You are on page 1of 8

ข้อสอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อสอบ กลางภาค ภาคเรียนที่ 1


วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดที่ 2

ชื่อ ...................................................... นามสกุล..................................................................


เลขประจาตัว ...................................... โรงเรี ยน .................................................................
วันที่ ........................................ เดือน ...................................................... พ.ศ. ...................

คำชี้แจง 1. ข้อสอบมีท้งั หมด 20 ข้อ 20 คะแนน คะแนนที่ได้


2. ให้นกั เรี ยนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว คะแนนเต็ม 20

1. ข้อใดไม่ ได้แสดงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิตกับที่อยูอ่ ำศัย


ก. หมีข้วั โลกจะอำศัยอยู่ตำมถ้ ำบริ เวณขั้วโลกเหนื อ
ข. ไส้เดือนดินมักพบอยูต่ ำมดินร่ วนที่มีควำมชื้น
ค. หลังฝนตก บริ เวณแปลงปลูกผักสวนครัวมักมีคำงคกมำอำศัยอยู่
ง. ตำของเหยีย่ วจะมองเห็นชัดแม้อยูใ่ นระยะไกลมำก
2. แร้งเป็ นมีบทบำทอย่ำงไรในระบบนิเวศ
ก. ผูผ้ ลิต ข. ผูบ้ ริ โภคซำกสัตว์
ค. ผูย้ อ่ ยสลำยสำรอินทรี ย ์ ง. ผูบ้ ริ โภคทั้งพืชและสัตว์
3. สิ่ งมีชีวิต A ได้ประโยชน์จำกกำรอำศัยอยูร่ ่ วมกับสิ่ งมีชีวิต B โดยสิ่ งมีชีวิต B ไม่ได้และไม่เสี ยประโยชน์
ข้อใดเป็ นควำมสัมพันธ์เช่นเดียวกับควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิต A และ B
ก. มดดำกับเพลี้ย ข. โพรโทซัวในลำไส้ปลวก
ค. แบคทีเรี ยในรำกพืชตระกูลถัว่ ง. กล้วยไม้เกำะอยูบ่ นต้นไม้ใหญ่
4. สิ่ งมีชีวิตในข้อใดที่มีควำมสัมพันธ์แตกต่ำงจำกข้ออื่น
ก. เห็บบนตัวสุนขั ข. เสื อกับกวำง ค. งูกบั กบ ง. ปลำฉลำมกับปลำอื่นๆ
พิจำรณำสำยใยอำหำร ตอบคำถำมข้อ 5-7
5. ข้อใดแสดงโซ่อำหำรจำกสำยใยอำหำรที่กำหนดได้ถูกต้อง
ก. ข้ำว → คน → ตัก๊ แตน → กบ → เหยีย่ ว
ข. ข้ำว → วัว → คน → เหยีย่ ว
ค. ข้ำว → ตัก๊ แตน → กบ → เหยีย่ ว
ง. ข้ำว → ตัก๊ แตน → คน → วัว
6. จำกสำยใยอำหำรที่กำหนดให้ ข้อใดเป็ นทั้งผูบ้ ริ โภคลำดับที่ 1 และผูบ้ ริ โภคลำดับสุดท้ำย
ก. วัว ข. ตัก๊ แตน ค. คน ง. เหยีย่ ว
7. จำกสำยใยอำหำรที่กำหนด ข้อใดเป็ นเหตุกำรณ์ที่จะเกิดขึ้นเมื่อเหยีย่ วถูกล่ำโดยมนุษย์เป็ นจำนวนมำก
ก. วัวมีจำนวนลดลง ข. กบมีจำนวนเพิ่มขึ้น
ค. มนุษย์มีจำนวนลดลง ง. ตัก๊ แตนมีจำนวนเพิ่มขึ้น
8. “ผีเสื้ อวำงไข่บนใบผักกำด จำกนั้นไข่ฟักเป็ นหนอนและกินใบผักกำด ไก่มำจิกกินหนอน และงูกินไก่เป็ น
อำหำร” จำกข้อควำมถ้ำมีกำรฉี ดยำฆ่ำแมลงในใบผักกำด สัตว์ในข้อใดมีกำรสะสมปริ มำณสำรพิษมำก
ที่สุด
ก. งู ข. ไก่ ค. ผีเสื้ อ ง. หนอน
9. ข้อใดเป็ นแนวทำงที่ดีที่สุดในกำรช่วยรักษำสมดุลของระบบนิเวศป่ ำชำยเลน
ก. สนับสนุนกำรใช้ป่ำยชำยเลนเป็ นสถำนที่ท่องเที่ยว
ข. ควบคุมและลดจำนวนกำรแพร่ พนั ธุ์ของสัตว์ในป่ ำชำยเลน
ค. ฟื้ นฟูป่ำชำยเลนที่เสื่ อมสภำพโดยกำรปลูกป่ ำเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่ำชำยเลน
ง. ปิ ดกำรท่องเที่ยวป่ ำชำยเลนเพื่อฟื้ นฟูและรักษำควำมสมดุลของระบบนิ เวศ
10. ข้อใดกล่ำวได้ถูกต้อง
ก. เรำสำมำรถศึกษำลักษณะของโครโมโซมได้จำกออร์แกเนลล์ต่ำงๆ ภำยในเซลล์ได้
ข. เรำสำมำรถพบโครงสร้ำงของดีเอ็นเอได้ภำยในยีนที่ควบคุมลักษณะต่ำงๆ
ค. เนื่องจำกโครโมโซมมีลกั ษณะเหมือนกันเป็ นคู่กนั ดังนั้นยีนที่ควบคุมลักษณะต่ำงๆ จึงอยูเ่ ป็ นคู่ดว้ ย
ง. โครโมโซมแต่ละคู่จะควบคุมลักษณะที่ถ่ำยทอดทำงพันธุกรรม 1 ลักษณะ
11. ในกำรผสมพันธุ์ตน้ ถัว่ ลันเตำที่มีตน้ สู งไม่แท้ กับต้นเตี้ย ข้อใดกล่ำวถึงรุ่ นลูกได้ถูกต้อง ถ้ำกำหนดให้ T
แทนแอลลีลต้นสูงซึ่งเป็ นแอลลีลเด่น และ t แทนแอลลีลต้นเตี้ยซึ่งเป็ นแอลลีลด้อย โดยแอลลีลเด่นข่ม
แอลลีลด้อยได้อย่ำงสมบูรณ์
ก. รุ่ นลูกจะมีจีโนไทป์ ได้ 3 แบบ
ข. รุ่ นลูกจะมีลกั ษณะเป็ นพันทำงทุกต้น
ค. อัตรำส่ วนฟี โนไทป์ ต้นสู งต่อต้นเตี้ยเป็ น 3 : 1
ง. รุ่ นลูกจะไม่มีโอกำสเกิดต้นที่เป็ นต้นสูงพันธุ์แท้
12. ถ้ำผสมพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่มีรูปแบบยีนควบคุมลักษณะหนึ่งเป็ น Aa และ Aa โดยที่ A แทนแอลลีลเด่น
และ a แทนแอลลีลด้อย โดยแอลลีลเด่นข่มแอลลีนด้อยอย่ำงสมบูรณ์ ลูกที่เกิดมำจะมีอตั รำส่วนของฟี โน
ไทป์ ที่เหมือนพ่อและแม่ต่อฟี โนไทป์ ที่ต่ำงจำกพ่อและแม่ดงั ข้อใด
ก. 1:1 ข. 3:1 ค. 1:3 ง. 2:1
13. ข้อใดกล่ำวถึงกำรแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ถูกต้อง
ก. เซลล์ลูกที่ได้จำกกำรแบ่งเซลล์มีโครโมโซมเหมือนเซลล์ต้ งั ต้น
ข. โครโมโซมจะมำเรี ยงตัวกลำงเซลล์ในระยะแอนำเฟส
ค. มีกำรแบ่งไซโทพลำซึมก่อนกำรแบ่งนิวเคลียส
ง. ทำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม
14. เมื่อศึกษำโครโมโซมของเด็กผูห้ ญิงคนหนึ่งจำกกำรทำแครี โอไทป์ พบว่ำ เด็กคนนี้ มีจำนวนโครโมโซม
ทั้งหมด 47 แท่ง ลักษณะควำมผิดปกติที่มีโอกำสเกิดขึ้นกับเด็กคนนี้คือลักษณะใด
ก. กลุ่มอำกำรดำวน์ ข. โรคธำลัสซีเมีย ค. กลุ่มอำกำรคริ ดูชำ ง. กลุ่มอำกำรเทิร์นเนอร์
15. พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
1. กำรตรวจยีนก่อนกำรตั้งครรภ์
2. หลีกเลี่ยงกำรแต่งงำนในเครื อญำติ
3. ปรึ กษำแพทย์ก่อนกำรตั้งครรภ์
จำกข้อควำม ข้อใดเป็ นวิธีกำรป้องกันกำรเกิดควำมผิดปกติเกี่ยวกับโรคทำงพันธุกรรมได้
ก. เฉพำะข้อ 1 ข. ข้อ 1 และ 2 ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 , 2 และ 3
16. ข้อใดมีโอกำสเกิดขึ้นจำกกำรตัดต่อพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวิต
ก. ผลผลิตที่ได้มีปริ มำณน้อยลง
ข. คุณภำพของผลผลิตต่ำลง
ค. สิ่ งมีชีวิตมีควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรมลดลง
ง. ทำให้เกิดกำรแพร่ กระจำยของสิ่ งมีชีวิตที่ถูกดัดแปรพันธุกรรมที่ควบคุมไม่ได้
17. พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
“มันฝรั่ง GMOs เป็ นมันฝรั่งที่มีคุณค่ำทำงสำรอำหำรที่เพิ่มมำกขึ้นโดยได้ใส่ ยีนของแบคทีเรี ยที่ชื่อ
Bacillus thuringiensis แทรกเข้ำไปในยีนของมันฝรั่ง ทำให้มนั ฝรั่ง GMOs มีคุณค่ำทำงสำรอำหำรเพิ่ม
มำกขึ้น (เพิ่มปริ มำณโปรตีน) และในบำงชนิดอำจมีประโยชน์ในทำงกำรแพทย์ที่สำมำรถผลิตวัคซี นที่
เป็ นประโยชน์กบั มนุษย์ได้”
จำกข้อควำมข้ำงต้นข้อใดคือประโยชน์ของ มันฝรั่ง GMOs
ก. ทำให้เกิดพืชที่มีควำมทนทำนต่อสภำพแวดล้อม
ข. ทำให้เกิดผลผลิตที่มีคุณค่ำทำงโภชนำกำรเพิ่มมำกขึ้น
ค. กำรผลิตยำรักษำโรคที่เกิดจำกควำมผิดปกติทำงพันธุกรรม
ง. ทำให้เกิดพืชที่ทนต่อศัตรู พืชและเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคพืช
18. “ประเทศไทยตั้งอยูใ่ นโซนร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อย ทำให้แต่ละภูมิภำคมีลกั ษณะทำงกำยภำพที่
แตกต่ำงกันไป เช่น ภำคเหนื อมีเทือกเขำสู ง มีป่ำไม้ ภำคกลำงเป็ นที่รำบลุ่มแม่น้ ำ ภำคตะวันออกเฉี ยง
เหนื อเป็ นที่รำบสู งขนำดใหญ่ ภำคใต้เป็ นเทือกเขำสู งสลับกับพื้นที่รำบและชำยฝั่ง”
จำกข้อควำมเป็ นควำมหลำยหลำยทำงชีวภำพในข้อใด
ก. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม
ข. ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ
ค. ควำมหลำกหลำยของชนิดสิ่ งมีชีวิต
ง. ควำมหลำกหลำยของประชำกรสิ่ งมีชีวิต
19. เพรำะเหตุใดบริ เวณที่มีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพมำก จึงทำให้เกิดควำมสมดุลในระบบนิเวศได้
ก. ทำให้มีอำณำเขตของสิ่ งมีชีวิตกว้ำงขวำงขึ้น สิ่ งมีชีวิตจึงอยูร่ ่ วมกันได้
ข. สิ่ งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะอำศัยอยูร่ ่ วมกัน ไม่เบียดเบียนสิ่ งมีชีวิตชนิดอื่น
ค. ทำให้ประชำกรสิ่ งมีชีวิตมีจำนวนมำก เกิดกำรแข่งขันสู ง
ง. เมื่อสิ่ งมีชีวิตชนิดใดชนิ ดหนึ่งมีกำรเปลี่ยนแปลงจะเกิดผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวิตชนิ ดอื่นน้อย
20. ข้อใดเป็ นกำรดูแลรักษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
ก. กำรร่ วมอนุรักษ์พนั ธุ์พืชและสัตว์หำยำก
ข. กำรนำสัตว์เลี้ยงไปปล่อยในป่ ำ
ค. กำรนำสัตว์ป่ำมำเลี้ยง
ง. กำรพัฒนำกำรผสมพันธุ์สัตว์ต่ำงชนิดกัน
เฉลยคำตอบอย่างละเอียด
ข้อสอบ กลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ชุดที่ 2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
1. ง. ตาของเหยี่ยวจะมองเห็นชัดแม้อยู่ในระยะไกลมาก
 เป็ นกำรพูดถึงลักษณะหรื อควำมสำมำรถของสิ่ งมีชีวิต ไม่ได้แสดงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิต
กับที่อยูอ่ ำศัย
2. ข. ผู้บริโภคซากสัตว์
 แร้งจะไม่ล่ำเหยื่อหรื อกินสัตว์ที่ยงั มีชีวิตอยู่เป็ นอำหำร แต่จะกินเฉพำะซำกสัตว์ที่ตำยแล้ว จึงจัดเป็ น
ผูบ้ ริ โภคซำกสัตว์
3. ง. กล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่
 กล้วยไม้เกำะอยูบ่ นต้นไม้ใหญ่ เป็ นควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตในระบบนิเวศแบบภำวะอิงอำศัย (+,0)
โดยกล้วยไม้ได้ประโยชน์จำกกำรอำศัยอยู่บนต้นไม้ ส่ วนต้นไม้ไม่ได้หรื อไม่เสี ยประโยชน์ ส่ วนมดดำกับ
เพลี้ยมีควำมสัมพันธ์แบบภำวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (+,+) โพรโทซัวในลำไส้ปลวก และแบคทีเรี ยในรำกพืช
ตระกูลถัว่ เป็ นควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตแบบภำวะพึ่งพำกัน (+,+)
4. ก. เห็บบนตัวสุนัข
 เห็บบนตัวสุนขั มีควำมสัมพันธ์กนั แบบภำวะปรสิ ต ส่วนเสื อกับกวำง งูกบั กบ และปลำฉลำมกับ
ปลำอื่นๆ มีควำมสัมพันธ์กนั แบบภำวะล่ำเหยือ่
5. ค. ข้าว → ตั๊กแตน →กบ →เหยี่ยว
 จากสายใยอาหารที่กาหนดให้ สามารถเขียนโซ่อาหารได้ดงั นี้
ข้าว → ตัก๊ แตน → กบ → เหยีย่ ว
ข้ำว → ตัก๊ แตน → คน
ข้ำว → คน
ข้ำว → วัว → คน
6. ค. คน
 จำกสำยใยอำหำรที่กำหนด คนกินพืชซึ่ งเป็ นผูผ้ ลิตจึงเป็ นผูบ้ ริ โภคลำดับ ที่ 1 และไม่มีสิ่งมีชีวิตใน
สำยใยอำหำรที่กินคน คนจึงเป็ นผูบ้ ริ โภคลำดับสุดท้ำย
7. ข. กบมีจำนวนเพิ่มขึ้น
 ในสำยใยอำหำร เหยี่ยวกินสัตว์เพียงชนิดเดียว คือ กบ เมื่อเหยี่ยวถูกล่ำโดยมนุษย์เป็ นจำนวนมำกขึ้น
จะทำให้กบมีจำนวนเพิม่ ขึ้น
8. ก. งู
ปริ มำณสำรพิษที่สะสมในโซ่ อำหำรจะเพิ่มขึ้นทีละขั้นตำมลำดับของผูบ้ ริ โภคที่สูงขึ้น และจะสะสม
มำกที่สุดในผูบ้ ริ โภคลำดับสุดท้ำย จำกโจทย์ งูเป็ นผูบ้ ริ โภคลำดับสุ ดท้ำย จึงมีกำรสะสมของปริ มำณสำรพิษ
มำกที่สุด
9. ค. ฟื้นฟูป่าชายเลนที่เสื่อมสภาพโดยการปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลน
 แนวทำงในกำรช่วยรักษำสมดุลของระบบนิเวศป่ ำชำยเลน คือ 1. กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรป่ ำชำยเลนให้
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชำชน โดยกำรสงวนรักษำไว้ และใช้ประโยชนจำกผลผลิตป่ ำชำยเลนในระยะยำว
รวมทั้งกำรฟื้ นฟูสภำพป่ ำชำยเลนขึ้นใหม่
2. ควบคุมและลดจำนวนกิจกรรมที่ใช้ประโยชน์ป่ำชำยเลน โดยไม่ถูกหลักกำรอนุรักษ์และนำไปสู่กำรทำลำย
ทรัพยำกรป่ ำชำยเลน เป็ นต้น
10. ค. เนื่องจากโครโมโซมมีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่กัน ดังนั้นยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ จึงอยู่เป็นคู่ด้วย
 โครโมโซม ประกอบด้วยสำรพันธุกรรมหรื อดีเอ็นเอและโปรตีน โดยบำงช่วงของดีเอ็นเอทำหน้ำที่
ควบคุมและกำหนดลักษณะทำงพันธุ กรรมต่ำงๆ เรี ยกบริ เวณนี้ ว่ำ ยีน ซึ่ งเรำจะสำมำรถพบโครโมโซมได้
ภำยในนิ วเคลียสของเซลล์ของสิ่ งมีชีวิต โดยโครโมโซมของสิ่ งมีชีวิตจะมีลกั ษณะเหมือนกันเป็ นคู่ เรี ยกว่ำ
ฮอมอโลกัสโครโมโซม ซึ่งเป็ นโครโมโซมที่มีกำรจัดเรี ยงยีนบนคู่โครโมโซมที่เหมือนกัน ทำให้ยนี ที่ควบคุม
ลักษณะทำงพันธุกรรมลักษณะเดียวกันอยูเ่ ป็ นคู่ดว้ ย
11. ง. รุ่นลูกจะไม่มีโอกาสเกิดต้นที่เป็นต้นสูงพันธุ์แท้
จำกโจทย์ เขียนแผนภำพได้ ดังนี้
รุ่ นพ่อแม่ Tt tt

T t t t

รุ่ นลูก : จีโนไทป์ Tt Tt tt tt


: ฟี โนไทป์ สูง(ทำง) สูง(ทำง) เตี้ย(แท้) เตี้ย(แท้)
ดังนั้น รุ่ นลูกไม่มีโอกำสเกิดต้นสูงพันธุ์แท้
12. ข. 3 :1
 จำกโจทย์ เขียนแผนภำพได้ดงั นี้
รุ่ นพ่อแม่ : ฟี โนไทป์ เด่น เด่น
: จีโนไทป์ Aa Aa

A a A a

รุ่ นลูก : จีโนไทป์ AA Aa Aa aa


: ฟี โนไทป์ เด่น เด่น เด่น ด้อย
รุ่ นพ่อแม่มีฟีโนไทป์ แสดงลักษณะเด่น
ดังนั้นอัตรำส่ วนรุ่ นลูกที่มีฟีโนไทป์ เหมือนรุ่ นพ่อแม่ต่อฟี โนไทป์ ที่แตกต่ำงจำกพ่อแม่ เป็ น 3 : 1
13. ง. 4 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
 พิจารณาตัวเลือกแต่ละข้อ
ข้อ ก. เซลล์ลูกที่ได้จำกกำรแบ่งเซลล์มีโครโมโซมเหมือนเซลล์ต้ งั ต้น ไม่ถูกต้อง เพรำะกำรแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิส เซลล์ลูกจะมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่ งหนึ่งจำกเซลล์ต้ งั ต้น
ข้อ ข. โครโมโซมจะมำเรี ยงตัวกลำงเซลล์ในระยะแอนำเฟส ไม่ถูกต้อง เพรำะกำรแบ่งเซลล์ท้ งั แบบไม
โทซิสและแบบไมโอซิส โครโมโซมจะมำเรี ยงตัวกลำงเซลล์ในระยะเมทำเฟส
ข้อ ค. มีกำรแบ่งไซโทพลำซึ มก่อนกำรแบ่งนิวเคลียส ไม่ถูกต้อง เพรำะในกำรแบ่งเซลล์ท้ งั แบบไมโทซิส
และแบบไมโอซิส จะเกิดกำรแบ่งนิวเคลียสก่อนกำรแบ่งไซโทพลำซึม
ข้อ ง. ทำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม ถูกต้อง เพรำะกำรแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะมีกำร
แลกเปลี่ยนชิ้นส่ วนของโครโมโซมในระยะโพรเฟส I ทำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรมได้
14. ก. กลุ่มอาการดาวน์
 กลุ่มอำกำรดำวน์ เกิดจำกควำมผิดปกติของจำนวนออโตโซมคู่ที่ 21 เกินมำ 1 แท่ง ทำให้มีจำนวน
โครโมโซมทั้งหมด 47 แท่ง ส่ วนโรคธำลัสซีเมียเป็ นควำมผิดปกติของยีนบนออโตโซม และกลุ่มอำกำรคริ ดู
ชำเป็ นควำมผิดปกติของรู ปร่ ำงออโตโซม ไม่เกี่ยวกับจำนวนโครโมโซม และกลุ่มอำกำรเทิร์นเนอร์เป็ นควำม
ผิดปกติของโครโมโซม X ที่ขำดไป ทำให้มีจำนวนโครโมโซมเป็ น 45 แท่ง
15. ง. ข้อ 1 , 2 และ 3
 วิธีการป้องกันการเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม สามารถป้องกันได้ ดังนี้
1. การตรวจประเมินความเสี่ ยงในการมีบุตรเป็ นโรคและการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์มารดา
2. การตรวจยีนก่ อนการตั้งครรภ์ สามารถวิเคราะห์ยีนที่ มีปั ญหายีนด้อยได้ถึ ง 600 ยีน ซึ่ งทาให้สามารถ
วิเคราะห์หาพาหะของโรคพันธุ กรรมที่ มีโอกาสก่ อให้เกิดความพิการและทุพพลภาพในอวัยวะต่างๆ ของ
ทารกได้ครอบคลุมมากขึ้น
3. หลีกเลี่ยงการแต่งงานในเครื อญาติ การแต่งงานในเครื อญาติ ส่ งผลให้ลกั ษณะด้อยของโรคทางพันธุกรรม
และสติปัญญาถูกฉายปรากฏออกมาได้ง่ายขึ้น เพราะไปลดโอกาสของความหลากหลายในการคัดเลือกของ
วิวฒั นาการเพื่อความอยูร่ อด เป็ นต้น
16. ง. ทำให้เกิดการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่ควบคุมไม่ได้
 ในกำรตัดต่อพันธุกรรม หรื อ GMOs ยังไม่มีผลกำรวิจยั ใดยืนยันได้วำ่ ปลอดภัย 100% โดยอันตรำยที่
อำจเกิดขึ้นจำกสิ่ งมีชีวิตที่ผ่ำนกำรตัดต่อพันธุ กรรม ได้แก่ เกิดอำกำรแพ้ เกิดกำรปนเปื้ อนสำรอันตรำย เกิด
ภำวะดื้อยำ นอกจำกนี้ อำจทำให้เกิดกำรแพร่ กระจำยของสิ่ งมีชีวิตที่ควบคุมไม่ได้ เช่น สุ ดยอดแมลง (super
bug) หรื อ สุดยอดวัชพืช (super weed) ซึ่งอำจทำให้ควำมสมดุลของระบบนิเวศสูญเสี ยไป

17. ข. ทำให้เกิดผลไม้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพิ่มมากขึ้น
 จำกข้อควำม ประโยชน์ของมันฝรั่ง GMOs คือ มีคุณค่ำทำงสำรอำหำรที่เพิ่มมำกขึ้น
18. ข. ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 ควำมหลำกหลำยของระบบนิ เวศ คือ ควำมหลำกหลำยของลักษณะพื้นที่ในแต่ละภูมิภำคของโลกที่
แตกต่ำงกัน รวมทั้งสภำพภูมิอำกำศ ลักษณะภูมิประเทศ ทำให้ระบบนิเวศในแต่ละพื้นที่มีควำมหลำกหลำย
19. ง. เมื่อสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นน้ อย
 ระบบนิ เวศที่ มีควำมหลำกหลำยทำงชี วภำพของสิ่ งมีชีวิตมำก จะทำให้มีจำนวนชนิ ดและจำนวน
ประชำกรของสิ่ งมีชีวิตมำก เมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงกับสิ่ งมีชีวิตชนิ ดหนึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวิตชนิด
อื่นน้อยลง เช่น ในโซ่ อำหำรในระบบนิ เวศที่มีควำมหลำกหลำยทำงชี วภำพสู ง สิ่ งมีชีวิตสำมำรถเลื อกกิ น
อำหำรได้มำกขึ้น เมื่ อสิ่ งมี ชีวิตที่ เป็ นอำหำรลดจำนวนลงก็จะไม่ส่งผลต่อสิ่ งมี ชีวิตที่ เป็ นผูบ้ ริ โภค เพรำะ
สำมำรถเลือกกินอำหำรจำกสิ่ งมีชีวิตชนิดอื่นได้
20. ก. การร่วมอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์หายาก
 กำรรักษำควำมหลำกหลำยทำงชี วภำพให้ยงั่ ยืน เรำควรร่ วมกันอนุรักษ์พนั ธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่หำ
ยำกหรื อใกล้สูญพันธุ์ ร่ วมกันรณรงค์ต่อต้ำนกำรบุกรุ กและใช้ประโยชน์จำกพื้นที่ธรรมชำติ จัดกิจกรรมที่
ช่วยรักษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ รวมทั้งควบคุมและกำจัดมลพิษไม่ให้ปนเปื้ อนสู่ สิ่งแวดล้อม

You might also like