You are on page 1of 37

ข้อสอบเคมี NETSAT 1/65

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 1
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ออกข้อสอบบ่อย

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 2
130 ความฉลาดรู้เฉพาะด้านเคมี

1. 1.ข้อข้อใดต่ อไปนี้ถูกต้อง
ความใดต่อไปนี้ถูกต้อง

(1) ในการเตรียม ารละลาย อุปกรณ์ B ใช้ ำ รับเตรียม ารละลายที่ปริมาตร 250


ก. ในการเตรียมสารละลาย อุปกรณ์ B ใช้สําหรับเตรียมสารละลายขนาด 250 ml ได้พอดี
มิลลิลิตรได้พอดี
(2)ข. หากต้
ากต้อองการต้
งการต้มมน้นํ้ำาเกลื
เกลืออใให้้เเดื
ดืออดด ควรใช้
ควรใช้ออุปุปกรณ์
กรณ์ DD ในการวั
ในการวัดดและควบคุ
และควบคุมอุมณ
อุณหภูภูมิมิ
(3) ในการทดลองเรื่องกรดเบ จะใช้อุปกรณ์ C คือบิวเรต และ E คือขวดรูปชมพู่ โดยใน
ค. ในการทดลองเรือ
่ งกรดเบส อุปกรณ์ C คือบิวเรต และ E คือขวดรูปชมพู ่ โดยในการ
ทดลองมี
การทดลองมี อินดิเคเตอร์เป็นตัวเปลี่ยน ีเพื่อ าจุดที่ทำปฏิิ กากัิริยนาพอดี
อินดิเคเตอร์เป็นตัวเปลี่ยนสีเพื่อหาจุดที่ทําปฏิกิรย
กัน ซึ่งเรียกว่าจุดยุติ
ซึ่งเรียกว่าจุดยุติ
(4) ในการทดลองเมื่อชั่ง ารเครื่องชั่งแ ดงค่า 3.7892 mg เลขนัย ำคัญ 3 ตัวคือ 3.79
ง. ในการทดลองเมื่อชั่งสารเครือ
่ งชั่งแสดงค่า 3.7892 mg เลขนัยสําคัญ 3 ตัวคือ 3.79

การนับเลขนัยสําคัญ

www.alist-academy.net

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 3
2. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลและปริมาตรของสาร A และ B

แผนภาพใดแสดงความหนาแน่นของสาร A และ B

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 4
3. พิจารณาข้อมูลในตารางแล้วตอบคําถาม
สมบัติ สาร J สาร K สาร H

เนื้อสาร

การตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ตกตะกอน ไม่ตกตะกอน


อาจกระเจิงแสงหรือ
กระกระเจิงแสง ไม่กระเจิงแสง กระเจิงแสง
ทึบแสง
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. สาร J คือ สารแขวนลอย สาร K คือ คอลลอยด์ สาร H คือ สารละลาย
ข. สาร J คือ ละลาย สาร K คือ แขวนลอย สาร H คือ คอลลอยด์
ค. สาร J คือ คอลลอยด์ สาร K คือ แขวนลอย สาร H คือ สารละลาย
ง. สาร J คือ คอลลอยด์ สาร K คือ สารละลาย สาร H คือ สารแขวลอยด์

ทบทวนเรือ
่ งสาร

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 5
4. หากทําการทดลองโดยแบ่งชุดการทดลองออกเป็นสองชุดดังต่อไปนี้ชุดที่ 1 นําไข่ขาวใส่ถุงเซล
โลเฟนจากนั้นนําไปมัดติดกับท่อแล้วนําไปหย่อนลงในบีกเกอร์ที่มีนํ้า ชุดที่ 2 นํานํ้าใส่ถุงเซลโลเฟน
จากนั้นนําไปมัดติดกับท่อแล้วนําไปหย่อนลงในบีกเกอร์ที่มีไข่ขาว ข้อใดวาดภาพแสดงการ
เปลี่ยนแปลงของเหลว ที่เกิดขึ้นในการทดลองทั้งสองชุดเมื่อเวลาผ่าน ไป 5 และ 15 นาที ได้ถูกต้อง
ที่สุด

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 6
สรุปแนวโน้มตารางธาตุ

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 7
การจัดเรียงอิเล็กตรอน

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 8
5. พิจารณาข้อมูลในตารางแล้วตอบคําถาม
อะตอม เลขอะตอม พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 kJ/mol
O 8 1,314
F 9 1,680
Xe 54 ?

จงทํานายว่าพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่หนึ่งของ Xe จะมีค่าเป็นอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบ เทียบ


กับพลังงานไอออไนเซชันลําดับท่ีหนึ่งของ F พร้อมให้เห็นผล
ก. น้อยกว่า เนื่องจากอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายของ Xe อยู่ใน 4p ออร์บิทัลอยู่ไกลนิวเคลียส
มากกว่า F อยู่ ใน 2p ออร์บิทัล การดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอมจึงทําได้ยาก
ข. น้อยกว่า เนื่องจากอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายของ Xe อยู่ใน 5p ออร์บิทัลซ่ึงมีพลังงานสูง
กว่า F อยู่ ใน 2p ออร์บิทัล การดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอมจึงทําได้ยาก
ค. มากกว่า เนื่องจากค่าประจุนิวเคลียสสุทธิมากขึ้น จึงมีแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับ
เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนมากข้ึน จึงทําให้เวเลนอิเล็กตรอนหลุดได้ยาก
ง. มากกว่า เนื่องจาก Xe มีอเิ ล็กตรอนบรรจุเต็มออร์บิทัลโครงสร้างจึงมีความเสถียร การ
ดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอมจึงทําได้ยาก

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 9
สรุปเรือ
่ งพั นธะเคมี

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 10
6. แผนภาพแสดงการให้และรับอิเล็กตอรนของธาตุและสารประกอบแคลเซียมคลอไรด ์โดยใช้
แบบจําลองอะตอมของโบร์ข้อใดถูกต้อง

7. แผนภาพใดต่อไปนี้แสดงพันธะโลหะได้ถูกต้อง

ก ข

ค ง

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 11
จุ ดเน้นพันธะเคมี

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 12
134 ความฉลาดรู้เฉพาะด้านเคมี

5. จากคำกล่าวที่ว่าการใ ่เกลือโซเดียมคลอไรด์ลงในน้ำไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี แต่เป็นเพียง


8. จากคํากล่าวที่วา่ การใส่เกลือ NaCl ลงในนํ้าไม่ใช่การเกิดปฏิกิรย
การละลายของเกลือในน้ำ ซึ่ง ากกำจัดน้ำออกด้วยการระเิ าเคมี ิดแ ้งแต่
ก็จเะได้
ป็นเพียงการละลาย
เกลือโซเดียมคลอ
ของเกลือในนํ้าเกลือ ซึ่งหากกําจัดนํ้าออกด้วยการเหยแห้งก็จะได้เกลือ NaCl กลับมาเหมือนเดิม
ไรด์กลับมาเ มือนเดิม ข้อใดต่อไปนี้แ ดงถึงการละลายของเกลือในน้ำในระดับโมเลกุลได้
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการละลายของเกลือในนํ้าในระดับโมเลกุลที่ถูกต้อง
ถูกต้อง
(1) (2)

(3) (4)

ทบทวนเรือ
่ งปฏิกิรย
ิ าเคมี
6. ากทำการทดลองโดยแบ่งชุดการทดลองออกเป็น องชุดดังต่อไปนี้
ชุดที่ 1 นำไข่ขาวใ ่ถุงเซลโลเฟนจากนั้นนำไปมัดติดกับท่อแล้วนำไป ย่อนลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำ
ชุดที่ 2 นำน้ำใ ่ถุงเซลโลเฟนจากนั้นนำไปมัดติดกับท่อแล้วนำไป ย่อนลงในบีกเกอร์ที่มีไข่ขาว
ทบทวนเรือ
่ งสัดส่วนโมล
ข้อใดวาดภาพแ ดงการเปลี่ยนแปลงของเ ลว ที่เกิดขึ้นในการทดลองทั้ง องชุดเมื่อเวลาผ่าน
ไป 5 และ 15 นาที ได้ถูกต้องที่ ุด
(1)

www.alist-academy.net

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 13
9. สารละลายเลด (II) ไนเตรททําปฏิกิรย
ิ ากับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ในปริมาณที่มาก เกิน
พอ ทําให้เกิดตะกอนของเลด (II) ไอโอไดด์ แผนภาพใดต่อไปนี้แสดงไอออนหลักที่พบ หลังจาก
ปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์

10. สารละลาย HCl ความเข้มข้น 100 โมลาร์ ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ทําปฏิกิรย


ิ ากับ CaCO3
70.06 กรัม (MW HCl = 36.458 , MW CaCO3 = 100.087 กรัมต่อโมล) แผนภาพใด
สอดคล้องกับปฏิกิรย
ิ าเคมีที่
(กําหนดให้ ∆=HCl, o =CaCO3, =ผลติภัณฑ์หลัก)

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 14
สรุปการเตรียมสารละลาย

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 15
11. ข้อใดต่อไปนี้เตรียมสารละลาย KMnO4 ในนํ้าได้ถูกต้อง และประหยัดสารได้อย่างเหมาะสม หาก
สารและอุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีนํ้าบริสุทธิใ์ นห้องเตรียมสารดังนี้

ก. หากต้องใช้สารละลาย KMnO4 ความเข้มข้น 0.02 mol/L ปริมาตร 50 ml ให ้ใช้ขวด


วัดปริมาตรขนาด 1000 ml เติมสารจากบักเกอร์ C ทั้งหมดแล้วเติมนํ้าจนถึงขีดวัดปริมาตร จะได้
สารที่มีความเข้มข้นตามที่ต้องการ จากนั้นใช้ขวดวัดปริมาตรขนาด 50 ml แบ่งอีกครัง

ข. หากต้องการใช้สาระละลาย KMnO4 ความเข้มข้น 0.4 mol/L ปริมาตร 50 ml ให ้ใช้
ขวดวัดปริมาตร 50 ml เติมสารจากบีกเกอร์ C ทั้งหมด และเติมนํ้าจนถึงขีดวัดปริมาตร จะได้สาร
ตามที่ต้องการ
ค. หากต้องการใช้สารละลาย KMnO4 ควมเข้มข้น 0.001 mol/L ให ้ใช้ขวดวัดปริมาตร
ขนาด 50 ml เติมสารจากบีกเกอร์ A ทั้งหมด และเติมนํ้าจนถึงขีดวัดปริมาตร
ง. หากต้องการสารละลาย KMnO4 ความเข้มข้น 2.5 mol/L ปริมาตร 1050 ml นําสาร
จากบีกเกอร์ A เทใส่ขวดวัดปริมาตรขนาด 50 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยนํ้าจนถึงขีดวัดปริมาตร
สารละลายในขวดที่ 1 ปละนําสารจากบีกเกอร์ C เทใส่ขวดวัดปริมาตรขนาด 1000 ml แล้วปรับ
ปริมาตรด้วยนํ้าจนถึงขีดวัดปริมาตรเป็นสารละลายขวดที่ 2 จากนั้นนําสารละลายขวดที่ 1 และ 2 เท
รวมผสมกัน จะได้สารที่ความเข้มข้นและปริมาตรตามที่ต้องการ

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 16
12. การละลายของแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) ในนํ้าดังสมการ

CaCl2(s) → Ca2+(aq) + 2Cl-(aq)


ผู้ทําการทดลองคนหนึ่งใช้แคลอรีมิเตอร์เพื่อศึกษาปริมาณความร้อนของแคลเซียมคลอไรด์ และ
ผลการทดลองปรากฏดังตาราง
มวลของแคลเซียมคลอไรด์ 9.20 กรัม
ปริมาตรของนํ้า 80.8 มิลลิกรัม
อุณหภูมิเริม
่ ต้นของนํ้า 25.0 °C
อุณหภูมิสุดท้ายของสารละลาย 51.5 °C

จากข้อมูลที่กําหนดให ้ในตาราง การละลายนํ้าของแคลเซียมคลอไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลง แบบดูด


ความร้อนหรือคายความร้อน เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นน้ัน
ก. ดูดความร้อน เนื่องจากการสลายพันธะไอออนิกในแคลเซียมคลอไรด์และพันธะ
ไฮโดรเจนในนํ้าต้องการพลังงาน
ข. ดูดความร้อน เนื่องจากนํ้ากลายเป็นนํ้าร้อนจําเป็นต้องดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม (3)
คายความร้อน เนื่องจากการละลายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เองจึงมีแนวโน้มที่จะ
ถ่ายโอนความร้อน
ค. คายความร้อน เนื่องจากเมื่อนํ้ากลายเป็นนํ้าร้อนก็เป็นผลมาจากแรงดึงดูดระหว่าง
ไอออนและโมเลกุลของนํ้า
ง. คายความร้อน เนื่องจากเมื่อนํ้ากลายเป็นนํ้าร้อนก็เป็นผลมาจากแรงดึงดูดระหว่าง
ไอออนและโมเลกุลของนํ้า

สรุปการเปลี่ยนแปลงพลังงาน

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 17
สรุปทฤษฎีแก๊ส

กฎของบอยล์

กฎของชาร์ล

กฎของเกย์ลูสแซก

กฎของอาโวกาโด

กฎรวมแก๊ส แก๊สในอุดมคติ การแพร่

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 18
ใหใช้
้ ข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคําถามข้อ
ตารางแสดงข้อมูลของแก๊สชนิดต่างๆ ที่อุณหภูมิ 273 K สารตัวอย่างบรรจุอยู่ในภาชนะ
B-E ซึ่งทําด้วยวัสดุแข็งเหมือนกันทุกใบ
ภาชนะ แก๊ส ความดัน atm มวลสารตัวอย่าง g
B He 2.00 ?
C Ne 2.00 20.2
D ? 2.00 32.0
E NO2 2.96 23.0
13. กําหนดให้ แก๊สที่บรรจุในภาชนะ D ควรเป็นแก๊สใด
ก. SO2 ข. CO2 ค. Ar ง.O2

14. หาก X > Y ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 19
15. ข้อใดอธิบายได้ดีที่สุดเกี่ยวกับโมเลกุลของ NO2 ซึ่งบรรจุในภาชนะ E ที่สภาวะดังกล่าว
ก. NO2 มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตํ่ากว่าแก๊สอืน
่ ๆ
ข. NO2 มีความเร็วเฉลี่ยในการเคลื่อนที่สูงกว่าแก๊สอืน
่ ๆ
ค. NO2 มีจาํ นวนโมเลกุลน้อยกว่าแก๊สอืน
่ ๆจึงเคลื่อนที่ชนผนังภาชนะด้วยความถี่ที่ตํ่ากว่า
ง.NO2 ไม่มีแรงกระทําต่อกันสามารถฟุ ง
้ กระจายได้อส
ิ ระ จึงทําให้ปริมาตรที่ NO2
ครอบครองในภาชนะมากกว่าปริมาตรของแก๊สอืน
่ ๆ

สรุปแก๊สในอุดมคติ

16. พิจารณาแผนภาพและข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคําถาม

แผนภาพข้างต้นแสดงสารละลายผสมของแก๊ส A และแก๊ส B ที่บรรจุอยู่ในภาชนะขนาด 1.0 ลิตร


แก๊สทั้งสองชนิดอยู่ในสภาวะสมดุลดังสมการ 2A (g) ⇌ B (g) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิรย
ิ าเคมีที่อุณหภูมิดังกล่าว
ก. K = 0 ข. K = 1 ค. K > 1 ง. K < 1

สรุปค่าคงที่สมดุล

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 20
17 กําหนดวิธก
ี ารทดลองต่อไปนี้
1 ชั่ง CaCO3 0.1 กรัม ใส่ในบีกเกอร์ A, B, C, และ D
2 เติม HCl 0.2 โมลาร์ ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์ A และ C
3 เติม HCl 0.5 โมลาร์ ปริมาตร 10 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์ B
4 เติม HCl 0.2 โมลาร์ ปริมาตร 10 มิลลิลิตร แช่ในนํ้าอุ่น 1 นาที จากน้ันเติมลงในบีกเกอร์ D
กําหนดให้ = ผง CaCO3 และ = เม็ด CaCO3
t0 = เวลาเริม
่ ต้น และ tx = เวลาสิ้นสุดปฏิกิรย
ิ าของบีกเกอร์ X

ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. tB > tA
ข. tC > tA
ค. tA > tD
ง. อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าของบีกเกอร์ B > อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าของบีกเกอร์ A

สรุปปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 21
18. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. จากสมการ N + พลังงาน ⇌ P ปฏิกิรย
ิ าของสาร N เป็นปฏิกิรย
ิ าดูดความร้อน
การเพิ่มอุณหภูมิแก่ระบบจะทําให้ระบบไปข้างหน้า ค่าคงที่สมดุลเพิ่มขึ้น
(2) จากสมการ G ⇌ M + พลังงาน เป็นปฏิกิรย
ิ าคายความร้อน การเพิ่มอุณหภูมิให้ระบบจะทําให้

ระบบปรับตัวย้อนกลับ ค่าคงที่สมดุลลดลง
(3) จากสมการ N+ พลังงาน ⇌ P หากเพิ่มอุณหภูมิจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทําให้อต
ั ราการ

เกิดปฏิกิรย
ิ าเร็วขึ้น
(4) จากสมการ
G ⇌ M + พลังงาน หากเพิ่มอุณหภูมิจะทําให้อต
ั ราการเกิดปฏิกิรย
ิ าช้าลง

ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุล

Ex 1. จากปฏิกิรย
ิ า Fe3+(aq) + SCN– (aq) « FeSCN2+(aq)
(สีเหลือง) (ไม่มีสี) (สีแดง) ข้อใดที่ทา ให้สมดุลเลื่อนไปทางขวาแล้วได้สี
แดงเข้มขึ้น ก. เติม Fe3+ (aq) ข. เติม SCN– (aq) ค. เติม FeSCN2+(aq)
1). ก. เท่านั้น 2). ข. เท่านั้น 3). ก. และ ข. 4). ถูกทุกข้อ

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 22
สรุปเคมีอน
ิ ทรีย์
ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ประเภท alkane alkene alkyne aromtic

ชนิดพั นธะ

โซ่ตรง
สูตรโมเลกุล
วง (cyclo)

ความอิม
่ ตัว

การอ่านชื่อลงท้ายด้วย

การฟอกจางสีหมู่ 7A
(Cl2 , Br2)
การทําปฏิกิรย
ิ ากับ
KMnO4/H+

ปริมาณเขม่า

1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน A และ B เมื่อนํามาทดลองสมบัติต่างๆ ได้ผลดังนี้


สมบัติ สารประกอบ
A B
การละลายนํ้า ไม่ละลาย ไม่ละลาย
การเผาไหม้ ติดไฟให้เปลวไฟสว่างไม่มีเขม่า ติดไฟให้เปลวไฟสว่างมีเขม่า
มาก
การฟอกสีโบรมีนในที่ ไม่ฟอกสี ฟอกสี ไม่ฟอกสีโบรมีน
มืด
การฟอกสีโบรมีนในที่ ฟอกสีและเกิดแก๊สที่เปลี่ยนสี ไม่ฟอกสีโบรมีนและไม่แก๊ส
สว่าง กระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงินเป็น เกิดขึ้น
สีแดง
สารประกอบ A และ B เป็นสารประกอบคู่ใด ตามลําดับ
ก. C₆H₁₄ , C₆H₁₂
ข. C₆H₁₂ , C₆H₁₀
ค. C₆H₁₄ , C₆H₆
ง. C₆H₁₄ , C₆H₁₀

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 23
ตารางสรุปหมู่ฟง
ั ก์ชันของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ประเภทของ ตัวอย่างของสารประกอบ
หมู่ฟง
ั ก์ชัน ชื่อหมู่
สารประกอบ
การอ่านชื่อ สูตรโมเลกุล
Alcohol methanol R-OH
Hydroxyl
Phenol phenol

dimethyl
Ether Alkoxy R-O-R
ether

methyl
Ester Alkoxy carboxyl R-COO-R
methanoate

Carboxylic
Carboxyl ethanoic acid R-COOH
acid

Aldehyde Carboxaldehyde methanal R-CHO

Ketone Carbonyl propanone R-CO-R

Amine Amino methanamine R-NH2

Amide Amide methanamide R-CONH2

***หมู่ฟง
ั ก์ชันที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน***

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 24
สรุปสมบัติของหมู่ฟง
ั ก์ชัน
1. การทําปฏิกิรย
ิ าเคมี
สมบัติ alcohol carboxylic ester
1. สูตรโมเลกุล

2. ทําปฏิกิรย
ิ ากับโลหะ
โซเดียม

3. ทปฏิกิรย
ิ ากับ NaHCO3

4. การทําปฏิกิรย
ิ ากับ
NaOH

5. การทําปฏิกิรย
ิ ากับ
alcohol

6. ทําปฏิกิรย
ิ ากับนํ้า

1. สารประกอบบริสุทธิช
์ นิดหนึ่ง เมื่อนํามาทําการทดลองเพื่อหาสมบัติต่างๆ ปรากฏว่าได้ผลการ
ทดลองดังตารางนี้
สมบัติ ของเหลว
1. การละลายนํ้า ละลายนํ้าได้
2. ปฏิกิรย
ิ ากับลิตมัส ไม่เปลี่ยนสี
3. ปฏิกิรย
ิ ากับโลหะ ได้แก๊ส H₂
โซเดียม
4. ปฏิกิรย
ิ ากับ Br ใน ไม่ฟอกจางสี
CCl₄
5. ปฏิกิรย
ิ ากับ ไม่เกิดฟองแก๊ส
NaHCO₃
สารประกอบชนิดนี้ คืออะไร
ก CH₃CH₂COOH
ข CH₃CH₂CH=CHCH₂CH₃
ค CH₃CH₂OH
ง HCOOCH₃

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 25
2. การทดสอบในข้อใดเหมาะสมที่สุดในการระบุวา่ สารใดเป็นแอลคีนหรือเอลกอฮอล์
การทดสอบ เหตุผล
ก การละลายนํ้า แอลคีนทุกตัวไม่ละลายนํ้า แอลกอฮอล์ทุก
ตัวละลายนํ้า
ข โลหะโซเดียม แอลคีนทุกตัวไม่เกิดปฏิกิรย
ิ า แอลกอฮอล์
ทุกตัวให้ฟองแก๊ส
ค สารละลาย แอลคีนให้แก๊สที่ละลายนํ้าแล้วเป็นกรด
NaHCO₃ แอลกอฮอล์ไม่เกิดปฏิกิรย
ิ า
ง การเผา แอลคีนติดไฟให้เขม่า แอลกอฮอล์ไม่ติดไฟ

3. พิจารณาผลการทดลองต่อไปนี้
สาร บันทึกผลการทดลอง
อินทรี ละลายนํ้า NaOH + NaHCO₃ Na Br₂ ใน CCl₄
ย์ ต้ม
A ไม่ละลาย ไม่ ไม่เกิดฟอง ไม่เกิด สีจางลง
เกิดปฏิกิรย
ิ า แก๊ส H₂
B ละลาย ไม่ ไม่เกิดฟอง เกิด H₂ ไม่
เกิดปฏิกิรย
ิ า แก๊ส เปลี่ยนแปลง
C ละลาย เกิดปฏิกิรย
ิ า เกิดแก๊ส เกิด H₂ ไม่
CO₂ เปลี่ยนแปลง
D ไม่ละลาย เกิดสารกลิ่น ไม่เกิดฟอง ไม่เกิด ไม่
ฉุน แก๊ส H₂ เปลี่ยนแปลง

ข้อสรุปที่ ถูกต้อง ของสาร A B C และ D ตามลําดับ คือข้อใด


ก. แอลคีน เอทานอล กรดอินทรีย์ เอสเทอร์
ข. แอลเคน กรดอินทรีย์ เอทานอล เอสเทอร์
ค. แอลไคน์ เอสเทอร์ เอทานอล กรดอินทรีย์
ง. เอทานอล แอลคีน กรดอินทรีย์ เอสเทอร์

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 26
4. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
สารที่ใช้ทดสอบและผลของปฏิกิรย
ิ า
การละลายนํ้าและ
สาร Br₂ ในที่ Br₂ ในที่
นําไฟฟ้า โลหะโซเดียม NaHCO₃
สว่าง มืด
1 ละลายได้ นําไฟฟ้า เกิดฟองแก๊ส เกิดฟองแก๊ส ฟอกสี ฟอกสี
ละลายได้ ไม่นํา ไม่เกิดฟอง
2 เกิดฟองแก๊ส ไม่ฟอกสี ไม่ฟอกสี
ไฟฟ้า แก๊ส
ไม่ละลายได้ ไม่นํา ไม่เกิดฟอง ไม่เกิดฟอง
3 ฟอกสี ฟอกสี
ไฟฟ้า แก๊ส แก๊ส

ข้อใดเป็นสารประกอบ 1 2 และ 3 ตามลําดับ


ก. CH₂ = CHCOOH CH₃CH₂CH₂OH CH₂ = CH – CH = CH₂
ข. CH₃CH₂COOH CH₂ = CHCH₂OH CH₃CH₂CH₂CH₃

ค. CH₃CH₂CH₂OH CH₃CH₂COOH

ง. CH₂ = CHCH₂OH CH₃CH₂COOH

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 27
สมบัติของสารอินทรีย์
1. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
1) สารประกอบ hydrocarbon : เป็นโมเลกุลไม่มีขว
้ั ดังนั้นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลคือ

2) หมูฟง
ั ก์ชันของสารอินทรีย์มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลดังนี้
- แรงลอนดอน และ แรงระหว่างขัว
้ ได้แก่ ketone aldehyde ester ether
เรียงลําดับแรงดึงดูดระหว่างขัว
้ จากมากไปน้อยได้ดังนี้

³ > >

- แรงลอนดอน , แรงระหว่างขั้ว พันธะไฮโดรเจน ได้แก่ amide carboxylic alcohol


amine เรียงลําดับแรงดึงดูดระหว่างขั้วจากมากไปน้อยได้ดังนี้

> > >

3) สารอินทรีย์ต่างประเภทกัน : จุดเดือดขึ้นกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
พันธะไฮโดรเจน > แรงระหว่างขัว
้ > แรงลอนดอน สารอินทรีย์ที่มวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
เรียงลําดับได้ดังนี้

2. จุ ดเดือด (Boiling point)


จุดเดือด a แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล a ความหนาแน่น

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 28
19. จากการทดลองการหาจุดเดือดของสาร โดยค่า X, Y และ Z เป็นจุดเดือดของสาร butane,
propan-2-one และ propan-2-ol ตามลําดับ เหตุผลในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด

ก.

ก. จากผลการทดลอง ค่า Y > X เนื่องจาก propan-2-one มีมวลโมเลกุลสูงกว่า butane มาก


ทําให้ต้องใช้พลังงานในการทําลายพันธะสูงกว่า butane มาก

ข. จากผลการทดลอง ค่า Z > X เนื่องจาก propan-2-ol มีมวลโมเลกุลสูงกว่า butane มากทํา


ให้ต้องใช้พลังงานในการทําลายพันธะสูงกว่า butane มาก

ค. จากผลการทดลอง ค่า Y และ Z > X เนื่องจาก propan-2-one และ propan-2-ol เป็น


โมเลกุลมีข้ว
ั จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลทั้งแรงลอนดอนและแรงดึงดูด ระหว่างขั้ว

ง. จากผลการทดลอง ค่า Z > X เนื่องจากเมื่อสังเกตฟองแก๊สปุดออกมาเป็นสายจาก หลอดคะปิล


ลารี หยุดให้ความร้อนและสังเกตจนกระทั่งฟองแก๊สสุดท้ายปุดออกมา และของเหลวไหลกลับเข้าไป
ในหลอดคะปิลลารี แล้วบันทึกอุณหภูมินี้ซ่ึงเป็นจุดเดือดของสาร พบว่าจากการทดลองของ
propan-2-ol บันทึกค่านี้ได้สูงกว่าการทดลอง ของ butane

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 29
20. จากการทดลองในข้อท่ี 19. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงประจักษ์พยาน (evidence) ที่อธิบายได้
ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด

ก. จากผลการทดลอง ค่า X > Y เนื่องจาก butane มีมวลโมเลกุลสูงกว่า propan-2-


one มาก ทําให้ต้องใช้พลังงานในการทําลายพันธะสูงกว่า propan-2-one มาก

ข. จากผลการทดลอง ค่า Z > X เนื่องจาก butane และ propan-2-ol มีมวลโมเลกุล


้ งมีแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลทั้ง แรงแผ่
ใกล้เคียงกัน แต่ propan-2-ol เป็นโมเลกุลมีขัวจึ
กระจายลอนดอนและแรงระหว่างขัว

ค. จากผลการทดลอง ค่า X > Z เนื่องจากเมื่อสังเกตฟองแก๊สปุดออกมาเป็นสายจาก


หลอดคะปิลลารีหยุดให้ความร้อนและสังเกตจนกระทั่งฟองแก๊สสุดท้ายปุดออกมา และของเหลว
ไหลกลับเข้าไปในหลอดคะปิลลารี แล้วบันทึกอุณหภูมินี้ซ่ึงเป็นจุดเดือด ของสาร พบว่าจากการ
ทดลองของ butane บันทึกค่าน้ีได้สูงกว่าการทดลองของ propan-2-ol

ง. จากผลการทดลอง ค่า Z > X เนื่องจากเม่ือสังเกตฟองแก๊สปุดออกมาเป็นสายจาก


หลอดคะปิลลารีหยุดให้ความร้อนและสังเกตจนกระทั่งฟองแก๊สสุดท้ายปุดออกมา และของเหลว
ไหลกลับเข้าไปในหลอดคะปิลลารี แล้วบันทึกอุณหภูมินี้ซึ่งเป็นจุดเดือดของสาร พบว่าจากการ
ทดลองของ propan-2-ol บันทึกค่านี้ได้สูงกว่าการทดลอง ของ butane

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 30
สรุปโครงสร้างพอลิเมอร์

จุ ดเดือด ความแข็งแรง เมื่อได้รบ



โครงสร้าง ชนิด ความหนาแน่น
จุ ดหลอมเหลว ความยืดหยุ่น ความร้อน

สรุปสมบัติทางความร้อนของพลาสติก

คุณสมบัติ เทอร์มอพลาสติก เทอร์มอเซ็ต

โครงสร้าง

ยืดหยุ่น โค้งงอได้

นํามาขึ้นรูปใหม่ได้

ได้รบ
ั ความร้อนแล้วอ่อนตัว
เมื่ออุณหภูมิตํ่าลงแล้วแข็งตัว

ได้รบ
ั ความร้อนแล้วไม่ออ
่ นตัว

การนําไป recycle

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 31
20. ในการอธิบายเรือ
่ งสมบัติของพอลิเมอร์ หากพิจารณาพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างดังภาพ A และ
B

ข้อใดต่อไปนี้แสดงคําตอบและเหตุผลได้ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด
ก. คําตอบ: จุดหลอมเหลวของสาร B สูงกว่า สาร A
เหตุผล: สาร B มีโครงสร้างที่เป็นสายยาวกว่าทําให้จุดหลอมเหลวของ สาร B สูงกว่า สาร A

ข. คําตอบ: สาร B เหมาะแก่การนําไปผลิตถุงหูหว


ิ้ ที่มีความเหนียวมากกว่า สาร A
เหตุผล: สาร B มีสายโซ่เรียงชิดกันจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง ทําให้มีความ หนาแน่นสูง
แข็งและเหนียว

ค. คําตอบ: ความหนาแน่นของสาร B สูงกว่า สาร A


เหตุผล:สารBมีโครงสร้างที่ยาวกว่าจึงทําให้มีจุดหลอมเหลวสูงส่งผลให้ความ หนาแน่นของ B สูง
กว่า A

ง. คําตอบ: สมบัติของสาร A มีความแข็งและเหนียวมากกว่า สาร B


เหตุผล: โดยสังเกตจากโครงสร้างของสาร A ที่มีการแตกกิ่งมากกว่าสาร B ทําให้มี ความหนาแน่น
สูงแข็งและเหนียวกว่า สาร B

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 32
Chemistry_p.khuan Easy chemistry – เรียนเคมีกับครูพี่ขวัญ 7 7

12. เมื่อมัดแท3งโลหะ 2 ชนิดเข8าด8วยกันแล8วทิ้งไว8ในอากาศชื้น โลหะชนิดหนึ่งจะเกิดการกัดกร3อน การระบุโลหะที่เกิด


การกัดกร3อนในข8อใดถูก สรุปไฟฟ้าเคมี
โลหะที่มัดเข8าด8วยกัน โลหะที่เกิดการกัดกร3อน
ก. Al กับ Zn สังกะสี
ข. Fe กับ Zn เหล็ก
ค. Cu กับ Al ทองแดง
ง. Cu กับ Fe เหล็ก
จ. Zn กับ Pb ตะกั่ว

13. ผลการสังเกต
1. จุ3มเหรียญเงินในสารละลาย CuSO₄ เงินจะสึกกร3อนออกมา
2. จุ3มเหรียญสังกะสีในสารละลาย NiSO₄ สังกะสีจะสึกกร3อนออกมา
3. จุ3มเหรียญทองแดงในสารละลาย Cd(NO₃)₂ ทองแดงจะสึกกร3อนออกมา
4. จุ3มเหรียญตะกั่วในสารละลาย Fe(NO₃)₃ ตะกั่วจะสึกกร3อนออกมา
ในข8อใด ถูกต8อง
ก 1 และ 2
ข 1 และ 3
ค 2 และ 3
ง 2 และ 4
14. กำหนดค3าศักย0ไฟฟTามาตรฐานของครึ่งเซลล0ดังนี้
ปฏิกิริยาครึ่งเซลล0 E°(volt)
Cu²⁺ + 2 e⁻ ⇆ Cu + 0.34
Sn²⁺ + 2e⁻ ⇆ Sn -0.14
Fe²⁺ + 2 e⁻ ⇆ Fe -0.44
Zn²⁺ + 2e⁻ ⇆ Zn -0.76
Al³⁺ + 3e⁻ ⇆ Al -1.67
ถ8ามีภาชนะทำด8วยโลหะชนิดหนึ่งบรรจุสารละลายเกลือของโลหะอีกชนิดหนึ่ง ภาชนะในข8อใดไม-ผุกร-อน
ก ภาชนะทำด8วยโลหะอะลูมิเนียมบรรจุสารละลายเกลือของโลหะสังกะสี
ข ภาชนะทำด8วยโลหะดีบุกบรรจุสารละลายเกลือของโลหะทองแดง
ค ภาชนะทำด8วยโลหะสังกะสีบรรจุสารละลายเกลือของโลหะเหล็ก
ง ภาชนะทำด8วยโลหะอะลูมิเนียมบรรจุสารละลายเกลือของโลหะทองแดง
จ ภาชนะทำด8วยโลหะดีบุกบรรจุสารละลายเกลือของโลหะอะลูมิเนียม

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 33
21. จากการทดลองเรือ
่ งปฏิกิรย
ิ ารีดอกซ์ระหว่างโลหะ Mg ที่จุม
่ ในสารละลาย ZnSO4 และโลหะ
Cu ที่จุม
่ ใน ZnSO4 ข้อใดต่อไปนี้แสดงแผนภาพของการทดลองที่เกิดขึ้น โดยระบุสิ่งที่วาด พร้อม
ทั้งเขียนบรรยายได้ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด

ก. Cu ที่จุม
่ ในสารละลาย ZnSO4(aq) เป็น

ตัวรับ e- ท่ีดี เมื่อถูกจุม


่ ใน ZnSO4(aq) ซ่ึง

เป็นตัวให้ e- ที่ดี (จากการที่ Zn2+ มีค่า E0

= -0.76 ซึ่งน้อยกว่า 0.34) ทําให้ Zn2+ เม่ือให้ e-


แล้ว กลายเป็น Zn(s) ซึ่งเป็นของแข็งไปเกาะอยู่
บนผิวของแผ่น Cu(s)

่ ในสารละลาย ZnSO4(aq) เป็นตัวให้ e- ที่ดี


ข. Mg ที่จุม

เมื่อถูกจุ่มใน ZnSO4(aq) ซ่ึงเป็นตัวรับ e- ท่ีดี (จาก

การท่ี Zn2+ มีค่า E0 = -0.76 ซง่ึ มากกว่า -2.37) ทําให้


Zn2+ เม่ือรับ e- แล้ว กลายเป็น Zn(s) ซ่ึงเป็นของแข็งไป
เกาะอยู่บนผิวของแผ่น Mg(s)

่ ในสารละลาย ZnSO4(aq) เป็นตัวให้ e- ที่ดี


ค. Cu ที่จุม

่ ใน ZnSO4(aq) ซ่ึงเป็นตัวรับ e- ท่ีดี (จาก


เม่ือถูกจุม

การที่ Zn2+ มีค่า E0 = -0.76 ซึ่งน้อยกว่า 0.34) ทําให้


Zn2+ เมื่อรับ e- แล้ว กลายเป็น Zn(s) ซ่ึงเป็นของแข็งไป
เกาะอยู่บนผิวของแผ่น Cu(s)

่ ในสารละลาย ZnSO4(aq) เป็นตัวรับ e- ที่


ง. Mg ท่ีจุม

่ ใน ZnSO4(aq) ซึ่งเป็นตัวให้ e- ที่ดี (จาก


ดี เมื่อถูกจุม

การที่ Zn2+ มีค่า E0 = -0.76 ซึ่งมากกว่า -2.37) ทํา


ให้ Zn2+ เมื่อให้ e- แล้ว กลายเป็น Zn(s) ซึ่งเป็นของแข็งไปเกาะ
อยู่บนผิวของแผ่นMg(s)

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 34
ทฤษฎีกรด-เบส

อาเรเนียส

• กรด = ……………………………….

• เบส = .........................................

ข้อจํากัด : ต้องเป็นสารที่ละลายนํ้าได้ ถ้าสารนั้นไม่ละลายนํ้าจะไม่สามารถจําแนกได้วา่ เป็น กรดหรือ


เบส และถ้าโมเลกุลนั้นไม่มี H+ หรือ OH- ก็จะไม่สามารถจําแนกได้วา่ เป็น กรดหรือเบส

เบรินสเดต-ลาวรี

• กรด = ……………………………….
• เบส = .........................................

ข้อจํากัด : ถ้าสารใดไม่มี H+ หรือ แตกตัวเป็น H+ ไม่ได้ จะไม่สามารถบอกได้วา่ เป็น กรดหรือเบส

ลิวอิส

• กรด = ……………………………….

• เบส = .........................................
ตัวอย่างปฏิกิรย
ิ า

คู่กรด-คู่เบส

NH3 + H2O NH4+ + OH–

HS– + H2O S– + H3O+

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 35
22. การแตกตัวเป็นไอออนของนํ้าแสดงดังสมการ
2H2O(l) ⇌ H3O+ (aq) + OH- (aq)
ค่า pKw ที่อุณหภูมิต่างๆปรากฏดังตาราง

อุณหภูมิ 0C pKw
0 14.9
10 14.5
20 14.2
30 13.8
40 13.5

จงพิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
I. ในสารละลายใดๆ ค่า Kw จะพิจารณาจาก [H3O+] หรือ [OH-]
II. การแตกตัวเป็นไอออนของนํ้าเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดพลังงาน
III. [H3O+] และ [OH-] มีค่าเท่ากันเสมอในทุกๆสารละลายในนํ้า ค่า pH ของนํ้าบริสุทธิม
์ ี
ค่าเท่ากับ 7 เสมอที่อุณหภูมิต่างๆ
IV. เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่า pH ของนํ้าบริสุทธิจ
์ ะเพิ่มขึ้น
V. เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่า pH ของนํ้าบริสุทธิจ
์ ะลดลง
ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
ก. I, III ข. II, V ค. III, V ง. I, II, IV

ทบทวนเรือ
่ งค่า pH

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 36
23. การไทเทรตระหว่างสารละลายกรดมอนอโปรติกชนิดหนึ่งกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
เข้มข้น 0.1 โมลาร์ผลการทดลองปรากฏดังกราฟ

ปริมาตรของNaOHที่เติม (cm3)

ตําแหน่งใดบนกราฟที่แสดงให้เห็นว่าความเข้มข้นของกรดอ่อนและคู่เบสมีค่าเท่ากัน
ก. ตําแหน่ง W ข. ตําแหน่ง X ค. ตําแหน่ง Y ง. ตําแหน่ง Z

24. สารละลายชนิดหนึ่งเตรียมได้จากการเติมสารละลาย HC2H3O2 เข้มข้น 1.0 โมลาร์ ปริมาตร


50 มิลลิลิตร กับ สารละลาย NaC2H3O2 1.0 โมลาร์ ปริมาตร 50 มิลลิลิตร จากนั้นคน
สารละลายให้เข้ากันแล้ววัดค่า pH ได้เท่ากับ 4.73 เมื่อหยดสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.02 โมลาร์
2-3 หยดลงไปในสารละลายผสมที่เตรียมได้ และวัดค่า pH อีกครัง
้ พบว่า pH เท่ากับ 4.77 สมการ
เคมีใดแสดงให้เห็นว่าการเติมสารละลาย NaOH ในปริมาณดังกล่าวลงใน สารละลายผสมแล้วค่า
pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
ก. HC2H3O2 (aq) + H2O(l) ⇌ H(OH)C2H3O2- (aq) + H+ (aq)

ข. HC2H3O2 (aq) + H2O(l) ⇌ H2C2H3O2+ (aq) + OH- (aq)

ค. C2H3O2- (aq) + H3O+ (aq) ⇌ HC2H3O2 (aq) + H2O(l)

ง. HC2H3O2 (aq) + OH- (aq) ⇌ C2H3O2- (aq) + H2O(l)

Chem_pkhuan เรียนเคมีกบ
ั ครูพี่ขวัญ 37

You might also like