You are on page 1of 7

เรียนเสริมพิเศษเย็น/เสาร์ วิชาชีววิทยา 4 ชื่อ ................................................... ชั้น ม.5/......เลขที่ .........

ความหลากหลายทางชีวภาพ
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ชื่อวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพราะเหตุใด 5. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดที่พิสูจน์ว่าสิ่งมีชีวิตมีกำเนิดจาก
ก. ขจัดปัญหาการเรียกชื่อซ้ำ ๆ กัน สิ่งมีชีวิต
ข. ระบุบริเวณการกระจายพันธ์ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ก. Alexander Oparin
ค. สามารถบอกลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นได้ ข. Louis Pasteur
ง. ให้มีความเข้าใจตรงกันว่าหมายถึงสิ่งมีชีวิตชนิด ค. Sidney Fox
เดียวกัน ง. Stanley Miller
2. ข้อใดเรียงลำดับการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตจากใหญ่ไป 6. ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับกำเนิดสิ่งมีชีวิตบนโลก
เล็กได้ถูกต้อง ของโอพารินได้ถูกต้อง
ก. Kingdom Phylum Class Order Genus 1. DNA เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดแรกที่เกิดขึ้นบนโลก
Family Species 2. บรรยากาศของโลกในยุคแรกประกอบด้วยแก๊ส
ข. Kingdom Class Phylum Order Genus NH3 H2 และ CH4
Family Species 3. หลังจากเกิดพอลิแซ็กคาไรด์ ลิพิด โปรตีน และกรด
ค. Kingdom Phylum Class Order Family นิวคลีอิก จึงเกิดเซลล์เริ่มแรก
Genus Species ก. 1 ข. 1, 2
ง. Kingdom Phylum Class Family Order ค. 2, 3 ง. 1, 2, 3
Genus Species 7. ไดโคโตมัสคีย์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ใดมีลักษณะ
3. ข้อใดเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ได้ถูกต้อง ดังต่อไปนี้
ก. Rosa rubra “ไม่มีขน – ไม่มีครีบคู่ – ผิวหนังไม่มีเกล็ด”
ข. Tectonac gradis ก. เต่า ข. จิ้งจก
ค. MANGIFERA INDIACA ค. จระเข้ ง. คางคก
ง. Dactylogyrud suratthaniensis 8. ข้อใดไม่นับว่าเป็นส่วนหนึ่งของความหลากหลายทาง
4. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม 2 ชนิด ที่อยู่ในออร์เดอร์ แฟมิลี ชีวภาพ
และจีนัส เดียวกันคือกลุ่มใด ก. ความหลากหลายของสปีชีส์
ก. Crocidura horsfieldi กับ Myotis horsfieldi ข. ความหลากหลายของพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต
ข. Crocidura horsfieldi กับ Crocidura Dracula ค. ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่ของสิ่งมีชีวิต
ค. Crocidura Dracula กับ Crocidura Dracula ง. ความหลากหลายของสารเคมีต่างๆ รอบสิ่งมีชีวิต
Dracula 9. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่คาดว่าทำให้บรรยากาศของโลกในอดีต
ง. Crocidura Dracula กับ Myotis horsfieldi มีปริมาณออกซิเจนมากขึ้น
ก. ไซยาโนแบคทีเรีย ข. ไดอะตอม
ค. สาหร่ายสีเขียว ง. พืชไม่มีท่อลำเลียง

ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 1


10. ความหลากหลายทางชีวภาพเกิดขึ้นจากข้อใด Staphylococcus sp.เป็นแบคทีเรียทรงกลม
1. มิวเทชัน ทั้งหมด
2. การสูญพันธุ์ ค. โรคฉี่หนู โรคซิฟิลิส มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย
3. การปรับตัว แกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว
ก. 1 ข. 1, 2 ง. E. coli เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการท้องร่วง
ค. 1, 3 ง. 1, 2, 3 16. สิ่งที่พบในสาหร่ายอื่นๆ แต่ไม่พบในเซลล์ของสาหร่าย
11. หากแยก blue-green algae ออกจากสาหร่ายชนิด สีเขียวแกมน้ำเงินคือ
อื่น ๆ ควรจะใช้ลักษณะใดเป็นเกณฑ์ ก. Carbohydrate
ก. ลักษณะโครงสร้างของนิวเคลียส ข. Cell membrane
ข. ชนิดของสารสีที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ค. Chlorophyll
ค. จำนวนเซลล์และวิธีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศ ง. Plastids
และไม่อาศัยเพศ 17. ลักษณะใดไม่ใช่คุณสมบัติของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
ง. รูปร่าง ลักษณะการจัดเรียงตัวของเซลล์ว่าเป็นสาย ก. พบทั้งชนิดที่เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์ต่อกัน
หรือคล้ายต้นพืชชั้นสูง เป็นสาย
12. กลุ่มโรคใดที่มีสาเหตุมาจากไวรัสทั้งหมด ข. มีรงควัตถุทั้งสีเขียวและสีน้ำเงินในคลอโรพลาสต์
ก. อีสุกอีใส หัดเยอรมัน ไข้เลือดออก ค. บางชนิดสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้
ข. ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม โปลิโอ ง. บางชนิดมีโปรตีนสูงมาก สามารถใช้เป็นอาหารได้ดี
ค. ไข้สมองอักเสบ คอตีบ คางทูม 18. เมือ่ นำแบคทีเรียแกรมบวกเปรียบเทียบกับแบคทีเรีย
ง. ตับอักเสบ เอดส์ บาดทะยัก แกรมลบ มีลักษณะอย่างไร
13. น้ำตาลสดที่ชาวสวนหาบมาขาย เมื่อเก็บไว้ค้างคืนจะมี ก. ติดสีม่วงมากกว่าสีแดง
กลิ่นของแอลกอฮอล์และมีรสเปรี้ยว ข. มีผนังเซลล์ที่ซับซ้อน
ก. แบคทีเรีย และเชื้อรา ค. ต่อต้านยาปฏิชีวนะได้ดีกว่า
ข. ยีสต์ และแบคทีเรีย ง. มี peptidoglycan น้อยกว่า
ค. เชื้อรามากกว่าหนึ่งชนิด 19. โครงสร้างของแบคทีเรียที่สามารถทนต่อความแห้งแล้ง
ง. แบคทีเรียและเชื้อรามากว่าหนึ่งชนิด สารเคมี และความร้อนคือ
14. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร ก. Exospore
มอเนอรา ข. Endospore
ก. สามารถดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นไม่ ค. Endosperm
สามารถทนได้ ง. Cell wall
ข. มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน 20. ข้อใดเป็นจริงเกี่ยวกับ Rhizobium และ Anabaena
ค. มีรูปร่างเป็นทรงกลม ทรงท่อน และทรงเกลียว 1. อยู่ในอาณาจักรโพรติสตา
ง. สารพันธุกรรมในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้ม 2. สังเคราะห์ด้วยแสงได้
15. ข้อใดไม่ถูกต้อง 3. ตรึงไนโตรเจน
ก. แบคทีเรียแกรมบวก แยกชนิดได้โดยการย้อมสี 4. ไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม
แกรมผนังเซลล์จะติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเลต ก. 1, 2 ข. 2, 3
ข. Lactobacillus sp. Bacillus sp. และ ค. 3, 4 ง. 1, 4
ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 2
21. โพรโทซัวชนิดใดทำให้เกิดบิดมีตัว 27. พืชที่นักวิชาการส่งเสริมให้มีการเลี้ยงในนาข้าวพร้อมๆ
ก. Spirogyra sp. กับการปลูกข้าวได้แก่ (A) เพราะพืชชนิดนี้สามารถ (B)
ข. Dinoflagellate ข้อความใน (A) และ (B) คือข้อใด
ค. Giardia lamblia ก. (A) จอก (B) เพิ่มปริมาณแร่ธาตุที่ข้าวต้องการ
ง. Entamoeba histolytica ข. (A) แหนแดง (B) เพิ่มไนโตรเจนได้
22. โพรโทซัวชนิดใดทำให้เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping ค. (A) สาหร่ายไฟ (B) เพิ่มปริมาณแร่ธาตุที่ข้าว
sickness) ต้องการ
ก. Spirogyra sp. ง. (A) ไข่น้ำ (B) นำมาเป็นอาหารมนุษย์ได้
ข. Dinoflagellate 28. Diatomaceous earth ซึ่งมีลักษณะเป็นชั้นหนา 300-
ค. Plasmodium sp. 400 เมตร ใต้ท้องทะเลเกิดจากซากทับถมของ
ง. Trypanosoma sp. ก. สาหร่ายสีเขียว
23. โพรโทซัวชนิดใดทำให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ข. สาหร่ายสีแดง
ก. Spirogyra sp. ค. สาหร่ายสีน้ำตาล
ข. Dinoflagellate ง. สาหร่ายสีน้ำตาลแกมเหลือง
ค. Plasmodium sp. 29. การที่เรามองเห็นสาหร่ายสีแดง มีสีแดงเด่นชัดเพราะ
ง. Sargassum sp. ก. Carotene ข. Xanthophyll
24. เพราะเหตุใดจึงพบมีประชากรของไลเคนส์อย่าง ค. Fucoxanthin ง. Phycoerythrin
หนาแน่นตามก้อนหิน และกิ่งไม้ในป่าที่เขาใหญ่ แต่ไม่ 30. ราเมือกมีลักษณะเด่นชัดคือ
ปรากฏพบตามกิ่งไม่และผนังอาคารในกรุงเทพฯ ก. สร้างสปอร์ในโครงสร้างคล้ายร่มเล็กๆ มีวุ้นลื่นๆ
ก. ไลเคนส์เจริญได้ในบริเวณป่าดิบชื้นเท่านั้น ห่อหุ้ม
ข. ไลเคนส์เจริญได้บริเวณที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลตั้งแต่ ข. ไม่มีนิวเคลียสที่มีเยื่อหุ้ม
80 เมตรขึ้นไป ค. ดำรงชีวิตแบบปรสิตเท่านั้น
ค. ไลเคนส์เจริญได้บริเวณที่อุณหภูมิค่อนข้างเย็น ง. เคลื่อนที่หากินได้คล้ายพวก Pseudopod
ง. ไลเคนส์เจริญได้ดีบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ 31. สารพิษที่เรียกว่า อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) เกิดจาก
25. สาหร่ายพวกใดที่เหมาะนำมาเลี้ยงในอุตสาหกรรมผลิต ราชนิดใด
โปรตีนเซลล์เดียว ก. Rhizopus nigricans
ก. ไดอะตอม คลอเรลลา ซีนเดสมัส ข. Aspergillus flavus
ข. ซีนเดสมัส สไปรูไลนา คลอเรลลา ค. Penicillium notatum
ค. ครูโอคอกคัส คลอเรลลา สไปรูไลนา ง. Saccharomyces cerevisiae
ง. แคลมิโดโมแนส ไดอะตอม ซีนเดสมัส 32. ราที่มีการสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศจะใช้โครงสร้างใด
26. ข้อความเกี่ยวกับสาหร่ายในข้อใดไม่ถูกต้อง ก. โคนิเดีย ข. ไซโกสปอร์
ก. พอร์ไฟรา เป็นสาหร่ายสีแดงที่ใช้เป็นอาหาร ข. แอสโคสปอร์ ง. เบสิดิโอสปอร์
ข. ลามินาเรีย และพาไดนา ใช้ทำปุ๋ยโพแทสเซียมได้ดี 33. สิ่งมีชีวิตในข้อใดจะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ถ้าขาด
ค. กราซิลาเรีย นำมาใช้สกัดวุ้น สารอินทรีย์จากสิ่งแวดล้อม
ง. ฟิวกัส เป็นสาหร่ายสีน้ำตาลที่ให้ไอโอดีนสูงและใช้ ก. Oscillatoria sp. ข. Aspergillus sp.
เป็นอาหาร ค. Chlorella sp. ง. Spirulina sp.
ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 3
34. สิ่งมีชีวิตในข้อใดจัดอยู่ในไฟลัมเดียวกัน ง. มีแบคทีเรียเจริญอยู่ด้วยด้วยทำให้ เจริญเติบโต
ก. เฟิน เทาน้ำ มอส รวดเร็ว
ข. แบคทีเรีย เห็ด ยีสต์ 41. ข้อใดเรียงลำดับพืชตามสายวิวัฒนาการจากต่ำไปสูงได้
ค. ยีสต์ ราแดง ทรัฟเฟิล ถูกต้อง
ง. สาหร่ายไฟ จีฉ่าย ซาร์กัสซัม ก. มอส ปรง หวายทะนอย สนทะเล เฟิน
35. ข้อใดเป็นลักษณะร่วมของฟังไจ ข. มอส หางสิงห์ ผักแว่น แปะก๊วย มะพร้าว
ก. สร้างไฮฟา ค. ฮอร์นเวิร์ท ตีนตุ๊กแก ปรง ผักแว่น สนเขา
ข. สร้างสปอร์ที่มีแฟลกเจลลา ง. ฮอร์นเวิร์ท เฟินก้านดำ มะพร้าว สนทะเล ปรง
ค. สร้างฟรุตติงบอดี 42. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ง. ผนังเซลล์มีไคทิน ก. แอนเทอริเดียมสร้างสเปิร์ม
36. บทบาทที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรฟังไจคือ ข. สปอโรไฟต์มีโครโมโซม n
ก. เป็นปรสิต ค. แกมีโทไฟต์มีโครโมโซม 2n
ข. เป็นผู้ผลิต ง. สปอโรไฟต์มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์
ค. เป็นผู้ย่อยสลาย 43. “พืชและสัตว์ มีความเจริญก้าวหน้าสูงกว่าโปรตีสต์”
ง. เป็นผู้บริโภครายแรก ลักษณะสำคัญของพืชและสัตว์ที่สนับสนุนคำกล่าวนี้
37. เห็ดที่นำมาปรุงอาหารคือส่วนใด ก. มีหลายเซลล์
ก. ไฮฟา ข. ไมซีเลียม ข. มีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ
ค. ฟรุตติงบอดี ง. ไมคอร์ไรซา ค. มีระยะตัวอ่อน
38. ยีสต์ จัดอยู่ในอาณาจักรฟังไจ แต่จะมีลักษณะที่ ง. มีขนาดใหญ่
แตกต่างจากเห็ดราอื่น ๆ คือ 44. มอสเป็นพืชที่มีขนาดเล็ก ถ้าสมมติว่ามอสมีขนาดใหญ่
ก. ไม่มีนิวเคลียส เท่าต้นข้าวโพด มอสจะต้องตาย เพราะอะไร
ข. ไม่มีเส้นใยมีลักษณะเป็นเซลล์เดียว ก. ขาดอาหารเนื่องจากไม่มีใบที่แท้จริง
ค. สืบพันธุ์โดยการแตกหน่อไม่สร้างสปอร์ ข. ขาดน้ำและอาหาร เนื่องจากไม่มีระบบท่อลำเลียง
ง. มีประโยชน์มากกว่าเห็ดราอื่นๆ ค. ขาดน้ำและแร่ธาตุ เนื่องจากไม่มีรากที่แท้จริง
39. ไฮฟาของราดำ ทำหน้าที่สำคัญในข้อใด ง. ขาดอาหาร เนื่องจากสังเคราะห์ด้วยแสงได้ไม่พอ
ก. หลั่งเอนไซม์ 45. เฟิน เป็นพืชที่มีประโยชน์มากพวกหนึ่ง ลักษณะเด่นที่
ข. ช่วยผสมพันธุ์แบบอาศัยเพศ ทำให้แยกออกจากพืชอื่นๆ ได้ คือ
ค. ดูดซึมอาหาร ก. ใบอ่อนม้วนคล้ายลานนาฬิกา
ง. ถูกทุกข้อ ข. ใบมีกลุ่มอับสปอร์อยู่ด้านล่าง
40. ไม้สนเหมาะในการใช้ปลูกป่าเนื่องจาก ค. ลำต้นเป็นเถามีลักษณะเหนียว
ก. มีสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเจริญอยู่ด้วยทำให้ ง. ต้นสปอร์โรไฟต์ขึ้นบนต้นแกมีโตไฟต์
เจริญเติบโตรวดเร็ว 46. ข้อความในข้อใดถูกต้อง
ข. มีสาหร่ายสีเขียวเจริญอยู่ด้วยทำให้เจริญเติบโต ก. แกมีโทไฟต์มีโครโมโซม 2n สร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดย
รวดเร็ว การแบ่งแบบไมโอซิส
ค. มีราไมคอร์ไรซาเจริญอยู่ด้วยด้วยทำให้ เจริญเติบโต ข. แกมีโทไฟต์มีโครโมโซม n สร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดย
รวดเร็ว การแบ่งแบบไมโทซิส
ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 4
ค. สปอโรไฟต์มีโครโมโซม 2n สร้างสปอร์ โดยการแบ่ง ข. ชายผ้าสีดา : sorus ซอรัส
แบบไมโทซิส ค. สนสองใบ : strobilus สโตบิลัส
ง. สปอโรไฟต์มีโครโมโซม n สร้างสปอร์ โดยการแบ่ง ง. แหนแดง : ดอก
แบบไมโอซิส 54. พืชกลุ่มใดไม่มีเมล็ด
47. ข้อใดเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าสนสามใบ (A) มี ก. ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก หวายทะนอย
วิวัฒนาการสูงกว่าเฟิน (B) ข. หญ้าถอดปล้อง สน เฟิน
ก. A มีเมล็ด, B ไม่มีเมล็ด ค. เห็ด มอส เฟิน
ข. A มีเนื้อไม้, B ไม่มีเนื้อไม่ ง. ปรง สน หวาย
ค. A มีสโตรบิลัส, B ไม่มีสโตรบิลัส 55. พืชสกุลใดที่ไม่สร้าง “สตรอบิลัส”
ง. A มีเนื้อเยื่อลำเลียง, B ไม่มีเนื้อเยื่อลำเลียง ก. หญ้าถอดปล้อง ข. ตีนตุ๊กแก
48. ข้อใดคือพืชกลุ่มเมล็ดเปลือย (gymnosperm) ค. หวายทะนอย ง. สนสองใบ
ก. กุหลาบ ทานตะวัน บัว กล้วยไม้ 56. สัตว์ชนิดหนึ่งดำรงชีวิตอยู่ในทะเล จากรูปร่างของสัตว์
ข. ปรง สนสองใบ แปะก๊วย มะเมื่อย ชนิดนี้ไม่สามารถบอกความแตกต่างของส่วนหัวและ
ค. ผักแว่น จอกหูหนู ย่านลิเภา ชายผ้าสีดา ส่วนท้ายได้ เมื่อทิ้งให้ตายและอยู่ในสภาพแห้งจะมี
ง. หญ้าถอดปล้อง หวายทะนอย กูดเกี๊ยะ ตีนตุ๊กแก ลำตัวแข็ง จากข้อความข้างต้น สัตว์ชนิดนี้น่าจะอยู่ใน
49. โครงสร้างใดพบในข้าวและข้าวโพดแต่ไม่พบในปรง พวกใด
ก. Seed ข. Ovary ก. พวกฟองน้ำ ถ้าพบว่ามีเซลล์พวกเนมาโทซีส
ค. Ovule ง. Endosperm ข. พวกมอลลัสก์ ถ้าพบว่ามีลำตัวที่แข็งแบ่งเป็นปล้อง
50. กลุ่มพืชที่ไม่มีระบบท่อลำเลียง คือข้อใด ค. พวกไนดาเรียน ถ้าพบว่ามีหินปูนเป็นส่วนประกอบ
ก. หญ้าถอดปล้อง เฟิน ของลำตัวที่แข็ง
ข. ช้องนางคลี่ สามร้อยยอด ง. พวกเอไคโนเดิร์ม ถ้าพบว่ามีรูปร่างแบนคล้าย
ค. หวายตะมอย ต้นหางสิงห์ เหรียญบาทหรือค่อนข้างกลม
ง. มอส ลิเวอร์เวิร์ต 57. สัตว์กลุ่มใดที่นักวิทยาศาสตร์จำแนกไว้ในคลาส
51. พืชในข้อใดจัดอยู่ในไฟลัมเดียวกัน เดียวกัน
ก. สนสองใบ ปรง แป๊ะก๊วย ก. วาฬ ม้าน้ำ ปลาดุก
ข. มอส ไลโคโปเดียม ลิเวอร์เวิร์ต ข. กิ้งก่า อึ่งอ่าง ตะพาบน้ำ
ค. เฟินก้านดำ ชายผ้าสีดา ผักแว่น ค. ลิงลม แมว ฮิปโปโปเตมัส
ง. จอกหูหนู ตีนตุ๊กแก หวายทะนอย ง. เพรียงหัวหอม แม่เพรียง ทากทะเล
52. พืชในขอใดมีการปฏิสนธิซอน 58. จากไดโคโตมัสคีย์ของสัตว์ จงตอบคำถาม
ก. ผักแวนและผักกูด 1 ก. ลำตัวเป็นปล้อง..................................ดูข้อ 2
ข. ไขน้ำและแหนเปด 1 ข. ลำตัวไม่เป็นปล้อง..............................สัตว์ A
ค. สนสองใบและปรง 2 ก. มีขาเป็นข้อ........................................ดูข้อ 3
ง. สนและพืชมีดอก 2 ข. ไม่มีขาเป็นข้อ.....................................สัตว์ B
53. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับโครงสร้างที่ใช้ 3 ก. ส่วนหัวและส่วนอกรวมกัน................สัตว์ C
ในการสืบพันธุ์ได้ 3 ข. ส่วนหัวและส่วนอกแยกกัน................ดูข้อ 4
ก. หญ้าถอดปล้อง : cone โคน
ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 5
4 ก. มีปีก...................................................สัตว์ D ข. พยาธิตัวตืด พยาธิตัวจี๊ด
4 ข. ไม่มีปีก...............................................สัตว์ E ค. ปะการัง ดอกไม้ทะเล กัลปังหา
A B C และ D ควรจะเป็นสัตว์ใดตามลำดับ ง. พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย ไส้เดือนดิน
ก. ดาวทะเล แมงป่อง เหา ผีเสื้อ 64. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังแต่มีโนโตคอร์ดตลอดชีวิต
ข. แมงกะพรุน พยาธิใบไม้ ไร ด้วง ได้แก่
ค. พลานาเรีย ปลิงทะเล กุ้ง แมลงวัน ก. แอมฟิออกซัส (Amphioxus)
ง. ดอกไม้ทะเล ทากดูดเลือด กุ้ง แมลงหวี่ ข. เพรียงหัวหอม (tunicate)
59. กลุ่มสัตว์พวกใดที่มีการจัดระเบียบโครงสร้างร่างกายที่ ค. ปลาปากกลม
มีสมมาตร เป็นแบบเดียวกัน ง. ปลาฉลามและปลาปากกลม
ก. ดอกไม้ทะเล แมงกระพรุน ดาวเปราะ 65. มอลลัสกา เป็นสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม แต่สามารถสร้าง
ข. เม่นทะเล แม่เพรียง ฟองน้ำ เปลือกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต
ค. พลานาเรีย ไฮดรา โอบีเลีย ห่อหุ้ม มีสารชนิดใดที่ทำหน้าที่สร้างเปลือกหุ้มลำตัว
ง. เพรียงหัวหอม ปลาหมึก อะมีบา ก. เทนทาเคิล ข. แมนเทิล
60. ไฟลัมใดไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ค. ไคติน ง. เคราติน
ก. Arthropoda ข. Mollusca 66. สัตว์ในข้อใดมีความหลากหลายที่สุด
ค. Nematoda ง. Annelida ก. ฟองน้ำ ซีแอนนีโมนี แมงกะพรุน ยุง พยาธิตัวตืด
61. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของไฟลัมคอร์ดาตา แมงมุม
ก. มีช่องเหงือกอยู่บริเวณคอหอยในช่วงใดช่วงหนึ่งของ ข. ฟองน้ำ กัลปังหา พลานาเรีย ไส้เดือน ปู
ชีวิต อีแปะทะเล
ข. มีโนโทคอร์ดในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต ค. กัลปังหา ปะการัง แมงดา ไส้เดือน เม่นทะเล กุ้ง
ค. มีท่อประสาทกลวงด้านหลัง ง. ตะขาบ ปลิงทะเล พยาธิใบไม้ ฟองน้ำ แมงมุม
ง. มีกระดูกสันหลังตลอดชีวิต พยาธิแส้ม้า
62. ลักษณะสำคัญที่เด่นชัดของสัตว์จำพวกอาร์โทรพอด 67. สัตว์ในข้อใดต่อไปนี้ไม่เข้าพวกเพราะ coelom ใน
(Arthropod) ทุกชนิดที่แตกต่างกันจากพวกมอลลัสก์ ลำตัวมิได้บุด้วยเนื้อเยื่อชั้นมีโซเดิร์ม ซึ่งจะเป็นที่บรรจุ
(Mollusk) คือ ของอวัยวะต่าง ๆ
ก. มีระบบเลือดและการหมุนเวียนเลือดเป็นแบบวงจร ก. ปลิง ไส้เดือน ข. หอย แมลง
เปิด ค. ตัวตืด ไฮดรา ง. ปลาหมึก ดาวทะเล
ข. มีเปลือกแข็งหุ้มลำตัวเป็นโครงร่างภายนอก อ่านเหตุการณ์ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 68-70
(exoskeleton) เด็กชายปิติและเด็กหญิงชูใจสั่งส้มตำปู-ปลาร้ามา
ค. มีระยาง เช่น ขา หนวด ต่อกันเป็นข้อ (jointed รับประทาน ขณะรับประทานอยู่นั้นเด็กชายปิติอธิบาย
Appendage) ให้เด็กหญิงชูใจฟังว่า ปูที่ใส่ในส้มตำเป็นสัตว์ที่อยู่ใน
ง. เป็นสัตว์ไม่มีโนโตคอร์ด และกระดูกสันหลังแต่มี Phylum…...... (ข้อ 68) ส่วนปลาร้าเป็นสัตว์ที่อยู่ใน
เส้นประสาทอยู่ด้านหลัง Phylum.....…(ข้อ 69) ขณะเดียวกันเด็กชายปิติ สังเกต
63. สัตว์ในข้อใดจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันทั้งหมด เห็นหนอนน้อยสีขาวคลานอยู่บนปลาร้า จึงบอก
ก. กุ้ง หอย หมึก เด็กหญิงชูใจว่าต่อไปหนอนน้อยตัวนี้จะมีการเปลี่ยน-
แปลงเป็นแมลงวันซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ใน Phylum...(ข้อ70)
ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 6
68. สัตว์ในข้อความข้างต้นอยู่ในไฟลัมใด
ก. Phylum Mollusca
ข. Phylum Chordata
ค. Phylum Arthropoda
ง. Phylum Platyhelminthes
69. สัตว์ในข้อความข้างต้นอยู่ในไฟลัมใด
ก. Phylum Mollusca
ข. Phylum Chordata
ค. Phylum Arthropoda
ง. Phylum Platyhelminthes
70. สัตว์ในข้อความข้างต้นอยู่ในไฟลัมใด
ก. Phylum Mollusca
ข. Phylum Chordata
ค. Phylum Arthropoda
ง. Phylum Platyhelminthes

ชีววิทยา 4 ม.5 หน้า 7

You might also like