You are on page 1of 48

คำนำ

หนังสื อเล่มนี้ใช้ประกอบการเรี ยนเรื่ องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยครู กุ๊ก สาหรับนักเรี ยน ม. 5 ซึ่ งถือเป็ น


บทเรี ย นที่ ไ ม่ ใ หญ่ ม าก แต่ มี ค วามส าคัญในการต่ อยอดความรู ้ ใ นระดับ มหาวิท ยาลัย ในเล่ ม นี้ มี เ นื้ อหา
แบบฝึ กหัด และโจทย์ครอบคลุมทุกจุดสาคัญที่นิยมออกข้อสอบ โดยแบ่งเป็ น 2 ส่ วนคือ ส่ วนแรก (ร้อยละ
60) สาหรับเรี ยนในห้อง ฝึ กทาโจทย์และแบบทดสอบในห้องเรี ยนไปพร้อมกับครู และส่ วนที่ 2 เป็ นส่ วนที่
นักเรี ยนต้องฝึ กทาด้วยตนเองเป็ นการบ้าน (ส่ วนนี้จะง่ายกว่าส่ วนแรกเล็กน้อย)

นักเรี ยนสามารถใช้หนังสื อเล่มนี้ เรี ยนกับครู กุ๊ก ผ่านเว็บไซต์ www.krookook.com ได้ต้ งั แต่เดื อนสิ งหาคม
พ.ศ. 2554 เป็ นต้นไป อย่างไรก็ตาม หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดในหนังสื อเล่มนี้ ผูเ้ ขียนต้องขออภัยเป็ น
อย่างสู ง และหากมีขอ้ สงสัยในเรื่ องใดๆ สามารถสอบถามจากครู ได้โดยตรง สุ ดท้ายนี้ ก็ขอให้นกั เรี ยนใช้
ประโยชน์จากหนังสื อเล่มนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด

ครู กุ๊ก
สารบัญ

รวมเนือ้ หาอัตราการเกิดปฏิกิรยาเคมี .......................................................................................... 1


ตัวอย่างข้ อสอบอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี .................................................................................. 8
การบ้ านเรื่องอัตราการเกิดปฏิกริ ยาเคมี ...................................................................................... 20
เฉลยการบ้ านอัตราการเกิดปฏิกริ ยาเคมี ..................................................................................... 44
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 1

เรื่อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี (Rate of Chemical Reaction)


ทฤษฎีการชนในการเกิดปฏิกริ ิยา
อนุภาคของสารที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้น้ นั ต้องมีข้ นั ตอน 3 ขั้นตอน คือ
1. …………………………………………………………………………..
2. …………………………………………………………………………..
3. …………………………………………………………………………..
พลังงานก่อกัมมันต์ (Ea) คือ ………………………………………………………
ตัวอย่างที่ 1 จงวาดรู ปแสดงทิศทางการชนของปฏิกิริยาต่อไปนี้
1.1) H2O + CO → CO2 + H2 1.2) NO2 + CO → CO2 + NO

การเร่ งอัตราการเกิดปฏิกิริยา
จากทฤษฎีการชนของอนุภาค หากต้องการเร่ งอัตราการเกิดปฏิกิริยาด้วยปั จจัยใดๆก็ตาม ปั จจัยนั้นต้องเป็ นการเร่ ง
ขั้นตอนทั้ง 3 ดังกล่าว คือ …………………………...
………………………………………………………………………………………..
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อปฏิกริ ิยาเคมี
ปัจจัย จานวนอนุภาค ความถี่ในการชน พลังงานจลน์ กราฟ
จานวนอนุภาค

Ea
เพิ่ม [สารตั้งต้น]

พลังงานจลน์ ของอนุภาค
จานวนอนุภาค

Ea
เพิม่ อุณหภูมิ

พลังงานจลน์ ของอนุภาค
จานวนอนุภาค

Ea
เติมตัวเร่ ง

พลังงานจลน์ ของอนุภาค
2 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

การเพิ่มพื้นที่ผวิ สัมผัสของสารตั้งต้นมีผลเฉพาะปฏิกิริยา ……………………….


ตัวอย่างที่ 2 ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ที่พ้นื ที่ผวิ มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
2.1) 2KMnO4(s) + 16HCl(aq) → 2KCl(aq) + MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g)
…………………………………………………………………………………
2.2) 2NO(g) + O2(g) → 2NO2(g)
…………………………………………………………………………………
2.3) 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) → 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2(g)
…………………………………………………………………………………
2.4) Cu(s) + S(s) → CuS(s)
………………………………………………………………………………..
การสั งเกตการเกิดปฏิกิริยา และการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
การสังเกตการดาเนิ นไปของปฏิกิริยา ให้สังเกตจากการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชดั มีหลักการง่ายๆ ดังตาราง
ความแตกต่ างระหว่างสารตั้งต้ นและผลิตภัณฑ์ วิธีการสั งเกต
สถานะ
สี
มวล (มีการเกิดก๊าซออกสู่ นอกระบบ)
ความเป็ นกรด-เบสต่างกัน
จานวนโมลของก๊าซต่างกัน (ระบบก๊าซ)
การละลายในสารละลายต่างกัน

ตัวอย่างที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ วัดอัตราวิธีใดสะดวกที่สุด


3.1) 2KMnO4(s) → K2MnO4(s) + MnO2(s) + O2(g)
…………………………………………………………………………………
3.2) H2O2(l) +2H+(aq) + 3I-(aq) → I3-(aq) + 2H2O(l)
…………………………………………………………………………………
3.3) 2NO2(g) → 2NO(g) + O2(g)
…………………………………………………………………………………
3.4) 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) → 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2(g)
…………………………………………………………………………………
3.5) 2HCl(aq) + Na2S2O3(aq) → 2NaCl(aq) + H2O(l) + SO2(g) + S(s)
…………………………………………………………………………………
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 3

การคานวณอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ ........................................................ หารด้วย …………..
ตัวอย่างเช่น H2O2(l) +2H+(aq) + 3I-(aq) → I3-(aq) + 2H2O(l)
- ถ้าวัดอัตราจากสารตั้งต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยา เท่ากับ
………………………………………………………………………………..
- ถ้าวัดอัตราจากสารผลิตภัณฑ์ อัตราการเกิดปฏิกิริยา เท่ากับ
………………………………………………………………………………..
อัตรารวมของปฏิกิริยาคือ ………………………………………………………..
ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนสมการแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงของแต่ละสาร และอัตราการเกิดปฏิกิริยารวม
4.1) 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) → 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2(g)
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
4.2) 2KMnO4(s) + 16HCl(aq) → 2KCl(aq) + MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g)
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
ตัวอย่างที่ 5 ปฏิกิริยา 2A + B → 3C ถ้าความเข้มข้นของสาร A เป็ นฟังก์ชนั กับเวลาตามสมการ [A] = 5.0 – 0.6
t1/2
5.1) จงหาอัตราการลดลงของสาร A
…………………………………………………………………………….
5.2) จงหาอัตราการลดลงของสาร B
……………………………………………………………………………
5.3) จงหาอัตราการเกิดของสาร C
……………………………………………………………………………
5.4) จงหาอัตรารวมของปฏิกิริยา
……………………………………………………………………………
4 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

การดาเนินไปของปฏิกริ ิยา
เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไปปริ มาณสารตั้งต้นจะ ...............
ถ้าปั จจัยเรื่ องความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ลดลงนั้น ส่ งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาจะ ...................................
ถ้ า ปั จ จัย เรื่ องความเข้ ม ข้ น ของสารตั้ง ต้ น ที่ ล ดลงนั้ น ไม่ ส่ ง ผลต่ อ อัต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยา ปฏิ กิ ริ ยาจะ
.......................................
กราฟแสดงการการเกิดปฏิกิริยา
ตัวอย่างที่ 6 ปฏิกิริยา 2O3(g) → 3O2(g)
ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของ O3
แกน y คือ ............................................ แกน y คือ ............................................
แกน x คือ เวลา แกน x คือ เวลา

ตัวอย่างที่ 7 ปฏิกิริยา NO2(g) + CO(g) → NO(g) + CO2(g)


ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับกาลังสองของความเข้มข้นของ NO2
แกน y คือ ............................................ แกน y คือ ............................................
แกน x คือ เวลา แกน x คือ เวลา
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 5

ตัวอย่างที่ 8 ปฏิกิริยาการดึงแอลกอฮอล์ออกจากเลือดที่เกิดในตับ
ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ข้ ึนกับความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือด
แกน y คือ ............................................ แกน y คือ ............................................
แกน x คือ เวลา แกน x คือ เวลา

กฎอัตรา
สมการกฎอัตราคือ สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิรยากับความเข้มข้นเริ่ มต้นของสารตั้งต้น
ตัวอย่างที่ 9 สมการปฏิกิริยา D + E → F มีอตั ราการเกิดปฏิกิริยาที่ข้ ึนกับความเข้มข้นเริ่ มต้นของสาร D และ E
ดังตาราง
[D] [E] อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่
(mol/dm3) (mol/dm3) (mol/dm3∙min)
1 1.0 1.0 0.15
2 2.0 1.0 0.30
3 3.0 1.0 0.45
4 1.0 2.0 0.15
9.1 จงเขียนสมการแสดงกฏอัตรา ..........................................
9.2 ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาอันดับ ........
9.3 ความเข้มข้นเริ่ มต้นของสารใดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยามากกว่า
...................................................
9.4 จงหาค่าคงที่อตั รา

9.5 ค่าคงที่อตั ราจะเปลี่ยนแปลงเมื่อปั จจัยใดเปลี่ยนแปลง ........................


6 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ตัวอย่างที่ 10 ปฏิกิริยา 2A + B → C มีอตั ราการเกิดปฏิกิริยาที่ข้ ึนกับความเข้มข้นเริ่ มต้นของสาร A และ B ดัง


ตาราง
การทดลอง [A] [B] เวลาทีใ่ ช้ ในการเกิดสาร
ที่ mol/dm3 mol/dm3 C 0.5 mol (s)
1 0.20 0.10 20
2 0.20 0.20 10
3 0.10 0.10 80
4 0.30 0.10 ....
10.1 จงเขียนสมการแสดงกฏอัตรา ..........................................
10.2 ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาอันดับ ........
10.3 ความเข้มข้นเริ่ มต้นของสารใดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยามากกว่า
...................................................
10.4 จงหาค่าคงที่อตั รา

10.5 ค่าคงที่อตั ราจะเปลี่ยนแปลงเมื่อปั จจัยใดเปลี่ยนแปลง ........................

ตัวอย่างที่ 11 จงเขียนกราฟต่อไปนี้จากกฎอัตราที่กาหนดให้
11.1) X + Y → 2Z กฎอัตรา R = k[X]
กราฟ [X] กับเวลา เมื่อ [Y] มากเกินพอ กราฟ [Y] กับเวลา เมื่อ [X] มากเกินพอ กราฟ Rx, RY กับเวลา

11.2 2P + Q → S กฎอัตรา R = k[P]2[Q]


กราฟ [P] กับเวลา เมื่อ [Q] มากเกินพอ กราฟ [Q] กับเวลาเมื่อ [P] มากเกินพอ กราฟ Rx, RY กับเวลา
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 7

กราฟพลังงานและการดาเนินไปของปฏิกริ ิยาเคมี
ปฏิกิริยาดูความร้อนและปฏิกิริยาคายความร้อน

จากรู ป ค่าพลังงานก่อกัมมันต์อยูต่ รงส่ วนใดของกราฟ


.................................................................................................................................

ผลของตัวเร่ งปฏิกริ ิยา


ตัวเร่ งจะส่ งผลอย่างไรต่อกลไกการเกิดปฏิกิริยา
..................................................................................................................................
ตัวเร่ งจะส่ งผลอย่างไรต่อกราฟด้านบน
.....................................................................................................................
8 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ตัวอย่ างข้ อสอบปลายภาค


1. จากปฏิกิริยา 2Na + 2C3H7OH  2C3H7ONa + H2 ถ้าใช้ Na 11.5 g ทาปฏิกิริยากับ C3H7OH 40.0 g จน
ปฏิกิริยาสิ้ นสุ ดในเวลา 10 นาที อัตราการลดของ C3H7OH เป็ นกี่ g/min (Na = 23 C3H7 = 60)
1. 1.15 2. 3.00
3. 4.00 4. 6.00

2. ปฏิกิริยาหนึ่งเป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ทาการทดลองที่อุณหภูมิ T1 และ T2 แสดงผลดังกราฟ แกนตั้งแทน


ร้อยละของจานวนโมเลกุล แกนนอนแทนพลังงานจลน์
แกน x ข้อใดถูกต้อง
T1 T2 1. ที่อุณหภูมิ T1 โมเลกุลสารตั้งต้นชนกันถี่มากกว่าที่ T2
2. ที่อุณหภูมิ T1 โมเลกุลมีพลังงานจลน์เฉลี่ยน้อยกว่าที่ T2
3. ที่อุณหภูมิ T1 ปฏิกิริยามีการดูดพลังงานมากกว่าที่ T2
4. ที่อุณหภูมิ T1 มีจานวนโมเลกุลที่ชนแล้วเกิ ดปฏิ กิริยาได้
แกน y ทันทีมากกว่าที่ T2

3. เอโซมีเทน (C2H4N2) สลายตัวที่อุณหภูมิหนึ่งตามสมการ C2H6N2  C2H6 + N2 ในการทดลองศึกษาอัตรา


การสลายตัวของเอโซมีเทนได้ผลดังนี้
เวลา (min) ปริ มาณ C2H6N2 (mol)
0 0.36
15 0.30
30 0.25
48 0.19
75 0.13
ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. C2H6N2 สลายตัวไป 0.11 mol เมื่อเวลาผ่านไป 30 นาที
2. C2H6N2 สลายตัวเหลือปริ มาณครึ่ งหนึ่งเมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 50 นาที
3. อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ C2H6N2 ในช่วง 15 นาทีแรกเท่ากับ 0.004 mol/min
4. อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ C2H6N2 ในช่วง 75 นาทีเท่ากับ 0.0017 mol/min
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 9

4. ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารละลาย A และ B กับอัตราการเกิ ดปฏิกิริยาที่


อุณหภูมิหนึ่งได้ผลดังนี้
ความเข้มข้นเริ่ มต้น A ความเข้มข้นเริ่ มต้น B อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ครั้งที่
mol/dm3 mol/dm3 mol/dm3.s
1 0.1 0.1 8.40  10-5
2 0.2 0.1 16.80  10-5
3 0.1 0.2 33.60  10-5
4 X 0.1 2.80  10-5
ค่า X เป็ นกี่ mol/dm3
1. 0.011 2. 0.2
3. 0.033 4. 3.0

คาชี้แจง ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย KMnO4 กับสารละลาย H2C2O4 ในสารละลายH2SO4


2 KMnO4 + 5H2C2O4 + 3H2SO4  K2SO4 + 2 MnSO4 + 8 H2O + 10CO2
ความเข้มข้นและปริ มาตรสารละลายที่ใช้
สารละลาย KMnO4 H2C2O4 H2SO4
ความเข้มข้น (mol/dm3) 0.005 0.2 0.02
ปริ มาตร (cm3) 2 1 2

5. เมื่อเวลาผ่านไป 2 นาที ปฏิกิริยาสิ้ นสุ ด ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ใดถูกต้องตามข้อมูลที่กาหนดให้


1. สี ของสารละลายในระบบจางลง ๆ จนไม่มีสี
2. ค่า pH ของสารละลายจะเพิม่ ขึ้น ๆ จนเป็ นกลาง
3. อัตราการลดของ H2C2O4 เท่ากับ 0.0001 mol/dm3.min
4. อัตราการเกิดแก๊ส CO2 เท่ากับ 0.56 mol/min
6. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกต้อง
1. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิให้ระบบ ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้น เพราะอัตราการชนเพิ่มขึ้นและพลังงานก่อกัมมันต์ลดลง
2. ถ้าเพิ่มน้ าลงในระบบ ปฏิกิริยาเกิ ดช้าลง เพราะจานวนโมเลกุลที่มีพลังงานสู งถึ งพลังงานก่อกัมมันต์
ลดลง
3. ถ้าเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้น เพราะจานวนโมเลกุลที่มีพลังงานสู งถึ งพลังงานก่อกัมมันต์
เพิ่มขึ้น
4. ถ้าเติมเกล็ด KMnO1 เพิ่มลงในระบบปฏิกิริยาจะเกิดเร็ วขึ้นเพราะพลังงานก่อ กัมมันต์ลดลง
10 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

7. จากสมการ 2X2O5(g)  4XO2(g) + O2(g) การสลายตัวของแก๊ส X2O5 เปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ดังตาราง


จงหาค่าของ A และอัตราการเกิดก๊าซออกซิ เจนใน [X2O5] (mol/dm3) เวลา (s)
ช่วง 0-1500 วินาทีเท่ากับกี่ mol/dm3s A 0
1. 8.0 , 3.0×10-3 6.3 500
2. 8.0 , 1.5×10-3 4.8 1000
3.5 1500
3. 6.5 , 3.0×10-3
2.4 2000
4. 6.5 , 1.5×10-3
1.5 2500
คาชี้แจง กลไกการเกิดปฏิกิริยานี้ใช้ประกอบการตอบคาถาม
ก. M + A  C + X Ea = 52 kJ
ข. X + B  C+Y Ea = 25 kJ
ค. Y + B  A Ea = 12 kJ

8. อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ข้ ึนกับความเข้มข้นของสารใด
1. A 2. B 3. M 4. Y
9. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกต้อง
1. ปฏิกิริยารวมคือ M + 2B  2C 2. M คือตัวเร่ งปฏิกิริยา
3. Y คือสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุน้ 4. C คือโมเลกุลชัว่ คราว

10. ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ อุณหภูมิหนึ่งของปฏิกิริยาดังนี้


- -
2ClO2 (aq) + 2OH– (aq)  Cl (aq) + Cl (aq) + H2O (I)
การทดลองที่ [ClO2] เริ่ มต้น (M) [OH–] เริ่ มต้น (M) อัตราการเกิดปฏิกิริยา (M/s)
1 0.01 0.01 3.5  10–4
2 0.02 0.01 14.5  10–4
3 0.01 0.02 7.0  10–4
4 0.02 0.02 m
5 0.02 A 56.0  10–4
คา a และ m เรี ยงตามลาดับตรงกับข้อใด
1. 0.04 , 28.0  10–4 2. 0.04 , 14.0  10–4
3. 0.08 , 28.0  10–4 4. 0.02 , 14.0  10–4
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 11

11. จากปฏิกิริยา Mg + 2 HCl  MgCl2 + H2 แล้ววัดอัตราการลดของ Mg ได้ผลดังแสดงในตาราง


เวลา (วินาที) มวลแมกนีเซียม (g)
0 3.00
50 2.00
100 1.20
150 0.60
200 0.10
250 0.75
จงหาอัตราการเกิดปฏิ กิริยาในช่วงเวลาวินาทีที่ 50-100 เปรี ยบเทียบกับอัตราการเกิ ด ปฏิ กิริยาเฉลี่ยตั้งแต่ตน้ จน
จบการทดลองเป็ น g.s-1
1. 0.016 : 0.009 2. 0.016 : 0.003
3. 0.018 : 0.009 4. 0.024 : 0.015
- -
12. จากสมการ 2 Mn + 16 H+ + 5C2  2 Ma2+ + 8 H2O + 10 CO2
-
ถ้าอัตราการลดของ C2 เท่ากับ 17.6 g/s (ความหนาแน่นของน้ า 1 g/cm3) ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ ถูกต้อง
-
1. อัตราการลดของ Mn เท่ากับ 9.52 g/s
2. อัตราการเกิดของน้ าเท่ากับ 5.76 cm3/s
3. อัตราการเพิ่มของ Mn2+ เท่ากับ 0.008 mol/s
4. อัตราการเกิดก๊าซ CO2 ที่ STP เท่ากับ 8.96 dm3/s
13. ปฏิกิริยา I– + ClO–  IO– + Cl–
ทาการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้นของ สารตั้งต้น ได้ผลดังตาราง
การทดลองที่ [I–] mol/dm3 [ClO–] mol/dm3 อัตราการเกิด IO– mol/s
1 0.01 0.02 12.2  10–2
2 0.02 0.01 12.2  10–2
3 0.01 0.01 6.1  10–2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ มีขอ้ ความที่ถูกต้องกี่ขอ้
I. อัตราการเกิด IO– ขึ้นกับความเข้มข้นของ I– และ CIO–
II. ถ้า [I–] = 0.01 mol/dm3 และ [CIO–] = 0.005 mol/dm3 อัตราการเกิด IO– จะเป็ น 3.05  10–2 mol/s
III. เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น จะทาให้โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันแรงขึ้นจึงเกิดปฏิกิริยาเร็ วขึ้น
1. ไม่มีเลย 2. 1 ข้อ 3. 2 ข้อ 4. 3 ข้อ
12 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

14. จากสมการแสดงปฏิกิริยา 2A + B + C  3D + E ได้ผลดังข้อมูลในตาราง


การทดลองครั้งที่ [A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) [C] (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm3.s)
1 0.1 0.2 0.1 2.5  10–3
2 0.2 0.2 0.1 5.0  10–3
3 0.1 0.2 0.2 1.0  10–2
4 0.1 0.1 0.2 1.0  10–2
5 0.3 0.2 0.1 R
จงหาค่า R (mol/dm3.s)
1. 4.0  10–2 2. 1.0  10–2
3. 7.5  10–3 4. 5.0  10–3

15. ปฏิกิริยาหนึ่งมีข้ นั ตอนการเกิดปฏิกิริยาดังนี้


ขั้นที่ 1 P(aq) + A(aq) + X(s)  Y(aq) + C(aq) (ช้า)
ขั้นที่ 2 C(aq) + D(aq)  2 Z(g) + E(aq) (เร็ ว)
ขั้นที่ 3 Z(g) + Y(aq)  E(aq) + X(s) (เร็ ว)
ถ้าต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้น สามารถทาได้โดยวิธีใดบ้าง
ก. เพิ่มความเข้มข้น A(aq) ข. เพิ่มความเข้มข้น D(aq)
ค. เพิ่มปริ มาตรของ A(aq) ง. เพิ่มขนาดของ X(s)
จ. เพิ่มความเข้มข้น P(aq)
1. ก. ข. ค. ง. จ. 2. ก. ข. ง. จ.
3. ก. ค. จ. 4. ก. จ.

-
16. จากปฏิกิริยา 4Mn2+ (aq) + 6H2O(l) + 5O2(g)  12H+ (aq) + 4Mn (aq) ใช้สารละลาย MnSO4 เข้มข้น
1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ทาปฏิกิริยากับ O2 มากเกินพอ ถ้าอัตราการลดลงของ Mn2- = 0.02 mol/dm3.s
อัตราการลดลงของ O2 จะเป็ นไปตามข้อใด
1. 0.05 mol/dm3.s 2. 0.0025 mol/s
3. 0.64 g/s 4. 0.56 dm3/s ที่ STP
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 13

17. ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิค (H2C2O4) กับสารละลาย KMnO4 และ


H2SO4 โดยจับเวลาเมื่อสี ของ KMnO4 จางหายไป และมี KMnO4 เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาดังสมการ
2 KMnO4 + 5 H2C2O4 + 3 H2SO4  K2SO4 + 2 MnSO4 + 8 H2O + 10CO2
ในการทดลองใช้ปริ มาณสารและอุณหภูมิดงั นี้
ปริ มาตรสารละลายที่ใช้ในการทดลอง (cm3)
อุณหภูมิ
ครั้งที่ KMnO4 K2C2O4 H2SO4 MnSO4
(oC)
(0.005 mol/dm3) (0.05 mol/dm3) (1 mol/dm3) (0.1 mol/dm3)
1 2 2 1 ไม่ได้ใส่ 15
2 2 2 1 ไม่ได้ใส่ 25
3 2 2 1 3 หยด 25
4 4 4 2 ไม่ได้ใส่ 15
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกต้อง
1. การทดลองครั้งที่ 3 เกิ ดปฏิ กิริยาเร็ วกว่าครั้งที่ 2 เพราะครั้งที่ 3 มีพลังงานก่อ กัมมันต์ต่ ากว่าครั้งที่ 2
และมีจานวนอนุภาคที่มีพลังงานสู งพอที่จะเกิดปฏิกิริยาได้มากกว่าครั้งที่ 2
2. การทดลองครั้งที่ 2 เกิดปฏิกิริยาเร็ วกว่าครั้งที่ 1 เพราะครั้งที่ 2 มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ากว่าครั้งที่ 1 และ
อนุภาคสารตั้งต้นมีอตั ราการชนกันมากกว่า
3. การทดลองครั้ งที่ 4 เกิ ดปฏิ กิริยาเร็ วกว่าครั้งที่ 1 เพราะครั้ งที่ 4 อนุ ภาคสารตั้งต้นมี อตั ราการชนกัน
มากกว่า
4. การทดลองครั้ งที่ 4 เกิ ดปฏิ กิริยาเร็ วกว่าครั้งที่ 2 เพราะครั้ งที่ 4 อนุ ภาคสารตั้งต้นมี อตั ราการชนกัน
มากกว่า

18. จากปฏิกิริยา 2A(s) + 3B(aq)  C (aq) + 3 D(g) ถ้าใช้ A 21.6 g ทาปฏิกิริยากับสารละลาย B เข้มข้น
3 mol/dm3 500 cm3 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของสาร A, B, C, D เส้นใดไม่ถูกต้อง หรื อไม่
สอดคล้องกับเส้นอื่น (มวลโมเลกุล A = 27) แกนตั้งแทนปริ มาณสารเป็ นโมล แกนนอนแทนเวลา
1. เส้น A
2. เส้น B
3. เส้น C
4. เส้น D
14 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

19. การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะต้องเลือกวิธีการเหมาะสมเพื่อให้ได้ผลการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่


ชัดเจน สะดวก ประหยัดเวลา และมีคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ต่อไปนี้
-
A) 2 Mn (aq) + 16 H+ (aq) + 5S2–  2 Mn2+ (aq) + gH2O(1) + 5S(s)
B) 2 Al(s) + 2 NaOH (aq) + 6H2O  2 NaAI(OH)2 (aq) + 5 H2(g)
- -
C) 2 S2 (aq) + Br2 (aq))  2 S4 (aq) + 2 Br2– (aq)
D) N2 (g) + 3 H2(g)  2 NH3 (g)
วิธีการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของปฏิกิริยาข้างต้นตามลาดับ ควรหาจากอัตราการเปลี่ยนแปลงในข้อใด
จึงจะเหมาะสมและสะดวกที่สุด
วิธีที่สะดวกในการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยา
A B C D
ข้อ
1 สี ที่จางหายไป ปริ มาตรก๊าซ H2 สี ที่จางหายไป ความดันก๊าซ
ความเข้มข้นของ
2 สี ที่จางหายไป ปริ มาตรก๊าซ H2 - ความดันก๊าซ
สารละลาย S2
3 ตะกอนของ S มวล Al สี ที่จางหายไป ความดันก๊าซ
ความเข้มข้นของ
4 ตะกอนของ S ปริ มาตรก๊าซ H2 - ปริ มาณก๊าซ
สารละลาย S2

20. ถ้าปฏิกิริยาหนึ่ ง มีอตั รากรลดลงของ X เป็ น 2 เท่าของอัตราการลดลงของ A เป็ น เท่าของอัตราการ


เกิด B และเป็ น 4 เท่าของอัตราการเกิด C จงพิจารณาว่า กราฟรู ปใด สอดคล้องกับปฏิกิริยา (แกนตั้ง
แทนปริ มาณสารเป็ นโมล แกนนอนแทนเวลา)
1. 2.

3. 4.
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 15

21. ปฏิกิริยา 2 X(s) + 3 Y(aq)  2 Z(aq) + Q(aq)


ได้ท าการทดลอง 2 การทดลอง โดยมี ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเกิ ดปฏิ กิ ริ ย าแตกต่ า งกัน กราฟกลไกการ
เกิดปฏิกิริยาของการทดลองที่ I และ II เป็ นดังนี้ แกนตั้งแทนพลังงานเป็ น kJ แกนนอนแทนการ
ดาเนินไปของปฏิกิริยา

ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนเท่ากับ 100 kJ
2. ขั้นกาหนดอัตราของการทดลองที่ I คือ ขั้น A  C การทดลองที่ II คือ F  H
3. ถ้าการทดลองที่ I เกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิหอ้ ง การทดลองที่ II เกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิหอ้ ง
4. ถ้าการทดลองที่ I เป็ นปฏิกิริยาที่ไม่ใส่ ตวั เร่ งปฏิกิริยา การทดลองที่ II เป็ นปฏิกิริยาที่ใส่ ตวั เร่ งปฏิกิริยา

22. พิจารณากราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเดียวกัน ซึ่ งเกิดในภาวะต่างกัน 2


ภาวะ ดังนี้ (แกนตั้งแทนพลังงาน แกนนอนแทนการดาเนินไปของปฏิกิริยา)
ภาวะที่ 1 ภาวะที่ 2

ข้อความใดถูกต้องสาหรับปฏิกิริยา A + B  C
1. ปฏิกิริยาในภาวะที่ 1 เกิดช้ากว่าภาวะที่ 2
2. ปฏิกิริยาในภาวะที่ 1 จะมีจานวนอนุภาคที่มีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับ Ea มากกว่าปฏิกิริยาที่ภาวะที่ 2
3. ถ้าปฏิกิริยาในภาวะที่ 1 เป็ นภาวะปกติ ปฏิกิริยาในภาวะที่ 2 จะมีการเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา
4. ขั้นที่ 3 และขั้นที่ 1 เป็ นขั้นกาหนดอัตราของปฏิกิริยาในภาวะที่ 1 และภาวะที่ 2 ตามลาดับ
16 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

23. Tx  Ty คือ อุณหภูมิที่ทาการทดลองเพื่อเปรี ยบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยา


AB + XB2  XB + AB2
จานวนอนุภาค จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ โดยเปรี ยบเทียบระหว่าง Tx กับ Ty
Tx Ty ก. ที่ Tx โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันบ่อยกว่า
ข. ที่ Tx โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกัน
ในทิศทางที่ถูกต้องมากกว่า
ค. ที่ Tx โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันแรงกว่า
E ง. ที่ Tx พลังงานก่อกัมมันต์ต่ากว่า
มีขอ้ ความที่ไม่ถูกต้องมีกี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ
3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ
24. ปฏิกิริยาการเตรี ยมสบู่เป็ นปฏิกิริยาเนื้อผสม เกิดจากไขมันหรื อน้ ามันทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH การ
คนสารละลายที่อุณหภูมิคงที่จะช่วยให้ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้น เพราะเหตุใด
1. เพิ่มพลังงานจลน์ให้สาร ทาให้จานวนโมเลกุลที่มีพลังงานสู งถึงพลังงานก่อกัมมันต์เพิ่ม
2. เพิ่มพลังงานจลน์ให้สาร ทาให้สารในระบบชนกันแรงขึ้น
3. ทาให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง
4. เพิ่มความถี่ในการชน
25. กราฟในแต่ละรู ปต่อไปนี้ กราฟเส้น ก เป็ นของปฏิกิริยาที่เกิดเร็ วกว่ากราฟเส้น ข ทั้งสิ้ น ยกเว้น กราฟรู ปใด
1. ปริ มาณสาร 2. E

ก ก

เวลา การดาเนินไปของปฏิกิริยา
3. จานวนโมเลกุล 4. E

ก ก


พลังงานจลน์ การดาเนินไปของปฏิกิริยา
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 17

26. ปฏิกิริยาสาร B เปลี่ยนไปเป็ นสาร X โดยมี A เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังกราฟ

ข้อใดถูกต้อง
1. ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันทีถา้ พลังงานที่ได้จากการชนกันของอนุภาคสารตั้งต้นมีค่าไม่นอ้ ยกว่า 10,100 kJ
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ถูกควบคุมด้วยปฏิกิริยาขั้นย่อยที่ 3
3. ถ้าปฏิกิริยานี้ไม่เติมสาร A พลังงานของ B และ X จะเพิม่ ขึ้น
4. ปฏิกิริยารวมเป็ นปฏิกิริยาคายพลังงานเท่ากับ 3900 kJ

27. ปฏิกิริยาของสาร A เปลี่ยนไปเป็ นสาร P มีกลไกการเกิดปฏิกิริยาและกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน


กับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเป็ นดังนี้
ขั้นที่ 1 A + X  AX
ขั้นที่ 2 AX  PX
ขั้นที่ 3 PX  P + X

แกนตั้งแทนพลังงาน (kJ) แกนนอนแทนการดาเนินไปของปฏิกิริยา ข้อใด ไม่ ถูกต้อง


1. X เป็ นสารลดพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาจาก A  P
2. ปฏิกิริยาจาก AX  PX เป็ นขั้นกาหนดอัตรา
3. ปฏิกิริยาจาก A  P เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน 1000 kJ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจะทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้น
4. A + X จะต้องมีพลังงานอย่างน้อย 3500 kJ และชนกันในทิศทางที่เหมาะสม จึงจะมี P เกิดขึ้น
18 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

28. ปฏิกิริยาเคมีหนึ่ง มีกลไก 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) Cl2  2 Cl


2) N2O + Cl  N2 + ClO
3) ClO + ClO  Cl2 + O2
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใด ไม่ ถูกต้อง
1. Cl2 ทาให้กลไกการเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงไปจากกลไกเดิม
2. Cl2 เป็ นสารที่ทาให้อตั ราการชนระหว่างโมเลกุลของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น
3. Cl2 เป็ นสารที่ทาให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง
4. Cl2 เป็ นสารที่ทาให้จานวนโมเลกุลของสารตั้งต้นที่มีพลังงานสู งถึงพลังงานก่อกัมมันต์มีมากขึ้น

29. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
I เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นชนกันจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
II เมื่ออนุภาคสารตั้งต้นมีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์จะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
III เมื่ออนุภาคสารตั้งต้นชนกันแรงพอในทิศทางที่เหมาะสมจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
IV เมื่ออนุภาคสารตั้งต้นได้รับพลังงานแล้วชนกันในทิศทางที่เหมาะสมจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
ข้อที่ถูกต้องคือ
1. I II III และ IV 2. II และ III
3. III และ IV 4. III เท่านั้น

30. ในการศึกษาปฏิกิริยา CaCO3(s) + 2HCl(aq)  CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g)


ได้ทาการทดลอง 2 การทดลอง โดยใช้กอ้ น CaCO3 ที่ขนาดและลักษณะเหมือนกันที่ภาวะต่างกัน ดังนี้
การทดลองที่ 1 ใช้ CaCO3 10 g HCl 2 mol/dm3 500 cm3 ที่ 40oC
การทดลองที่ 2 ใช้ CaCO3 10 g HCl 1.5 mol/dm3 800 cm3 ที่ 60oC
ถ้าการทดลองที่ 2 เกิดปฏิกิริยาเร็ วกว่าการทดลองที่ 1 ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการอธิ บายผลการทดลองที่เกิดขึ้น
1. การทดลองที่ 2 อนุภาคสารตั้งต้นชนกันถี่กว่าและแรงกว่า
2. การทดลองที่ 2 อนุภาคสารตั้งต้นมีพลังงานสู งกว่า
3. การทดลองที่ 2 มีจานวนอนุภาคที่มีพลังงานอย่างน้อย = Ea มากกว่า
4. การทดลองที่ 2 มีพลังงานก่อกัมมันต์ลดต่าลงจากการทดลองที่ 1
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 19

31. จากปฏิกิริยา A (s) + B (aq)  X (aq) + Y (g) + พลังงาน


การกระทาในข้อต่อไปนี้มีผลให้อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
ก. ลดขนาด A โดยมวลเท่าเดิม ข. เพิ่มปริ มาตรสารละลาย B
ค. เพิ่มความดันของระบบ ง. เพิ่มความเข้มข้นสารละลาย B
จ. เพิม่ อุณหภูมิ
1. ก ง และ จ 2. ก ข และ จ
3. ก ข ค และ ง 4. ก ค และ ง

32. จากปฏิกิริยา 4Mn2+(aq) + 6H2O(l) + 5O2(g) → 12H+(aq) + 4MnO4-(aq) ใช้สารละลาย MnSO4 เข้มข้น 1
mol/dm3 จานวน 100 cm3 ทาปฏิกิริยากับ O2 มากเกินพอ ถ้าอัตราการลดลงของ Mn2+ = 0.02 mol/dm3s แล้ว
อัตราการลดลงของ O2 จะเป็ นตามข้อใด
1. 0.05 mol/dm3s 2. 0.0025 mol/s
3. 0.64 g/s 4. 0.56 dm3/s ที่ STP
20 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

การบ้ าน
ชุดที่ 1
1. ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี คือ
1) ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน ตัวเร่ งปฏิกิริยา พันธะโคเวเลนต์
2) พันธะโคเวเลนต์ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน
3) อุณหภูมิ ความเข้มข้นนองสารละลาย พื้นที่ผวิ ตัวเร่ งปฎิกิริยา
4) อุณหภูมิ พันธโคเวเลนต์ พื้นที่ผวิ ตัวเร่ งปฏิกิริยา

2. ใส่ แท่ งโลหะสั งกะสี รูปทรงกลม 1 cm3 ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้ มข้ น 0.1 โมล/ลิตร 20 cm3 แล้วเขย่าเบาๆ ถ้ า
เพิม่ สิ่ งต่ อไปนีส้ องเท่ า อะไรจะทาให้ อตั ราเร็วของการเกิดก๊ าซไฮโดรเจนเพิม่ มากทีส่ ุ ด
1) พื้นที่ผวิ ของ Zn 2) ปริ มาตรของ Zn
3) ปริ มาตรของ HCl 4) ความเข้มของ HCl

3. ข้ อใดเป็ นเหตุผลทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพือ่ แสดงว่ าอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาจะเพิม่ ขึน้ เมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึน้
1) โมเลกุลของสารนั้นจะมีการชนกันมากขึ้น
2) จะทาให้ความดันเพิ่มขึ้น
3) จะทาให้พลังงานก่อกัมมันต์เพิ่มขึ้น
4) โมเลกุลบางส่ วนมีพลังงานสู งเกิดขึ้น

4. มีปฎิกริ ิยาระหว่างของแข็งกับก๊าซชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเกิดขึน้ ได้ ตลอดเวลา ถ้ าต้ องการทาให้ อตั ราของการ


เกิดปฏิกริ ิยาเพิม่ ขึน้ จะต้ องทาให้ มีการเปลีย่ นแปลงอะไร
1) ลดความดันของก๊าซ 2) ลดอุณหภูมิลง
3) ลดขนาดของของแข็ง 4) รักษาความดันให้คงที่

5. ในการศึกษาปฏิกิริยาเคมีโดยทัว่ ไปมักต้ องการให้ เกิดปฏิกิริยาขึน้ เร็ว ดังนั้นเวลาทาการทดลองจึงมักกระทา


อย่างไร
1) อุ่นให้ร้อนเพื่อเพิ่มอุณหภูมิ 2) ใช้สารละลายมีความเข้มสู ง
3) ใช้วธิ ี คนอย่างสม่าเสมอ 4) ใช้วธิ ิ การทั้ง 1, 2 และ 3
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 21

6. การทดลองในข้ อใดมีอตั ราการเกิดปฏิกริ ิ ยาสู งทีส่ ุ ดทีอ่ ุณหภูมิเดียวกัน


1) ใส่ แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCI 0.1 mol/dm3
2) ใส่ แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCI 0.2 mol/dm3
3) ใส่ แผ่นสังกะสี ผงละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCI 0.1 mol/dm3
4) ใส่ แผ่นสังกะสี ผงละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCI 0.2 mol/dm3

7. ตามทฤษฎีการชน และทฤษฎีจลน์ ของก๊าซ ข้ อใดเป็ นขั้นตอนทีก่ าหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยารวม


1) ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดาเนินไปช้าที่สุด
2) ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดาเนินไปเร็ วที่สุด
3) ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นแรก
4) ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นสุ ดท้าย

8. ถ้ าต้ องการวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา 1 ถึง 4 ด้ วยวิธีการ A ถึง D


1. Cl2 (g) + 2 Br- (aq) → Br2(1) + 2 Cl- (aq)
2. I2 (s) + 2S2O2-3 (aq) → 2I- (aq) + S4O2-6 (aq)
3. 3H2(g) + N2(g) → 2NH 3(g)
4. CO2(g) + H2O(I) → HCO-3 (aq) + H+(aq)
A วัดการเปลีย่ นแปลงความดัน B วัดการเปลีย่ น PH
C ดูสีทหี่ ายไป D ดูสีทเี่ พิม่ ขึน้
คาตอบข้ อใดเรียงลาดับวิธิการทีจ่ ะใช้ กบั ปฏิกริ ิยา 1 ถึง 4 ไว้ ถูกต้ อง
1) D, C, A, B 2) D, A, C, B
3) D, C, B, A 4) D, B, A, C

9. เมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึน้ อัตราการเกิดปฏิกริ ิ ยาเพิม่ ขึน้ ด้ วย เพราะเหตุผลข้ อใด


1) จานวนโมเลกุลที่มีพลังงานสู งกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ เพิ่มมากขึ้น
2) โมเลกุลที่มีพลังงานสู งกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ชนกันมากขึ้น
3) โมเลกุลส่ วนใหญ่มีพลังงานจลน์สูงขึ้นและมีการชนกันมากขึ้น
4) โมเลกุลทั้งหมดของสารตั้งต้นมีพลังงานสู งกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ และชนกันมากขึ้นอย่างถูกทิศทาง
22 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

10. เมื่อนาก๊าซ N2O5 ไปละลายในตัวทาละลายชนิดหนึ่ง N2O5 จะสลายตัวดังสมการ


2N2O5(g) → 4NO2(g) + O2(g)
ถ้ า NO2 ละลายได้ ในตัวทาละลายอินทรีย์ชนิดหนึ่ง แต่ O2 ไม่ ละลาย เราจะวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ิยานี้ ไม่ ได้
ด้ วยวิธีใด
1) การวัดปริ มาตรของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น
2) การวัดความดันของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น
3) การวัดการนาไฟฟ้ าของสารละลาย
4) การวัดมวลของสารละลาย

11. การทีอ่ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเพิม่ ขึน้ เมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึน้ นั้นเป็ นเพราะเหตุใด


1) โมเลกุลชนกันบ่อยครั้งขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
2) โมเลกุลชนกันแรงขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
3) โมเลกุลที่มีพลังงานสู งพอที่จะเกิดปฏิกิริยา มีจานวนมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
4) พันธะโมเลกุลของสารตั้งต้นจะถูกทาลายได้งายเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

12. ตัวเร่ งปฏิกริ ิยาทีเ่ ป็ นของแข็ง สามารถเพิม่ อัตราเร็วของปฏิกริ ิยาระหว่างก๊าซได้ ดังนี้


1. ดูดซับโมเลกุลของสารตั้งต้ นไว้ บนผิว
2. ทาให้ พลังงานพันธะในโมเลกุลของสารตั้งต้ นมีค่าลดลง
3. ทาให้ พลังงานก่อกัมมันต์ ของปฎิกริ ิยามีค่าลดลง
4. ทาให้ โมเลกุลของสารตั้งต้ นมีพลังงานเฉลีย่ สู งขึน้
ข้ อความข้ างต้ นนีข้ ้ อความใดถูกต้ อง
1) 1, 2 และ 3 เท่านั้น 2) 1 และ 3 เท่านั้น
3) 2 และ 4 เท่านั้น 4) 4 เท่านั้น

13. กลไกของปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน จาก V3+ ไปเป็ น V4+ มี 2 ขั้นตอนดังนี้


V3+ + Cu2+ → V4+ + Cu+
Cu+ + Fe3+ → Cu2+ + Fe2+
ตัวเร่ งปฏิกริ ิยาของปฏิกิริยาคือตัวใด
1) V4+ 2) Cu2+
3) Fe3+ 4) Fe2+
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 23

14. เมื่อใส่ 1 M HCI 25 cm3 ลงในหินปูนชิ้นเล็กๆ จะมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เกิดขึน้ การเปลีย่ นแปลงในข้ อใด
ทีจ่ ะไม่ ทาให้ อตั ราของปฏิกริ ิยาเริ่มต้ นเพิม่ ขึน้
1) ใช้ 1 M HCI 100 cm3 2) ใช้ 2 M HCI 25 cm3
3) ใช้ 2 M HCI 5o cm3 4) บดหินปูนให้เป็ นผงละเอียด

15. ในปฏิกริ ิยา Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g)


พบว่ า เมื่อปฏิกริ ิยาใกล้ จะสิ้นสุ ดนั้น อัตราการเกิดก๊ าซไฮโดรเจนจะลดลง ทั้งนีเ้ พราะเหตุใด
1) ผลิตภัณฑ์รวมตัวกันกลับไปเป็ นสารตั้งต้นมากขึ้น
2) ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง
3) อุณหภูมิของสารผสมจะลดลงเนื่องจากพลังงารถูกใช้ไป
4) ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทาหน้าที่เป็ นตัวขัดขวางปฏิกิริยา

16. ปฏิกริ ิยาเติมก๊าซไฮโดรเจนแก่สารอินทรีย์แทบจะไม่ เกิดขึน้ เลยถ้ าไม่ เติมผง


นิกเกิลลงในปฏิกริ ิยาและเมื่อสิ้นสุ ดปฏิกริ ิยาแล้ วจะได้ นิกเกิลเหมือนเดิม ผงนิกเกิลมีผลต่ อปฏิกริ ิยาอย่ างไร
1) เพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่โมเลกุลของสารเริ่ มต้น
2) ลดพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา
3) เพิม่ ความสามารถในการผสมเป็ นเนื้ อเดียวกันของสารที่เข้าทาปฏิกิริยา
4) ลดความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานของสารเริ่ มต้นและผลิตภัณฑ์

17. ปฏิกริ ิยาใดต่ อไปนีท้ อี่ ตั ราการเกิดไม่ ขนึ้ กับความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น
1) ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนี เซี ยมกับกรดไฮโดรคลอริ ก
2) ปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับโพแทสเซี ยมเปอร์ แมงกาเนต
3) ปฏิกิริยาการกาจัดแอลกอฮอล์ในเลือดของคน
4) ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไทโอซัลเฟตกับกรดไฮโดรคลอริ ก

18. คาตอบทีด่ ีทสี่ ุ ดสาหรับอธิบายว่ าเมื่ออุณหภูมิของระบบสู งขึน้ เล็กน้ อย อัตราของการเกิดปฏิกริ ิยามักเพิม่ ขึน้
อย่างรวดเร็วคือข้ อใด
1) จานวนครั้งของการชนกันเพิ่มขึ้น
2) พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
3) สัดส่ วนของโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าหรื อเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์มากขึ้น
4) พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
24 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

19. หน้ าที่ของตัวเร่ งปฏิกริ ิยาคือข้ อใด


1) ลดความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
2) เพิ่มพลังงานให้กบั โมเลกุลของระบบ
3) ลดพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา
4) ช่วยเพิ่มจานวนครั้งของการชนกันของโมเลกุลของสารตั้งต้น

20. ปัจจัยทีส่ าคัญที่เป็ นตัวกาหนดว่าทาไมธรรมชาติของสารตั้นต้ นจึงมีอทิ ธิพลต่ อ


อัตราของปฏิกิริยาเคมี คือ
1) ความแตกต่างของขนาดโมเลกุล
2) ความแตกต่างของมวลโมเลกุลg
3) ความแตกต่างของพันธะที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยา
4) ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์

21. นักศึกษาทาการทดลองเกีย่ วกับการเกิดปฏิกริ ิยาสลายตัวของสาร X (สี เขียว) และสาร Y (สี เหลือง) ดังนี้
การทดลอง ผล
ก. ผลึก X ตั้งทิง้ ไว้ในทีส่ ว่าง สี เหลืองเกิดทีผ่ วิ ภายใน 5 นาที
ข. ผลึก X ตั้งทิง้ ไว้ในทีม่ ืด สี เขียว
ค. สารละลายของ X ตั้งทิง้ ไว้ในทีม่ ืด สี เขียว
ง. สารละลายของ X ตั้งทิง้ ไว้ในทีม่ ืด สี เขียว
จ. สารละลายของ X ตั้งทิง้ ไว้ ในที่ สี เหลืองอมเขียวภายใน 5 นาที และ
สว่าง ค่ อยๆเปลีย่ นเป็ นสี เหลือง
ข้ อใดไม่ สามารถสรุ ปได้ จากการทดลองข้ างต้ น
1) สาร X ไม่เหมาะที่จะใช้ทาสี ทาบ้าน
2) อัตราการสลายตัวไม่ข้ ึนกับอุณหภูมิ
3) อัตราการสลายตัวของ X ขึ้นกับความเข้มข้น
4) การสลายตัวของ X เกิดขึ้นได้ทุกสภาพถ้ามีแสง
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 25

22. X(s) + Y(aq) → Z(g) เป็ นปฏิกริ ิยาดูดความร้ อนอัตราเร็วของปฏิกิริยานี้เพิม่ ขึน้ เมื่อ
1. เพิม่ อุณหภูมิเพราะจานวนโมเลกุลทีมีพลังงานจลน์ สูงเพิม่ มากขึน้
2. เติมตัวเร่ งปฏิกริ ิยาเพราะทาให้ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ เพิม่ ขึน้
3. เพิม่ อุณหภูมิเพราะทาให้ สารตั้งต้ นขยายตัวมีพนื้ ที่ผวิ เพิม่ ขึน้
4. บด X ให้ มีขนาดเล็กลงหรือเป็ นผง และเพิม่ ปริมาณ Y
ข้ อใดถูกต้ อง
1) 1 และ 2 2) 2 และ 3
3) 3 และ 4 4) 1 และ 4

23. ปฏิกริ ิยา A+B → P เกิดช้ าแต่ สมบูรณ์ และเป็ นปฏิกริ ิ ยาคายความร้ อน พบว่ าอัตราของปฏิกริ ิยาขึน้ กับ
ปริมาณของสารตั้งต้ น A แต่ ไม่ เกิดขึน้ กับปริมาณของสารตั้งต้ น B การกระทาทั้งหมดในข้ อใด ต่ อไปนีม้ ีผล
ทาให้ ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึน้
1) ลดอุณหภูมิ เพิม่ สาร A
2) ลดอุณหภูมิ เอาสาร P ออก
3) เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เพิ่มสาร B
4) ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เอาสาร P ออก

24. พิจารณาข้ อสรุ ปจากปฏิกิริยาต่ อไปนี้


2A(g) + B(s) → C(g) + D(g)
1. ปฏิกริ ิยานีไ้ ม่ สามารถติดตามการเปลีย่ นแปลงโดยการวัดความดัน
2. ถ้ า B ทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่ ง ปริมาณของ C และ D ทีเ่ กิดขึน้ กับขนาดของอนุภาค B
3. ถ้ าพลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกริ ิยานีเ้ ท่ากับ 30 kJ/mol แสดงว่ าปฏิกริ ิยานีด้ ูดความร้ อน 30 kJ/mol
4. ถ้ ากาหนดความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของ A และอัตราเริ่มต้ นของปฏิกริ ิยาให้ จะไม่ สามารถคานาณหาเวลาที่
A เกิดปฏิกริ ิยาจนหมดได้ เพราะข้ อมูลไม่ พอ
ข้ อสรุ ปใดถูกต้ อง
1) 1 และ 2 2) 3 และ 4
3) 1 และ 4 4) 2 และ 3
26 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

25. เมื่อนาก๊ าซไฮโดรเจนและก๊ าซออกซิเจนมาผสมกันในภาชนะทีอ่ ุณหภูมิห้อง ระบบที่ 1) พบว่าไม่ มีปฏิกริ ิยา


เกิดขึน้ แต่ ถ้ามีประกายไฟเกิดขึน้ ภายในภาชนะทีม่ ีก๊าซทั้งสองผสมอยู่ (ระบบที่ 2) จะเกิดปฏิกริ ิยาอย่าง
รวดเร็วและรุ นแรงมาก พิจารณาข้ อความต่ อไปนี้
1. พลังงานก่อกัมมันต์ ของทั้งสองระบบมีค่าเท่ากัน
2. ปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซออกซิเจนเป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน
3. ปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดขึน้ ระหว่ างก๊ าซไฮโดรเจนและก๊ าซออกซิเจนเป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
4. จานวนโมเลกุลทีม่ ีพลังงานมากกว่ าพลังงานก่ อกัมมันต์ ของทั้งสองระบบมีค่าไม่ ต่างกัน
ข้ อสรุ ปใดถูกต้ อง
1) 1 และ 2 2) 1 และ 3
4) 3 และ 4 4) 2 และ 4
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 27

ชุดที่ 2
1. ปฏิกริ ิยา A(s) + B(aq) → C(aq) + D(g) เป็ นปฏิกริ ิยาคายความร้ อน อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิม่ ขึน้ เมื่อใด
1) ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
2) ลดปริ มาณของ D เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
3) เพิ่มขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
4) ลดขนาดของ A เติมตัวเร่ งปฏิกิริยา เพิม่ อุณหภูมิ

2. ปฏิกริ ิยา A(aq) + B(aq) → C(aq) + D(aq) เป็ นปฏิกิริยาคายความร้ อน ข้ อใดผิด


1) ถ้าลดอุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง
2) ถ้าเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิม่ ขึ้น
3) ถ้าเติม A อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
4) ถ้าเติม C อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง

3. โดยทัว่ ไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเพิม่ ขึน้ ประมาณสองเท่ า เมื่อเพิม่ อุณหภูมิ 10๐C ในการทดลองหนึ่ง


สารตัวอย่างของโพแทสเซียมคลอเรต สลายตัว 90% โดยมวลในเวลา 20 นาที ถ้ าเพิม่ อุณหภูมิขนึ้ 20๐C สาร
ตัวอย่างดังกล่าวจะใช้ เวลาในการสลายตัวกีน่ าที
1) 2.5 2) 5
3) 10 4) 15

4. ในการทดลองวัดปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนทีเ่ กิดจากปฏิกริ ิยาระหว่างโลหะ


อะลูมิเนียมกับสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ โดยจับเวลาที่เก็บก๊ าซได้ ทุกๆ 1 cm3 นาข้ อมูลมาเขียนกราฟ
แสดงความสั มพันธ์ ระหว่างปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนกับเวลาแล้วหาค่ าความชั นของกราฟ ณ เวลา 50, 100,
150, 200 และ 300 วินาที ถ้ าผลการทดลองถูกต้ อง ความชั นของกราฟ ณ เวลาใดสู งทีส่ ุ ด
1) 50 วินาที 2) 150 วินาที
3) 200 วินาที 4) 300 วินาที
28 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

คาชี้แจง ใช้ ข้อมูลในตารางบันทึกผลจากปฏิกิริยาระหว่าง A กับ B ประกอบการตอบคาถามข้ อ 5-8


ความเข้มข้นของ ความเข้มข้นของ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่ สาร A สาร B (โมลต่อลิตรต่อ
(โมลต่อลิตร) (โมลต่อลิตร) วินาที)
-5
1 1.2 x 10 4.2 x 10-5 6.2 x 10-4
2 2.4 x 10-5 8.4 x 10-5 2.48 x 10-3
3 4.8 x 10-5 8.4 x 10-5 4.96 x 10-3
4 4.8 x 10-5 4.2 x 10-5 2.48 x 10-3
5. การแปลความหมายข้ อมูลในตาราง ข้ อใดผิด
1) จากการทดลองครั้งที่ 1, 2 เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของทั้ง A และ B อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้น
ของทั้ง A และ B
2) จากการทดลองครั้งที่ 2, 3 เมื่อให้ความเข้มข้นของ B คงที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของ A
3) จากการทดลองครั้งที่ 1, 3 เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของทั้ง A และ B อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้น
ของทั้ง A และ B
4) จากการทดลองครั้งที่ 3, 4 เมื่อให้ความเข้มข้นของ A คงที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของ B
6. ถ้ า V = อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา, k = ค่ าคงที่
(A) = ความเข้ มข้ นของสาร A , (B) = ความเข้ มข้ นของสาร B
การแปลความหมายข้ อมูลข้ อใดผิด
1) จากการทดลองครั้งที่ 1, 2 V = k(A)(B)
2) จากการทดลองครั้งที่ 1, 3 V = k(A)(B)
3) จากการทดลองครั้งที่ 2, 3 V = k(A)
4) จากการทดลองครั้งที่ 3, 4 V = k(A)
7. เราอาจหาความสั มพันธ์ V = k(A)(B) ได้ โดยตัดการทดลองออกทางหนึ่งการทดลอง ข้ อพิจารณาใดถูก
1) ถ้าตัดการทดลองที่ 1 ออก ผลที่เหลือจะไม่ชดั เจนเท่ากับตัดการทดลองอื่น
2) ถ้าตัดการทดลองที่ 2 ออก จะได้ผลเท่ากับตัดการทดลองที่ 3
3) ถ้าตัดการทดลองที่ 3 ออก จะได้ผลเท่ากับตัดการทดลองที่ 4
4) ตัดการทดลองใดออกก็ได้ จะได้ผลเท่ากัน
8. ค่ า k ของการทดลองนีเ้ ท่ากับ
1) 1.23 x 106 2) 1.03 x 102
3) 0.96 x 10-3 4) 0.71 x 10-7
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 29

คาชี้แจง ข้ อมูลต่ อไปนีใ้ ช้ ประกอบการ 9-10


ปฏิกริ ิยา A + B → C มีผลการทดลองดังนี้
ความเข้ มข้ น
อัตราความเร็วของปฏิกริ ิยา
การทดลองที่ (โมลต่ อลิตร)
(โมลต่ อลิตรต่ อวินาที)
A B
1 0.010 0.010 2.0
2 0.010 0.020 4.0
3 0.030 0.020 12.0
9. ถ้ ากาหนดให้ r = อัตราความเร็วของปฏิกริ ิยา
K = ค่ าคงที่
(A) = ความเข้ มข้ นของ A และ (B) = ความเข้ มข้ นของ B
อัตราความเร็วของปฏิกริ ิยานี้ เขียนได้ เป็ น
1) r = k(A) 2) r = k(B)
3) r = k(A)(B)2 4) r = k(A)(B)

10. ค่ าคงที่ k ของปฏิกิริยาเป็ นเท่ าใด (ค่ าคงทีใ่ นหน่ วยลิตรต่ อโมลต่ อวินาที)
1) 2.0 x 106 2) 2.0 x 104
3) 2.0 x 102 4) 20

11. จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา โดยการจับเวลาตั้งแต่ เริ่มต้ นจนปฏิกิริยาสิ้ นสุ ดทีอ่ ุณหภูมิต่างๆกัน


พบว่าได้ ผลดังนี้
อุณหภูมิ (๐C) เวลาทีใ่ ช้ (วินาที)
16 400
40 50
56 12.5
อัตราความเร็วของปฏิกริ ิยาจะเพิม่ เป็ น 2 เท่ าเมื่อเพิม่ อุณหภูมิขนึ้ เท่ าไหร่
1) 8 ๐C 2) 10 ๐C
3) 12 ๐C 4) 16 ๐C
30 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

12. ในการศึกษาปฏิกิริยาระหว่ างเฮโมโกลบิน (Hb) กับคาร์ บอนมอนออกไซด์ (CO) ที่ 20 ๐ C , pH 7.3 มีสมการ
ดังนี้ 4Hb + 3CO → Hb4 (CO)3 ได้ ผลการทดลองดังนี้
ความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น
อัตราการหายไปของ Hb
(mol / dm3)
(mol / dm3 – sec)
(Hb) (CO)
3.00 1.00 0.90
6.00 1.00 1.80
6.00 2.00 3.60
ในขณะทีค่ วามเข้ มข้ นของ Hb เป็ น 3.0 mol/dm3 และของ CO เป็ น 2.00 mol/dm3 อัตราการหายไปของHb
เป็ นกี่ mol/dm3
1) 0.90 2) 1.80 3) 2.70 4) 3.60
13. เมื่อใส่ โลหะ X ลงในกรดไฮโดรคลอริค จะเกิดปฏิกริ ิยาให้ ก๊าซไฮโดรเจน ในการทดลองทีอ่ ุณหภูมิต่างๆกันโดย
จับเวลาทีใ่ ช้ ไปเมื่อได้ ก๊าซไฮโดรเจน 5 cm3 ได้ ข้อมูลดังนี้ ถ้ าทาการทดลองที่ 20๐C จะต้องใช้ เวลาเท่าใด
อุณหภูมิ (๐C) เวลา (วินาที)
30 100
40 50
50 25
1) 150 วินาที 2) 200 วินาที
3) 250 วินาที 4) 300 วินาที
14. ถ้ าการสลายตัวของสาร A ไปเป็ นสาร P เกิดโดยมีข้นั ตอนเดียว และจัดเป็ นกระบวนการขั้นพืน้ ฐานอย่างง่ าย
A → P และความเข้ มข้ นของ A ขณะปฏิกริ ิยาดาเนินไปเป็ นดังนี้
เวลา , s (A) , mol / dm3
0 1.00
50 0.61
100 0.37
150 0.22
อัตราของปฏิกิริยาทีว่ ินาที่ที่ 100 เป็ นเท่าใด
1) 0.0048 mol/dm3 2) 0.0030 mol/dm3
3) มากกว่า 0.0030 แต่นอ้ ยกว่า 0.0048 mol/dm3
4) เท่ากับอัตราเริ่ มต้นของปฏิกิริยาคือ 0.0078 mol / dm3
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 31

15. ตารางต่ อไปนี้ แสดงผลการทดลองของปฏิกริ ิยาระหว่าง


A + B → ผลิตภัณฑ์ ทีอ่ ุณหภูมิ 25 ๐C
อัตราเฉลีย่ การเกิด
ความเข้ มข้ น A ความเข้ มข้ น B
ผลิตภัณฑ์
Mol/l Mol/l
Mol/l.s
0.001 0.001 1.000
0.002 0.001 2.000
0.003 0.001 3.000
0.004 0.001 4.000
สรุ ปผลการทดลองในข้ อใดที่เป็ นไปตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะขึ้นกับความเข้มข้นของ A
2) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะไม่ข้ ึนกับความเข้มข้นของ B เลย
3) ถ้าจะหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์กบั ความเข้มข้น
ของ B จะต้องทาการทดลองอีกชุดหนึ่ง โดยให้ความเข้มข้นของ A คงที่
แต่เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ B
4) ความเข้มข้นของ B จะลดลงหากไม่มีการปรับให้เข้ากับ 100

16. ในการทดลองเพือ่ หาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา A + B → C ได้ ข้อมูลดังนี้


(A) (B) อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่
(mol / dm3) (mol / dm3) (mol / dm3.min)
1 1.0 1.0 0.15
2 2.0 1.0 0.30
3 3.0 1.0 0.45
4 1.0 2.0 0.15
5 1.0 3.0 ?
ข้ อความต่ อไปนีข้ ้ อใดผิด
1) ในการทดลองที่ 5 อัตราการเกิดปฏิกิริยา = 0.15 mol / dm3.min
2) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับ (B)
3) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับ (A)
4) ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยา = k(A) จะได้ k = 0.15 min-1
32 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

17. สารตั้งต้ น A สลายตัวให้ ผลิคภัณฑ์ P วัดความเข้ มข้ นของ A ทีเ่ วลาต่ างๆได้ ผลดังแสดง
เวลา (s) (A) (mol/dm3)
0 2.0
100 1.0
200 0.5
300 0.25
ถ้ าเริ่มต้ นจาก A 3.0 mol / dm3 ให้ สลายไปจนเหลือ 1.5 mol / dm3 จะใช้ เวลานานกีว่ นิ าที
1) 50 2) 100 3) 150 4) 200

18. ในการทดลองเพือ่ หาผลของความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ นต่ ออัตราการ


เกิดปฏิกริ ิยาเคมี A + 2B → C ได้ ผลตามตารางต่ อไปนี้
ปริมาตร ปริมาตร
นา้ กลัน่ เวลาทีใ่ ช้ ในการ
ครั้งที่ สารละลาย A สารละลาย B
3 3 Cm3 เกิดปฏิกริ ิยา (s)
0.1 mol/dm 0.2 mol/dm
1 10.00 10.00 10.00 16
2 15.00 10.00 5.00 16
3 15.00 5.00 10.00 8
ข้ อใดน่ าจะเป็ นข้ อสรุ ปทีด่ ีที่สุดเกีย่ วกับความเข้ มข้ นเบือ้ งต้ น
1) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะขึ้นกับความเข้มข้นของ A และ B
2) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะขึ้นกับความเข้มข้นของ A
3) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะขึ้นกับความเข้มข้นของ B
4) อัตราการเกิดของผลิตภัณฑ์จะขึ้นกับความเข้มข้นของ B แต่ไม่ข้ ึนกับ A

19. ถ้ าให้ สาร A ทาปฏิกิริยากับสาร B โดยมีสาร C เป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยาทีอ่ ุณหภูมิหนึ่ง พบว่ าเลขอันดับของ
ปฏิกริ ิยามีค่าเท่ากับ 0, 2 และ 0 เมื่อเทียบกับสาร A, B และ C ตามลาดับ จงหาว่าสมการแสดงกฎอัตราของ
ปฏิกริ ิยานี้ ตรงตามข้ อใดมากทีส่ ุ ด
1) อัตราเร็ ว = k (A)(B)2 2) อัตราเร็ ว = k (B)2
3) อัตราเร็ ว = k (A)(B) 4) อัตราเร็ ว = k (A)(B)2(C)
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 33

20. ปฏิกริ ิยาย้อนกลับของ X → Y มีพลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ า 100 kJ/mol มีพลังงานก่อกัม
มันต์ ของปฏิกริ ิยาย้อนกลับ 75 kJ/mol ปฏิกริ ิยา X → Y นีเ้ ป็ นปฏิกิริยาชนิดใด
1) คายความร้อน 25 kJ / mol 2) คายความร้อน 175 kJ / mol
3) ดูดความร้อน 25 kJ / mol 4) ดูดความร้อน 175 kJ / mol

21. ข้ อความต่ อไปนี้ ข้ อใดผิด


1) ปฏิกิริยาเคมีที่มีพลังงานก่อกัมมันต์สูง จะเกิดปฏิกิริยาเร็ วกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่า
2) การเพิ่มอุณหภูมิให้แก่สารที่เข้าทาปฏิกิริยากันโดยมากมักจะทาให้อตั ราการเกิดเร็ วขึ้น
3) การเพิม่ ความเข้มข้นของสารตั้งต้น จะทาให้อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเร็ วขึ้น
4) ปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ พลังงานก่อกัมมันต์จะเปลี่ยนไปได้ในกรณี ที่เติมตัวเร่ งปฏิกิริยา

22. เมื่อนาสารละลายแอมโมเนียมาใส่ ขวดรู ปชมพู่ เขย่ าเล็กน้ อย แล้ วนาขวดแพลทินัมทีอ่ ่ ุนเล็กน้ อยหย่ อนลงไป
ในขวดเหนือระดับของเหลว พบว่ าลวดแพลทินัมร้ อนแดงขึน้ ข้ อสรุ ปผลการทดลองนี้ข้อใดถูกต้ อง
ก. แอมโมเนียถูกออกซิไดส์ โดยออกซิเจนในอากาศ
ข. ปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดขึน้ เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้ อน
ค. ปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดขึน้ ป็ นปฏิกิริยาคายความร้ อน
ง. ลวดแพลทินัมเป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยา
1) ก และ ง 2) ก ค และ ง
3) ก และ ข 4) ก ข และ ง

23. ปัจจัยใดต่ อไปนี้ มีผลทาให้ อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาลดลง


ก. การเพิม่ ปริมาณสารตั้งต้ น ข. การลดอุณหภูมิและความดัน
ค. การเติมเอนไซม์ ง. การใช้ สารทีเ่ ป็ นก้อนแทนเป็ นผง
1) ก และ ข 2) ก และ ง
3) ค และ ง 4) ข และ ง

24. ใส่ กรดไนตริกเจือจางลงบนชิ้นแคลเซียมคาร์ บอเนตในขวดรู ปชมพู่แล้ ว


นาขวดนีไ้ ปนีไ้ ปชั่งทันที ทาการบันทึกมวลทุกๆ 10 วินาที แล้วนาค่ าทีไ่ ด้ C
B
ไปเขียนกราฟ จะได้ กราฟดังรู ปใด (แกน y คือ มวล แกน x คือเวลา)
A D
1) A 2) B
3) C 4) D
34 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 3
1. จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาระหว่าง Zn(s) กับ HCl(aq) ตามสมการ
Zn(s) + 2HCl(aq)  ZnCl2(aq) + H2(g) ได้ ผลดังนี้
เวลา (s) 20 30 50 70
ปริมาตร H2(cm3) 1 2 3 4
เพราะเหตุใดก๊ าซกับก๊ าซจึงทาปฏิกริ ิยาได้ เร็วกว่ าก๊ าซทาปฏิกริ ิยากับของแข็ง
1) เพราะอนุภาคเคลื่อนที่ได้สะดวกโอกาสชนกันจึงเกิดขึ้นมาก
2) เพราะพื้นที่ผิวของก๊าซทั้งสองสัมผัสกันมาก
3) เพราะอนุภาคต่างๆ ของก๊าซทั้งสองอยูช่ ิดกันโอกาสรวมตัวกันจึงสะดวก
4) พันธะภายในโมเลกุลของก๊าซไม่แข็งแรงจึงสลายพันธะได้ง่าย

2. เหตุทเี่ กลือผงละลายได้ เร็วกว่ าเกลือเม็ด เพราะข้ อใด


1) เกลือผงมีพลังงานกระตุน้ ต่ากว่าเกลือเม็ด
2) เกลือผงมีไอออนอิสระพร้อมที่จะรวมตัวกับน้ า
3) เกลือผงมีพลังงานโครงผลึกเล็กน้อยกว่าเกลือเม็ด
4) เกลือผงมีพ้นื ที่ผวิ มากกว่าเกลือเม็ด

3. จากปฏิกิริยา CaCO3(s) + 2HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g) เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของระบบ พลังงาน


ก่อกัมมันต์ จะเปลีย่ นแปลงอย่างไร
1) เพิ่มขึ้น
2) คงที่
3) ลดลง
4) ต้องทราบว่าปฏิกิริยาดูดหรื อคายพลังงานจึงจะพิจารณาได้

4. ปัจจัยทีส่ าคัญทีเ่ ป็ นตัวกาหนดว่าทาไมธรรมชาติของสารตั้นต้ นจึงมีอทิ ธิพลต่ อ


อัตราของปฏิกริ ิยาเคมี คือ
1) ความแตกต่างของขนาดโมเลกุล
2) ความแตกต่างของมวลโมเลกุล
3) ความแตกต่างของพันธะที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยา
4) ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 35

5. ณ เวลาต่ าง ๆ เมื่อปล่ อยให้ ปฏิกิริยาเกิดตามปกติ และเมื่อทาการทดลองใหม่ โดยการเดินสาร X สาร Y สาร Z


เข้ าไป พบว่ าหลังการทดลอง ปริมาณของ X Y และ Z ไม่ เปลี่ยนแปลง เมื่อนาผลการทดลองที่ได้ มาเขียน
กราฟเปรียบเทียบกันจะได้ ดังนี้

ผู้ทดลองสรุ ปผลได้ ว่า


1. เมื่อเติมสาร X สาร Y และสาร Z เข้ าไปแล้ ว อุณหภูมิเมื่อเติม Z > เมื่อเติม Y > เมื่อเติม Z
2. X, Y และ Z เป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยา
3. ประสิ ทธิภาพการเป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยาของ Z > Y > X
ข้ อสรุ ปใดถูก
1) 1 และ 2 2) 2 และ 3
3) 1 และ 3 4) 1 2 และ 3

6. กราฟการกระจายพลังงานจลน์ ของโมเลกุลก๊ าซทีอ่ ุณหภูมิ T1 T2 และ T3


(T1 < T2 < T3) แสดงได้ ดังกราฟ ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง
1) ที่อุณหภูมิ T1 เกิดปฏิกิริยาเร็ วที่สุด
2) ที่อุณหภูมิ T2 เกิดปฏิกิริยาเร็ วที่สุด
3) ที่อุณหภูมิ T3 เกิดปฏิกิริยาเร็ วที่สุด
4) ที่อุณหภูมิ T1 มีจานวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงกว่า
พลังงานก่อกัมมันต์ มากกว่าที่อุณหภูมิ T2

7. จากปฏิกริ ิยาทีก่ าหนดให้ ต่อไปนี้


5C2O42-(aq) + 2MnO4-(aq) + 16H+(aq) → 10CO2(g) + 2Mn2+(aq) + 8H2O(l)
ถ้ าต้ องการวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา ควรใช้ วธิ ีใดจึงจะเหมาะสมทีส่ ุ ด
1) วัดปริ มาตรของก๊าซ CO2ที่เกิดขึ้น 2) วัดมวลของน้ าที่เกิดขึ้น
3) วัดความเข้มข้นของ C2O42- ที่ลดลง 4) วัดสี ของ MnO4-ที่จางลง
36 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

8. จากปฏิกิริยา 2A → 3B ถ้ าความเข้ มข้ นของ A ลดลง จาก 0.568 m เป็ น 0.552 m ในฃ่ วงเวลา 2.50 นาที จง
คานวณหาอัตราการเกิดสาร B
1) 1.60 x 10-4M/วินาที 2) 1.07 x 10-4M/วินาที
3) 7.11 X 10-5M/วินาที 4) 3.55 x 10-5M/วินาที

9. สาร X ทาปฏิกริ ิยากับสาร Y ได้ สาร Z จากการทดลองพบว่ามีอตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเท่ ากับ 1/3 เท่ า ของอัตรา
การลดลงของสาร X หรือมีค่าเท่ ากับ 2 เท่ าของอัตราการลดลงของสาร Y หรือมีค่าเท่ ากับ ½ เท่ าของอัตรา
การเกิด Z สมการทีแ่ ทนการเกิดปฏิกริ ิยาคือข้ อใด
1) 3x + 2Y  Z 2) 6X + Y  4Z
3) 3X + 2Y  3Z 4) 1/3 X + 2Y  ½ Z

10. ในการศึกษาอัตราของปฏิกริ ิยา 2A + 3B → ได้ ข้อมูลดังตาราง


ข้ อใดถูก
1) อัตราการเกิดสาร C > อัตราการสลายตัวของสาร A >
อัตราการสลายตัวของสาร B
2) x1 = 15, x2 = 13, x3 = 12
3) อัตราการสลายตัวของ A ในช่วงเวลา 0 – 2 นาที มีค่าเป็ น
3 เท่าของอัตราการเกิด C ในช่วงเวลา 2 – 4 นาที
4) y1 = 3, y2 = 5, y3 = 6

11. แก๊ ส N2O5 สลายตัว ดังสมการ 2N2O5 → 4NO2 + O2 ถ้ าอัตราการสลาย N2O5 มีค่าคงที่เท่ ากับ 1.8x10-5 โมล
ต่ อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ข้ อสรุ ปใดถูก
1) เกิด NO2 = 9.0x10-5 mol
2) เกิด NO2 = 4.5x10-5 mol
3) เกิด O2 = 18x10-5 mol
4) เกิด O2 = 4.5x10-5 mol

12. ณ อุณหภูมิหนึ่ง A สลายตัวให้ B ร้ อยละ 90 โดยน้าหนัก ใช้ เวลา 40 นาที เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึน้ 10OC อัตรา
การสลายตัวจะเพิม่ ขึน้ 2 เท่า ถ้ าต้ องการให้ A สลายตัวได้ ร้อยละ 90 โดยนา้ หนักในเวลาเพียง 10 นาที จะต้ อง
เพิม่ อุณหภูมิขนึ้ กีอ่ งศาเซลเซียส
1) 10 2) 20
3) 30 4) 40
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 37

13. เมื่อศึกษาปฏิกิริยาระหว่ างลวดแมกนีเซี ยมกับกรดไฮโดรคลอริก จะได้ ก๊าซไฮโดรเจนตามสมการ Mg(s) +


2HCl(aq) → MgCl2 (aq) + H2 (g) เก็บก๊าซไฮโดรเจนและจับเวลาได้ ดังตาราง
ปริมาณของก๊าซ H2 (cm3) เวลา (s)
1 12
2 13
3 40
4 60
5 89
การแปลความหมายข้ อมูลในตารางข้ อใดไม่ ถูกต้ อง
1) ณ วินาทีที่ 40 อัตราการเกิดก๊าซ H2 = 3/40 cm3/s
2) อัตราเร็ วเฉลี่ยของการเกิดก๊าซ H2 = ในการทดลอง = 5/89 cm3/s
3) เวลาที่ใช้ในการเก็บก๊าซ H2 ทุกๆ 1 cm3 จะมากขึ้น
4) อัตราการเกิดก๊าซ H2 จะช้าลงๆ

14. เมื่อนาก๊ าซไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทาปฏิกิริยากับก๊ าซคลอรีน Cl2 ทาให้ ได้ ก๊าซไนโตรซิลคลอไรด์
(NOCl) ถ้ าความเข้ มข้ นของก๊าซไนโตรซิลคลอไรต์ เพิ่มขึน้ ด้ วยอัตรา 0.030 mol/dm3.s อัตราการหายไปของ
ก๊าซคลอรีน ณ ช่ วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าไร
1) 0.015 2) 0.030
3) 0.060 4) 0.010

15. จากการศึกษาเกีย่ วกับอัตราเร็วของปฏิกริ ิยา 2N2O5(g)  4NO2(g) + O2(g) ได้ ผลการทดลอง 2 ช่ วงดังนี้
ช่ วงที่ เวลา (s) ความเข้ มข้ นของ O2 (mol/l)
600 0.0021
1
1,200 0.0036
4,200 0.0072
2
4,800 0.0075
จงพิจารณาว่ าข้ อใดถูกต้ องที่สุด
1) อัตราเร็ วช่วงแรกมีค่าเท่ากับช่วงที่สอง
2) อัตราเร็ วช่วงที่สองมีค่าสู งกว่าช่วงแรก
3) อัตราเร็ วช่วงแรกมีค่าเป็ น 5 เท่าของช่วงที่สอง
4) อัตราเร็ วช่วงที่สองมีค่าเป็ น 2 เท่าของช่วงแรก
38 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

16. จากปฏิกริ ิยา A → 2C เมื่อทาการทดลองได้ ผลดังนี้ข้อใดผิด


เวลา (min) [A] (10-2mol/dm3)
10 1.94
50 1.71
120 1.38
170 1.18
200 1.08
1) สาร A สลายตัวไปครึ่ งหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 224 นาที
2) ความเข้มข้นเริ่ มต้นของสาร A ประมาณ 0.02 mol/dm3
3) อัตราการสลายตัวของสาร A เฉลี่ยประมาณ 4.53 x 10-5 mol/dm3.min
4) ความเข้มข้นของสาร A แปรผันโดยตรงกับเวลา

17. ใช้ ข้อมูลในตารางต่ อไปนีต้ อบคาถาม ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง ปฏิกิริยา Ea (kJ) E (kJ)
1) ปฏิกิริยา B เกิดเร็ วที่สุดเพราะคายความร้อน = 40 kJ A 70 +30
2) ปฏิกิริยา A มีค่า Ea ของปฏิกิริยาย้อนกลับ = 100 kJ
B 90 -40
3) ปฏิกิริยา C เกิดช้าที่สุดเพราะดูดความร้อน = 20 kJ
C 110 +20
4) ปฏิกิริยา D มีค่า Ea ของปฏิกิริยาย้อนกลับ 65 kJ
D 50 -15
18. ในปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน A → P ผลต่ างๆ ระหว่างพลังงานของสาร A และสาร P (E) เท่ ากับ 48 kJ/mol และ
มีพลังงานก่อกัมมันต์ (Ea) = 120 kJ/mol ข้ อใด ผิด
1) เมื่อเติมตัวหน่วงปฏิกิริยาจะได้ Ea > 120 kJ/mol และปฏิกิริยาจะดูดความร้อนเท่าเดิม
2) เมื่อเติมตัวเร่ งปฏิกิริยาพลังงานของสาร A จะต่ากว่าของสาร P และมี Ea เท่าเดิม
3) เมื่อเพิม่ อุณหภูมิจะได้ Ea = 120 kJ/mol และมีจานวนอนุภาคที่มีพลังงาน > Ea มากขึ้น
4) เมื่อเติมตัวเร่ งปฏิกิริยาและลดปริ มาณสาร A ลงครึ่ งหนึ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น

19. พิจารณาสมดุลเคมีต่อไปนี้ A + 2B ↔ 3C+5D พลังงานของสารตั้งต้ น A และ B น้ อยกว่าพลังงานของ C และ


D อยู่ 250 kJ ถ้ าค่ าพลังงานก่ อกัมมันต์ ของปฏิกิริยาย้ อนกลับเท่ ากับ 510 kJ พลังงานก่ อกัมมันต์ ของ
ปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ ามีค่าเท่าใด และปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ ามีการเปลีย่ นแปลงพลังงานแบบใด
1) 260 kJ คายความร้อน 2) 260 kJ ดูดความร้อน
3) 760 kJ คายความร้อน 4) 760 kJ ดูดความร้อน
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 39

20. พิจารณากราฟของปฏิกริ ิยา A + B → C + D


พลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่าเท่าไร
1) a + b + c 2) b + c + d
3) a + b 4) b

21. จากข้ อ 20 พลังงานของปฏิกิริยาย้อนกลับเปลีย่ นแปลงอย่ างไร


1) ดูดความร้อนเท่ากับ d
2) ดูดความร้อนเท่ากับ c
3) คายความร้อนเท่ากับ d
4) คายความร้อนเท่ากับ a + b + c

22. ทาการทดลองวัดอัตราเร็วของการสลายตัวของสารตั้งต้ นในปฏิกริ ิยา R


R(s) → P(s) จานวน 2 การทดลอง (การทดลอง A และ B) โดยเริ่มต้ นจากความ
เข้ มข้ นของสาร R เท่ากันภายใต้ ความดันเดียวกัน ได้ ผลการทดลองดังทีแ่ สดงในกราฟ B A
การดาเนินไป
ข้ อความใดผิด
1) การทดลอง A เกิดขึ้นที่อุณหภูมิสูงกว่าการทดลอง B
2) พลังงานก่อกัมมันต์ของการทดลอง A สู งกว่าการทดลอง B
3) มีการเติมสารเร่ งปฏิกิริยาลงในการทดลอง B
4) มีการบดสารตั้งต้น R ในการทดลอง B
23. หลอดทดลอง A และ B มีสารละลายกรดออกซาลิก 0.5 mol/dm3 บรรจุอยู่หลอดละ 2 cm3 เติมสารละลายกรด
ซัลฟิ วริก 1.0 mol/dm3 ลงไปหลอดละ 1 cm3 แล้วเติมสารละลายโพแทสเซียมเปอร์ แมงกาเนต 0.05 mol/dm3
ลงไปหลอดละ 2 cm3 เขย่าหลอด A ทีอ่ ุณหภูมิ 40๐C และหลอด B ทีอ่ ุณหภูมิ 60๐C พบว่าภายในเวลา 1,800
วินาที สารละลายในหลอด A จะเปลีย่ นเป็ นไม่ มีสี และสี ของสารละลายในหลอด B จะหายไปภายในเวลาที่
เร็วกว่าหลอด A 1,200 วินาที จงหาว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาในหลอด B เป็ นกีเ่ ท่าของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
ในหลอด A
1) 3.0 2) 2.5
3) 1.5 4) 0.33
40 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

24. จากการศึกษาผลของอุณหภูมิทมี่ ีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาพบว่ า โดยทัว่ ไปถ้ าอุณหภูมิเพิม่ ขึน้ 10๐C อัตราการ


เกิดปฏิกริ ิยาจะเพิม่ เป็ นสองเท่ าในการทดลองทีอ่ ุณหภูมิหนึ่ง สารตัวอย่ างชนิดหนึ่งสลายตัวหมดในเวลา 30
นาที ถ้ าเพิม่ อุณหภูมิขนึ้ 20๐C สารตัวอย่างดังกล่าวจะใช้ เวลากีน่ าทีจึงจะสลายตัวหมด
1) 2.5 2) 5
3) 7.5 4) 10
25. การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
2 A(aq) → B(aq) พบว่ า การเปลี่ยนแปลงความเข้ มข้ นของสาร A เป็ นฟังก์ ชันของเวลา (t) ในหน่ วย วินาที
ดังสมการ [A] = 4 - √t อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา ณ วินาทีที่ 4 มีค่าเท่าใด
1) 0.125 2) 0.250
3) 0.375 4) 0.500
26. ก๊าซ X และ Y ทาปฏิกริ ิยากันดังสมการ X (g) + 3Y (g) → XY3 (g) มีข้อมูลการทดลอง ดังนีข้ ้ อสรุ ปใดถูก
การทดลอง (X) (Y) อัตราการเกิด XY3
ที่ mol/dm3 mol/dm3 mol/(dm3,s)
1 0.10 0.10 0.10
2 0.10 0.20 0.04
3 0.10 0.30 0.09
4 0.30 0.10 0.03
1) อัตราการเกิดปฏิกิริยา ไม่ข้ ึนกับ Y
2) อัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นกับ X และ Y เท่าๆกัน
3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นกับ X มากกว่า Y
4) อัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นกับ Y มากกว่า X
27. ในการทดลองเพือ่ หาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา P + Q → R ได้ ข้อมูลดังนี้
การทดลองที่ ความเข้ มข้ มของ P (M) ความเข้ มข้ นของ Q (M) อัตราการเกิดของ R (M/s)
1 1.5 1.0 0.08
2 1.5 1.5 0.18
3 3.0 1.5 0.36
4 3.0 1.0 ……
เทอมทีห่ ายไปในการทดลองที่ 4 เท่ากับเท่าใดในหน่ วย mol/L.s
1) 0.0027 2) 0.0016
3) 0.160 4) 0.240
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 41

28. การแปลความหมายข้ อมูลในตาราง ข้ อใดผิด


การทดลอง ความเข้ มข้ นของ ความเข้ มข้ นของ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ที่ สาร A (โมลต่ อลิตร) สาร B (โมลต่ อลิตร) (โมลต่ อลิตรต่ อวินาที)
1 1.2 x 10-5 4.2 x 10-5 6.2 x 10-6
2 2.4 x 10-5 8.4 x 10-5 2.48 x 10-5
3 4.8 x 10-5 8.4 x 10-5 4.96 x 10-5
4 4.8 x 10-5 4.2 x 10-5 2.48 x 10-5
1) การทดลองที่ 1 กับ 4 ใช้ในการหาอันดับของสาร A
2) การทดลองที่ 2 กับ 3 ใช้ในการหาอันดับของสาร A
3) การทดลองที่ 3 กับ 4 ใช้ในการหาอันดับของสาร B
4) [A] มีผลต่อปฏิกิริยามากกว่า [B]

29. ถ้ านาสาร A มาทาปฏิกริ ิยากับ B และ C จะได้ ผลิตภัณฑ์ D ดังสมการ


A + 4B + 2C  3D นักเรี ยนผู้หนึ่งศึกษาผลของความเข้ มของ A และ B ต่ ออัตราปฏิกริ ิยา พบว่า
ผลการทดลองเป็ นดังตาราง ข้ อสรุ ปใดถูก
ความเข้ มข้ นเริ่มต้ น (mol/dm3) อัตราเริ่มต้ นของปฏิกริ ิยา
[A] [B] [C] (mol/s)
0.1 0.1 0.1 0.2
0.2 0.1 0.1 0.4
0.2 0.2 0.1 1.6
0.2 0.2 0.2 1.6
1) ถ้า [ A ] = 0.2 [ B ] = 0.1 [ C ] = 0.3 อัตราเริ่ มต้นของปฏิกิริยาจะเป็ น 0.4 mol/s
2) ถ้าเริ่ มด้วย A, B และ C จานวนโมลเท่า ๆ กัน A จะทาเป็ นปฏิกิริยาหมดก่อน
3) ปฏิกิริยานี้ไม่จาเป็ นต้องมีสาร C เข้าไปเกี่ยวข้อง
4) อัตราการเพิม่ D จะมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป
42 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

30. ปฏิกริ ิยา A2 + B2 → 2AB มีแผนภาพพลังงานดังรู ป ถ้ าใช้ ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา พบว่า
พลังงาน
พลังงานก่อกัมมันต์ ลดลง 10 kJ ข้ อสรุ ปใด ถูกต้ อง สาหรับปฏิกริ ิยาทีม่ ีตัวเร่ ง
(kJ)
1) พลังงานก่อกัมมันต์ของ A2 + B2 → 2AB มีค่า = 70 kJ
2) พลังงานก่อกัมมันต์ของ 2AB → A2 + B2 มีค่า = 45 kJ
3) พลังงานของปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB มีค่า = 25 kJ
เวลา
4) พลังงานของปฏิกิริยา 2AB → A2 + B2 มีค่า = 15 kJ

31. ในการทดลองเพือ่ หาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา A + B → C ได้ ข้อมูลดังนี้


การทดลองที่ [A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) Rate (mol/dm3.min)
1 1.0 1.0 0.15
2 2.0 1.0 0.30
3 3.0 1.0 0.45
4 1.0 2.0 0.15
5 1.0 3.0 ?
ข้ อความต่ อไปนีข้ ้ อใดผิด
1) ในการทดลองที่ 5 อัตราการเกิดปฏิกิริยา = 0.15 mol / dm3.min
2) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับ [B]
3) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับ [A]
4) ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยา = k[A] จะได้ k = 0.15 min-1

32. พิจารณาข้ อมูลของการเกิดปฏิกริ ิยา A + B + 2C → D + 2E ดังต่ อไปนี้


ครั้งที่ [A] mol/dm3 [B] mol/dm3 [C] mol/dm3 R mol/dm3 s1
1 0.01 0.01 0.01 0.24
2 0.02 0.01 0.01 0.48
3 0.01 0.01 0.02 0.24
4 0.01 0.02 0.02 0.48
5 0.03 0.01 0.03 0.72
อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึน้ กับความเข้ มข้ นของสารใดบ้ าง
1) A และ B เท่านั้น 2) B และ C เท่านั้น
3) A และ C เท่านั้น 4) A B และ C
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ยาเคมี | 43

33. พิจารณาปฏิกริ ิยาเคมี 2 ปฏิกริ ิยาต่ อไปนี้


ปฏิกริ ิยาที่ 1 A + B → 2C
ปฏิกริ ิยาที่ 2 A + 2B → D
ในการศึกษาอัตราของปฏิกิริยา โดยใช้ สารเริ่มต้ น A และ B อย่างละ 10 โมลเท่ ากันทีอ่ ุณหภูมิเดียวกัน พบว่า
ปฏิกริ ิยาทั้งสองสิ้นสุ ดพร้ อมกันในเวลา 5 นาที พิจารณาข้ อสรุ ปต่ อไปนี้
ก. อัตราการลดลงของ A ในปฏิกริ ิยาทั้งสองเท่ากัน แต่ อตั ราการลดลงของ B ในปฏิกริ ิยาที่ 2 จะเป็ น 2 เท่า
ของอัตราการลดลงของ B ในปฏิกริ ิยาที่ 1
ข. อัตราการลดลงของ A ในปฏิกริ ิยาที่ 1 เท่ากับ 2 เท่าของอัตราการลดลงของ A ในปฏิกริ ิยาที่ 2
ค. อัตราการเพิม่ ของ C เท่ากับสองเท่าของอัตราการเพิม่ ของ D
ง. เมื่อปฏิกริ ิยาสิ้ นสุ ด จานวนโมลของ C จะเป็ นสองเท่าของจานวนโมลของ D
ข้ อใด ถูกต้ อง
1) ก เท่านั้น ข. 2) ข เท่านั้น
3) ก ค และ ง 4) ข ค และ ง
44 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

เฉลยการบ้าน
ชุดที่ 1
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25
3 4 3 2 3
1 1 2 3 4
4 1 2 3 4
3 3 1 3 3
4 3 2 3 1

ชุดที่ 2
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-24
4 4 1 2 1
4 3 2 2 2
2 1 2 4 4
1 4 3 2 4
4 2 2 3

ชุดที่ 3
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25 ข้อ 26-30 ข้อ 31-33
1 3 4 4 1 4 2
4 4 2 4 1 1 1
2 1 1 2 1 4 3
3 2 1 4 3 1
2 3 3 2 1 3

You might also like