You are on page 1of 24

สมดุลเคมี

Chemical Equilibrium
ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน
• ใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง
1. นาแข็งในแก้วเก็บความเย็นเป็นระบบปิด

2. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างหินปูนกับกรดเกลือในบีกเกอร์เป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบเปิด

3. ปฏิกิริยาดูดพลังงานมีค่าพลังงานของปฏิกิรยิ า เป็นบวก

4. ปฏิกิริยาคายพลังงาน ให้ผลิตภัณฑ์และพลังงาน

5. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในช่วงต้นมีคา่ น้อย และค่อยๆเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป


This is not Equilibrium?
สภาวะสมดุล Equilibrium
• สภาวะที่สารในระบบมีการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ซึ่งทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณสารแต่ละชนิดในระบบด้วย จนถึงสภาวะหนึ่ง ระบบจะมี
ปริมาณสารแต่ละชนิดคงที่

สมดุลพลวัต Dinamic equilibrium


• สารในระบบยังมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีอัตราการเปลี่ยนแปลงไป
ข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ ทาให้ปริมาณสารแต่ละชนิด
คงที่
ปฏิกิริยาผันกลับได้ Reversible Reaction

• เป็นปฏิกิริยาเคมีที่มีทั้งปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับ
• เขียนแสดงด้วย ลูกศร

2HI(g) H2(g) + I2(g)


ปฏิกิริยาผันกลับได้ Reversible Reaction

• ปฏิกิริยาไปข้างหน้า: Forward reaction


• ปฏิกิริยาย้อนกลับ: Reverse reaction

2HI(g) H2(g) + I2(g)

Forward reaction
Reactant Product
Reverse reaction
Equilibrium graph
1. กราฟ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี - เวลา

X2 + 2Y2 2XY2

X2 + 2Y2 2XY2

X2 + 2Y2 2XY2
อัตราการเกิดปฏิกิริยา

•Dynamic equilibrium

2XY2 X2 + 2Y2

เวลา (s)
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
Concentration

[N2]

[NH3]

[H2]

30 Time (s)
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
a. At equilibrium Reactant < Product
Concentration X Y

[Y]

[X] < [Y]


[X]

Time (s)
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
b. At equilibrium Reactant > Product
Concentration X Y

[X]
[X] > [Y]
[Y]

Time (s)
2. กราฟ ความเข้มข้น - เวลา
c. At equilibrium Reactant = Product
Concentration X Y

[X]

[X] = [Y]
[Y]

Time (s)
ตรวจสอบความเข้าใจ
1. ระบบใดของปฏิกิริยาต่อไปนี้อยู่ในสมดุล เพราะเหตุใด
1.1 ปฏิกิริยาเคมี CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)

ระบบ 1 ระบบ 2

CaCO3 CaO CO2


ตรวจสอบความเข้าใจ
1. ระบบใดของปฏิกิริยาต่อไปนี้อยู่ในสมดุล เพราะเหตุใด
1.2 ปฏิกิริยาเคมี Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) PbI2(s) + 2KNO3(aq)
ทาในหลอดทดลองที่มีจุกปิดและไม่มีจุกปิด
ตรวจสอบความเข้าใจ

2. ใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง

2.1 ที่สมดุล อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีย้อนกลับมีค่าเท่ากัน

2.2 ที่สมดุล ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีค่าเท่ากัน

2.3 ที่สมดุล ปริมาณของสารไม่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น


ประเภทของสมดุลไดนามิก
1. Homogeneous chemical equilibrium
• สมดุลที่สารทุกชนิดอยู่ในสถานะเดียวกันหมด

2. Heterogeneous chemical equilibrium


• สมดุลที่มีสารต่างๆมากกว่า 2 สถานะอยู่ในระบบเดียวกัน
ค่าคงที่สมดุล Equilibrium constant
Homogenous equilibrium applies to reactions in
which all reacting species are in the same phase.

N2O4 (g) 2NO2 (g)

[NO2]2
Kc =
[N2O4]
Heterogenous equilibrium applies to reactions in
which reactants and products are in different phases.
CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g)

[CaO][CO2] [CaCO3] = constant


Kc =
[CaCO3] [CaO] = constant

Kc = [CO2]

ความเข้มข้นของ ของแข็ง ของเหลว ไม่นามาคิดในการคานวณค่าคงที่สมดุล.


เขียนค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีค่อไปนี้ในรูปอัตราส่วนความเข้มข้นของสาร
a. 2H2O2 (g) ⇌ 2H2O (g) + O2 (g)

b. 6H2O2 (g) ⇌ 6H2O(g) + 3O2(g)

c. The reverse of the reaction in part a

d. 2PbS(s) + 3O2(g) ⇌ 2PbO(s) + 2SO2(g)

e. MgCl2 (s) ⇌ Mg 2+ (aq) + 2 Cl -(aq)

f. The reverse of the reaction in part e


ค่าคงที่สมดุลบ่งบอกถึงปริมาณสารตั้งต้นเทียบกัลปริมาณผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในสมดุลดังนี้

• ปฏิกิริยาที่มี K >>1 มีความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์มากกว่าสารตั้งต้น หรืออาจกล่าวได้ว่า


สารตั้งต้นทาปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้ดี
• ปฏิกิริยาที่มี K << 1 มีความเข้มข้นของสารตั้งต้นมากกว่าผลิตภัณฑ์ หรือกล่าวได้ว่าสาร
ตั้งต้นทาปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้ไม่ดี

You might also like