + C – E จะได้วา่ Kรวม = K1  K2
ฝึ กทา. จงเขียนกฎภาวะสมดุลทางเคมีของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้
1. N2 (g) + 3 H2 (g)  2 NH3 (g)
2. Mg(OH)2 (s)  Mg2+(aq) + 2 OH– (aq)
3. Fe2+(aq) + Ag+ (aq)  Fe3+ (aq) + Ag(s)

30(แนว Pat2) ปฏิกิริยาในข้อใดมีค่า Kc เท่ากับ Kp


1. N2(g) + 3 H2(g)  2 NH3(g) 2. CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g)
3. H2(g) + F2(g)  2 HF(g) 4. 2 O3(g)  3 O2(g)

24
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
31(แนว En) ถ้า NOCl (g)  12 N2(g) + 12 O2(g) + 12 Cl2(g) มีค่า K = 3.00
แล้วปฏิกิริยา 2 NOCl (g)  N2(g) + O2(g) + Cl2(g) มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับข้อใด
1. 3 2. 3.00 3. 9.00 4. 27.00

32(แนว En) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 2 NO(g) + O2(g)  2 NO2(g) เท่ากับ 4 x 1012


ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา NO(g) + 12 O2(g)  NO2(g) เท่ากับข้อใด
1. 1 x 106 2. 2 x 106 3. 2 x 1012 4. 1 x 1024

33(แนว มช) กาหนดค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา


Ag+ (aq) + 2 NH3(aq)  Ag(NH3)2+(aq) คือ 1 x 102
จงหาค่าคงที่สมดุลปฏิกิริยาต่อไปนี้
1 Ag(NH ) +(aq)  1 Ag+(ag) + NH (aq)
2 32 2 3

25
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
34. กาหนดปฏิกิริยาที่สภาวะสมดุล
A + 2B  C + D K1 = 3
C  B+E K2 = 5
A + B  D +E K3 = ?
ค่าของ K3 คือข้อใด
1. 3 2. 5 3. 15 4. 45

7.4.2 การคานวณเกี่ยวกับค่ าคงทีส่ มดุล


ขั้นตอนการคานวณเกีย่ วกับค่ าคงทีส่ มดุล
ขั้น 1 ต้องเปลี่ยนปริ มาณสารที่ตอ้ งใช้เป็ นความเข้มข้นหน่วยโมล/ลิตร โดยใช้สมการ
c= จานวนโมล และ n = Mg = N = V
ปริ มาตรสารละลาย(ลิตร) 6.02 x 10 23 22.4
เมื่อ n คือจานวนโมล
g คือมวลสารที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุล หรื อมวลอะตอม
N คือจานวนโมเลกุล
V คือปริ มาตรแก๊ส ( ลิตร , dm3 )
ขั้น 2 ต้องหาความเข้มข้นของสารที่จะใช้หลังสมดุล
ขั้น 3 เขียนสู ตรหาค่าคงที่สมดุล แล้วแทนค่าความเข้มข้นของสารต่างๆ ลงไป
26
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
35(แนว มช) เมื่อผสมแก๊ส A และแก๊ส B เข้าด้วยกัน ในภาชนะขนาด 0.5 ลิตร ที่ 70oC เมื่อ
เข้าสู่ ภาวะสมดุ ล พบว่ามีแก๊ส A , B และ C เท่ากับ 2 , 2.5 และ 4 โมล ตามลาดับ
จงคานวณหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่ 70oC
กาหนด A + 2 B  2 C

36. จากปฏิกิริยา A (s) + 2 B (g) + 2 C(g)  5 D (g) + 2 E (s) ที่สมดุลในภาชนะ 2 ลิ ต ร


มีสาร A = 2 โมล , B = 3 โมล , C = 4 โมล , D = 2 โมล , E = 1 โมล จงหาค่าคงที่ ส ม ดุ ล

27
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
37(แนว มช) ปฏิกิริยาในปฏิกรณ์ขนาด 5 ลิตร ที่อุณหภูมิ 1000oC เป็ น
3 Fe (s) + 4 H2O (g)  Fe3O4 (s) + 4 H2 (g)
และพบว่าในปฏิกรณ์มี H2 1.00 กรัม และไอน้ า 36.00 กรัม ค่าคงที่สมดุลเป็ นเท่าใด
1. 4 2. 1 1
3. 16 1
4. 256

38. ปฏิ กิ ริยา N2 (g) + O2 (g)  2 NO (g) เกิ ดที่ 1000oC หากที่ ภาวะสมดุ ล มี
N2 28.0 กรั ม NO 30.0 กรั ม และออกซิ เจน 200 โมล ในภาชนะ 2.0 ลิ ตร จงหา
ค่าคงที่สมดุล
1. 2 x 10–2 2. 2 x 10–3 3. 5 x 10–2 4. 5 x 10–3

28
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
39. ระบบหนึ่ งประกอบด้ว ย PCl5 , PCl3 , Cl2 เมื่ อ ท าการทดลองที่ อุ ณ หภู มิ 250oC
สมการเป็ นดังนี้ PCl5 (g)  PCl3 (g) + Cl2 (g) ที่ ภาวะสมดุ ลพบ PCl5 เข้มข้น
1.5 โมล/ลิ ตร , PCl3 เข้ม ข้น 0.2 โมล/ลิ ต ร และ Cl2 เข้มข้น 0.3 โมล/ลิ ตร จงหา
ค่าคงที่สมดุล

40. จากปฏิ กิ ริย า Y(s) + 2 W(g)  2 Z (g) ที่ ส มดุ ล ความเข้ม ข้น ของ Y = 0.10
โมล/ลิ ตร ความเข้ม ข้นของ W = 0.50 โมล/ลิ ตร จงคานวณหาความเข้มข้นของ Z ถ้า
ค่าคงที่ของสมดุล (K) มีค่าเท่ากับ 0.64

29
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
41. พิจารณาสมการ H2 + I2  2 H I มี ค่าคงที่ สมดุ ลเท่ากับ 4.5 ที่ 28oC เมื่อแก๊ส
ผสมเข้าสู่ สมดุ ลแล้ว พบว่ามี H I = 0.3 โมล/ลิ ตร และ I2 = 0.1 โมล/ลิ ตร จะมี H2 กี่
โมล/ลิตร

42(แนว มช) ที่อุณหภูมิที่กาหนด ให้ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g)  2 H I (g) มีค่าคงที่สมดุล


เท่ า กับ 9.0 ที่ อุ ณ หภู มิ น้ ี พบว่า ที่ ภ าวะสมดุ ล มี H I 0.30 โมล และ H2 0.20 โมล ใน
ปริ มาตร 1.0 ลิตร จงหาจานวนโมลของ I2 ที่ภาวะสมดุลนี้
1. 0.04 2. 0.05 3. 0.10 4. 0.085

30
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
43. ถ้าปฏิ กิริยา N2O4(g)  2 NO2(g) มีค่าคงที่ ของสมดุ ลเท่ากับ 0.1 จงคานวณว่าจะมี
NO2 กี่กรัม ในภาวะสมดุลที่มี N2O4 18.4 กรัม ในภาชนะจุ 2 dm3
1. 0.46 2. 0.92 3. 4.6 4. 9.2

44(แนว En) สมดุล I2 (g) + Br2 (g)  2 IBr (g) มีคา่ คงที่สมดุล K = 64 ที่ 100oC
ถ้าเริ่ มด้วย I2 และ Br2 ปริ มาณเท่ากันในภาชนะปิ ดสนิ ทที่ 100oC ณ. สมดุลมี IBr(g) อยู่
4.0 mol.dm–3 จงหาความเข้มข้นของ I2 (g) ที่เหลือในหน่วย mol.dm–3

31
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
45. ในสารละลายของ AgCl (s) ที่สมดุล พบว่ามี Ag+ อิออน และ Cl– อิออนอย่างละ
1.34 x 10–5 โมล/ลิตร จงหาค่า Ksp ของ AgCl
1. 9 x 10–9 2. 9 x 10–10 3. 1.8 x 10–9 4. 1.8 x 10–10

46(แนว En) กาหนดให้ปฏิกิริยาเกิดตามสมการ 2 A  B + C ถ้าเริ่ มต้นมีสาร A เข้มข้น


2.00 mol/dm3 เมื่อถึงสมดุลพบว่าสาร A หายไป 0.60 mol/dm3 ค่ า คงที่ ส มดุ ล ของ
ปฏิกิริยานี้เป็ นไปตามข้อใด
1. 0.73 2. 0.18 3. 4.59 x 10–2 4. 6.43 x 10–2

32
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
47. ในสมดุลของปฏิกิริยา 2 HI(g)  H2(g) + I2(g)
เริ่ มต้นจากการเติมแก๊ส HI จานวน 2 โมล/ลิ ตร ปรากฏว่า HI สลายตัวไป 20% ค่าคงที่
ของสมดุลของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.8 x 10–4 2. 1.6 x 10–2 3. 1.3 x 10–2 4. 1.2 x 10–1

48(แนว มช) กาหนดสมการ SO2 + NO2  SO3 + NO และให้ความเข้มข้นเริ่ มต้น


ของ SO2 เป็ น 0.5 mol/dm3 และ NO2 เป็ น 0.6 mol/dm3 เมื่อปฏิ กิริยาสิ้ นสุ ดลงมี
NO2 เหลือ 0.2 mol/dm3 จงหาค่าคงที่สมดุล

33
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
49(แนว En) ปฏิกิริยา 2 A(g) + B(g)  C(g) ถ้าปริ มาณเริ่ มต้นของ A = 1.20 โมล/ลิ ต ร
B = 0.80 โมล/ลิตร และพบว่าที่ภาวะสมดุลมี A เหลืออยู่ 0.90 โมล/ลิตร ปฏิ กิริยานี้ จะมี
ค่าคงที่สมดุลเท่ากับเท่าใด
1. 0.15 2. 0.15 3. 0.15 4. 0.15
2
(0.30) x 0.65 2
(0.90) x 0.65 0.90 x 0.65 (0.90) 2 x 0.15

50(แนว En) จากปฏิ กิริยา PCl5(g)  PCl3(g) + Cl2(g) ที่ ภาวะเริ่ ม ต้นความเข้มข้น
ของ PCl5(g) และ PCl3(g) มี ค่าเท่ากับ 0.84 mol/dm3 และ 0.18 mol/dm3 ตามลาดับ
ถ้าที่ภาวะสมดุล PCl5(g) มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.72 mol/dm3 ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา
นี้จะมีค่าเท่าไร
1. 0.150 2. 0.050 3. 0.030 4. 0.015

34
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
51. ปฏิกิริยา H2(g) + I2 (g)  2 HI(g) เมื่อเติม H2 และ I2 อย่างละ 2 โมล ลงใน
ภาชนะขนาด 2 ลิตร ที่อุณหภูมิ 52oC เมื่อถึงสมดุล พบว่าเหลือ H2(g) 1.8 โมล จงหา
ค่า KC

52(En) ปฏิกิริยา A + B  C + D จะมีคา่ คงที่สมดุลเท่ากับ 9 ถ้าผสม A 2 โมลต่อลูกบาศก์


เดซิ เมตร และ B 2 โมลต่อลู กบาศก์เดซิ เมตร เข้าด้วยกัน จะมี B และ C อยู่อย่างละกี่
โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร ที่ภาวะสมดุล
1. 0 , 2 2. 0.5 , 1.5 3. 1 , 1 4. 0.3 , 0.8

35
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

ประโยชน์ ของค่ า K เนื่องจาก K = [ผลิ ตภัณฑ์]


[สารตั้งต้น]
ดังนั้น ถ้าค่า K > 1 แสดงว่า [ผลิตภัณฑ์] > [สารตั้งต้น] คือ เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้ดี
ถ้าค่า K < 1 แสดงว่า [ผลิตภัณฑ์] < [สารตั้งต้น] คือ เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้นอ้ ย

53(มช 37) ปฏิกิริยา Cl2(g)  2 Cl(g) มีค่า K = 1.21 x 10–6 ที่ 1000oC ถ้าใส่ Cl2
1.0 โมล ในภาชนะขนาด 1 ลิตร ที่ภาวะสมดุล Cl2 จะสลายตัวไปกี่โมล
1. 1.1 x 10–3 2. 1.21 x 10–6 3. 1.1 x 10–6 4. 5.5 x 10–4

36
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
7.4.3 การเปลีย่ นค่ าคงทีส่ มดุล
1. กรณีเพิม่ หรื อลดความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นหรื อผลิตภัณฑ์
จากปฏิกริ ิยาสมมุติ สารตั้งต้น  ผลิตภัณฑ์

จะได้วา่ K = [ ผลิต ภัณฑ์]


[ สารตั้ง ต้น]
เมื่อเพิ่มความเข้มข้นสารตั้งต้นจะทาให้สมดุลเลื่อนไปทางขวา เมื่อระบบเข้าสู่ สมดุล
ครั้งใหม่ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น แต่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน
เมื่ อแทนค่าหาค่าคงที่ สมดุ ล ( K ) ของสมดุ ลครั้งหลัง จะได้ค่าเท่ากับค่าคงที่ สมดุ ล ( K ) ของ
สมดุลตอนก่อนเพิม่ ความเข้มข้น
สรุ ปได้วา่ การเพิ่มหรื อลดความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรื อผลิตภัณฑ์ อาจทาให้สมดุ ล
เปลี่ยน ( เลื่อนซ้าย หรื อเลื่อนขวา ) ได้ แต่จะไม่เปลี่ยนค่าคงที่สมดุล ( K )
2. กรณีเพิม่ หรื อลดความดันหรื อปริมาตรของระบบ
การเพิ่มหรื อลดความดันหรื อปริ มาตรของระบบ จะส่ งผลให้ความเข้มข้นของสารตั้ง
ต้นหรื อผลิตภัณฑ์ที่เป็ นแก๊สเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่ งการเปลี่ยนความเข้มข้นนั้นอาจทาให้สมดุล
เปลี่ยน ( เลื่อนซ้าย หรื อเลื่อนขวา ) ได้ แต่จะไม่เปลี่ยนค่าคงที่สมดุล ( K )
สรุ ปได้วา่ การเพิม่ หรื อลดความดันหรื อปริ มาตรของระบบ อาจทาให้สมดุลเปลี่ยน
( เลื่อนซ้าย หรื อเลื่อนขวา ) ได้ แต่จะไม่เปลี่ยนค่าคงที่สมดุล ( K )
3. กรณีเพิม่ หรื อลดอุณหภูมิของระบบ
การเพิ่มหรื อลดอุ ณหภู มิของระบบ จะเป็ นเพียงปั จจัยเดี ยวเท่านั้นที่ อาจทาให้สมดุ ล
เปลี่ ยน ( เลื่ อนซ้าย หรื อเลื่ อนขวา ) ได้ และยังอาจเปลี่ ยนค่าคงที่ สมดุ ล ( K ) ได้อีกด้วย แต่
สาหรับปฏิกิริยาดูดความร้อน และคายความร้อน จะเกิดผลแตกต่างกันดังนี้
สาหรับปฏิกิริยาดูดความร้ อน K

เช่น สารตั้งต้น + ความร้อน  ผลิตภัณฑ์

K = [ ผลิต ภัณฑ์]
[ สารตั้ง ต้น] T

37
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
กรณี นี้ เมื่ อ อุ ณ หภู มิ เพิ่ ม ขึ้ น สมดุ ล จะเลื่ อ นไปทางขวา ผลิ ต ภัณ ฑ์ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ
คานวณหาค่าคงที่สมดุ ล ( K ) จะได้ค่าเพิ่มขึ้น เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ของค่าคงที่
สมดุล ( K ) เทียบกับอุณหภูมิ ( T ) จะได้ดงั รู ป
สาหรับปฏิกิริยาคายความร้ อน K
เช่น สารตั้งต้น  ผลิตภัณฑ์ + ความร้อน

K = [ ผลิต ภัณฑ์]
[ สารตั้ง ต้น] T

กรณี น้ ี เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สมดุลจะเลื่อนไปทางซ้าย ผลิตภัณฑ์จะลดลง เมื่อ


คานวณหาค่าคงที่ สมดุ ล ( K ) จะได้ค่าลดลง เมื่ อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ ของค่าคงที่
สมดุล ( K ) เทียบกับอุณหภูมิ ( T ) จะได้ดงั รู ป
สรุป
การเปลีย่ นแปลง
กระบวนการ การเปลีย่ นแปลงสมดุล
ค่ าคงทีส่ มดุล (K)
เพิ่มลดความเข้มข้น  
เพิม่ ลดความดัน  
เพิ่มลดอุณหภูมิ  
คะตะไลต์  
 คือ มีการเปลี่ยนแปลง  คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
54(แนว มช) ปฏิ กิ ริย าต่ อไปนี้ 4 NH3(g) + 3 O2(g)  2 N2(g) + 6 H2O(g) มี ค่ า คงที่
สมดุ ล ที่ 25oC เท่ ากับ 1 x 1028 ถ้าเพิ่ ม ความดันของปฏิ กิ ริย านี้ ที่ 25oC ข้อความใด
ต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ค่าคงที่สมดุลเพิ่มขึ้น
2. ผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึ้น ค่าคงที่สมดุลคงที่
3. ผลิตภัณฑ์ลดลง ค่าคงที่สมดุลลดลง
4. ผลิตภัณฑ์ลดลง ค่าคงที่สมดุลคงที่

38
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
55(แนว มช) ปฏิกิริยา C(s) + H2O(g)  CO(g) + H2O(g) เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
สภาวะใดที่จะทาให้ค่าคงที่สมดุลเพิม่ ขึ้น
1. เพิ่ม H2O(g) 2. CO(g) 3. เพิ่มอุณหภูมิ 4. เพิ่มความดัน

56(แนว มช) ปฏิกิริยา N2O4(g) + พลังงาน  2 NO2(g) มีค่า K ที่ 45oC เท่ากับ
2.4 x 10–2 ค่า K ที่ 55oC จะเป็ นข้อใด
1. 8.3 x 10–1 2. 2.4 x 10–2 3. 1.6 x 10–2 4. 5.4 x 10–3

57(แนว En) พิจารณากราฟระหว่างค่าคงที่สมดุลกับอุณห-


ภูมิต่อไปนี้ กราฟเส้นใดได้จากปฏิกิริยาดูดความร้อน ค่าคงที่สมดุล
1. กราฟ A A
2. กราฟ B
3. ทั้งสองเส้น B
4. ไม่ใช่ท้ งั สองเส้น อุณหภูมิ

39
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
58. ในภาชนะขนาด 2 ลิตร ณ ภาวะสมดุลของปฏิกิริยา A2(g) + B2(g)  2 AB(g) จะมี
ความจานวนโมลของ A2 , B2 และ 2AB เท่ากับ 2 , 8 และ 8 โมล ตามลาดับ ถ้าเอา
B2 ออกไป 6 โมล จงหาความเข้มข้นของ AB ที่ภาวะสมดุลใหม่ (โมลต่อลิตร) เมื่อทาการ
ทดลองที่อุณหภูมิคงที่
1. 2 2. 3 3. 6 4. 7

40
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

แผนภาพสรุ ป บทที่ 7 สมดุ ล เคมี


7.1 การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได้

7.2 การเปลีย่ นแปลงทีภ่ าวะสมดุล


7.2.1 สมดุลในปฏิกริ ิยาเคมี

41
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
7.2.2 กราฟของภาวะสมดุล

42
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
7.3 การเปลีย่ นแปลงภาวะสมดุล

7.3.1 การเพิม่ หรื อลดความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นและผลิตภัณฑ์

43
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
7.3.2 การเพิม่ หรื อลดความดันหรื อปริมาตรของระบบ

7.3.3 การเพิม่ หรื อลดอุณหภูมิของระบบ

44
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.4 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเข้ มข้ นของสารต่ างๆ ณ ภาวะสมดุล


7.4.1 ค่ าคงทีส่ มดุลกับสมการเคมี

45
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.4.2 การคานวณเกี่ยวกับค่ าคงทีส่ มดุล

46
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

7.4.3 การเปลีย่ นค่ าคงทีส่ มดุล

47
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี

48
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 สมด ุลเคมี
เ ฉ ล ย บ ท ที่ 7 ส ม ดุ ล เ ค มี
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3. 9. ตอบข้ อ 4.
10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3. 13. ตอบข้ อ 3.
14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3. 17. ตอบข้ อ 2.
18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 3.
22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3. 25. ตอบข้ อ 3.
26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3. 29. ตอบข้ อ 2.
30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2. 33. ตอบ 0.1
34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบ 0.64 36. ตอบ 0.11 37. ตอบข้ อ 4.
38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบ 0.04 40. ตอบ 0.40 41. ตอบ 0.2
42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบ 0.50 45. ตอบข้ อ 4.
46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบ 8 49. ตอบข้ อ 2.
50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบ 0.049 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 4.
54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 1.
58. ตอบข้ อ 1.



49

You might also like