You are on page 1of 18

เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ก

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

คานา
เอกสารประกอบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ แ บบวั ฏ จั ก รการสื บ เสาะหาความรู้ 7 ขั้ น เรื่ อ ง
การเปลี่ยนแปลงพลัง งานและการเกิ ดปฏิกิ ริยาเคมี จัดท าขึ้นเพื่อใช้ ป ระกอบการเรียนรู้ ส าหรับนัก เรียน
ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นสี คิ้ ว “สวั ส ดิ์ ผ ดุ ง วิ ท ยา” ซึ่ ง เอกสารประกอบการจั ด การเรี ย นรู้ นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มผี ลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ ครูและนัก เรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป

ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ข
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง สมการเคมี 1
ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี 3
ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 8
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี 9
ภาคผนวก 11
 เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 12
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรือ่ ง สมการเคมี 13
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรือ่ ง สมการเคมี 14
บรรณานุกรม 15
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 1
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แบบทดสอบก่อนเรียนเรือ่ ง สมการเคมี

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l)
ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง
ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง
ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว
ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย
ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง
2. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A
A คือสารในข้อใด
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน
ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน
3. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง
ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์
ข. เป็นสมการเคมีที่ดลุ แล้ว
ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล
ง. ถูกทุกข้อ
4. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล
ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl
ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2
ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O
ง. 2H2 + O2 → 2H2O
5. ข้อใดเป็นสมการเคมีที่ดลุ แล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า
ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2
ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2
ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2
ง. Ca + H2O → CaOH + H2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 2
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

6. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด

+ →
ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO
ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl
7. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ข้อใดเขียนสมการของปฏิกริ ิยานี้ได้ถูกต้อง
ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq)
ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq)
ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)
8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้ A B + C D
สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด
ก. A D + B C
ข. A B + C D
ค. A D + C D
ง. A B + A C
9. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
10. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
**********************************************************************
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 3
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี

สมการเคมี
สมการเคมี เ ป็น สั ญ ลัก ษณ์ที่ เ ขีย นแทนด้ วยตั วอั ก ษรและสู ต รโมเลกุ ล ที่ เ ป็น ตั ว แทนของธาตุ ใ น
สารประกอบ เพื่อแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งบอกถึงปริมาณของสารตั้งต้นที่ใช้ทาปฏิกิริยากัน และปริมาณ
ของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยา
สมการเคมีประกอบด้วย
1. สารตั้งต้น(reactants) คือสารที่ทาปฏิกิริยากันตอนต้น ถ้ามีมากกว่า 1 สาร ให้เขียนเครื่องหมาย (+)
คั้นระหว่างสาร แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี
2. ผลิตภัณฑ์ (product) คือสารที่เกิดหลังจากปฏิกริ ิยากัน ถ้าหากเกิดมากกว่า 1 สาร ก็ให้เขียน
เครื่องหมาย (+) แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี
3. เงื่อนไข เป็นภาวะต่างๆที่มผี ลต่อการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี เช่น อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นต้น โดยเขียน
บอกไว้บนหรือล่างลูกศรที่คั่นอยู่ระหว่างสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ แต่หากอยู่ในภาวะปกติก็ไม่
จาเป็นต้องเขียนก็ได้

เงื่อนไข
สารตั้งต้น + สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์

หลักการเขียนสมการเคมี
1. เขียนสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารตัง้ ต้นแต่ละชนิด
2. หาว่าในปฏิกิริยาเคมีนั้นเกิดสารผลิตภัณฑ์ใดขึ้นบ้างและเขียนสูตรเคมีของสารผลิตภัณฑ์
3. ให้ระบุสถานะของสารไว้หลังสูตร โดยเขียนไว้ในวงเล็บ
(s) = ของแข็ง (solid) เช่น โลหะ ,ลวด ,ตะกอน,ผลึก มีสถานะของแข็ง
(l) = ของเหลว (liquid) เช่น น้า ,มีสถานะของเหลว
(g) = แก๊ส (gas) เช่น ควัน ,แก๊สออกซิเจน ,แก๊ส ,ไอน้า มีสถานะแก๊ส
(aq) = สารละลาย (aqueous solution) เช่น น้าเกลือ , สารละลาย มีสถานะสารละลาย
ที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 4
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สมการเคมีที่สมบูรณ์จะต้องมีตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้างหน้าสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารใน
สมการ เพื่อให้จานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้นเท่ากับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์
ซึ่งเราเรียกว่า "การดุลสมการ"
หลักการดุลสมการ
1. ทาจานวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สุดให้เท่ากันก่อน หลังจากนั้นจึงดุลอะตอมของ
ธาตุที่เล็กลงตามลาดับ
2. หากปฏิกริ ิยามีกลุ่มอะตอมหรือโมเลกุลให้ดลุ เป็นกลุ่มก่อน จากนั้นค่อยดุลธาตุอสิ ระ (น้า (H2O)
และธาตุอิสระ เช่น O2 ,H2 ,Zn , Na ,Al ให้ดุลเป็นอันดับสุดท้าย)
3. วางสัมประสิทธิ์หน้าสมการเคมีหรือตัวเลขไว้หน้าอะตอมหรือโมเลกุล แล้วนับจานวนแต่ละข้างให้
เท่ากัน
4. บางกรณีอาจจะต้องทาจานวนอะตอมของธาตุทั้ง 2 ข้างของสมการให้เป็นเลขคู่ก่อน เพือ่ จะได้ดลุ
สมการได้สะดวก
5. ตรวจสอบความถูกต้อง

ตัวอย่างการเขียนสมการเคมีและการดุลสมการเคมี
1. แก๊สไฮโดรเจน (H2) ทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้น้า (H2O) ซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว เขียน
สมการได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้
H2(g) + O2(g) → H2O(l)
ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้
H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
2. แก๊สมีเทน (CH4) เมื่อติดไฟรวมกับแก๊สออกซิเจน (O2) ในอากาศจะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ
ไอน้า (H2O)
ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้
CH4 (g) + O2(g) → CO2(g) + H2O(g)
ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้
CH4 (g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g)
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 5
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 1

C3H8 (g) + O2(g) → CO2 (g) + H2O (l)


วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ C ใน C3H8 และ CO2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า CO2 จะได้
C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + H2O (l)
2. ดุลจานวนอะตอม H ใน C3H8 และ H2O ให้เท่ากัน โดยการเติม 4 หน้า H2O จะได้
C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l)
3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ O ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 5 หน้า O2 จะได้สมการ
ที่ดุลแล้วเป็นดังนี้
C3H8 (g) + 5O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l)
ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 2
Zn(s) + HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g)
วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ H ใน HCl และ H2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า HCl จะได้
Zn(s) + 2HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g)
2. ดุลที่ธาตุ Cl ใน HCl และ ZnCl ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า ZnCl จะได้
Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g)
3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Zn ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 2 หน้า Zn จะได้
สมการที่ดลุ แล้วเป็นดังนี้
2Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g)

http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31752
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 6
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 3

Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g)

วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ Fe ใน Fe และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe จะได้
2Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g)
2. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า O2 จะได้
2Fe(s) + 3O2(g) → Fe2O3(g)
3. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe2O3 จะได้
2Fe(s) + 3O2(g)] → 2Fe2O3(g)
4. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Fe ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการนา 2 มาคูณกับ 2Fe จะได้
สมการที่ดลุ แล้วเป็นดังนี้
4Fe(s) + 3O2(g) → 2Fe2O3(g)

สรุปหลักในการเขียนสมการเคมี

1. ต้องทราบสูตรของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และสถานะของสารทั้ง 2 ชนิด


2. ในกรณีที่สารเริม่ ต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ทศิ ทางเดียวให้เขียนสารเริม่ ต้นไว้ทางด้านซ้ายส่วน
ผลิตภัณฑ์อยู่ทางด้านขวา โดยใช้ → คั่นกลาง และในกรณีทสี่ ารเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์และ
ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนกลับมาเป็นสารเริ่มต้นได้ให้ใช้
3. สมการเคมีทจี่ านวนอะตอมของธาตุในสารเริ่มต้นไม่เท่ากับจานวนอะตอมของธาตุในผลิตภัณฑ์
ให้ดุลสมการเคมี โดยดุลจานวนอะตอมของสารในโมเลกุลทีม่ ีจานวนอะตอมมากก่อนโมเลกุลทีม่ ีจานวน
อะตอมน้อย
4. โมเลกุลของน้า (H2O) และธาตุอิสระ เช่น O2, Na, Cl และ H2 ให้ดุลจานวนอะตอมทีหลัง
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 7
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ประเภทของปฏิกิริยาเคมี

1.ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination)
ปฏิกิริยารวมตัวเกิดจากสารโมเลกุลเล็กกว่ารวมกันเป็นโมเลกุลใหญ่ หรือเกิดจากธาตุทาปฏิกริ ิยากับ
ธาตุได้สารประกอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
ตัวอย่างที่ 2 2Al(s) + 3Cl2(g) → 2AlCl3(s)

2.ปฏิกิริยาการแยกสลาย (Decomposition)
ปฏิกิริยาการแยกสลายเกิดจากสารโมเลกุลใหญ่แยกสลายให้สารโมเลกุลเล็กๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 2H2O(l) → 2H2(g) + O2(g)
เผา
ตัวอย่างที่ 2 CaCO3(s) → CaO(s) + CO2(g)

3.ปฏิกิริยาการแทนที่ (Replacement)
ปฏิกิริยาการแทนทีเ่ ป็นปฏิกิริยาทีส่ ารหนึ่งเข้าไปแทนทีส่ ารในอีกสารหนึง่ เช่น
Zn (s) + CuSO4 (aq) → ZnSO4 (aq) + Cu (s)

https://sites.google.com/a/wyckoffschools.org/ems-chemistry/activity-5/types-of-chemical-reactions
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 8
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี

1. จงเขียนและดุลสมการต่อไปนี้
ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. จงดุลสมการต่อไปนี้
2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2. Al(s) + O2(g) → Al2O3(s)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา
1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l)
2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g)
3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s)
4. C(s) + O2(g)  CO2(g)
5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g)
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 9
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 2 เรื่อง สมการเคมี

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง
ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์
ข. เป็นสมการเคมีที่ดลุ แล้ว
ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล
ง. ถูกทุกข้อ
2. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล
ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl
ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2
ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O
ง. 2H2 + O2 → 2H2O
3. ข้อใดเป็นวาการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า
ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2
ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2
ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2
ง. Ca + H2O → CaOH + H2
4. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l)
ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง
ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง
ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว
ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย
ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง
5. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A
A คือสารในข้อใด
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน
ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 10
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

6. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกริ ิยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด


ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
7. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้ A B + C D
สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด
ก. A D + B C
ข. A B + C D
ค. A D + C D
ง. A B + A C
9. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ข้อใดเขียนสมการของปฏิกริ ิยานี้ได้ถูกต้อง
ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq)
ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq)
ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)
10. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด

+ →

ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO


ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl
**********************************************************************
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 11
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี


 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรือ่ ง สมการเคมี
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 12
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี

1. จงเขียนและสมการต่อไปนี้
ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ตอบ สมการเคมี : Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ดุลสมการ : Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)

2. จงดุลสมการต่อไปนี้
2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s)
ดุลสมการ : 4K(s) + O2(g) → 2K2O(s)
2.2. Al(s) + O2(g) → Al2O3(s)
ดุลสมการ : 4Al(s) + 3O2(g) → 2Al2O3(s)
2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l)
ดุลสมการ : 2H2SO4(aq) + 2NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + 3H2O(l)
2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g)
ดุลสมการ : 2KClO3(s) → 2KCl(s) + 3O2(g)

3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา
1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยาการแทนที่
2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g) ปฏิกิริยาการแยกสลาย
3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s) ปฏิกิริยาการรวมตัว
4. C(s) + O2(g)  CO2(g) ปฏิกิริยาการรวมตัว
5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g) ปฏิกิริยาการแทนที่
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 13
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องสมการเคมี

ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 14
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง สมการเคมี

ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น 15
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมบิ ัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.

You might also like