You are on page 1of 21

1

ข้อสอบวิชาชีววิทยา
เพื่อคัดเลือกนักเรียนเข้ารับการอบรมค่าย 1 สอวน.

ชื่อ-สกุล ......................................................................... ข้อสอบวิชาชีววิทยา


เลขประจาตัวสอบ ......................................................... รหัสชุดวิชา 0000001
สถานที่สอบ .................................................................. สอบวันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม 2562
ห้องสอบ ....................................................................... เวลา 09.00 - 12.00 น.

คาชี้แจง

1. ข้อสอบมี 20 หน้า (ไม่รวมปก) จานวน 100 ข้อ


2. ใช้ปากกาเขียนชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวสอบ สถานที่สอบ และใช้ดินสอ 2B ระบายลงใน
วงกลมให้ตรงกับเลขประจาตัว และรหัสชุดวิชาที่กรอกในกระดาษคาตอบ
3. ข้อสอบส่วนที่เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก กรณีที่ตัวเลือกในข้อสอบและกระดาษคาตอบ
ไม่ตรงกันให้ถือตามข้อกาหนดข้างล่างนี้
ข้อ ก. = a = A = i = 1
ข้อ ข. = b = B = ii = 2
ข้อ ค. = c = C = iii = 3
ข้อ ง. = d = D = iv = 4
4. วิธีตอบ ทาการระบายคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดาษคาตอบด้วยดินสอ 2B ให้นักเรียน
พิจารณาเลือกคาตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว ถ้าข้อใดตอบมากกว่า 1
ตัวเลือก ข้อนั้นถือเป็นโมฆะ
5. ห้ามนาข้อสอบและกระดาษคาตอบออกจากห้องสอบ
6. ห้ามเผยแพร่ก่อนที่มูลนิธิ สอวน. จะเผยแพร่ทางเว็บไซต์
7. ห้ามใช้เครื่องคานวณ
8. ห้ามนักเรียนออกจากห้องสอบก่อน 1 ชั่วโมง หลังจากเวลาเริ่มการสอบ
1

1. โครงสร้ างในข้ อใดเกี่ยวข้ องกับการย่อยสลายภายในเซลล์สตั ว์


ก. Golgi body, lysosome, endosome
ข. endoplasmic reticulum, Golgi body, vacuole
ค. endoplasmic reticulum, Golgi body, mitochondria
ง. nuclear membrane, endoplasmic reticulum, Golgi body
2. ขันตอนการเติ
้ มน ้าตาลเพื่อสังเคราะห์ไกลโคโปรตีนบนเยื่อหุ้มเซลล์เริ่ มต้ นและสิ ้นสุดที่ออร์ แกเนลล์ใด
ก. nucleus  Golgi body ข. ribosome  cell membrane
ค. endoplasmic reticulum  Golgi body ง. ribosome  Golgi body
ใช้ ภาพด้ านล่างตอบคาถามข้ อที่ 34

D
C

B G H
A F
E

3. สารพลังงานสูงได้ จาก glycolysis และวัฏจักร Krebs คืออักษรในข้ อใดบ้ าง

glycolysis วัฏจักร Krebs


ก. A A
ข. B A
ค. B A, B
ง. A A, B

4. ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. องค์ประกอบที่สาคัญของสาร D คือ Fe2+
ข. โครงสร้ างที่สาร E เคลือ่ นผ่านคือ ATP synthase
ค. สาร G คือตัวรับอิเล็กตรอนสุดท้ ายของกระบวนการ
ง. ในเซลล์พืช ด้ านล่างของภาพที่มีการสังเคราะห์สาร F คือ intermembrane space ของไมโทคอนเดรี ย
2

5. จากขันตอนของภาพขวามื
้ อข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. เอนไซม์ในภาพเร่งปฏิกิริยา oxidation
ข. ขันตอนนี
้ ้พบได้ ในไกลโคลิซิสของแบคทีเรี ย
ค. ตัวอย่างของ substrate คือ phosphoenolpyruvate
ง. พบการทางานของเอนไซม์ เช่นนี ้ในเมทริ กซ์ (matrix) ของไมโทคอนเดรี ย
6. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์ของยีสต์
ก. มี FADH2 ทาหน้ าที่เป็ นตัวรี ดิวซ์ ในการสร้ าง ATP
ข. เป็ นสิง่ มีชีวิตที่ไม่สามารถมีชีวิตอยูไ่ ด้ หากขาดออกซิเจน
ค. พบการทางานของ lactate dehydrogenase ในไซโทพลาซึม
ง. กระบวนการ oxidative phosphorylation เกิดขึ ้นที่เยื่อหุ้มเซลล์
7. ข้ อใดกล่าวถึงจานวน chromatid ทังหมดที ้ ่พบในเซลล์ระยะต่าง ๆ ได้ ถกู ต้ อง
ก. G2 มากกว่า G1 และ G1 มากกว่า anaphase I
ข. G1 เท่ากับ prophase II และ prophase II มากกว่า anaphase II
ค. metaphase I มากกว่า G0 และ G0 มากกว่า anaphase
ง. prophase เท่ากับ anaphase I และ anaphase I มากกว่า metaphase II
8. ข้ อใดถูกต้ อง
ก. glucose มีหมู่คีโตนอยูใ่ นโมเลกุล
ข. glycogen จัดเป็ น storage polysaccharide มีการแตกแขนงน้ อยกว่า amylose
ค. chitin เป็ น polymer ของ N-acetylglucosamine จัดเป็ นส่วนประกอบของเห็ดรา
ง. cellulose เป็ น polymer ของกลูโคส ประกอบด้ วยพันธะ -1-4 glycosidic linkage และจัดเป็ น structural
polysaccharide
9. หากใส่เซลล์เม็ดเลือดแดงและใบสาหร่ายหางกระรอกลงในบีกเกอร์ 2 ใบ ใบที่ 1 บรรจุสารละลายซูโครสที่มี
ความเข้ มข้ น 0.6 M และใบที่ 2 บรรจุน ้ากลัน่ พบว่าในบีกเกอร์ ที่ 1 เซลล์เม็ดเลือดแดงเหี่ยว ข้ อใดถูกต้ อง
1. ในบีกเกอร์ ที่ 1 เซลล์สาหร่ายหางกระรอกจะอยูใ่ นภาวะ plasmolysis
2. ในบีกเกอร์ ที่ 2 จะพบแรงดันเต่ง (turgor pressure) ในเซลล์สาหร่ายหางกระรอก
3. สารละลายซูโครส 0.6 M และน ้ากลัน่ เป็ นสารละลายไฮเพอร์ โทนิก (hypertonic solution)
และสารละลายไฮโพโทนิก (hypotonic solution) ตามลาดับ
4. การลาเลียงสารผ่าน cell membrane ที่เกิดขึ ้นจาเป็ นต้ องอาศัยพลังงาน
ก. 1 และ 2 ข. 1, 2 และ 3 ค. 1, 3 และ 4 ง. 2, 3 และ 4
3

10. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวสารชีวโมเลกุลที่แสดงด้ านล่าง

1. มีกรดอะมิโนเป็ นองค์ประกอบ 2. มีคณ


ุ สมบัติเป็ น amphiphatic
3. เป็ น triacylglycerol 4. มีน ้าตาลแบบ -configuration เป็ นองค์ประกอบ
ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 4 ง. 3 และ 4
11. โรคพันธุกรรมหนึง่ มีรูปแบบการถ่ายทอดดังแสดงในพันธุประวัติด้านล่าง

กาหนดให้ หญิงคนที่ 1 ไม่มีแอลลีลที่ทาให้ เกิดโรค และ หญิงคนที่ 6 มีแอลลีลที่ทาให้ เกิดโรค ข้ อใดถูกต้ อง


ก. ยีนก่อโรคอยูบ่ นโครโมโซม X ข. ยีนก่อโรคอยูบ่ นโครโมโซม Y
ค. โรคนี ้เกิดจากแอลลีลด้ อย ง. ฮอร์ โมนเพศมีผลต่อการแสดงอาการของโรค
12. กาหนดให้ ลกั ษณะความยาวหูกระต่ายควบคุมด้ วยยีน 5 คู่ แอลลีลเด่นของแต่ละยีนทาให้ หกู ระต่ายยาวขึ ้น
เท่า ๆ กัน กระต่ายที่มีจีโนไทป์เป็ น homozygous recessive และ homozygous dominant มีความยาวหู 15
เซนติเมตร และ 30 เซนติเมตร ตามลาดับ ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. เมื่อผสมพันธุ์กระต่ายหูยาว 20 เซนติเมตร 2 ตัวจะไม่มีโอกาสได้ ลกู หูยาวมากกว่าพ่อแม่
ข. กระต่ายที่มีจีโนไทป์แบบ homozygous dominant 3 ยีน และ homozygous recessive 2 ยีน มีความยาวหู
24 เซนติเมตร
ค. เมื่อผสมพันธุ์ระหว่างกระต่ายที่มีจีโนไทป์ heterozygous ของทุกยีน จะมีโอกาสได้ รุ่นลูกความยาวหู 22.5
เซนติเมตรมากที่สดุ
ง. เมื่อผสมพันธุ์ระหว่างกระต่ายหูยาว 15 เซนติเมตรและ 30 เซนติเมตร จะมีโอกาสได้ รุ่นลูกความยาวหู 22.5
เซนติเมตรทุกตัว
4

13. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับโรคพันธุกรรมที่มีลกั ษณะดังนี ้

(i) มีปานแดงสีเข้ มขนาดใหญ่บนลาตัว ผู้ป่วยแต่ละคนมีตาแหน่งปานแตกต่างกัน ดังตัวอย่างในรูป


(ii) แสดงอาการตังแต่ ้ วยั เด็ก พบในเพศหญิงเท่านัน้
(iii) ข้ อมูลสถิติชี ้ว่า ครอบครัวของหญิงที่เป็ นโรคกับชายปกติ มีสดั ส่วนลักษณะของลูก ดังนี ้
ลูกสาวปกติ: ลูกสาวเป็ นโรค: ลูกชายปกติ: ลูกชายที่แท้ งก่อนคลอด อัตราส่วน 1:1:1:1
ก. สิง่ แวดล้ อมเป็ นปั จจัยหลักที่ควบคุมตาแหน่งของปาน
ข. ชายปกติไม่แสดงอาการของโรคเพราะอิทธิพลของฮอร์ โมน
ค. หญิงที่เป็ นโรคทุกคนมีจีโนไทป์แบบ heterozygous
ง. ชายปกติอาจมีแอลลีลของยีนที่ทาให้ เกิดโรค
14. สีดอกของพืชชนิดหนึง่ ควบคุมโดยยีน 3 คู่ คือ ยีน A, B และ C แอลลีล A ควบคุมลักษณะ จุดสีแดง แอลลีล B
ควบคุมลักษณะ จุดสีเหลือง และ แอลลีล C ควบคุมลักษณะ จุดสีน ้าเงิน ทัง้ 3 เป็ นแอลลีลเด่นข่มสมบูรณ์ตอ่
แอลลีลด้ อย (ควบคุมลักษณะไม่มีจุดสี) คือ a, b และ c ตามลาดับ ยีนทัง้ 3 อยูบ่ นโครโมโซมเดียวกัน และ
ควบคุมการแสดงออกของลักษณะร่วมกัน ถ้ านาพืชที่มีจีโนไทป์ AaBbCc (ยีนมีการเรี ยงตัวบนโครโมโซมดัง
ภาพ) ซึง่ มีกลีบดอกเป็ นจุดสีน ้าเงิน จุดสีแดง และจุดสีเหลือง มาผสมกับพืชที่มีจีโนไทป์ aabbcc ซึง่ กลีบดอกไม่
มีจุดสี ลักษณะใดมีโอกาสพบได้ น้อยที่สดุ ในรุ่นลูก
ก. กลีบดอกไม่มีจุดสี
ข. กลีบดอกเป็ นจุดสีแดง และ จุดสีเหลือง
ค. กลีบดอกเป็ นจุดสีเหลือง และ จุดสีน ้าเงิน
ง. กลีบดอกเป็ นจุดสีน ้าเงิน และ จุดสีแดง
15. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับทางเดินอาหารส่วนต่างๆ
ก. ในปากสามารถเกิดเฉพาะการย่อยเชิงกลเท่านัน้
ข. การดูดซึมสารอาหารเกิดขึ ้นมากที่ลาไส้ เล็กและลาไส้ ใหญ่
ค. การย่อยอาหารในลาไส้ เล็กอาศัยเฉพาะเอนไซม์ที่สร้ างจากลาไส้ เล็กเท่านัน้
ง. หลอดอาหารของคนเป็ นเพียงทางผ่านของอาหาร ในขณะที่หลอดอาหารบางส่วนของวัว
มีการเปลีย่ นแปลงเพื่อทาหน้ าที่ในกระบวนการ fermentation
5

16. ข้ อใดถูกต้ องเมื่อรับประทานนมวัวรสจืดที่ซงึ่ ไม่ได้ ปรุงแต่ง


ก. คาร์ โบไฮเดรตในนมถูกย่อยที่ลาไส้ เล็ก ข. การย่อยเชิงเคมีเกิดครัง้ แรกที่ช่องปาก
ค. ไขมันถูกดูดซึมเข้ าหลอดเลือดบริ เวณลาไส้ เล็ก ง. น ้าตาลกาแลกโทสถูกดูดซึมบริ เวณลาไส้ ใหญ่
17. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการย่อยสารอาหารชนิดต่าง ๆ
ก. เอนไซม์ยอ่ ยไขมันที่ลาไส้ เล็กสร้ างมาจากตับ
ข. การย่อยแป้งเป็ นน ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวเกิดขึ ้นเป็ นส่วนใหญ่ที่ลาไส้ เล็ก
ค. ปฏิกิริยาการย่อยอาหารอาศัยเอนไซม์เป็ นตัวสลายพันธะเคมีภายในอาหาร
ง. วัวใช้ พลังงานจากหญ้ าได้ เพราะสามารถสร้ างเอนไซม์ยอ่ ยเซลลูโลสได้
18. ข้ อใดเกิดขึ ้นในกระบวนการหายใจเข้ า
ก. กล้ ามเนื ้อระหว่างซี่โครงและกระบังลมคลายตัว
ข. กล้ ามเนื ้อกระบังลมหดตัว กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ ้น
ค. กล้ ามเนื ้อกระบังลมหดตัว ทาให้ ภายในปอดเป็ น positive pressure
ง. กระดูกซี่โครงลดตัวต่าลง ทาให้ ภายในปอดเป็ น negative pressure
19. ข้ อใดจัดเป็ น nonspecific defense mechanism ของระบบภูมิค้ มุ กัน
ก. การทางานของ helper T cell ข. Inflammation
ค. การสร้ าง memory cell ง. ภูมิค้ มุ กันที่กระตุ้นโดยวัคซีน
20. ข้ อใดเป็ นลักษณะของหลอดเลือดที่มีตาแหน่งอยูล่ กึ ความดันภายในหลอดเลือดสูง
ก. หลอดเลือดที่นาเลือดเข้ าสูห่ วั ใจ
ข. เป็ นหลอดเลือดที่มีปริ มาณเลือดมาก
ค. เป็ นหลอดเลือดที่มีความเร็ วในการไหลของเลือดสูง
ง. เป็ นหลอดเลือดที่มีพื ้นที่หน้ าตัดรวมมากที่สดุ และเป็ นบริ เวณที่เกิดการแลกเปลีย่ นสาร
21. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการทางานของหัวใจของมนุษย์
ก. ระบบประสาทอัตโนวัติไม่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ
ข. หัวใจสามารถเกิดการบีบตัวได้ เองจากการกระตุ้นของ sinoatrial node
ค. electrocardiography เป็ นการวัดการหดตัวและคลายตัวของกล้ ามเนื ้อหัวใจ
ง. cardiac output แปรผันตรงกับ heart rate แต่จะแปรผกผันกับ stroke volume
22. พืชในข้ อใดมีโครงสร้ างดอกดังภาพด้ านขวา
ก. มะเขือ
ข. บัวหลวง
ค. ทับทิม
ง. พริ ก
6

23. ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ dioecious plant


ก. พืชที่มี perfect flower ข. พืชที่มี male flower และ female flower อยูต่ า่ งต้ น
ค. พืชที่มี stamen และ pistil อยูต่ า่ งดอก ง. พืชที่มี male flower และ female flower อยูร่ ่วมต้ นเดียวกัน
24. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวข้ องกับการเกิดเซลล์สบื พันธุ์ การปฏิสนธิ การเกิดผลและเมล็ดของพืชดอก
ก. sperm (n) ปฏิสนธิกบั 2 polar nuclei (n+n) เจริ ญและพัฒนาเป็ น endosperm (3n)
ข. megaspore mother cell แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ได้ 4 megaspores ที่มีจานวนชุดโครโมโซม n มีเพียง 1
megaspore เจริ ญไปเป็ น female gametophyte ซึง่ สร้ าง archegonium
ค. ovary wall เจริ ญและพัฒนาเป็ น pericarp ซึง่ แบ่งเป็ น 3 ชัน้ ได้ แก่ exocarp, mesocarp และ endocarp
ง. หลังจากการปฏิสนธิ ovule เจริ ญและพัฒนาเป็ น seed ซึง่ มี integument เจริ ญและพัฒนาเป็ น seed coat
25. ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. angiosperms เป็ นพืชสร้ างสปอร์ สองแบบ
ข. megaspore, female gametophyte และ seed coat มีจานวนชุดโครโมโซม n, n และ 2n ตามลาดับ
ค. archegonium เป็ น female gametangium ที่พบใน มอส, ไลโคโพเดียม, เฟิ ร์น และพืชเมล็ดเปลือย
ง. พืชเมล็ดเปลือยมี single fertilization หลังจากปฏิสนธิ มีการเจริ ญเติบโตเป็ น embryo โดยอาศัย
endosperm ซึง่ เป็ นอาหารสะสม
26. ข้ อใดถูกต้ อง
ก. การงอกของหลอดเรณูเป็ น gravitropism
ข. การเกี่ยวพันของมือเกาะตาลึงจัดเป็ น nastic movement
ค. pulvinus ที่โคนก้ านใบไมยราบทาให้ เกิด nastic movement
ง. การหุบของใบกาบหอยแครงเป็ น thigmotropism
27. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการเคลือ่ นไหวของพืชตอบสนองต่อสิง่ เร้ า
ก. phototropism เป็ นการตอบสนองแบบไม่สมั พันธ์ กบั ทิศทางของสิง่ เร้ า
ข. การตอบสนองต่อแรงโน้ มถ่วงของรากเป็ นแบบสัมพันธ์ กบั ทิศทางของสิง่ เร้ า
ค. รากตอบสนองต่อความชื ้นเป็ นแบบไม่สมั พันธ์ กบั ทิศทางของสิง่ เร้ า
ง. การหุบใบของกาบหอยแครงเป็ นการตอบสนองแบบสัมพันธ์ กบั ทิศทางของสิง่ เร้ า
28. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับฮอร์ โมนของพืช
ก. ABA ส่งเสริ มการงอกของเมล็ด ข. IAA ยับยังการออกรากของกิ
้ ่งปั กชา
ค. ไซโตไคนินช่วยชะลอการแก่ของใบ ง. GA3 ยับยังการขยายตั
้ วของเซลล์และการยืดของลาต้ น
7

29. จากภาพด้ านล่างข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับการเปิ ดปิ ดปากใบและการคายน ้า

ก. เมื่อพืชขาดน ้าเนื ้อเยื่อ xylem มีความเป็ นเบสเล็กน้ อยและ ABA เคลือ่ นที่เข้ าสูเ่ ซลล์คมุ ทาให้ K+ เคลือ่ นที่
ออกจากเซลล์คมุ แรงดันเต่งลดลง ปากใบจึงปิ ด
ข. ในสภาพปกติเนื ้อเยื่อ xylem มีความเป็ นกรดเล็กน้ อยและ ABAH เคลือ่ นที่เข้ าสู่ mesophyll cells ทาให้ K+
เคลือ่ นที่เข้ าสูเ่ ซลล์คมุ มากขึ ้น แรงดันเต่งเพิ่มขึ ้น ปากใบจึงเปิ ด
ค. เมื่อน ้าแพร่ออกเซลล์คมุ ทาให้ แรงดันเต่งในเซลล์คมุ เพิ่มขึ ้น ปากใบจึงเปิ ด
ง. raised stomata ช่วยให้ พืชคายน ้าได้ มากขึ ้น
30. สมองส่วนใดที่ทาหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการเต้ นของหัวใจและการหายใจ
1. cerebrum 2. cerebellum 3. hypothalamus
4. medulla oblongata 5. pons 6. midbrain
ก. 1, 2 และ 3 ข. 3, 4 และ 5 ค. 1, 5 และ 6 ง. 4, 5 และ 6
31. ข้ อใดไม่ใช่การทางานของ sympathetic nervous system
ก. กระตุ้นการทางานของต่อมน ้าลาย ข. เพิ่มอัตราการเต้ นของหัวใจ
ค. กระตุ้นการทางานต่อมหมวกไตชันใน ้ ง. เพิ่มการสลายตัวของ glycogen ในตับ
32. ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง
ก. myelin sheath ในระบบประสาทส่วนปลายสร้ างจาก Schwann cell
ข. axon ที่มี myelin sheath หนาจะนากระแสประสาทได้ เร็ วกว่า myelin sheath บาง
ค. axon ที่มีเส้ นผ่าศูนย์กลางเล็กจะส่งสัญญาณได้ เร็ วกว่า axon ที่เส้ นผ่าศูนย์กลางใหญ่
ง. saltatory conduction เป็ นการนากระแสประสาทที่เกิดขึ ้นใน myelinated axon
8

33. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับสารสือ่ ประสาท


ก. พบใน synaptic vesicles ของ presynaptic cell
ข. พบใน synaptic vesicles ของ postsynaptic cell
ค. มีผลต่อ membrane potential ของ presynaptic cell
ง. ถูกสลายโดยทันทีเมื่อจับกับตัวรับ
34. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับไขสันหลัง
ก. gray matter เป็ นบริ เวณที่พบ cell body ของเซลล์ประสาท
ข. white matter เป็ นบริ เวณที่พบ dendrite ของเซลล์ประสาท
ค. spinal nerve มีทงั ้ sensory และ motor fiber (mixed nerve)
ง. น ้าเลี ้ยงสมองและไขสันหลังพบในช่องกลวงบริ เวณ white matter
35. ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับ taste pathway
ก. gustatory cell ข. cranial nerve คูท่ ี่ 7 และ 9 ค. cerebral cortex ง. cerebellum
36. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการมองเห็นของคน
ก. rod cell สามารถแยกความแตกต่างของสีได้
ข. cone cell มีความไวต่อแสงน้ อยกว่า rod cell
ค. fovea มี rod cell มากกว่าบริ เวณอื่น ๆ
ง. เมื่อดูวตั ถุที่อยูใ่ กล้ เลนส์ตาจะโค้ งนูนน้ อย
37. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับการได้ ยิน
ก. hair cell ใน ampulla เป็ น chemoreceptor
ข. การทรงตัวอาศัย semicircular canal ของหูสว่ นใน
ค. การได้ ยิน อาศัยหูสว่ นนอก, หูสว่ นกลาง และ cochlea ของหูสว่ นใน
ง. auditory nerve คือเส้ นประสาทสมองคูท่ ี่ 8 ที่สง่ กระแสประสาทไปยัง cerebrum
ใช้ ภาพด้ านล่างตอบคาถามข้ อที่ 3840

หมายเหตุ: ขนาดของรูปไม่เป็ นไปตามสเกลจริ ง


9

38. ภาพในข้ อใดมีลกั ษณะของ genome คล้ ายคลึงกับอาร์ เคียมากที่สดุ


ก. A ข. B ค. C ง. D
39. ภาพในข้ อใดมีการดารงชีวิตเป็ น obligate intracellular parasite เท่านัน้
ก. A ข. B ค. C ง. D
40. ภาพในข้ อใดพบไคตินเป็ นองค์ประกอบ
ก. A ข. B ค. C ง. D
41. จงพิจารณาคากล่าวเกี่ยวกับสิง่ มีชีวิตในอาณาจักรพืชต่อไปนี ้
A: พืชทุกชนิดมีระยะ sporophyte และมีการสร้ าง sporangia
B: พืชทุกชนิดมีระยะ gametophyte และมีการสร้ าง gametangia
C: โดยทัว่ ไปแล้ ว gametes ของพืชจะสร้ างจากการแบ่งเซลล์แบบ meiosis โดยเซลล์ในเนื ้อเยื่อของ
ระยะ gametophyte
D: โดยทัว่ ไปแล้ ว spores ของพืชจะสร้ างจากการแบ่งเซลล์แบบ meiosis โดยเซลล์ในเนื ้อเยื่อ
ของระยะ sporophyte
E: male gametes ของพืชที่มีวิวฒ ั นาการสูงกว่า จะไม่มีฟลาเจลลา (flagella)
ข้ อใดถูกต้ องที่สดุ
A B C D E
ก.     
ข.     
ค.     
ง.     

42. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการกรองพลาสมาที่ไต


1. ของเหลวที่ได้ จากกระบวนการนี ้มีคา่ ความเข้ มข้ นออสโมลเท่ากับเลือด
2. เป็ นกระบวนการแรกในการผลิตน ้าปั สสาวะ
3. ปั จจัยที่มีผลต่อการกรองคือขนาดและประจุของสารในเลือด
ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 1 และ 3 ง. 1, 2 และ 3
43. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับฮอร์ โมนแอนติไดยูเรติก (ADH)
1. ออกฤทธิ์ที่ทอ่ รวม 2. มีฤทธิ์เพิ่มการดูดกลับน ้า 3. หลัง่ มาจากต่อมใต้ สมองส่วนหน้ า
ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 1 และ 3 ง. 1, 2 และ 3
44. ข้ อใดมีบทบาทสาคัญที่สดุ ในการควบคุม pH ของน ้านอกเซลล์
ก. PO43 ข. H+ และ HCO3 ค. ฮีโมโกลบิน ง. โปรตีน
10

45. จาก cladogram ด้ านล่าง อักษร A และ B เป็ นลักษณะร่วมกัน และ อักษร C และ D เป็ นชื่อไฟลัม
จากข้ อมูลเหล่านี ้ข้ อใดถูกต้ อง
Platyhelminthes
Rotifera
A Mollusca
Annelida
Arthropoda
Bilateral animal C

B D

Chordata

ลักษณะร่ วม ไฟลัม
A B C D
ก. ตัวแบน เป็ น protostome Echinodermata Nematoda
ข. มีข้อปล้ อง เป็ น deuterostome Nematoda Echinodermata
ค. ตัวอ่อนเป็ น เป็ น deuterostome Nematoda Echinodermata
trochophore larva
ง. มีการลอกคราบ เป็ น protostome Echinodermata Nematoda
46. ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. เพรี ยงหัวหอมเป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ข. สัตว์ปีกวิวฒั นาการมาจากสัตว์เลื ้อยคลาน
ค. สัตว์เลื ้อยคลานมีผิวหนังที่ปกคลุมด้ วย cutin ง. อึ่งอ่างมีการปฏิสนธิภายในร่างกาย
47. เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงปริ มาตรเลือดหรื อความดันเลือด ร่างกายจะปรับให้ เข้ าสูภ่ าวะปกติโดยอาศัยการปรับ
สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ในข้ อใด
ก. โพแทสเซียม ข. ไบคาร์ บอเนต
ค. โซเดียม ง. คลอไรด์
48. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับหน้ าที่ของดีเอ็นเอ
ก. รหัสพันธุกรรมสาหรับกรดอะมิโนมีทงหมด ั้ 64 รหัส
ข. ดีเอ็นเอ ทาหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการถ่ายทอดรหัสพันธุกรรม
ค. รหัสพันธุกรรมในสายดีเอ็นเอ เป็ นรหัสสาหรับกรดอะมิโน
ง. กรดอะมิโน 1 ชนิด กาหนดโดยนิวคลีโอไทด์ 3 นิวคลีโอไทด์
11

49. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับ transcription ของแบคทีเรี ย


ก. เกิดโดยการทางานของเอนไซม์ DNA polymerase
ข. ใช้ deoxyribonucleotide เป็ น monomer ในการสังเคราะห์
ค. ไม่ต้องการ primer ในการเริ่ มต้ นสร้ างสาย polynucleotide
ง. ใช้ DNA template ทังสองสายเป็
้ นแม่แบบพร้ อมกัน
50. การเพิ่มจานวนดีเอ็นเอในหลอดทดลองใช้ เอนไซม์ข้อใด
ก. DNA ligase ข. thermostable DNA polymerase
ค. phosphatase ง. restriction endonuclease
51. การโคลนดีเอ็นเอที่มียีนจากมนุษย์เข้ าสูพ่ ลาสมิด และถ่ายโอนเข้ าสูแ่ บคทีเรี ย เพื่อผลิตโปรตีน ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. plasmid ทาหน้ าที่เป็ น DNA vector
ข. เทคนิคที่นายีนเข้ าสูแ่ บคทีเรี ยเรี ยกว่า transduction
ค. plasmid สามารถจาลองตัวเองและเพิ่มจานวนภายในแบคทีเรี ย
ง. ยีนจากดีเอ็นเอมนุษย์สว่ นใหญ่ไม่สามารถใช้ ในการสังเคราะห์สายพอลิเปปไทด์
โดยตรงภายในเซลล์แบคทีเรี ยได้
52. พืชชนิดหนึง่ มีดอกเป็ นแบบดอกเดี่ยว องค์ประกอบของดอกมีกลีบเลี ้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้
10 อัน และมีเกสรเพศเมีย 1 อัน (มี 2 คาร์ เพล และ 15 ออวุล) ผลที่จะเกิดจากดอกนี ้ข้ อใดเป็ นไปได้ มากที่สดุ
ก. ผลเดี่ยว และมี 15 เมล็ด ข. ผลกลุม่ และมี 15 เมล็ด
ค. ผลเดี่ยว และมี 10 เมล็ด ง. ผลกลุม่ และมี 10 เมล็ด
53. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับลักษณะและหน้ าที่ของเนื ้อเยื่อพืช
ก. เอพิเดอมิสอยูช่ นนอกสุ
ั้ ด ทาหน้ าที่ในการป้องกันเนื ้อเยื่อที่อยูด่ ้ านใน
ข. ไซเล็มประกอบด้ วยเซลล์เวสเซลและเทรคีด ทาหน้ าที่ลาเลียงอาหาร
ค. คอลเลงคิมาประกอบด้ วยเซลล์ที่มีผนังเซลล์ทตุ ิยภูมิหนา ทาหน้ าที่ให้ ความแข็งแรง
ง. พาเรงคิมาประกอบด้ วยเซลล์ที่มีชีวิต มีลกิ นินในผนังเซลล์ ทาหน้ าที่สะสมอาหาร
54. Photosystem II จะพบได้ ที่ใด
ก. grana เท่านัน้ ข. stroma เท่านัน้
ค. stroma และ stroma lamellae ง. grana และ stroma lamellae
55. หากไม่มีการถ่ายทอดอิเล็กตรอนใน photosystem II เหตุการณ์ในข้ อใดยังคงดาเนินต่อไปได้
ก. photolysis ข. cyclic-electron transfer
ค. non-cyclic electron transfer ง. เหตุการณ์ในข้ อ ก, ข และ ค สามารถดาเนินต่อไปได้
56. ข้ อใดคือน ้าตาลที่ได้ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ก. PGA ข. PGAL ค. glucose ง. sucrose
12

57. ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. พืช C4 มีการสูญเสียคาร์ บอนอะตอมจาก photorespiration น้ อยมาก
ข. พืช C4 มีการตรึงคาร์ บอนอนินทรี ย์ที่เซลล์ mesophyll และ bundle sheet cell
ค. พืช CAM มีการสังเคราะห์ malic acid ซึง่ จะสลายให้ pyruvic acid และ CO2
ง. พืช CAM จะเปิ ดรูปากใบในเวลากลางวัน เนื่องจากเซลล์คมุ มีการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากภาพตัดขวางของพืชด้ านล่าง ตอบคาถามข้ อ 5859

endodermis

58. ภาพด้ านบนแสดงโครงสร้ างใด


ก. ลาต้ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว ข. ลาต้ นพืชใบเลี ้ยงคู่ ค. รากพืชใบเลี ้ยงคู่ ง. รากพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว
59. หมายเลข 1 คือเนื ้อเยื่อชนิดใด
ก. พาเรงคิมา ข. เพอริ ไซเคิล ค. โฟลเอ็ม ง. ไซเล็ม
60. ข้ อใดมีบทบาทมากที่สดุ ในการดึงน ้าไปเลี ้ยงยอดไม้ ของต้ นไม้ ใหญ่
ก. root pressure ข. transpiration pull ค. capillary action ง. มีบทบาทไม่แตกต่างกัน
61. เมื่อปากใบปิ ด แต่พืชได้ รับน ้าเต็มที่ พืชมีการลาเลียงน ้าหรื อไม่ ถ้ ามี พืชลาเลียงด้ วยกลไกใด
ก. ไม่มีการลาเลียงน ้า ข. มีโดยใช้ root pressure
ค. มีโดยใช้ transpiration pull ง. มีโดยใช้ capillary force และ transpiration pull
62. การเปิ ดปากใบของพืช โดยทัว่ ไปเกิดจากสัญญาณใดในธรรมชาติ
ก. แสง ข. CO2 ค. อุณหภูมิ ง. ความชื ้น
63. การลาเลียงอาหารจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงใน phloem ถูกลาเลียงในรูปใด
ก. กลูโคส ข. ซูโครส ค.ฟรักโทส ง. มอลโทส
64. ถ้ า sperm ของคนไม่สามารถย่อยชัน้ zona pellucida น่าจะเกิดจากความผิดปกติของโครงสร้ างใด
ก. flagellum ข. centrosome ค. mitochondria ง. acrosome
13

65. endoderm พัฒนาไปเป็ นอวัยวะใด


ก. ตับ ข. ไขสันหลัง ค. หัวใจ ง. โนโทคอร์ ด
66. เมื่อแรกคลอดจะพบเซลล์สบื พันธุ์ในเด็กหญิงและเด็กชายระยะใดตามลาดับ
ก. primary oocyte, primary spermatocyte ข. oogonia, spermatogonia
ค. primary oocyte, spermatogonia ง. secondary oocyte, primary spermatocyte
67. ข้ อใดถูกต้ อง
1. ถ้ าระดับ testosterone สูงจะทาให้ luteinizing hormone ลดลง
2. ผู้หญิงตังครรภ์
้ จะมี progesterone สูง และ luteinizing hormone ต่า
3. ผู้หญิงที่ทอ่ นาไข่ตนั สามารถรักษาภาวะมีบุตรยากด้ วยวิธี artificial insemination
4. Cowper’s gland ผลิตสารทาให้ sperm ใน semen ทนต่อสภาวะกรดในท่อสืบพันธุ์เพศหญิง
ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 2 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
68. ภาพด้ านล่างแสดงฮอร์ โมน (AD) ที่ควบคุมการเจริ ญและพัฒนาของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ฮอร์ โมนใด
กระตุ้นการเจริ ญของ follicle โดยตรง และฮอร์ โมนใดกระตุ้นให้ endometrium หนาตัว

กระตุ้นการเจริ ญของ follicle กระตุ้นให้ endometrium หนาตัว


ก. B C
ข. A C, D
ค. B A, C
ง. A B, D

69. ข้ อใดเรี ยงลาดับกระบวนการและระยะการเจริ ญของตัวอ่อนสัตว์ได้ ถกู ต้ อง


ก. embryo, zygote, blastula, morula ข. zygote, blastula, fetus, organogenesis
ค. fertilization, zygote, blastula, gastrula ง. fetus, blastula, morula, gastrula
14

70. ถ้ ากาหนดให้ มนุษย์มี somatic number (2n) = 4 เซลล์ไข่ที่พบในท่อนาไข่ขณะที่รอการปฏิสนธิตรงกับภาพใด

ก. ข. ค. ง.
71. ข้ อใดถูกต้ อง
1. ช่อง blastopore ของเพรี ยงหัวหอม และ amphioxus พัฒนาเป็ น anus
2. เยื่อ amnion ของสัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมป้องกันแรงกระเทือนและป้องกันการสูญเสียน ้าของเอ็มบริ โอ
3. โนโทคอร์ ดพบได้ ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทาหน้ าที่เป็ นแกนของเอ็มบริ โอ และเจริ ญเป็ นกระดูกสันหลัง
เมื่อโตเต็มวัย
4. ผู้หญิงตังครรภ์
้ คนหนึง่ ผ่านการมีประจาเดือนเป็ นครัง้ สุดท้ ายมาแล้ วเป็ นเวลา 30 วัน เอ็มบริ โอซึง่ อยูใ่ น
ครรภ์ของผู้หญิงคนนี ้จะพัฒนาถึงระยะฟี ตสั
ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 2 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
72. พืชใน taiga วิวฒ ั นาการมาให้ มีทรงพุม่ ของเรื อนยอดที่เหมาะกับปั จจัยใด
ก. หิมะและน ้าแข็ง ข. ปริ มาณแสงแดด ค. การกัดกินจากแมลง ง. อุณหภูมิของอากาศ
73. บริ เวณใดของบึงน ้าจืดที่พบแพลงก์ตอนพืชได้ มากที่สดุ
ก. profundal zone ข. benthic zone ค. limnetic zone ง. littoral zone
74. การเพิ่มของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
ก. มีอตั ราการเพิ่มประชากรคงที่
ข. ประชากรเพิ่มจานวนขึ ้นอย่างไม่มีขีดจากัด
ค. จานวนสมาชิกที่เพิ่มขึ ้นในแต่ละช่วงเวลามีจานวนเท่ากัน
ง. สัดส่วนของสมาชิกวัยเจริ ญพันธุ์มีการเปลีย่ นแปลงเพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ
75. สัตว์ที่มีกราฟการรอดชีวิตของประชากรเป็ นรูปแบบที่ 1 (type I curve) มีลกั ษณะเฉพาะเป็ นอย่างไร
ก. มีอายุสนไม่
ั ้ เกินหนึง่ ปี ข. สืบพันธุ์เพียงครัง้ เดียวในชีวิต
ค. ออกลูกจานวนมากในแต่ละครัง้ ง. มีการเลี ้ยงดูลกู เป็ นระยะเวลานาน
76. พืชกลุม่ แรก ๆ ของกระบวนการเปลีย่ นแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิควรมีลกั ษณะอย่างไร
ก. เป็ นพืชที่ชอบร่มเงา ข. ต้ องการความชื ้นมาก
ค. เจริ ญเติบโตและเริ่ มสืบพันธุ์ได้ เร็ ว ง. เมล็ดต้ องอาศัยสัตว์เป็ นพาหะช่วยแพร่กระจาย
15

77. พืชกินแมลง (carnivorous plants) มีวิวฒ ั นาการให้ เหมาะสมกับแหล่งที่อยูอ่ าศัยที่มีลกั ษณะอย่างไร


ก. บริ เวณที่ดินแห้ งแล้ ง ข. บริ เวณที่มีแมลงชุกชุม
ค. บริ เวณที่ดินมีสารอาหารต่า ง. บริ เวณที่ได้ รับแสงแดดน้ อย
78. พฤติกรรมหนึง่ ที่ช่วยให้ ปลาแซลมอนอพยพกลับจากทะเลมาผสมพันธุ์และวางไข่ในแม่น ้าที่มนั เกิดได้ ถกู ต้ องคือ
พฤติกรรมใด
ก. kinesis ข. imprinting ค. habituation ง. insight learning
79. ในแต่ละปี พลังงานแสงถูกเปลีย่ นให้ เป็ นพลังงานเคมีในสารอินทรี ย์มากที่สดุ ในระบบนิเวศแบบใดและเพราะ
เหตุใด
ก. บริ เวณทะเลเปิ ด เพราะเป็ นระบบนิเวศที่มีพื ้นที่กว้ างขวางที่สดุ
ข. บริ เวณชายฝั่ งทะเล เพราะเป็ นระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบูรณ์สงู มากที่สดุ
ค. ในป่ าดิบชื ้น เพราะเป็ นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สดุ
ง. ในทุง่ หญ้ าสะวันนา เพราะเป็ นระบบนิเวศที่ได้ รับพลังงานแสงมากที่สดุ
80. ในการทดลองผสมลักษณะเดียวของ Mendel ข้ อใดแสดงลาดับของการทดลองถูกต้ อง
ก. cross pollination ถัว่ ลันเตา heterozygous ในรุ่น P ได้ ลกู heterozygous ในรุ่น F1 จากนัน้ self pollination
ลูกรุ่น F1 ได้ ลูก pure line และ heterozygous ในรุ่น F2
ข. self pollination ถัว่ ลันเตา pure line ในรุ่น P ได้ ลกู heterozygous ในรุ่น F1 จากนัน้ cross pollination ลูกรุ่น
F1 ได้ ลูก pure line และ heterozygous ในรุ่น F2
ค. cross pollination ถัว่ ลันเตา pure line ในรุ่น P ได้ ลกู heterozygous ในรุ่น F1 จากนัน้ self pollination ลูก
รุ่น F1 ได้ ลูก pure line และ heterozygous ในรุ่น F2
ง. self pollination ถัว่ ลันเตา heterozygous ในรุ่น P ได้ ลกู pure line ในรุ่น F1 จากนัน้ cross pollination ลูก
รุ่น F1 ได้ ลูก pure line และ heterozygous ในรุ่น F2
81. ในการทดลองผสมลักษณะเดียวของ Mendel ความน่าจะเป็ นของการทดลองและผลที่ได้ ในข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. ความน่าจะเป็ นของ sperm แต่ละแบบของต้ นในรุ่น P มีคา่ เท่ากับ 1
ข. ความน่าจะเป็ นของ egg แต่ละแบบของต้ นในรุ่ น F1 มีคา่ เท่ากับ 1
ค. ความน่าจะเป็ นของจีโนไทป์แต่ละแบบของต้ นในรุ่น F1 คานวณโดยใช้ กฎการคูณเท่านัน้
ง. ความน่าจะเป็ นของจีโนไทป์แต่ละแบบของต้ นในรุ่ น F2 คานวณโดยใช้ กฎการบวกและการคูณ
82. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์ Lucy
ก. จัดอยูใ่ นสปี ชีส์ Australopithecus afarensis
ข. ยังไม่สามารถเดิน 2 ขาได้
ค. มีลกั ษณะผสมผสานระหว่างลักษณะของมนุษย์กบั ลิงไม่มีหาง
ง. เชื่อว่าเป็ นบรรพบุรุษของมนุษย์ในจีนสั Homo
16

83. หากนักเรี ยนทดลองผสมพืชที่มีจีโนไทป์ดังต่อไปนี ้


(ต้ นพ่อ) aaBbCcDDEeFfgg  AAbbccDdEeffGg (ต้ นแม่)
ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. sperms ที่มาปฏิสนธิมีจีโนไทป์หลากหลายกว่า eggs
ข. ลูกที่ได้ มีจีโนไทป์ และฟี โนไทป์แตกต่างกัน 96 และ 32 แบบตามลาดับ
ค. ลูกที่ได้ จะมีจีโนไทป์เป็ น homozygous recessive ได้ มากที่สดุ 6 ยีน
ง. ลูกที่ได้ จะมีจีโนไทป์เป็ น heterozygous ได้ มากที่สดุ 7 ยีน
84. จากข้ อมูลเกี่ยวกับลักษณะ (ฟี โนไทป์) ของถัว่ ลันเตาต่อไปนี ้ ผลการทดลองในข้ อใดไม่ถกู ต้ อง

ลักษณะเด่น ลักษณะด้ อย
ดอกสีม่วง ดอกสีขาว
ต้ นสูง ต้ นเตี ้ย
เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว
เมล็ดกลม เมล็ดย่น
ก. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นสูงดอกสีม่วง กับถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นเตี ้ยดอกสีขาวในรุ่น P
ความน่าจะเป็ นที่จะได้ ลกู รุ่น F2 มีลกั ษณะเหมือนกับต้ นในรุ่น P เท่ากับ 10 ส่วน 16
ข. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นสูงเมล็ดสีเหลือง กับถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นเตี ้ยเมล็ดสีเขียวในรุ่น
P ความน่าจะเป็ นที่จะได้ ลกู รุ่น F2 มีลกั ษณะต่างจากต้ นในรุ่น P เท่ากับ 6 ส่วน 16
ค. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา homozygous ดอกสีม่วงเมล็ดย่น กับถัว่ ลันเตา homozygous ดอกสีขาวเมล็ดกลมในรุ่น
P ความน่าจะเป็ นที่จะได้ ลกู รุ่น F2 มีลกั ษณะเหมือนกับต้ นในรุ่น P เท่ากับ 6 ส่วน 16
ง. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นสูงเมล็ดสีเหลือง กับถัว่ ลันเตา homozygous ต้ นเตี ้ยเมล็ดสีเขียวในรุ่น
P ความน่าจะเป็ นที่จะได้ ลกู รุ่น F2 มีลกั ษณะต่างจากต้ นในรุ่น P เท่ากับ 10 ส่วน 16
85. จากข้ อมูลในข้ อ 84 ผลการทดลองในข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา heterozygous ต้ นสูงดอกสีม่วงเมล็ดกลม 2 ต้ น จะมีความน่าจะเป็ นที่ได้ ลกู ที่มีลกั ษณะ
ต่างจากต้ นพ่อแม่ และมีจีโนไทป์ของทุกยีนเป็ น homozygous เท่ากับ 9 ส่วน 64
ข. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา heterozygous ต้ นสูงดอกสีม่วงเมล็ดกลม 2 ต้ น จะมีความน่าจะเป็ นที่ได้ ลกู ที่มีลกั ษณะ
เหมือนกับต้ นพ่อแม่ แต่มีจีโนไทป์ของทุกยีนเป็ น homozygous เท่ากับ 1 ส่วน 64
ค. เมื่อผสมถัว่ ลันเตา heterozygous ดอกสีม่วงเมล็ดกลมสีเหลือง กับถัว่ ลันเตา homozygous ดอกสีม่วง
เมล็ดย่นสีเหลือง จะได้ ลกู ที่มีลกั ษณะต่างกัน 2 แบบเท่านัน้
ง. เมื่อนาเรณูของถัว่ ลันเตา homozygous ดอกสีขาวเมล็ดย่นสีเหลือง มาถ่ายลงบนเกสรตัวเมียของถัว่ ลันเตา
homozygous ดอกสีม่วงเมล็ดกลมสีเขียว จะไม่ได้ ลกู ที่มีลกั ษณะเหมือนต้ นแม่เลย
17

86. ในการทดลองผสมสองลักษณะของ Mendel ความน่าจะเป็ นของการทดลองและผลที่ได้ ในข้ อใดไม่ถกู ต้ อง


ก. ในการสร้ างเซลล์สบื พันธุ์ของถัว่ ลันเตาในรุ่น F1 ความน่าจะเป็ นของ sperm แต่ละแบบ มีคา่ เท่ากันทุกแบบ
ข. ในการสร้ างเซลล์สบื พันธุ์ของถัว่ ลันเตาในรุ่น F1 ความน่าจะเป็ นของ sperm ที่มีแต่ dominant alleles มีคา่
เท่ากับ 0
ค. ในการสร้ างเซลล์สบื พันธุ์ของถัว่ ลันเตาในรุ่น F1 ความน่าจะเป็ นของ sperm ที่มีทงั ้ dominant และ
recessive alleles มีคา่ เท่ากับ 0.5
ง. ในการสร้ างเซลล์สบื พันธุ์ของถัว่ ลันเตาในรุ่น F1 ความน่าจะเป็ นของ sperm แต่ละแบบ มีคา่ ไม่ตา่ งจาก
ความน่าจะเป็ นของ egg แต่ละแบบ
87. ข้ อใดแสดงลักษณะที่เปรี ยบเทียบกับการถ่ายทอดแบบ incomplete dominance ได้ ใกล้ เคียงที่สดุ
ก. ซักเสื ้อกล้ ามสีขาวร่วมกับเสื ้อสีแดงได้ เสื ้อกล้ ามสีขมพู
ข. หยดสีน ้ามันสีแดงลงบนผ้ าใบสีขาวได้ งานศิลป์ลายจุด
ค. ปั กด้ ายสีน ้าเงินลงบนเสื ้อนักเรี ยน ได้ เสื ้อที่มีชื่อของนักเรี ยนเป็ นเจ้ าของ
ง. นากระโปรงนักเรี ยนสีซีดไปย้ อมคราม ได้ กระโปรงสีสดเหมือนซื ้อใหม่
88. ข้ อใดไม่พบในยีนที่มีการถ่ายทอดแบบ multiple allele
ก. ในสิง่ มีชีวิต 1 ตัว อาจพบ allele ของยีนนี ้ได้ มากกว่า 2 แบบ
ข. ในสิง่ มีชีวิต 1 ตัว อาจพบ allele ของยีนนี ้ได้ น้อยกว่า 2 แบบ
ค. ในประชากรของสิง่ มีชีวิต 1 ชนิด อาจพบ dominant allele ของยีนนี ้ได้ มากกว่า 2 แบบ
ง. ในประชากรของสิง่ มีชีวิต 1 ชนิด อาจพบความสัมพันธ์ ระหว่าง allele ของยีนนี ้ที่ไม่เป็ นไป
ตามแบบของ Mendel
89. หากสีของดอกไม้ ชนิดหนึง่ มีการถ่ายทอดแบบ multiple allele ในขณะที่ความยาวของช่อดอกมีการถ่ายทอด
แบบ incomplete dominant ผลการผสมในข้ อใดไม่นา่ เกิดขึ ้นได้
ก. ผสมต้ นพ่อแม่ที่มีสดี อกเหมือนกัน แต่ได้ ลกู ที่มีสดี อกต่างออกไป
ข. ผสมต้ นที่มีช่อดอกสัน้ กับต้ นที่มีช่อดอกยาว ได้ ลกู ที่มีช่อยาวกึ่งกลางของพ่อแม่
ค. ผสมต้ นพ่อแม่ที่มีสดี อกเหมือนกัน แต่ช่อดอกยาวไม่เท่ากัน ได้ ลกู ทังหมดที ้ ่มีสแี ละความยาวช่อเหมือนต้ นพ่อ
แม่ต้นใดต้ นหนึง่
ง. ผสมต้ นพ่อแม่ที่มีสดี อกต่างกัน แต่ช่อดอกยาวเท่ากัน ได้ ลกู จานวนหนึง่ ที่มีสดี อกเหมือนต้ นพ่อและอีกจานวน
หนึง่ มีสดี อกเหมือนต้ นแม่ แต่ลกู ทังหมดมี
้ ความยาวช่อเท่ากัน
90. กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์หลังระยะไซโกต กลไกใดพบมากในพืช
ก. ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริ ญพันธุ์ ข. ลูกผสมเป็ นหมัน
ค. ลูกผสมล้ มเหลว ง. ข้ อ ข. และ ค. ถูกต้ อง
18

91. ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง
ก. การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ใช้ รังสีแกมมาชักนาให้ เกิดมิวเทชัน
ข. นกฟิ นช์มีจะงอยปากที่แตกต่างกัน เพราะลดการแก่งแย่งอาหาร
ค. ความแปรผันทางพันธุกรรมทาให้ สงิ่ มีชีวิตในสปี ชีส์หนึง่ ๆ มีลกั ษณะที่แตกต่างกัน
ง. สิง่ มีชีวิตที่เกิดจากการโคลนจะไม่มีโอกาสเกิดลักษณะทางพันธุกรรมที่ตา่ งจากสิง่ มีชีวิตต้ นแบบ
92. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับพอลิพลอยดี
ก. พบในสัตว์น้อยกว่าในพืช
ข. เกิดจากสิง่ มีชีวิตสปี ชีส์เดียวกันเป็ นส่วนมาก
ค. มีสาเหตุจากความผิดปกติของกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
ง. มีสาเหตุจากที่ไม่สามารถถ่ายเทเคลือ่ นย้ ายยีนระหว่างสมาชิกในประชากร

จงใช้ ภาพด้ านล่างตอบคาถามข้ อที่ 9394

อวัยวะ X

อวัยวะเป้าหมาย

93. สาร เป็ นสารที่ผลิตที่อวัยวะ X และมีการลาเลียงภายในร่างกายไปยังอวัยวะเป้าหมายโดยอาศัยกลไกดัง


ภาพหากอวัยวะ X คือ ต่อมใต้ สมองส่วนหน้ า สาร น่าจะเป็ น
ก. melatonin ข. calcitonin ค. endorphin ง. oxytocin
94. หากสาร เป็ นโพลิเปปไทด์ จะมีกลไกการกระตุ้นอวัยวะเป้าหมายโดยอาศัยตัวรับ (receptor) ที่บริ เวณใด
ก. ตัวรับบริ เวณดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์เป้าหมาย
ข. ตัวรับบนเยื่อหุ้มนิวคลียส (nuclear membrane) ของเซลล์เป้าหมาย
ค. ตัวรับภายในไซโทซอล (cytosol) ของเซลล์เป้าหมาย
ง. ตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ของเซลล์เป้าหมาย
95. การเคลือ่ นที่ของอาหารจากหลอดอาหารลงสูก่ ระเพาะอาหาร ที่เรี ยกว่า peristalsis อาศัยการทางานของ
กล้ ามเนื ้อชนิดใดเป็ นหลัก
ก. smooth muscle ข. cardiac muscle ค. skeletal muscle ง. striated muscle
19

จงใช้ ภาพด้ านล่างตอบคาถามข้ อที่ 9697


นักเรี ยนชายคนหนึ่ง รับประทานอาหารค่าเวลา 18.00 น. เมื่อรับประทานอาหารเสร็ จ จึงได้ วดั ระดับน ้าตาลในเลือด
ทุก ๆ 2 ชัว่ โมง ตังแต่
้ เวลา 18.00 น. จนถึง 6.00 น. ของวันถัดไป ได้ ผลการทดลองดังภาพ

ระดับน ้าตาลในเลือด (g/dL)

96. จากข้ อมูลข้ างต้ น อินซูลนิ ของนักเรี ยนน่าจะทางานสูงสุดในช่วงเวลาใด


ก. 18.0020.00 น. ข. 20.0022.00 น. ค. 22.0024.00 น. ง. 04.0006.00 น.
97. อินซูลนิ มีกลไกการทางานที่สอดคล้ องกับผลการทดลองอย่างไร
ก. เร่งการสลายไกลโคเจนเป็ นกลูโคส
ข. เร่งการสร้ างดูดซึมของกลูโคสเข้ าสูก่ ระแสเลือดบริ เวณลาไส้ เล็ก
ค. เร่งการดูดซึมกลูโคสจากกระแสเลือดเข้ าสูเ่ ซลล์ร่างกาย
ง. เร่งกระบวนการหายใจในระดับเซลล์เพื่อเพิ่มการเผาผลาญกลูโคส
98. ในขณะที่นกั เรี ยนยืดแขนออกไปด้ านหน้ าลาตัวจนสุด กล้ ามเนื ้อที่บริ เวณแขนจะมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไร

กล้ ามเนื ้อ กล้ ามเนื ้อ กล้ ามเนื ้อ กล้ ามเนื ้อ


Biceps Triceps Flexors Extensors
ก. หดตัว คลายตัว หดตัว คลายตัว
ข. หดตัว คลายตัว คลายตัว หดตัว
ค. คลายตัว หดตัว คลายตัว หดตัว
ง. คลายตัว หดตัว หดตัว คลายตัว
20

99. ในระหว่างที่ลกู อ๊ อดเจริ ญเติบโตจนกลายเป็ นกบตัวเต็มวัย ร่างกายของกบมีการเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสร้ าง


หลายอวัยวะ เช่น มีการลดลงของหาง มีการพัฒนาของรยางค์ และมีการเจริ ญของกระดูก เป็ นต้ น (ดังภาพ)
กระบวนการเมทามอร์ โฟซิส (metamorphosis) ที่เกิดขึ ้นโดยอาศัยการทางานของไทรอกซิน (thyroxin) ที่สร้ าง
จากต่อมไทรอย์ เหตุใดไทรอกซินกระตุ้นให้ เซลล์เป้าหมายในอวัยวะต่าง ๆ ทางานต่างกัน

ก. ไทรอกซินมีโครงสร้ างเชิงเคมีหลากหลาย จึงมีความจาเพาะต่ออวัยวะต่าง ๆ แตกต่างกัน


ข. เซลล์เป้าหมายของไทรอกซินมีตวั รับและกลไกการตอบสนองเชิงเคมีในระดับเซลล์ที่แตกต่างกัน
ค. การทางานของ releasing hormone จากต่อมใต้ สมองกระตุ้นให้ ไทรอกซินที่หลัง่ ออกมาทางานแตกต่างกัน
ง. เซลล์เป้าหมายมีรูปแบบของตัวรับที่แตกต่างกัน บางชนิดมีตวั รับที่อยูท่ ี่เยื่อหุ้มเซลล์ บางชนิดมีตวั รับภายใน
นิวเคลียส
100. ในขณะที่ไส้ เดือนกาลังเคลือ่ นที่ดงั ภาพ กล้ ามเนื ้อตามยาว (longitudinal muscle) และกล้ ามเนื ้อวง (circular
muscle) ในบริ เวณ A (เส้ นประ) และ B (เส้ นทึบ) จะอยูใ่ นสภาพใด ตามลาดับ

บริ เวณ A บริ เวณ B


ก. กล้ ามเนื ้อตามยาว หดตัว กล้ ามเนื ้อวง หดตัว
ข. กล้ ามเนื ้อตามยาว หดตัว กล้ ามเนื ้อวง คลายตัว
ค. กล้ ามเนื ้อตามยาว คลายตัว กล้ ามเนื ้อวง หดตัว
ง. กล้ ามเนื ้อตามยาว คลายตัว กล้ ามเนื ้อวง คลายตัว

You might also like