You are on page 1of 72

1

สารบัญเฉลยหนังสือเรียน
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2 เทคโนโลยีชวี ภาพ 13
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 จุลินทรีย์ในอาหาร 16
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 สารเคมีในชีวิตประจาวัน 29
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5 พอลิเมอร์ 37
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 6 ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ 49
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 7 ไฟฟูาในชีวติ ประจาวัน 60
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 8 คลื่นแม่เหล็กไฟฟูา 67
2

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

ลักษณะทางพันธุกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสารวจและระบุลักษณะพันธุกรรมที่ถํายทอดจากรุํนตํางๆ ในครอบครัวผู๎เรียน
วิธีทา
1. สารวจลักษณะทางพันธุกรรมบางลักษณะของเพื่อนผู๎เรียนภายในห๎อง มีความเหมือนหรือแตกตํางกันอยํางไร
2. สารวจลักษณะทางพันธุกรรมบางลักษณะของบุคคลภายในครอบครัวของผู๎เรียนอยํางน๎อย 3 รุํน เชํน ปู่ ยํา
ตา ยาย พํอ แมํ พี่ น๎อง มีลักษณะอยํางไร
3. รายงานลักษณะที่สารวจเป็นแผนภาพการถํายทอดแบบงํายๆ นาเสนอและอภิปรายผลการสารวจ ลักษณะ
เหลํานั้นมีความเหมือนและแตกตํางกันอยํางไร ระหวํางบุคคลในครอบครัว
ขึ้นอยู่กับผู้เรียนแต่ละคน

ศึกษาโครโมโซมเซลล์ปลายรากหอม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถอธิบาย เรื่องการแบํงเซลล๑แบบไมโทซัสได๎
อุปกรณ์
1. กล๎องจุลทรรศน๑ 1 ชุด
2. สไลด๑ถาวรเซลล๑ปลายรากหอม 1 ชุด
วิธีทา
1. ตรวจดูสไลด๑ถาวรเซลล๑ปลายรากหอมด๎วยกล๎องจุลทรรศน๑ โดยใช๎เลนส๑ใกล๎วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุด เลือก
บริเวณสไลด๑ที่เห็นนิวเคลียสลักษณะตํางๆ กัน แล๎วจึงใช๎เลนส๑ใกล๎วัตถุที่มีกาลังขยายสูงจนเห็นภาพชัดเจน
2. สังเกตความแตกตํางของนิวเคลียสแตํละเซลล๑แล๎วบันทึกภาพ นามาเปรียบเทียบกับภาพถํายแสดงการแบํง
เซลล๑นิวเคลียสในระยะตํางๆ ของเซลล๑ปลายรากหอม
ขึ้นอยู่กับผู้เรียนแต่ละคน

1. โครโมโซมในนิวเคลียสที่เห็นในเซลล๑ปลายรากหอมจากสไลด๑ถาวรมีความเหมือนหรือแตกตํางจากภาพถํายแสดง
การเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสแตํละเซลล๑ของปลายรากหอมอยํางไร
เฉลย ขึ้นกับผู้เรียน เพราะบางคนอาจเห็นบางระยะเท่านั้น
2. โครโมโซมในนิวเคลียสของเซลล๑ปลายรากหอมที่เห็นจากสไลด๑ถาวรอยูํในระยะใดบ๎าง
เฉลย ผู้เรียนควรจะเห็นครบทุกระยะได้แก่ ระยะโพรเพส ระยะเมทาเฟส ระยะแอนาเฟส และระยะเทโลเฟส
3

1. การแบํงเซลล๑ของสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตประกอบด๎วยขั้นตอนใด
เฉลย 1. การแบ่งนิวเคลียส 2. การแบ่งโซโทพลาซึม
2. การแบํงเซลล๑แบบไมโทซิสมีความสาคัญอยํางไร
เฉลย 1. เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ร่างกายในขณะที่มีการเจริญเติบโต
2. เพื่อทดแทนเซลล์ที่ตายไป
3. วัฏจักรของเซลล๑ประกอบด๎วยขั้นตอนใดบ๎าง
เฉลย ระยะอินเตอร์เฟส และระยะที่มีการแบ่งแบบไมโทซิส
4. ระยะอินเตอร๑เฟสแบํงเป็นระยะใดบ๎าง
เฉลย 1. ระยะก่อสร้าง DNA หรือระยะจี 1 (G1)
2. ระยะสร้าง DNA หรือระยะเอส (S)
3. ระยะหลังสร้าง DNA หรือระยะจี 2 (G2)
5. ระยะสร๎าง DNA มีความสาคัญอยํางไร
เฉลย ระยะที่เซลล์มีการสังเคราะห์ DNA เพิ่มอีกชุดหนึ่ง เรียกระยะนี้ว่า มีการจาลองตัวของโครโมโซม
6. ลาดับระยะการแบํงนิวเคลียสแบบไมโทซิส
เฉลย โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส
7. การแบํงไซโทพลาซึมในเซลล๑และเซลล๑สัตว๑มีความเหมือนและแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เหมือนกัน : การแบ่งไซโทพลาซึมจะแบ่งเซลล์เป็นเซลล์ใหม่ 2 เซลล์
ต่างกัน : เซลล์พืชมีการสร้างแผ่นกั้นเซลล์ตรงกลางระหว่างนิวเคลียสของเซลล์ใหม่ทั้ง 2 เซลล์
เซลล์สัตว์มีการคอดเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์เข้าหากัน
8. การแบํงเซลล๑แบบไมโอซิสมีความสาคัญอยํางไร
เฉลย เป็นการแบ่งเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในสัตว์หรือสร้างสปอร์ในพืช
9. ครอสซิโอเวอร๑ (crossing over) เกิดขึ้นได๎อยํางไร
เฉลย ระยะโพรเฟส I โครโมโซมที่เป็นฮอมอโลกัสกันจะเรียกตัวเป็นคู่กัน แต่ละคู่ของฮอมอโลกัสโครโมโซม
มี 4 โครมาทิต และอาจเกิดการไขว้กันของโครมาทิด เป็นผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครมาทิด
ต่างเส้นที่อยู่ชิดกัน ทาให้สารพันธุกรรมถูกแลกเปลี่ยนไปด้วย
10. เมื่อสิ้นสุดระยะไมโอซิส II เซลล๑ที่ได๎จากการแบํงเซลล๑มีจานวนเทําใด และมีจานวนโครโมโซมเทําใด
เฉลย ได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีจานวนโครโมโซมครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
4

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถเขียนภาพการถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. เขียนแผนภาพการถํายทอดลักษณะตา 2 ชั้น
กาหนดให๎ N และ n แทน แอลลีลคูํหนึ่งที่ควบคุมลักษณะตา 2 ชั้น โดย N แทนแอลลีนควบคุมลักษณะตา 2 ชั้น
และ N แทนแลลีลควบคุม ลักษณะตาชั้นเดียว

1) เซลล๑รํางกายลูกมีรูปแบบแอลลีลแบบใดบ๎าง
เฉลย NN และ Nn
2) จีโนไทป์ของลักษณะตา 2 ชั้น มีกี่แบบ อะไรบ๎าง
เฉลย 2 แบบ คือ ลักษณะตาชั้นเดียว และลักษณะตาสองชั้น
3) ลักษณะตา 2 ชั้นเป็นลักษณะเดํนหรือลักษณะด๎อย
เฉลย ลักษณะเด่น

2. เขียนแผนภาพแสดงการถํายทอดลักษณะคางบุ๐ม
กาหนดให๎ C และ c แทนแลลีลคูํหนึ่งที่ควบคุมลักษณะคางบุ๐ม โดย C แอลลีลควบคุมลักษณะคางบุ๐ม c แทน
แอลลีลควบคุมลักษณะคางไมํบุ๐ม
5

1) เซลล๑รํางกายลูกมีรูปแบบแอลลีลแบบใดบ๎าง
เฉลย CC Cc และ cc
2) ลูกมีฟีโนไทป์แบบใดบ๎าง
เฉลย ลักษณะคางบุ๋มและลักษณะคางไม่บุ๋ม

การถ่ายทอดลักษณะนิ้วเกิน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถเขียนเพดดีกรีแสดงลักษณะการถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิธีทา เขียนเพดดีกรีแสดงการถํายทอดลักษณะนิ้วเกิน
“นายสอนมีนิ้วมือ 12 นิ้ว แตํงงานกับสมศรีซึ่งมีลักษณะนิ้วปกติ มีลูกชายคนแรกมีลักษณะนิ้วเกินเหมือนพํอ
ตํอมาสมศรีมีลูกเพิ่มอีก 2 คน เป็นผู๎หญิงทั้งคูํ ลูกผู๎หญิงคนเล็กมีลักษณะนิ้วเกินเหมือนพี่ชาย ตํอมาลูกสาวทั้ง 2 คน
ได๎แตํงงานไป โดยลูกสาวคนแรกมีลูกชาย 2 คน มีลักษณะนิ้วปกติ สํวนลูกสาวคนเล็กของนายสอนมีลูกสาว 1 คน
มีลักษณะนิ้วเกิน”

การแก้โจทย์ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถแสดงวิธีทาการแก๎โจทย๑ปัญหาการถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. จงหาอัตราสํวนฟีโนไทป์ตํางๆ ในรุํนลูกที่เกิดจากพํอมีลักยิ้ม ที่มีจีโนไทป์ AA และ Aa กับแมํไมํมีลักยิ้มที่มีใน
จีโนไทป์ aa กาหนดให๎ A แทนแอลลีนการมีลักยิ้มเป็นลักษณะเดํน และ a แทนแลลีลการไมํมีลักยิ้มเป็นเป็น
ลักษณะด๎อย)
6

2. ลักษณะนิ้วสั้น (S) เป็นลักษณะเดํน ลักษณะนิ้วปกติ (s) เป็นลักษณะด๎อย ถ๎าลูกมีลักษณะนิ้วสั้นร๎อยละ 50 นิ้ว ปกติ


ร๎อยละ 50 จงหาจีโนไทป์ของพํอแมํ
7

3. กระตํายขนสีดาเป็นลักษณะเดํน (B) ขนสีน้าตาลเป็นลักษณะด๎อย (b) จงหาอัตราสํวนของฟีโนไทป์ตํางๆ ในรุํนลูก


ที่เกิดจากการผสมกันระหวํางกระตํายขนสีดาและกระตํายขนสีน้าตาล
8

4. อธิบายเหตุผลความเป็นไปได๎ กรณีตํอไปนี้
4.1 แมํและลูกมีเลือดหมูํ O ขายที่อ๎างวําตัวเป็นพํอมีเลือดหมูํ AB
4.2 หญิงคนหนึ่งมีเลือดหมูํ AB ยืนยันวําลูกมีเลือดหมูํ A เป็นบุตรที่แท๎จริงของขายที่มีเลือดหมูํ O

4.1

ลูกไมํมีโอกาสมีเลือดหมูํ O หรือโอกาสที่ลูกมีเลือดหมูํ O = 0%

4.2

ลูกไมํมีโอกาสมีเลือดหมูํ A ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได๎ที่จะเป็นบุตรแท๎จริงของชายที่มีเลือดหมูํ O
9

5. หญิงคนหนึ่งเป็นพาหะของโรคตาบอดสี แตํงงานชายตาบอดสี จงหาโอกาสของลูกที่เป็นโรคตาบอดสี

มิวเทชันของสิ่งมีชีวิต
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถอธิบายการเกิดประโยชน๑ และโทษของมิวเทชัน
วิธีทา 1. สืบค๎น รวบรวมตัวอยํางและข๎อมูลเกี่ยวกับมิวเทชันของสิ่งมีชีวิต
2. นาเสนอและอภิปรายตามประเด็นดังนี้
มิวเทชันเกิดขึ้นได๎อยํางไร
มิวเทชันมีประโยชน๑อยํางไร
มิวเทชันกํอให๎เกิดอันตรายอยํางไร
อยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน
10

1. มิวเทชันคืออะไร
เฉลย การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ
DNA
2. มิวเทชันทาให๎สิ่งมีชีวิตมีลักษณะบางอยํางแตกตํางไปจากพํอแมํได๎อยํางไร
เฉลย DNA ที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยที่โปรตีนบางชนิดทาหน้าที่
เป็นโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อ โปรตีนบางชนิดเป็นเอนไซม์ควบคุมเมแทบอลิซึม การเปลี่ยนแปลง
ของ DNA อาจทาให้โปรตีนที่สังเคราะห์ต่างไปจากเดิม ซึ่งส่งผลต่อเมแทบอลิซึมของร่างกายทาให้
โครงสร้างและการทางานของอวัยวะต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป จึงทาให้ลักษณะที่ปรากฏเปลี่ยนแปลงไปด้วย
3. สิ่งกํอการกลายหรือมิวทาเจนคืออะไร
เฉลย สิ่งที่สามารถกระตุ้นหรือชักนาให้ก่อการกลาย
4. พอลิพลอยคืออะไร
เฉลย สิ่งมีชีวิตที่มีจานวนมากกว่า 2 ชุด
5. ความผิดปกติทางพันธุกรรมตํอไปนี้เกิดขึ้นได๎อยํางไร
กลุํมอาการคริดูซาต๑ : ส่วนของแขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป
กลุํมอาการดาวน๑ : โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 โครโมโซม
กลุํมอาการไคลน๑เฟลเตอร๑ : พบในเพศชาย โครโมโซม x เกินกว่าปกติ อาจเป็น xxy และ xxxy
กลุํมอาการเทอร๑เนอร๑ : พบในเพศหญิง โครโมโซม x ขาดหายไป

1. โครโมโซมประกอบด๎วยสํวนใดบ๎าง
เฉลย โครมาทิด 2 เส้นยึดติดกันที่ตาแหน่งเซนโทรเมียร์
2. จานวนโครโมโซมสิ่งมีชีวิตชนิดตํางๆ มีความแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เซลล์สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีจานวนโครโมโซมคงที่ เช่น เซลล์ร่างกายของคน 1 เซลล์มี 46 โครโมโซม
โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ เรียกว่าฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome)
3. จานวนโครโมโซมของเซลล๑รํางกายและเซลล๑สืบพันธุ๑มีจานวนแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เซลล์สืบพันธุ์มีจานวนโครโมโซมครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย
4. ออโตโซมและโครโมโซมเพศแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย ออโตโซมเป็ น โครโมโซมที่ มี ยี น ควบคุ ม ลั ก ษณะต่ า งๆ ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การก าหนดเพศมี 22 คู่
โครโมโซมเพศเป็นโครโมโซมที่มียีนทาหน้าที่กาหนดลักษณะเพศมี 1 คู่
5. โครโมโซมเพศชายและโครโมโซมเพศหญิงแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เพศหญิงมีออโตโซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่ เป็น 44, xx
เพศชายมีออโตโซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่ เป็น 44, xx
11

6. โครมาทินประกอบด๎วยสํวนใดบ๎าง
เฉลย ดีเอ็นเอและโปรตีน
7. โครมาทินแตกตํางจากโครโมโซมอยํางไร
เฉลย ในนิวเคลียสของเซลล์ปกติที่ไม่ได้อยู่ระหว่างการแบ่งเซลล์ โครโมโซมจะคล้ายตัวเป็นเส้นบางยาว
เรียกว่า โครมาทิน ในนิวเคลียสของเซลล์ที่กาลังแบ่งตัวเส้นโครมาทินจะขดพันตัวหนาขึ้นและสั้นลง
เรียกว่า โครโมโซม
8. ดีเอ็นเอประกอบด๎วยหนํวยยํอยใด
เฉลย นิวคลีโอไทด์
9. นิวคลีโอไทด๑ของดีเอ็นเอ 1 หนํวยประกอบด๎วยสํวนใดบ๎าง
เฉลย น้าตาลดีออกซีไรโบส ไนโตรจีนัสเบส และหมู่ฟอสเฟต
10. อธิบายโครงสร๎างดีเอ็นเอ
เฉลย ดีเอ็นเอประกอบด้วยประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์หลายนิวคลีโอไทด์เรียงต่อกันเป็นสายยาวสองสายพัน
กันเป็นเกลียวคู่วนขวา แต่ละนิวคลีโอไทด์ภายในสายเดียวกันจะเชื่อมต่อกันระหว่างหมู่ฟอสเฟตและ
น้าตาลส่วนระหว่างสายยาวสองสายจะยึดกันด้วยพันธะระหว่างหมู่เบสที่เหมาะสม คือ เบสอะดีนีน
จับคู่กับเบสไทมีน และเบสกวานีนจับคู่กับเบสไซโทซีน

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1

1. ข๎อใดไมํสามารถถํายทอดลักษณะจากบรรพบุรุษไปสูํรุํนตํอๆ ไปได๎
เฉลย ค. โรคมาลาเรีย
2. แมวมีจานวนโครโมโซมเซลล๑รํางกาย 38 แทํง เซลล๑ไขํและอสุจิของแมวมีจานวนโครโมโซมเทําใด
เฉลย ก. 18 / 19
3. จานวนโครโมโซมปกติของเพสชายมีจานวน เฉลย ง. 44 , XY
4. แตํละโครโมโซมประกอบด๎วย ก 2 เส๎น ยึดติดกันที่ตาแหนํง ข ก และ ข คือข๎อใด
เฉลย ข. โครมาทิด / เซนโทรเมียร์
5. หมายเลข 1, 2 และ 3 คือข๎อใด
เฉลย ค. หมู่ฟอสเฟต น้าตาลดีออกซีโรโบส ไนโตรจีนัสเบส
6. ข๎อใดไมํถูกต๎องเกี่ยวกับกระบวนการแบํงเซลล๑
เฉลย ก. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเป็นการแบ่งของเซลล์สืบพันธุ์
7. กระบวนการแบํงเซลล๑ประกอบด๎วยระยะใดตามลาดับ
เฉลย ข. อินเตอร์เฟส โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส เทโลเฟส
8. ระยะใดเห็นโครโมโซมชัดเจนที่สุด
เฉลย ง. เมทาเฟส
12

9. ข๎อใดไมํถูกต๎องเกี่ยวกับกระบวนการแบํงเซลล๑แบบไมโอซิส
เฉลย ง. เมื่อสิ้นสุดไมโอซิส จะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ที่มีจานวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์เริ่มต้น
10. พํอเป็นพาหะของโรคผิวเผือก แมํมีลักษณะผิวเผือก โอกาสที่ลูกมีลักษณะผิวเผือกคิดเป็นร๎อยละเทําใด
เฉลย ข. ร้อยละ 50
11. พํอเลือดหมูํ O แมํเลือก AB โอกาสที่ลูกที่มีเลือดหมูํ A และหมูํ B คิดเป็นร๎อยละเทําใดตามลาดับ
เฉลย ข. 50 / 50
12. แมํมีลักษณะตาปกติ (Xc Xc) พํอมีลักษณะตาปกติ (Xc Y) ลูกที่เกิดมีโอกาสตาปกติและตาบอกสีคิดเป็นร๎อยละเทําไหรํ
เฉลย ค. 75 / 25
13. ข๎อใดไมํถูกต๎องเกี่ยวกับมิวเทชัน
เฉลย ก. มิวเทชันที่เกิดจากการชักนาของมนุย์เกิดในอัตราต่า
14. กลุํมอาการคริดูชาต๑เกิดจากความผิดปกติใด
เฉลย ข. ส่วนของแขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป
15. ข๎อใดคือจานวนโครโมโซมของกลุํมอาการดาวน๑
เฉลย ง. 47 โครโมรโซม
16. ข๎อใดจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
17. DNA สายผสมเกิดจากเทคโนโลยีชีวภาพข๎อใด
เฉลย ก. พันธุวิศวกรรม
18. ข๎อใดจัดเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
เฉลย ง. ข้อ ก. และ ข.
19. ข๎อใดไมํถูกต๎องเกี่ยวกับการโคลน
เฉลย ข. การโคลนเป็นการนานิวเคลียสของเซลล์ไข่ใส่เข้าไปในเซลล์ของร่างกายที่ถูกดุดเอานิวเคลียส
ออกไปก่อนแล้ว
20. ลายพิมพ๑ DNA นามาใช๎ประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ง. ข้อ ก. และ ข.
13

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2

1. เทคโนโลยีชีวภาพคืออะไร
เฉลย การนาเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสิ่งมีชีวิต หรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะ
และประโยชน์ตามต้องการ
2. พันธุวิศวกรรมคืออะไร
เฉลย การนาความรู้สาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในด้านเทคโนโลยีชีวภาพให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
3. ยกตัวอยํางพันธุวิศวกรรมที่ใช๎กันแพรํหลายในปัจจุบัน
เฉลย พันธุวิศวกรรม การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
4. DNA สายผสมเกิดขึ้นได๎อยํางไร
เฉลย การตัดต่อยีนหรือ DNA จากสิ่งมีชีวิตนาไปต่อเชื่อมกับยีนหรือ DNA ของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เกิด
เป็นยีนหรือ DNA สายผสม
5. GMOs คืออะไร
เฉลย GMOs ย่อมาจาก Genetic modified organisms คือ สิ่งมีชีวิตเกิดจากกระบวนการพันธุวิศวกรรม
เรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
6. กระบวนการสร๎าง DNA สายผสมมีขั้นตอนอยํางไร
เฉลย 1. การตัดยีน
2. การสร้าง DNA สายผสม
3. การจาลองยีนเมื่อแบคทีเรียเพิ่มจานวนขึ้นเรื่อยๆ
7. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมีประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ทาให้พืช เช่น ฝูาย ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ ฯลฯ ที่ได้รับการถ่ายฝากยีน Bacillus thuingisis มี
ความสามารถต้านทานแมลงได้ การนายีนจากแบคทีเรีย Erwinia bacteria ถ่ายฝากให้ข้าวทาให้
สามารถสร้างวิตามิน A ในเมล็ดได้
8. การโคลนหมายถึงอะไร
เฉลย การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ซึ่งมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนสิ่งมีชีวิตต้นแบบทุกประการ
9. การโคลนมีวิธีการอยํางไร
เฉลย การน านิ ว เคลี ย สของเซลล์ ร่ า งกายไปใส่ ใ นเซลล์ ไ ข่ ที่ ดู ด เอานิ ว เคลี ย สออกไปก่ อ นแล้ ว ด้ ว ย
กระบวนการนี้เซลล์ไข่ที่มีนิวเคลียสของเซลล์ร่างกายจะพัฒนาไปเป็นสิ่ งมีชีวิตตัวใหม่ โดยข้อมูลใน
สารพันธุกรรมจากนิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย สิ่งมีชีวิตตัวใหม่จึงมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือน
สิ่งมีชีวิตต้นแบบ
14

10. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อคืออะไร
เฉลย การนาเทคโนโลยีชีวภาพในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใช้ในการขยายพันธุ์พืช โดยการนาส่ วนใดส่วน
หนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ และมีการควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ
และความชื้น
11. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใช๎ขยายพันธ๑พืชชนิดใด
เฉลย พืชที่ได้รับการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์แล้ว รวมทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น กล้วยไม้ กุหลาบ คาร์เนชั่น
12. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีขั้นตอนใดบ๎าง
เฉลย 1. การเตรียมเนื้อเยื่อ
2. เพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์
3. เนื้อเยื่อเจริญเติบโตในอาหารสังเคราะห์
4. เนื้อเยื่อขยายขนาดเพิ่มขึ้น
5. ต้นอ่อนพร้อมที่จะนาไปปลูกในเรือนเพาะชา
13. การผสมเทียมนิยมทาในชนิดใด
เฉลย สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายใน เช่น วัว กระบือ สุกร และสัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอก เช่น ปลา
14. ลายพิมพ๑ DAN ของแตํละบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงได๎หรือไมํ
เฉลย ลายพิมพ์ DAN เป็นเอกลักษณ์เฉพาะบุคคลไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เพราะ DNA จากทุกเซลล์ใน
ร่างกายจะเหมือนกันหมด
15. ลายพิมพ๑ DNA นาไปใช๎ประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือก ตรวจทางนิติเวชศาสตร์เพื่อหาผู้กระทาผิด

1. พันธุวิศวกรรมกับเทคโนโลยีชีวิภาพเกี่ยวข๎องกันอยํางไร
เฉลย พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) เป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีชีวภาพที่นาความรู้ทาง
ชีววิทยามาใช้ประโยชน์กับสิ่งมีชีวิต
2. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมีผลดีและผลเสียอยํางไร
เฉลย ผลดี : ทาให้ได้พืชที่มีผลผลิตมากขึ้น ทาให้พืชมีความด้านทานต่อแมลงและวัชพืช ผลิตสารหรือ
ผลิตภัณฑ์โดยอาศัยสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็นแหล่งผลิต เช่น การใช้แบคทีเรียเป็นแหล่งผลิต
ฮอร์โมนอินซูลิน
ผลเสีย : การปลูกพืชดัดแปรพันธุกรรมเป็นบริเวณกว้าง จะทาให้พื้นที่เพาะปลูกที่มีพืชพันธุกรรม
แบบเดียวกัน อาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทาให้ลดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ผู้บริโภคยังมีความกังวลต่อผลิตภัณฑ์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมในแง่ความปลอดภัย
15

3. การโคลนมีประโยชน๑ตํอการปรับปรุงพันธุ๑หรือไมํ อยํางไร
เฉลย มีประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์ : ทาให้การคัดเลือกลักษณะใหม่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ทาได้ ง่าย
ในเวลารวดเร็ว
: ทาให้พืชที่มีพันธุกรรมแบบเดียวกันกับต้นแบบเป็นจานวนมาก
: ใช้ ข ยายพั น ธุ์ พื ช สายพั น ธุ์ แ ท้ ที่ เ ป็ น พ่ อ พั น ธุ์ แ ละแม่ พั น ธุ์ ไ ด้
จานวนมาก
4. จากภาพลายพิมพ๑ DAN ใครคือพํอที่แท๎จริงของเด็ก ทราบได๎อยํางไร
เฉลย X1 คือพ่อที่แท้จริงของเด็ก เพราะแถบลายพิมพ์ DNA ของเด็กตรงกับ X1 มากกว่า X2
5. การผสมเทียมและการถํายฝากตัวอํอนแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย การผสมเทียม เป็นการรีดน้าเชื้อจากสัตว์เพศผู้แล้วฉีดเข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์เพศเมีย
ในช่วงที่ไข่สุก อสุจิจะไปผสมกับไข่ และเกิดการปฏิสนธิ ส่วนการถ่ายฝากตัวอ่อน เป็นการนาตัวอ่อน
ของสัตว์ตัวให้ (donor) ออกจากมดลูก แล้วย้ายไปฝากไว้ในมดลูกของสัตว์ที่เป็นตัวรับ (recipient)
เพื่อทาหน้าที่รับการฝังตัวของตัวอ่อนและอุ้มท้องไปจนคลอด
6. เทคโนโลยีภายถูกนามาใช๎ประโยชน๑ในด๎านนิติเวช อยํางไร
เฉลย นักวิทยาศาสตร์สามารถตรวจหาดีเอ็นเอได้จากเศษของเนื้อเยื่อ เส้นผม หยดเลือด คราบอสุจิ หรือไข
กระดูก ถึงแม้จะมีปริมาณน้อยมากก็ตาม การเก็บตัวอย่างส่งตรวจจะต้องระมัดระวังจากการปนเปื้อน
จากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น สีย้อมผม สบู่ เป็นต้น ตัวอย่างของดีเอ็นเอใช้ระบุตัวของอาชญากรได้

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 2

1. ข๎อใดจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ
เฉลย ค. การนาขยะเปียกไปหมักให้ได้แก๊ส
2. ข๎อใดไมํใชํประโยชน๑จากเทคโนโลยีชีวภาพด๎านการแพทย๑
เฉลย ข. การผลิตเครื่องมือแพทย์
3. ข๎อใดเป็นการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช๎ประโยชน๑แบบงํายๆ ของคนในสมัยกํอน
เฉลย ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก
4. ข๎อใดไมํใช๎ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
เฉลย ง. หมูแดดเดียว
5. ข๎อใดไมํถูกต๎องตามความหมาย “การโคลน”
เฉลย ข. การโคลนเป็นการขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ
6. ผลที่ได๎จากพันธุวิศวกรรม ปัจจุบันได๎นามาใช๎โดยมีผลสาเร็จมากที่สุดในเรื่องใด
เฉลย ค. การปรับปรุงพันธุ์พืช
16

7. ข๎อใดหมายถึงพันธุวิศวกรรม
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
8. ลายพิมพ๑ดีเอ็นเอ นามาใช๎ประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก
9. ในการเพาะเนื้อเยื่อต๎องนากลุํมเซลล๑เนื้อเยื่อเจริญไปเลี้ยงในอาหารสูตรสาเร็จเพื่ออะไร
เฉลย ง. ให้กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญกลายเป็นคลคัส
10. สิ่งสาคัญที่สุดที่ต๎องระมัดระวังในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือข๎อใด
เฉลย ก. เทคนิคปลอดเชื้อ
11. GMOs คืออะไร
เฉลย ค. สิ่งมีชีวิตที่ผ่านการดัดแปรพันธุกรรม
12. ข๎อใดอาจเป็นอันตรายที่เกิดจากการสร๎างสิ่งมีชีวิต GMOs
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
13. วิธีการใดสามารถสร๎างสัตว๑ตัวใหมํ ให๎มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนสัตว๑ที่เป็นต๎นแบบได๎ทุกประการ
เฉลย ก. การโคลน
14. ข๎อแตกตํางของการทากิ๊ฟต๑กับการสร๎างเด็กหลอดแก๎วคืออะไร
เฉลย ข. ไข่และอสุจิที่ฉีดกลับเข้าไปในท่อนาไข่ยังไม่ได้รับการผสม
15. การผสมเทียมมีข๎อด๎อยกวําการถํายฝากตัวอํอนในเรื่องใด
เฉลย ง. ได้ลูกน้อยกว่าในช่วงเวลาเท่ากัน

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3

1. จุลินทรีย๑คืออะไร
เฉลย จุลินทรีย์คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ และสาหร่าย
2. บอกประโยชน๑ของจุลินทรีย๑ในด๎านตํางๆ
เฉลย ด้านการแพทย์ นามาใช้ผลิตสารปฏิชีวนะ
ด้านการเกษตร แบคทีเรียบางชนิดช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบ
ไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช
ด้านสิ่งแวดล้อม ย่อยสลายสารต่างๆ ทาให้เกิดการหมุนเวียนของสารในระบบนิเวศ ใช้ย่อยสลาย
คาบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล
ด้านอุตสาหกรรม ใช้ทาผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ฯลฯ ใช้ทาขนมปัง ใช้ทา
ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์
17

1. จุลินทรีย๑มีบทบาทในอาหารอยํางไร
เฉลย จุลินทรีย์บางชนิดเป็นประโยชน์ ได้แก่ ก่อให้เกิดอาหารหมักชนิดต่างๆ ช่วยยืดอายุการเก็บ
อาหารให้นานขึ้น จุลินทรีย์บางชนิดช่วยเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ เช่น วินามินบีที่ได้จากเซลล์ยีสต์
จุลินทรี ย์บางชนิดเป็นโทษ ได้แก่ การทาให้อาหารเน่าเสีย การทาให้เกิดโรคเนื่องจากการ
รับประทานอาหารที่มีสารพิษซึ่งผลิตโดยจุลินทรีย์ หรือเกิดจากการรับประทานจุลินทรีย์เชื้อโรคที่ยังมี
ชีวิตอยู่เข้าไปในปริมาณมากที่พอให้ก่อโรคได้
2. แบคทีเรียมีลักษณะอยํางไร
เฉลย แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีขนาดเล็กประมาณ 1-5 ไมครอน ผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิ
โดไกลแคน ภายในเซลล์ไม่มีเบื่อหุ้มสารพันธุกรรม
3. เมือ่ นาแบคทีเรียย๎อมสีแกรมสามารถแบํงได๎เป็นชนิดใดบ๎าง
เฉลย แบคทีเรียแกรมบวกติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเลต
แบคทีเรียแรมลบติดสีแดงของซาฟรานิน
4. แบคทีเรียชนิดใดใช๎ในการผลิตน้าส๎มสายชู
เฉลย เชื้อ Acetobacter aceti
5. แบคทีเรียชนิดใดที่มีบทบาทสาคัญทาให๎อาหารกระป๋องบวมและมีกลิ่นเนําเหม็น
เฉลย Clostrium butulinum
6. แบคทีเรียชนิดใดใช๎เป็นตัวบํงชี้การปนเปือนของอุจจาระในน้าและอาหาร
เฉลย E. coli
7. แบคทีเรียชนิดใดมีบทบาทในการหมักนมเปรี้ยว
เฉลย Lactobacillus acidphilus
8. แบคทีเรียชนิดใดหมักยาคูลท๑
เฉลย Lactobacillus casei
9. เชื้อรามีลักษณะอยํางไร และมีความสาคัญตํออาหารอยํางไร
เฉลย มีลักษณะเป็นเส้นใย เรียกว่า ไอโฮฟา เส้นใยอาจมีเยื่อกั้นทาให้เป็นเซลล์หรือไม่มีเยื่อกั้นก็ได้ เชื้อรา
บางชนิดใช้ประโยชน์ในการหมกอาหาร เช่น Aspergillus และบางชนิดเป็นสาเหตุให้อาหารเสียได้
เช่น Rhizopus
10. ยีสต๑มีลักษณะอยํางไร และมีความสาคัญตํออาหารอยํางไร
เฉลย ยีสต์เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียว สืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ ยีสต์มีความสาคัญต่ออาหารในด้านการผลิต
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และอาหารเสริมบางชนิด
18

ลักษณะสัตว์น้าสด
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อสามารถตรวจสอบคุณภาพของสัตว๑น้า
อุปกรณ์
1. สัตว๑น้าที่สดและสัตว๑น้าที่เนําเสีย ได๎แกํ กุ๎ง หอย หมึก
2. แวํนขยาย 1 อัน
3. ปากคีบ 1 อัน
วิธีทา
1. ให๎ผู๎เรียนตรวจสอบคุณภาพของสัตว๑น้า โดยใช๎ประสาทสัมผัส ได๎แกํ กุ๎ง หอย ปูสด กับกุ๎ง หอย ปู ที่เนําเสีย
2. นาเสนอผลการศึกษา

ลักษณะกุ้งสดและเน่าเสีย
กุง้ สด กุง้ เน่าเสีย
1. เนื้อแนํน ไมํนิ่ม 1. เนื้อเละ ไมํแนํน
2. หัวกุ๎งต๎องแนํนติดกับตัวไมํหลุดลํอนงําย 2. หัวกุ๎งหลุดลํอนจากตัวงําย
3. ครีบตํางๆ ต๎องเป็นมัน ไมํแห๎ง 3. ครีบและหางมีสีชมพูด
4. ไมํมีกลิ่นคล๎ายแอมโมเนีย 4. มีกลิ่นคล๎ายแอมโมเนีย

ลักษณะหอยสดและเน่าเสีย
หอยสด หอยเน่าเสีย
1. เปลือกหอยปิดสนิท หรือถ๎าเปิดอยูํ เมื่อเอามือ 1. เปลือกหอยปิดไมํสนิท
แหยํจะปิดสนิททันที
2. จมน้า 2. ลอยน้า

ลักษณะปูสดและไม่สด
ปูสด ปูไม่สด
1. ไมํมีกลิ่นเหม็นเนํา 1. มีกลิ่นเหม็น
2. ก๎ามต๎องเหนียว ไมํหลุดงําย 2. หลุดงําย
3. เนื้อแนํน ไมํยุํย 3. เนื้อเละ
19

ลักษณะของกุ๎งสด หอยสด และปูสดมีลักษณะอยํางไร


เฉลย กุ้งสด : เนื้อแน่น หัวกุ้งต้องแน่นติดกับตัว ครีบต่างๆ ต้องเป็นมัน ไม่แห้ง ไม่มีกลิ่นคล้ายแอมโมเนีย
หอยสด : เปลือกหอยปิดสนิท หรือถ้าเปิดอยู่ เมื่อเอามือแหย่จะปิดสนิททันที และหอยจะจมน้า
ปูสด : ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า ก้มต้องเหนียว ไม่หลุดง่าย เนื้อแน่น ไม่ยุ่ย

ตรวจสอบคุณภาพน้านม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อสามารถตรวจสอบคุณภาพน้านมโดยวิธีเมธิลีนบลูรีดักชัน
อุปกรณ์
1. เมธิลีนบลูไธโอไซนาเนต ชนิดเม็ด 1 ชุด
2. น้ากลั่น 1 ชุด
3. ขวดรูปชมพูํ 1 ใบ
4. หลอดแก๎วพร๎อมฝาปิดปราศจากเชื้อ 2 หลอด
5. ปิเปตปราศจากเชื้อ 1 อัน
6. แทํงแก๎วคนสารปราศจากเชื้อ 1 แทํง
7. ที่วางหลอดทดสอบ 1 อัน
8. ตัวอยํางน้านม เชํน น้านมเกํา น้านมใหมํ ฯลฯ
9. water bath 1 เครื่อง
วิธีทา
1. นาน้าต๎มเดือด 200 มิลลิลิตรใสํลงในขวดชมพูํ (อาจใช๎ขวดสีชาหรือใช๎แผํนอะลูมิเนียมฟอยล๑หุ๎มไว๎)
2. ใสํเมธิลีนบลูไธโอไซนาเนต ชนิดเม็ด 1 เม็ด ลงในขวดรูปชมพูํ ใช๎แทํงแก๎วคนให๎ละลาย
3. นาตัวอยํางนมใสํในหลอดแก๎ว หลอดละ 10 มิลลิลิตร
4. ใช๎ปิเปตดูสารละลายเมธิลีนบลูใสํลงในหลอดแก๎งที่มีตัวอยํางนมบรรจุอยูํหลอดละ 1 มิลลิลิตร
5. ใช๎ฝาปิดหลอดแก๎วให๎สนิทและกลับหลอดไปมาช๎า 2-3 ครั้ง (ห๎ามเขยําหลอดโดยเปิดหลอด)
6. นาหลอดแก๎วไปวางไว๎ที่วางหลอดทดลอง และนาไปแชํใน water bath ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส
7. เริ่มจับเวลาและสังเกตการณ๑เปลี่ยนแปลงสีเมธิลนี บลูทุก 15 นาที เป็นเวลา 60 นาที และบันทึกผล

ตารางบันทึกผล
การเปลี่ยนแปลงสีของเมธิลีนบลู
น้านมที่ทดสอบ
0 15 30 45 60
น้านมเกํา
น้านมใหญํ
20

1. การเปลี่ยนแปลงสีของเมธิลีนบลูในน้านมที่นามาทดสอบมีความเหมือนหรือแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย แตกต่างกัน น้านมใหม่สีของเมธิลีนบลูจะไม่เปลี่ยนสีหรือเปลี่ยนแปลงน้อยมาก น้านมเก่าสีของเมธิลีนบลู
จะเปลี่ยนสี จากสีน้าเงินเป็นสีขาว
2. อะไรเป็นสาเหตุทาให๎สีเมธิลีนบลูเกิดการเปลี่ยนสี
เฉลย ปริมาณออกซิเจนในน้านม

1. จุลินทรีย๑ที่ปนเปื้อนในอาหารมาจากแหลํงใด
เฉลย ดิน น้า พืช และผลิตภัณฑ์จากพืช
2. การเนําเสียหรือการเสื่อมของอาหารแบํงเป็นแบบใดบ๎าง
เฉลย การเน่าเสียทางกายภาพ การเน่าเสียทางเคมี และการเน่าเสียโดยจุลินทรีย์
3. ยกตัวอยํางการเนําเสียของอาหารโดยจุลินทรีย๑
เฉลย มีการเปลี่ยสี มีรสผิดปกติ อาหารมีฟองเกิดขึ้น มีลักษณะขุ่น
4. ระบุการเนําเสียของเนื้อสัตว๑
เฉลย เกิดจากการปนเปื้อนจากภายนอกตัวสัตว์ในระหว่างการฆ่า การถอนขน การชาแหละ รวมทั้งการแปร
รูปเนื้อสัตว์
5. ระบุลักษณะการเนําเสียของไขํเป็ดและไขํไกํ
เฉลย ไข่มีจุดสีดา มีกลิ่นเหม็นดินโคลน บนผิวไข่มีเส้นใยรา ลักษณะคล้ายคัสตาร์ด
6. ระบุสาเหตุการเนําเสียของสัตว๑น้า
เฉลย แหล่งน้ามีสัตว์น้าอาศัยอยู่ ภาชนะที่บรรจุ สถานที่เก็บสัตว์น้า เรือและเครื่องมือทีใ่ ช้จับสัตว์น้า น้าแข็ง
ที่ใช้แช่สัตว์น้า น้าที่ล้างทาความสะอาดสัตว์น้า คนจับปลา คนขายปลา และผู้ปรุงอาหาร ฯลฯ
7. ลักษณะของปลาสดเป็นอยํางไร
เฉลย ลาตัว ครีบ หางมีสีสดใส เกล็ดฝังในผิวหนังอย่างเหนียวแน่น นัยน์ตาสีสดใส ไม่กลมกลืนลงไปในเบ้าตา
เนื้อแข็งแน่นและยืดหยุ่น ใช้นิ้วกดแล้วเนื้อไม่ยุบ เหงือกมีสีแดงสด มีกลิ่นคาวปลาธรรมดา มีเมือกบางใส
ตามลาตัว
8. ระบุการเนําเสียของนมดิบ
เฉลย เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญในการรีดน้านม คนรีดนม และเต้านมสัตว์ ฯลฯ
21

9. ระบุสาเหตุการเนําเสียของนมที่ผํานการพาสเจอร๑ไรซ๑
เฉลย น้านมที่ผลิตจากโรงงานที่สกปรก เครื่องมือและภาชนะบรรจุสกปรก วิธีการพาสเจอร์ไรซ์ไม่ถูกต้อง
ไม่ทาให้น้านมที่ผ่านการให้ความร้อนแล้วเย็นลงอย่างรวดเร็วหลังการพาสเจอไรซ์ และอุณหภูมิ ที่ใช้
ในการแช่เย็นน้านมพาสเจอไรซ์ไม่ต่าเพียงพอ
10. ระบุลักษณะการเนําเสียของอาหารกระป๋อง
เฉลย อาหารภายในกระป๋องมี สี กลิ่น ผิดปกติอาหารในกระป๋องที่เป็นของเหลวมีลักษณะเป็นขุยและเหม็นเน่า

การถนอมอาหารโดยการหมัก
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อสามารถสืบค๎นวิธีการถนอมอาหารโดยวิธีการหมักอาหาร
วิธีทา
1. แบํงผู๎เรียนเป็นกลุํมจานวน 6 กลุํม
2. แตํละกลุํมสํงตัวแทนจับสลาก ดังนี้
การทาแหนม การทาน้าปลา การทาไตปลา
การทาปลาร๎า การหมักกะปิ การหมัดซีอิ๊ว
3. ผู๎เรียนแตํละกลุํมสืบค๎นเกี่ยวกับรายละเอียดในหัวข๎อที่จับได๎ดังนี้
วัตถุดบิ ทีใ่ ช๎ในการหมัก
วิธีการหมัก
จุลินทรีย๑ที่เกี่ยวข๎องกับการหมัก
4. นาเสนอผลการศึกษา

ตัวอย่างการนาเสนอ

แหนมเป็ น อาหารหมั ก พื้ น เมื อ งของไทย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ นิ ย มรั บ ประทานกั น ทั่ ว ทุ ก ภาคของประเทศ
แหลํงผลิตแหนมสํวนใหญํอยูํทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สํวนประกอบเครื่องปรุงที่นามาใช๎
ในการหมัก แหนมจะแตกตํางกันไปตามแหลํงผลิตแตํละแหลํง
วัตถุดิบที่ใช้ในการหมักแหนม
วัตถุดิบที่ใช๎หมักแหนม ประกอบด๎วย หมูเนื้อแดงสับละเอียด หนังหมู ข๎าวเหนียวหรือข๎าวเจ๎าสุก เกลือป่น ดินประสิว
พริกไทย และพริกขี้หนู
22

วิธีการหมักแหนม
การหมักแหนมมีวธิ กี ารดังนี้
23

การหมักน้าปลาวิธีดังนี้

ไตปลาเป็นอาหารหมักพื้นเมืองทางภาคใต๎ของไทย ปัจจุบันนิยมรับประทานกันมากขึ้นในภาคอื่นๆ
วัตถุดิบที่ใช้ในการหมักไตปลา
วัตถุดิบที่ใช๎หมักไตปลา ได๎แกํ กระเพาะและลาไส๎ของปลาและเกลือ นิยมใช๎กระเพาะและลาไส๎ของปลาทูและ
ปลาจวด
24

วิธีการหมักไตปลา
วิธีการหมักไตปลา แสดงวิธีดังนี้

วิธีการหมักกะปิ
25

วิธีการทาซีอิ๊ว
26

วิธีการทาปลาร้า

1. การถนอมอาหารทาได๎โดยวิธีการใดบ๎าง
เฉลย การใช้ความร้อน การใช้ความเย็น การฉายรังสี การทาแห้ง การใช้สารกันเสีย การใส่สารฆ่าเชื้อรา
การใส่สารปฏิชีวนะ
2. การพาสเจอร๑ไรซ๑และการสเตอรีไลซ๑แตกตํางกันอยํางไร
เฉลย การพาสเจอไรซ์ ให้ความร้อนโดยใช้อุณหภูมิประมาณ 71.4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 วินาที หรือ
ใช้อุณหภูมิประมาณ 62.8 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นจึงทาให้เ ย็นลงโดยรวดเร็วที่
อุณหภูมิประมาณ 4.4 องศาเซลเซียส
การสเตอริไลซ์ ให้ความร้อนโดยใช้อุณหภูมิประมาณ 135-150 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1-4 วินาที
3. การใช๎อณุ หภูมิต่าในการถนอมอาหารวิธีการใดบ๎าง
เฉลย การแช่เย็น การแช่เยือกแข็ง
4. การแชํเย็นและการแชํเยือกแข็งแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย การแช่เย็น : ใช้อุณหภูมิสูงกว่าจุดเยือกแข็งประมาณ 4.4 องศาเซลเซียส
การแช่เยือกแข็ง : ใช้อุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งประมาณ -10 องศาเซลเซียส
5. การทาแห๎งคือวิธกี ารทาอยํางไร
เฉลย การนาเอาความชื้อออกจากอาหารเพื่อปูองกันหรือลดการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
6. ยกตัวอยํางรังสีที่นามาใช๎ในการถนอมอาหาร
เฉลย รังสีอัลทร้าไวโอเลต รังสีแกมมา รังสีเอกซ์
27

1. เขียนแผนผังความคิดสรุปความรู๎หัวข๎อจุลินทรีย๑ในอาหาร
เฉลย ขึ้นอยู่กับการสรุปของผู้เรียนแต่ละคน
2. เขียนแผนผังความคิดสรุปความรู๎หัวข๎อการเนําเสียของอาหาร
เฉลย ขึ้นอยู่กับการสรุปของผู้เรียนแต่ละคน
3. เขียนแผนผังความคิดสรุปความรู๎หัวข๎อการถนอมอาหาร
เฉลย ขึ้นอยู่กับการสรุปของผู้เรียนแต่ละคน
4. อธิบายความหมาย
เฉลย การสเตอริไลซ์ การแช่เย็น การแช่เยือกแข็ง
แบคทีเรียแกรมบวก แบคทีเรียย้อมด้วยสีแกรม และติดสีม่วงของคริสตรัลไวโอเลต
แบคทีเรียแกรมลบ แบคทีเรียย้อมด้วยสีแกรม และติดสีแดงของซาฟรานิน
การพาสเจอไรซ์ ให้ความร้อนโดยใช้อุณหภูมิประมาณ 71.4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 วินาที หรือ
ใช้อุณหภูมิประมาณ 62.8 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นจึงทาให้เย็นลงโดยรวดเร็วที่อุณหภูมิ
ประมาณ 4.4 องศาเซลเซียส
การสเตอรีไลซ์ การให้ความร้อนโดยใช้อุณหภูมิประมาณ 135-150 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1-4 วินาที
การแช่เย็น : ใช้อุณหภูมิในการถนอมอาหารสูงกว่าจุดเยือกแข็งประมาณ 4.4 องศาเซลเซียส
การแช่เยือกแข็ง : ใช้อุณหภูมิในการถนอมอาหารต่ากว่าจุดเยือกแข็งประมาณ -10 องศาเซลเซียส
5. ถ๎านานมพาสเจอร๑ไรซ๑และนมยูเอชทีมาตรวจสอบคุณภาพน้านมโดยวีเมธิลีนบลูรีดักชันเทสต๑จะให๎ผลแตกตํางกัน
อยํางไร
เฉลย นมพาสเจอไรซ์ สีเมธิลีนบลู จะเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นสีขาว ใช้เวลาเร็วกว่านมยูเอชที สีเมธิลีนบลู
ไม่เปลี่ยนสี
6. เติมข๎อความในตาราง
ชนิดอาหาร สาเหตุการเน่าเสีย ลักษณะการเน่าเสีย
เนื้อสัตว์ การปนเปื้อนภายนอกตัวสัตว์ในระหว่าง เกิดเมือกบริเวณผิวหนังของสัตว์ การ
การฆ่า การถนอมขน และชาแหละหนัง เปลี่ยนสีของเนื้อ การเน่าเหม็น ฯลฯ
การแปรรูปเนื้อสัตว์
ไข่เป็ด ไข่ไก่ มู ล เป็ ด มู ล ไก่ น้ าล้ า งท าความสะอาด ไข่ มี จุ ด สี ด า มี ก ลิ่ น เหม็ น ดิ น โคลน
ภาชนะที่บรรจุไข่ กรงและสภาพแวดล้อม บนผิ ว ไข่ มี เ ส้ น ใยรา ลั ก ษณะคล้ า ย
ที่เลี้ยง มือคนเก็บไข่สู่ร้านค้า คนปรุงอาหาร คัสตาร์ด
ฯลฯ
แหล่งน้าที่สัตว์น้าอาศัยอยู่ ภาชนะที่บรรจุ ปลา : นัยย์ตาขุ่นตัว เนื้อปลาเหลว
สัตว์น้า
สถานที่เก็บสัตว์น้า เรือและเครื่องมือที่ใช้ มีกลิ่นเน่าเหม็น ลาตัวมีสีซีด ฯลฯ
จับสัตว์น้า น้าแข็งที่ใช้แช่สัตว์น้า น้าที่ล้าง
ท าความสะอาดสั ต ว์ น้ า คนจั บ ปลา
คนขายปลา และผู้ปรุงอาหาร ฯลฯ
28

7. ผู๎เรียนมีวิธีเลือกซื้ออาหารกระป๋องอยํางไร
เฉลย กระป๋องไม่บวม ตะเข็บกระป๋องไม่แตกหรือรั่ว ดูวันผลิตและวันหมดอายุ

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 3

1. ข๎อใดไมํใชํประโยชน๑ของจุลินทรีย๑
เฉลย ง. สร้างสารอะฟลาทอกซิน
2. ข๎อใดไมํจัดเป็นแบคทีเรียแกรมลบ
เฉลย ค. Lactobacillus
3. แบคทีเรียชนิดใดทาให๎อาหารกระป๋องบวมและมีกลิ่นเนําเหม็น
เฉลย ข. Clostridium
4. แบคทีเรียชนิดใดที่เป็นตัวบํงชี้การปนเปื้อนของอุจจาระในน้าและอาหาร
เฉลย Escherichia
5. ข๎อใดเป็นเชื้อที่เจริญเติบโตบนขนมปัง
เฉลย ข. Rhizopus
6. สารปฏิชีวนะผลิตจากจุลินทรีย๑ชนิดใด
เฉลย Penicillium
7. จุลินทรีย๑ชนิดใดนามาผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล๑
เฉลย ค. Saccharomyess
8. ข๎อใดจัดเป็นการเนําเสียทางกายภาพ
เฉลย ก. ผักช้าจากการโยนในขั้นตอนการขนส่ง
9. จุลินทรีย๑ชนิดใดทาให๎เกิดเมือกบริเวณผิวหน๎าของเนื้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
10. ข๎อใดคือลักษณะการเนําเสียของไขํเป็ด ไขํไกํ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
11. ข๎อใดไมํจัดเป็นลักษณะของปลาสด
เฉลย ค. ปลาลอยน้า
12. ลาดับการเปลี่ยนสีของเมธิลีนบลูโดยวิธีการรีดักชันเทสต๑
เฉลย ข. นมดิบเก่า นมดิบใหม่ นมยูเอชที
13. ข๎อใดไมํจัดเป็นสาเหตุของการเสียของอาหารกระป๋อง
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
14. ข๎อใดคือลักษณะอาหารกระป๋องที่เสีย
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
15. ข๎อใดไมํจัดเป็นการตรวจสอบคุณภาพของสัตว๑น้าโดยใช๎ประสาทสัมผัส
เฉลย ง. มีค่า pH ระหว่าง 6.2-6.9
29

16. ข๎อใดเป็นวิธีการถนอมอาหาร
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
17. ข๎อใดเป็นวิธีการสเตอรีไลซ๑
เฉลย ก. ใช้อุณหภูมิประมาณ 71.7 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 วินาทีและทาให้เย็นลงโดยเร็วที่อุณหภูมิ
ประมาณ 4.4 องศาเซลเซียส
18. การแชํอาหารในตู๎เย็นหรือห๎องเย็นควรใช๎อุณหภูมิเทําใด
เฉลย ข. ต่ากว่า 4.4 องศาเซลเซียส
19. การแชํเยือกแข็งใช๎อุณหภูมิเทําใด
เฉลย ค. ต่ากว่า -10 องศาเซลเซียส
20. แบคทีเรียชนิดใดมีบทบาทในการหมักปลาร๎า
เฉลย ข. Bacillus

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
สารเคมีในชีวิตประจาวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นข๎อมูล อธิบาย และยกตัวอยํางสารเคมีที่ใช๎ในชีวิตประจาวันได๎
วิธีทา
1. สืบค๎น สารวจสิ่งของเครื่องใช๎ในชีวิตประจาวัน วําสิ่งของเหลํานั้นมีสารเคมีเป็นองค๑ประกอบหรือไมํ เราใช๎
ประโยชน๑อยํางไร และมีข๎อควรระวังอยํางไรบ๎าง
2. นาเสนอผลการศึกษา
ผลการศึกษา
ตัวอย่างผลการศึกษา
สิ่งของเครื่องใช้ องค์ประกอบของสารเคมี
การใช้ประโยชน์ ข้อควรระวัง
ในชีวิตประจาวัน มี ไม่มี
1. เครื่องสาอาง สํงเสริมให๎เกิดความงาม ระวังอาจเกิดอาการแพ๎ ควร
เลือกใช๎ให๎เหมาะสมกับสภาพผิว
2. สบูํ ทาความสะอาดรํางกาย ควรเลือกใช๎ให๎เหมาะกับสภาพผิว
3. น้าตาล ทาให๎อาหารรสชาติดีขึ้น ควรใสํน้าตาลในปริมาณน๎อย
4. น้ายาล๎าง ทาความสะอาดห๎องน้า ควรสวมถุงมือ รองเท๎า ขณะ
ห๎องน้า ทาความสะอาดและไมํควร
สูดดมสารเป็นเวลานาน
5. นายาลบคาผิด ใช๎ลบคาผิด ไมํควรสูดดม ระวังไมํให๎เข๎าตา
หรือเข๎าปาก
30

1. สิ่งของเครื่องใช๎ในชีวิตประจาวันภายในบ๎านที่มีสํวนประกอบของสารเคมีมีอะไรบ๎าง
เฉลย น้ายาล้างจาน แชมพูสระผม ผงซักฟอก เครื่องสาอาง
2. สิ่งของเครื่องใช๎ในสานักงานที่มีสํวนประกอบของสารเคมีมีอะไรบ๎าง
เฉลย เครื่องถ่ายเอกสาร น้ายาลบคาผิด น้ายาถูกพื้น น้ายาเช็ดกระจก
3. ยกตัวอยํางข๎อควรระวังในการใช๎สิ่งของเครื่องใช๎ในชีวิตประจาวันที่มาสารเคมีเป็นสํวนประกอบ
เฉลย ควรใช้ในปริมาณที่เหมาะสม และถูกประเภท อ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนใช้ กรณีที่เป็นสารอันตราย
ขณะใช้ควรระวังไม่ให้สารสัมผัสถูกผิวหนัง ตา หรือการกินเข้าสู่ร่างกาย

ทาสบู่
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎อธิบายวีการเตรียมสบูํอยํางงําย และทดลองทาสบูํขึ้นใช๎เองได๎
อุปกรณ์
1. บีกเกอร๑ ขนาด 250 ลบ.ซม. 1 ใบ
2. น้ามันมะพร๎าว 20 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกโซด๑ ความเข๎มข๎น 2.5 โมล/ลิตร 10 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
4. หลอดทดลองขนาดกลาง 1 หลอด
5. น้ากลั่น 50 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
6. แทํงแก๎วคนสาร 1 อัน
7. ตะเกียงแอกอฮอล๑พร๎อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
วิธีทา
1. ใสํน้ามันมะพร๎าวจานวน 20 ลบ.ซม. ในบีกเกอร๑ขนาด 250 ลบ.ซม.
2. เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด๑ จานวน 10 ลบ.ซม. ลงในน้ามะพร๎าว แล๎วใช๎แทํงแก๎วคนให๎สารผสมกัน
3. นาสํวนผสมจากข๎อ 2 ไปต๎มประมาณ 10 นาที แล๎วทิ้งไว๎ให๎เย็น
4. ทดสอบการเกิดฟองโดยตักสารที่ได๎จากข๎อ 3 จานวนเล็กน๎อยใสํในหลอดทดลองขนาดกลาง แล๎วเติมน้า
กลั่นประมาณ 5 ลบ.ซม. เขยําหลอดทดลอง สังเกตการณ๑เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
5. บันทึกผลการทดลอง
ผลการศึกษา
จากการทดลองจะเห็นได๎วํา เมื่อต๎มน้ามะพร๎าวกับโซเดียมไฮดรอไซด๑ ซึ่งเป็นเบสแกํ จะเกิดปฏิกิริยาที่เรียกวํา
สะพอนิฟิเคชัน (saponification) สารชนิดใหมํที่เกิดปฏิกิริยา เมื่อทิ้งไว๎ให๎เย็นจะมีลักษณะเป็นไข เมื่อนาไขมาทดสอบ
การละลายน้าจะเกิดฟองและลื่นเหมือนสบูํทั่วไป
31

1. ปฏิกิริยาสะพอนิฟิเคชัน (saponification) คืออะไร


เฉลย ปฏิกิริยาที่เกิดจากกรดไขมันทาปฏิกิริยากับเบสหรือด่าง เมื่อได้รับความร้อนจะได้เกลือของกรดไขมัน
หรือสบู่ และกลีเซอรอลเป็นสารผลิตภัณฑ์
2. สบูํสามารถชาระล๎างไขมันออกจากผิวได๎อยํางไร
เฉลย โมเลกุลของสบู่จะหันด้านที่ไม่มีขั้วซึ่งละลายในไขมันเข้าล้อมรอบโมเลกุลไขมันที่ ผิวหนัง และหัน
ด้านที่มีขั้วหรือละลายในน้าได้ออกด้านนอก ทาให้ไขมันที่ผิวหนังหลุดออกและกระจายตัวในน้าได้
3. ถ๎าต๎องการผลิตสบูํที่เป็นก๎อนแข็งควรออกแบบการทดลองอยํางไร
เฉลย เปลี่ยนสารตั้งต้น คือ น้ามันมะพร้าวที่ได้จากพืชเป็นไขมันจากสัตว์ เช่น วัว ควาย หรือแกะ จะทาให้
ได้สบู่ที่มีลักษณะเป็นก้อนแข็ง

1. สารเคมีมีความสาคัญตํอชีวิตประจาวันอยํางไร
เฉลย สารเคมีมีบทบาทในชีวิตประจาวันหลายด้าน ทั้งด้านอุปโภคและบริโภคซึ่งล้วนแต่เกี่ยวข้องกับการ
ดาเนินชีวิตทั้งนั้น ตั้งแต่อาหารไปจนถึงผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวมถึงสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน
2. สารเคมีจากธรรมชาติและสารเคมีที่สังเคราะห๑ขึ้นมีข๎อดีและข๎อเสียอยํางไร
เฉลย สารเคมีจากธรรมชาติมีอันตรายหรือผลข้างเคียงน้อยกว่า แต่อาจมีประสิทธิภาพน้อยกว่า ขณะที่
สารเคมีสังเคราะห์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์โดยตรง จะมีประสิทธิภาพสูงกว่า แต่ก็มีอันตราย
และสารตกค้างมากกว่า
3. สบูํสังเคราะห๑ขึ้นจากสารใด อยํางไร
เฉลย สบู่สังเคราะห์ขึ้นได้โดยนาไขมันหรือน้ามันจากพืชหรือสัตว์มาต้มกับสารละลาย เบส เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์
สารที่ได้จากการต้ม คือ กลีเซอรอล และโซเดียม คาร์บอกซิเลตของกรดไขมันหรือสบู่
4. สบูํชํวยชาระสิ่งสกปรกออกจากผิวกายได๎ เพราะอะไร
เฉลย เพราะสบู่ช่วยให้ไขมันที่ผิวหนังละลายออกมากับน้าที่ใช้ชาระล้างร่างกายได้
5. ผงซักฟอกมีสํวนประกอบที่สาคัญอะไรบ๎าง
เฉลย สารลดแรงตึงผิว สารประกอบฟอสเฟต สารประกอบซิลิเกต สารเพิ่มความสดใสสารฟอกขาว และ
สารปูองกันผงซักฟอกรวมตัวกันเป็นก้อน
6. ผงซักฟอกมีข๎อดีกวําสบูํอยํางไร
เฉลย สามารถนามาใช้กับน้ากระด้างได้ดีกว่าสบู่ เพราะสารบางชนิดในผงซักฟอกสามารถ เข้าไปทาลาย
ความกระด้างของน้า
32

7. การใช๎เบสโซเดียมไฮดรอกไซด๑และเบสโพแทสเซียมไฮดรอกไซด๑ จะทาให๎ได๎สบูํที่มีสมบัติแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย การใช้เบสโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นสารตั้งต้น สบู่จะแข็งกว่าใช้เบสโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
8. Sodium Lauryl Ether Sulfate เป็นสํวนประกอบหนึ่งของน้ายาล๎างจาน สารชนิดนี้ใสํลงไปเพื่อจุดประสงค๑ใด
เฉลย เป็นสารลดแรงตึงผิว ทาให้เกิดฟอง มีสมบัติในการชาระล้างไขมัน และคราบสกปรกต่างๆ
9. สารที่ใช๎ทาความสะอาดห๎องน้าสํวนใหญํเป็นกรดชนิดใด และมีสมบัติอยํางไร
เฉลย กรดไฮโดรคลอริกหรือกรดเกลือ เป็นกรดแก่ มีสมบัติ คือ เมื่อทาปฏิกิริยากับหินปูน (แคลเซียม) จะ
เกิดฟองของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และสามารถกัดกร่อนโลหะได้เป็นอย่างดี จึงใช้ผสมในผลิตภัณฑ์ทาความ
สะอาดห้องน้า เพื่อขจัดคราบที่เกิดจากการตกตะกรอนของอนุภาคโลหะ หรือคราบสนิมสีส้ม ตามผนังและพื้น
ห้องน้าได้
10. เราจะป้องกันอันตรายจากสารทาความสะอาดห๎องน้าและผลิตภัณฑ๑ได๎อยํางไร
เฉลย ก่อนใช้ควรอ่านฉลาก วิธีใช้ให้เข้ าใจก่อน และระมัดระวังขณะใช้ควรสวมถุงมือยางและรองเท้ายาง
ระวังอย่าให้เข้าปาก ตา ถูกผิวหนัง หรือสูดดม

1. สารปรุงแตํงคืออะไร
เฉลย สารนี้ถูกนามาใช้เพื่อปรุงแต่ง หรือเพิ่มเติมลงในอาหาร เช่น สารกันบูด สารปรุงแต่งกลิ่น สารปรุง
แต่งรส
2. สารชนิดใดที่นามาทาน้าส๎มสายชูปลอด และจะเกิดอันตรายตํอรํางกายอยํางไร
เฉลย น้าส้มสายชูปลอมทาได้โดยนากรดซัลฟิวริกมาผสมกับน้าแล้วเติมน้าส้มสายชูหมักลงไปเล็กน้อยเพื่อ
แต่งกลิ่น เมื่อรับประทานเข้าไปจะเป็นอันตรายต่อร่างกายมาก ทาให้เกิดอาการปวดท้อง เสียฟัน เป็น
อันตรายต่อระบบทางเดินอาหารและตับ
3. ชื่อทางการค๎าของผงชูรสคืออะไร
เฉลย โมโนโซเดียม กลูตาเมต (Monosodium Glutamate)
4. การทดสอบผงชูรสวําเหมาะสมตํอการบริโภคหรือไมํ มีวิธีการอยํางไร
เฉลย นาผงชูรสมาเผา หรือทดสอบกับกระดาษขมิ้น ถ้าเป็นผงชูรสแท้ สามารถนามาบริโภคได้ จะมีสีดาเมื่อ
นาไปเผา หรือเมื่อทดสอบกับกระดาษขมิ้นจะยังคงเป็นสีเหลืองเหมือนเดิม
5. น้าตาลกับแอสปาเทมแตกตํางกันอยํางไรบ๎าง
เฉลย น้าตาลเป็นสารประกอบจาพวกคาร์โบไฮเดรตที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย แต่แอสปาแทมเป็นสารที่ไม่ให้
พลังงานและมีความหวานมากกว่าน้าตาลประมาณ 200 เท่า
6. เพราะเหตุใดเราจึงไมํควรนาสีย๎อมมาผสมในอาหาร
เฉลย เพราะสีย้อมผ้ามีโลหะหนักบางชนิด เช่น ปรอท แคดเมียม โครเมียม ซึ่งจะก่อให้เกิดความผิดปกติ
ของระบบประสาทและระบบย่อยอาหาร
7. วัตถุกนั เสียหรือสารกันบูดประเภทใดทีเ่ ป็นอันตรายตํอผูบ๎ ริโภคมากทีส่ ดุ
เฉลย วัตถุกันเสียหรือสารกันบูดกลุ่มสารประกอบไนโตรต์ และไนเตรต
33

1. เพราะเหตุใดแพทย๑หรือเภสัชกรต๎องอธิบายการใช๎ยาให๎ผู๎ป่วยทุกครั้งที่รับยา
เฉลย เพื่อให้ผู้ปุวยเข้าใจถึงวิธีการใช้ยา ปริมาณที่ต้องใช้ เวลาที่ใช้ เพื่อปูองกันการใช้ยาที่ผิดพลาดที่อาจ
เกิดขึ้นได้
2. ยกตัวอยํางยาสามัญประจาบ๎าน มา 5 ชนิด
เฉลย ยาแอสไพริน ยาลดน้ามูก ยาดม ยาแก้ท้องอืด ยาแก้ท้องเสีย
3. เพราะเหตุใดยาหลังอาหารจึงควรรับประทานหลังอาหารทันที และไมํควรเกิน 15 นามีหลังอาหาร
เฉลย ยาหลังอาหารเป็นยากลุ่มที่ส่งผลระคารเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร หรือ ต้องการกรดในกระเพาะ
อาหารในการช่วยดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย การรับประทานยาหลังอาหารเลยช่วงเวลาหลังอาหาร 15 นาที
อาจทาให้เกิดการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินอาหาร ทาให้คลื่นไส้ อาเจียนได้
4. ถ๎ากินอาหารแล๎ว แตํลืมทานยากํอนอาหาร ควรทาอยํางไร
เฉลย ควรข้ามยามื้อนั้นไป เพราะการรับประทานยาก่อนอาหารหลังจากที่กินอาหารแล้วจะทาให้การดูดซึม
ยาลดลงได้
5. การอํานฉลากยาหรือเอกสารกากับยามีประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ฉลากยากและเอกสารกากับยาจะบอกชื่อยา ขนาดยา วิธีใช้ยา ข้อควรระวังในการใช้ยาวันที่ผลิตและ
วันหมดอายุของยา ทาให้ผู้ใช้ยาเกิดความปลอดภัยในการใช้ยา และใช้ยาได้มีประสิทธิภาพ

1. ยกตัวอยํางพืชที่นามาใช๎ประโยชน๑เป็นสารเคมีทางการเกษตรเพื่อกาจัดแมลง
เฉลย สะเดา น้อยหน่า ทางไหล มะกรูด ส้ม
2. สารเคมีกาจัดแมลงแบํงออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ๎าง
เฉลย กลุ่มออร์กาโนคลอรีน กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต กลุ่มคาร์บาเมต และกลุ่มไพรีทรอยด์
3. เพราะเหตุใดจึงกลําววําการใช๎สารเคมีทางการเกษตรที่ได๎จากการสังเคราะห๑ผิดวิธีจะทาให๎สิ่งแวดล๎อมเสียได๎
เฉลย สารเคมีทางการเกษตที่ได้จากการสังเคราะห์จะถูกดูดซึมเข้าไปในพืชและอยู่บนต้นพืชส่งผลกระทบ
ต่อตัวห้าตัวเบียนหรือนกที่กินแมลงที่มีสารเคมีตกค้าง และเมื่อสารเคมีซึมลงสู่ดิน หรือแหล่งน้า สัตว์
ต่างๆ ที่มีประโยชน์ เช่น ไส้เดือน ปลา กุ้ง จะได้รับสารพิษและตาย ทาให้ระบบนิเวศเสียไป
4. การใช๎สารเคมีกาจัดศัตรูพืชอยํางปลอดภัยควรทาอยํางไร
เฉลย อ่านฉลากกากับก่อนใช้อย่างละเอียด ขณะใช้ควรแต่งตัวมิดชิด มีผ้าปิดปาก และสวมถุงมือ ขณะใช้
สารเคมีควรยืนต้นลมเพื่อปูองกันการพัดของลมเข้าสู่ตัวผู้ใช้ และเมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเก็บเครื่องมือให้
เหมาะสม ห่างไกลเด็ก และไฟ
34

5. ผู๎ที่ทางานหรือผู๎ใกล๎ชิดกับสารเคมีกาจัดศัตรูพืช ถ๎าได๎รับพิษจากสารเคมีจะมีอาการอยํางไร
เฉลย ถ้าได้รับปริมาณน้อย จะวิงเวียนศีรษะ ตาพร่า มีผื่นคันตามผิวหนัง เคืองตา ระคายตาและจมูก แต่ถ้า
ได้รับปริมาณมากจะทาให้อาเจียน กล้ามเนื้อเกร็ง ชัก หายใจไม่ออกและหมดสติได้
6. ถ๎ารํางกายได๎รับสารเคมีกาจัดแมลงในกลุํมออร๑แกนโนฟอสเฟต จะเกิดผลตํอรํางกายอยํางไร
เฉลย ทาให้เกิดอาหารเวียนศีรษะ ตื่นเต้น ตกใจง่าย คลื่นไส้ เป็นตะคริว ชัก ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อ
ถ้าได้รับในปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้

1. ในน้ายาลบคาผิด (Liquid paper) ที่ใช๎ในสานักงานตํางๆ มีสารเคมีชนิดใดเป็นสํวนผสมอยูํ และอาจกํอให๎เกิด


อันตรายตํอรํางกายอยํางไร
เฉลย ในน้ายาลบคาผิดมีสารเคมี เช่น เมทิลไซโคลเฮกเซน และไซโคลเพนเทน (Methyl Cyclohexane
& cyclopentane) ถ้าสูดดมมากๆ จะทาให้วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ต้องระวังอย่าให้เข้าตา
จะทาให้เกิดอาการระคายเคือง และอาจทาให้ตาบอดได้
2. ผงหมึกในเครื่องถํายเอกสารถ๎าสูดดมเข๎าไปมากๆ จะสํงผลตํอรํางกายอยํางไร
เฉลย ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ มีการไอและจาม และสารบางอย่างในผงหมึกเป็นสารก่อ
มะเร็ง ถ้าได้รับในปริมาณมากอย่างต่อเนื่องอาจเป็นอันตรายต่อร่างกายได้
3. สัญลักษณ๑นี้สามารถบอกอันตรายของสารเคมีอยํางไร
เฉลย สัญ ลักษณ์แสดงสารระคายเคือง เป็นสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อตาม
ผิวหนัง หรือระบบทางเดินหายใจ
4. ผู๎ที่ใช๎น้ายาเช็ดกระจกเป็นประจาจะได๎รับสารเคมีชนิดใด และสํงผลกระทบตํอสุขภาพอยํางไรบ๎าง
เฉลย ในน้ ายาเช็ ดกระจกมีเ มทานอลหรื อเมทิล แอลกอฮอล์ ซึ่ง จะทาปฏิกิริ ยากับผิ วหนั ง และเป็ น
อันตรายต่อผู้ใช้ ถ้าแอลกอฮอาล์เข้าสู่ร่างกายปริมาณมาก จะทาให้มีอาการปวดศีรษะ
หัวใจเต้นช้า และมีผลต่อนัยน์ตา ทาให้ตาพร่ามัว และถึงขั้นตาบอดได้
5. ยกตัวอยํางหลักการใช๎สารเคมีอยํางถูกต๎องและปลอดภัยมา 2 ข๎อ
เฉลย 1. ก่อนใช้สารเคมีต้องอ่านสมบัติของสารและข้อควรระวังบนฉลาก รวมถึงวิธีการใช้เพื่อให้มี
ความเข้าใจในการใช้สาร
2. ใช้สารในปริมาณที่เหมาะสม และต้องไม่ทิ้งสารเคมีในที่สาธารณะ ควรแยกทิ้งให้เจ้าหน้าที่
เก็บไปทาลายได้อย่างถูกต้อง
35

1. ผงซักฟอกสามารถชาระล๎างสิ่งสกปรกออกจากพื้นผิววัสดุได๎อยํางไร
เฉลย โมเลกุลของผงซักฟอกจัดเรียงตัวโดยหันด้านที่ไม่มีขั้วเข้าจับสิ่งสกปรก และหันด้านที่มีขั้วออกด้านนอก
เกิดเป็นอนุภาคที่เรียกว่า ไมเซลล์ ที่สามารถนาอนุภาคของไขมันและสิ่งสกปรกละลายไปกับน้าได้
2. เพราะเหตุใดผงซักฟอกจึงทางานในน้ากระด๎างได๎ดีกวําสบูํ
เฉลย โมเลกุลของผงซักฟอกมีหมู่ที่มีขั้วอื่นๆ แทนที่หมู่คาร์บอกซิเลทในสบู่ เช่น หมู่ซัลโฟเนท ทาให้เกลือ
แคลเซียมหรือแมกนีเซียมของผงซักฟอกสามารถทางานในน้ากระด้างได้
3. เพราะเหตุใดไมเซลล๑จึงกระจายตัวเป็นหยดเล็กๆ อยูํในน้า
เฉลย ไมเซลล์ เกิ ด จากการเรี ย งตั ว ของโมเลกุ ล สบู่ ห รื อ ผงซั ก ฟอกโดยหั น ด้ า นที่ ไ ม่ มี ขั้ ว ซึ่ ง เป็ น สาย
ไฮโดรคาร์บอนเข้าจับสิ่งสกปรก และหันด้านมีขั้วออกด้านนอก ทาให้ผิวนอกของไมเซลล์เป็นประจุลบ
เกิดแรงผลักกับอนุภาคไมเซลล์อื่นๆ เกิดการกระจายตัวเป็นหยดเล็กๆ ในน้า
4. สารประกอบฟอสเฟตที่ใสํในผงซักฟอกมีวัตถุประสงค๑เพื่ออะไร
เฉลย สารประกอบฟอสเฟตที่ใส่ในผงซักฟอกทาให้น้ามีสมบัติเป็นเบส ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการชาระล้าง
สิ่งสกปรกของผงซักฟอก และช่วยยึดสิ่งสกปรกไม่ให้กลับไปจับกับเสื้อผ้าได้อีก
5. ถ๎าต๎องการทดสอบน้าส๎มสายชูแท๎กับน้าส๎มสายชูปลอมจะมีวิธีการอยํางไร
เฉลย นาน้าส้มสายชูที่สงสัยใส่ภาชนะ หยดน้ายาเจนเชียนไว้โอเลตสีม่วงลงไปในน้าส้มสายชู ถ้าเป็น
น้าส้มสายชูแท้ เจนเชียนไวโอเลตจะเป็นสีม่วงเหมือนเดิมแต่ถ้าเป็นน้าส้มสายชูปลอมจะเปลี่ยนเป็นสี
เขียวหรือสีน้าเงิน
6. ยกตัวอยํางสารสกัดจากธรรมชาติที่ใช๎ปราบแมลงศัตรูพืชมา 2 ชนิด
เฉลย สารสกัดจากเมล็ดน้อยหน่า มีความเป็นพิษกับด้วงปีกแข็ง เพลี้ยอ่อน และแมลงวันสารสกัดจากเมล็ด
สะเดา มีความเป็นพิษต่อผีเสื้อ ด้วงปีกแข็ง ตั๊กแตน และหนอนกระทูผัก
7. สารกันเสียหรือสารกันบูดในกลุํมกรดอินทรีย๑ถ๎าใช๎ปริมาณมากจะเกิดอันตรายตํอผู๎บริโภคอยํางไร
เฉลย สารกันเสียหรือสารกันบูดในกลุ่มกรดอินทรีย์ถ้าใช้ปริมาณมากทาให้ปริมาณกรดในอาหารเพิ่มมากขึ้น
มีผลต่อการเพิม่ ความเป็นกรดในกระเพาะอาหารของผู้บริโภคเสี่ยงต่อการเป็นแผลในกระเพาะอาหารได้
8. การอํานฉลากยาจะทาให๎รู๎ข๎อมูลใด
เฉลย ชื่อยา วันผลิต วันสิ้นอายุของยา ข้อห้าม คาเตือน เลขทะเบียนยา ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต
9. เลขทะเบียนยาที่ระบุบนฉลากยาทาให๎รู๎ข๎อมูลใด
เฉลย เลขทะเบียนยาทาให้รู้ว่ายานั้นได้ผ่านการตรวจควบคุมจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แล้ว และมีผลสามารถรักษาได้จริง
10. การรู๎จักสัญลักษณ๑เกี่ยวกับสารเคมีที่เป็นอันตรายบนฉลากผลิตภัณฑ๑มีประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ช่วยให้รู้ประเภทและอันตรายที่เกิดจากสารเคมีนั้นได้ ทาให้ผู้ใช้สามารถระมัดระวังอันตรายจากการ
ใช้สารได้มากขึ้น
36

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 4

1. สารเคมีชนิดใดเป็นสารตั้งต๎นที่ใช๎ในการทาสบูํ
เฉลย ค. โซเดียมไฮดรอกไซด์
2. ข๎อความใดกลําวไมํถูกต๎องเกี่ยวกับสบูํ
เฉลย ค. โครงสร้างโมเลกุลของสบู่ทั้ง 2 ส่วนสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้
3. การเติมสารประกอบฟอสเฟตลงในผงซักฟอกทาให๎เกิดประโยชน๑ตามข๎อใด
เฉลย ก. สารละลายเป็นเบส ช่วยปรับสภาพน้ากระด้างให้เป็นน้าอ่อน
4. สารชนิดใดที่เติมลงในผงซักฟอกแล๎วทาให๎ผ๎าขาวขึ้น
เฉลย ข. เพอร์บอเรต
5. สารลดแรงตึงผิวชนิดใดนิยมใช๎เป็นสํวนประกอบในแชมพูสระผมมากที่สุด
เฉลย ก. สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบ
6. สารลดแรงตึงผิวในน้ายาล๎างจานมีประโยชน๑ในด๎านใด
เฉลย ข. เพิ่มความสามารถในการชะล้างไขมัน
7. ข๎อใดกลําวถึงกรดไฮโดรคลอริกที่เป็นสํวนประกอบของน้ายาล๎างห๎องน้าไมํถูกต๎อง
เฉลย ก. ทาปฏิกิริยาได้ดีกับไขมัน
8. ข๎อใดไมํใชํสารปรุงแตํงอาหาร
เฉลย ค. โซเดียมเมตาฟอสเฟต
9. ผงชูรสมีชื่อยํอวําอะไร
เฉลย ก. MSG
10. ถ๎าเติมน้าส๎มสายชูลงในก๐วยเตี๋ยว ปรากกวํามีตะกอนเกิดขึ้น ข๎อความใดกลําวถูกต๎องที่สุด
เฉลย ง. น้าส้มสายชูนี้มีกรดแร่ผสมอยู่
11. การทดสอบผงบอแรกซ๑ใ นผงชู รสโดยใช๎ ก ระดาษขมิ้ นหากมี ส ารบอแรกช๑ ผ สมอยูํใ นผงชู รสกระดาษขมิ้น จะ
เปลี่ยนเป็นอะไร
เฉลย ง. สีน้าตาลแดง
12. สารปรุงแตํงอาหารชนิดใดไมํมีคุณคําทางอาหาร
เฉลย ง. สีผสมอาหาร
13. ยาดลดกรดที่มีสํวนผสมของสารชนิดใดที่ใช๎ติดตํอกันนานจะทาให๎ท๎องผุก
เฉลย ค. อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์
14. การกระทาใดปฏิบัติไมํถูกต๎องในการฉีดพํนสารเคมีกาจัดศัตรูพืช
เฉลย ก. ยืนใต้ลมขณะฉีดพ่นสารเคมี
15. ข๎อใดเป็นผลเสียที่เกิดจากการใช๎สารกาจัดแมลงและศัตรูพืช
เฉลย ง. สัตว์บางชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อพืชถูกทาลาย
16. สารเคมีชนิดใดเป็นสํวนผสมในสเปรย๑ปรับอากาศ
เฉลย ก. อะซีโตน
37

17. การใช๎สารเคมีในข๎อใดอาจกํอให๎เกิดอันตราย
เฉลย ข. ทดลองใช้สารด้วยตัวเองก่อนเชื่อคาโฆษณา
18. หญิงมีครรภ๑ไมํควรรับประทานอาหารที่มีผงชูรสเพราะอะไร
เฉลย ค. ทาลายเซลล์สมองและการเจริญของทารก
19. ผู๎ที่รับประทานผงชูรสที่มีการปลอมปนของบอแรกซ๑ปลอม จะเกิดการสะสมสารพิษอยูํที่อวัยวะสํวนใด
เฉลย ข. กรวยไต
20. การใช๎ยาชนิดเดียวกันปริมาณมากและติดตํอกันเป็นเวลานานจะเกิดผลกระทบด๎านใด
เฉลย ข. ทาให้ใช้ยาเกินขนาด

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นพอลิเมอร๑ธรรมชาติและพอลิเมอร๑สังเคราะห๑ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลพอลิเมอร๑ธรรมชาติและพอลิเมอร๑สังเคราะห๑ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน
2. ระบุชนิดของมอนอเมอร๑ของพอลิเมอร๑ชนิดตํางๆ
3. นาเสนอผลการศึกษา
ตัวอย่างการนาเสนอผลงาน
ประเภทของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ มอนอเมอร์
พอลิเมอร์ธรรมชาติ แปูง กลูโคส
เซลลูโลส กลูโคส
โปรตีน กรดอะมิโน
เส้นใยสัตว์ กรดอะมิโน
เส้นใยพืช กลูโคส
กรดนิวคลิอิก นิวคลีโอไทด์
พอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเอทิลีน เอทิลีน
พอลิสไตรีน สไตรีน
พอลิโพรพิลีน โพรพิลีน
พิลิไวนิลคลอไรด์ ไวนิลคลอไรด์
38

1. พอลิเมอร๑และมอนอเมอร๑แตกตํางกันอยํางไร
เฉลย พอลิเมอร์ สารโมเลกุลใหญ่ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยซ้าๆ กันจานวนมากเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี
มอนอเมอร์ หน่วยย่อยซ้าๆ ที่เป็นองค์ประกอบของพอลิเมอร์
2. พอลิเมอร๑แบํงตามแหลํงกาเนิดได๎เป็นประเภทใดบ๎าง
เฉลย พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอรืสังเคราะห์
3. มอนอเมอร๑ของแป้ง เซลลูโลส และโปรตีนคือสารชนิดใด
เฉลย แปูง/เซลลูโลส = กลูโคส โปรตีน = กรดอะมิโน
4. ยกตัวอยํางการเกิดพอลิเมอร๑แบบควบแนํนและแบบเติม
เฉลย แบบควบแน่น : แปูง โปรตีน เซลลูโลส
แบบเติม : พอลิเอทิลีน
5. ยกตัวอยํางพอลิเมอรืไรเซซันทีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงชนิดของพอลิเมอร๑
เฉลย พอลิไวนิลคลอไรด์ เกิดจากการเปลี่ยนของมอนอเมอร์เอทิลีนซึ่งเมื่อทาปฏิกิริยากับคลอรีนจะได้
มอนอเมอร์ชนิดไวนิลคลอไรด์ เมื่อไวนิลคลอไรด์จานวนมากเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรืไรด์เซซันแบบเติมจะได้พอ
ลิไวนิลคลอไรด์
6. วัตถุดบิ ทีใ่ ช๎สงั เคราะห๑พอลิเมอร๑สํวนใหญํได๎มาจากแหลํงได๎
เฉลย การกลั่นน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ

โครงสร้างพอลิเมอร์
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถเปรียบเทียบโครงสร๎างพอลิเมอร๑แบบตํางๆ
อุปกรณ์
1. วิเคราะห๑ เปรียบเทียบ โครงสร๎างและสมบัติของพอลิเมอร๑
2. นาเสนอผลการศึกษา

โครงสร้างพอลิเมอร์ สมบัติของพอลิเมอร์
แบบเส๎น โค๎ ง งอได๎ ม าก มี ค วามหนาแนํ น และจุ ด หลอมเหลวสู ง มี ค วามยื ด หยุํ น
น๎อยกวําพอลิเมอร๑แบบกิ่ง มากกวําโครงสร๎างอื่น
แบบกิ่ง โค๎งงอได๎ มีความหนาแนํนและจุดหลอมเหลวต่ากวําพอลิเมอร๑แบบเส๎น
ยืดหยุํนได๎ ความเหนียวต่า
แบบรํางแห ถ๎ามีจานวนพันธะเชื่อมโยงระหวํางโซํหลักเป็นรํางแหจานวนน๎อยจะยืดหยุํน
อํอนตัว แตํถ๎ามีจานวนพันธะมากจะแข็งไมํโค๎งงอไมํยืดหยุํน หรือบางชนิด
โค๎งงอและยืดหยุํนได๎น๎อยมาก เมื่อได๎รับความร๎อนสูงจะแตกหัก
39

การทดสอบสมบัติทางกายภาพของพลาสติกชนิดต่างๆ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถทดลองสมบัติบางประการของพลาสติกชนิดตํางๆ
อุปกรณ์
1. น้า 20 cm3
2. เอทานอล 95% 20 cm3
3. น้าเกลืออิ่มตัว 20 cm3
4. ถุงใสํอาหารชนิดใส 1 ใบ
5. ขวดน้าชนิดขุํน 1 ใบ
6. ขวดน้าชนิดใส 1 ใบ
7. ขวดนมเปรี้ยวหรือถ๎วยไอศกรีม 1 ใบ
8. จานพลาสติกชนิดบาง 1 ใบ
9. ตะปูขนาด 2 นิ้ว 1 ตัว
3
10. บีกเกอร๑ขนาด 100 cm 3 ใบ
11. กรรไกร 1 อัน
วิธีทา
1. เตรียมตัวอยํางพลาสติกชนิดตํางๆ ได๎แกํ ถุงใสํอาหารชนิดใส ขวดน้าชนิดขุํน ขวดน้าชนิดใส ขวดนมเปรี้ยว
หรือถ๎วยไอศกรีม จานพลาสติกชนิดบาง
2. ตัดพลาสติกแตํละชนิดเป็นชิ้นเล็กๆ ขนาดกว๎างและยาว 1 เซนติเมตร
3. ทดสอบความแข็งของพลาสติกโดยการกดหรือบีบ ทดสอบความยืดหยุํนโดยการดึง บิด หรือบีบ ทดสอบการ
ขีดขํวนโดยใช๎ตะปุหรือเข็มหมุนขีดลงบนเนื้อพลาสติก สังเกตและบันทึกผล
4. ทดสอบความหนาแนํนของพลาสติก ดังนี้
4.1 ใสํเอทานอล น้า น้าเกลืออิ่มตัวลงในบีกเกอร๑ขนาด 50 cm3 อยํางละ 20 cm3
4.2 ใสํชิ้นพลาสติกในตัวอยํางที่ 1 ลงในเอทานอล สังเกตและบันทึกผล
4.3 นาชิ้นพลาสติกที่จมในเอทานอลทุกชนิดมาเช็ดให๎แห๎ง แล๎วใสํลงในน้า สังเกตและบันทึกผล
4.4 นาพลาสติกที่จมในน้าทุกชนิดมาเช็ดให๎แห๎ง แล๎วใสํลงในน้าเกลืออิ่มตัว สังเกตและบันทึกผล

ความทนต่อ การเกิดรอยเมื่อ การจมหรือลอยของพลาสติกเมื่อใส่ลงใน


พลาสติก ความแข็ง
แรงดึง ขีดด้วยตะปู เอทานอล น้า น้าเกลืออิ่มตัว
ถุงใสํอาหารชนิดใส อ่อน ยืดเล็กน้อย เป็นรอย ลอย ลอย ลอย
ขวดน้าชนิดขุํน อ่อน ไม่ยืด เป็นรอย จม ลอย ลอย
ขวดน้าชนิดใส แข็ง ไม่ยืด เป็นรอย จม จม จม
ถ๎วยไอศกรีม อ่อน ไม่ยืด เป็นรอย จม ลอย ลอย
จานพลาสติก (PP, PE) แข็ง ไม่ยืด เป็นรอย ลอย ลอย ลอย
จานเมลามีน แข็ง ไม่ยืด เป็นรอย จม จม จม
จานพีวีซี แข็ง ไม่ยืด เป็นรอย จม จม จม
40

1. พาสติกแตํละชนิดมีความหนาแนํนอยูํในชํวงใด ถ๎าความหนาแนํนของเอทานอลเป็น 0.798 g/cm3 น้า 1.00 g/cm3


และน้าเกลืออิ่มตัว 1.20 g/cm3
เฉลย พลาสติกที่ลอยในของเหลวทั้งสามชนิดมีค่าความหนาแน่นต่ากว่า 0.79 g/cm3
พลาสติกที่จมในเอทานอล แต่ลอยในน้าจะมีความหนาแน่นระหว่าง 0.79-10.0 g/cm3
พลาสติกที่จมน้า แต่ลอยในน้าเกลืออิ่มตัวมีค่าความหนาแน่นมากกว่า 1.20 g/cm3
2. ความหนาแนํนของพลาสติกมีความสัมพันธ๑กับความแข็งหรือความยืดหยุํนของพลาสติกหรือไมํ อยํางไร
เฉลย พลาสติกที่มีความหนาแน่นสูงจะมีสมบัติแข็ง เปราะหรือกรอบ ดึงหรือยืดออกได้ยาก เมื่อใช้ตะปูขีด
จะเห็นรอยชัด

เส้นใยเรยอน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถทดลองและอธิบายการกระบวนการทาเส๎นใยสังเคราะห๑เรยอน
อุปกรณ์
1. บีกเกอร๑ขนาด 200 cm3 2 ใบ
2. กระบอกตวง 1 ใบ
3
3. กระบอกฉีกยา (แก๎ว) ขนาด 20 cm 1 อัน
4. แทํงแก๎วคนสาร 1 อัน
5. ปุยฝ้าย (สาลี) 0.25 กรัม
6. คอปเปอร๑ (II) คาร๑บอเนต 2 กรัม
7. สารละลายแอมโมเนียมเข๎มข๎น 30 cm3
8. สารละลายกรดซัลฟูริกเข๎มข๎น 1 mol/dm3
วิธีทา
1. ใสํปุยฝ้าย 0.25 กรัม ลงในบีกเกอร๑ขนาด 100 cm3 แล๎วโรยคอปเปอร๑ (II) คาร๑บอเนต 2 กรัมลงไป คนให๎ทั่ว
2. เติมสารละลายแอมโมเนียมเข๎มข๎น 30 cm3 ลงในของผสมในข๎อ 1 คนให๎ผสมกัน จนกระทั่งได๎สารละลายเหนียว
และใสสีน้าเงิน
3. นากระบอกฉีดยาดูดสารละลายในข๎อ 2
4. จุํมกระบอกฉีดยาลงในบีกเกอร๑ ที่บรรจุสารละลายกรดซัลฟูริกเจือจาง จานวน 20 cm3 ฉีดสารให๎พุํงออก
โดยเร็วพร๎อมกับสํายปลายกระบอกฉีดยาไปมาเพื่อให๎เส๎นใยกระจายตัวได๎ดี ไมํกระจุกเป็นก๎อน สังเกตและ
บันทึกผล
เฉลย ผลการทดลอง
เมื่อฉีดของผสมระหว่างปุยฝูายกับคอปเปอร์ (II) คาร์บอเนต และสารละลายแอมโมเนียลงใน
กรดซัลฟูริกจะได้เส้นใยมีลักษณะสีฟูาอมขาว
41

ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นผลิตภัณฑ๑จากพอลิเมอร๑ และนาเสนอในรูปแบบแผนภาพตํางๆ
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลผลิตภัณฑ๑จากพอลิเมอร๑
2. นาข๎อมูลเขียนในรูปแผนผังความคิด แผนผังมโนทัศน๑ ฯลฯ
3. นาเสนอผลการศึกษา
การนาเสนอขึ้นอยู่กับผู้เรียน

1. ยกตัวอยํางผลิตภัณฑ๑จากพอลิเมอร๑
เฉลย พลาสติก ยาง เส้นใย
2. พลาสติกจาแนกเป็นประเภทใดบ๎าง
เฉลย เทอร์โมพลาสติก และพลาสติกเทอร์มอเซต
3. เทอร๑โมพลาสติกและพลาสติกเทอร๑มอเซตมีสมบัติทางกายภาพแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เทอร์มอพลาสติก เป็นพลาสติกที่ได้รับความร้อนแล้วอ่อนตัว และเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัว ถ้าให้
ความร้อนอีกก็จะอ่อนตัว และสามารถทาให้กลับเป็นรูปร่างเดิมหรือเปลี่ยนรูปร่างได้ โดยสมบัติของพลาสติก
ไม่เปลี่ยนแปลง จึงสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
4. เทอร๑โมพลาสติกและพลาสติกเทอร๑มอเซตมีโครงสร๎างแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เทอร์โมพลาสติกมีโครงสร้างแบบเส้นหรือแบบกิ่ง
พลาสติกเทอร์มอเซตมีโครงสร้างแบบร่างแห
5. โฟมจัดเป็นพลาสติกประเภทใด และนามาใช๎ประโยชน๑อยํางไร
เฉลย โฟมอาจเป็นเทอร์มอพลาสติก หรือพลาสติกเทอร์มอเซตก็ได้ โฟมพอลิยูรีเทนเป็นพลาสติกเทอร์มอ
เซตใช้ทาฉนวนใช้ในรถยนต์ ใช้พ่นเคลือบหลังคา ฯลฯ โฟมพอลิสไตรีนเป็นเทอร์มอพลาสติกใช้ผลิต
กล่องน้าแข็ง ใช้กันกระแทกสาหรับเครื่องใช้ไฟฟูา
6. พลาสติกประเภทใดสามารถนามารีไซเคิลได๎
เฉลย เทอร์มอพลาสติก
7. อาหารที่ร๎อนจัดควรบรรจุในกลํองโฟมที่ทาจากพอลิสไตลีนหรือไมํ เพราะเหตุใด
เฉลย ไม่ควร โฟมที่ทาจากพอลิสไตลีนเมื่อได้รับความร้อนสูงจะหลอมละลายอาจทาให้สารเคมีที่อยู่ใน
กล่องโฟมปนเปื้อนในอาหารได้
8. ผลิตภัณฑ๑ประเภทหูกระทะ ด๎ามจับเตารีด สวิตช๑ไฟฟ้าทาจากพลาสติกชนิดใด เพราะเหตุใด
เฉลย พลาสติกเทอร์มอเซต เพราะต้องการความแข็งแรง ทนต่อความร้อน
9. ยางแบํงเป็นประเภทใดบ๎าง
เฉลย ยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์
42

10. ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห๑มีองค๑ประกอบที่เหมือนหรือตํางกันอยํางไร
เฉลย ยางธรรมชาติ : มีไอโซปรีนเป็นมอนอเมอร์
ยางสังเคราะห์ : ยาง IR มีไอโซปรีนเป็นมอนอเมอร์ ส่วนยาง SBR มีสไตรีนบิวทาไดอีนเป็นมอนอเมอร์
11. ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห๑มีสมบัติเหมือนหรือตํางกันอยํางไร
เฉลย แตกต่างกัน : ยางพารามีความต้านทานแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็นฉนวนที่ดีมาก ทนน้า ทนน้ามัน
จากพืชและสัตว์ ไม่ทนต่อน้ามันเบนซิน และตัวทาละลายอินทรีย์ เมื่อยู่ในสภาวะที่ร้อนหรือมีแสงจ้า
มากๆ จะอ่อนตัวและเหนียว และที่อุณหภูมิต่าๆ จะแข็งและเปราะ
ยางสังเคราะห์ มีความต้านทานต่อน้ามันและแก๊สธรรมชาติดีกว่ายางธรรมชาติ มีความทนต่อแรงดึงต่า
ทนทานต่อการขัดถูกสูงมาก
12. เส๎นใยแบํงเป็นประเภทใดบ๎าง
เฉลย 1. เส้นใยธรรมชาติ 2. เส้นใยสังเคราะห์ 3. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์
13. ชุดดับเพลิงทาจากเส๎นใยประเภทใด เพราะเหตุใด
เฉลย เส้นใยจากสินแร่ เพราะไม่นาไฟฟูา ทนความร้อนสูง ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี
14. ผู๎เรียนมีหลักเกณฑ๑ในการเลือกผ๎าเพื่อใช๎ทาเครื่องนุํงหํมอยํางไร
เฉลย สวมใส่สบาย ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนต่อสารเคมี ดูแลรักษาง่าย ซักง่าย แห้งเร็ว
15. เปรียบเทียบข๎อดีและข๎อเสียของเส๎นใยธรรมชาติและเส๎นใยสังเคราะห๑
เฉลย เส้นใยธรรมชาติ : ข้อดี สวมใส่สบาย ย้อมติดสีง่าย ระบายอากาศได้ดี
ข้อเสีย อายุการใช้งานสั้น ไม่ทนต่อการซักล้าง มีข้อกาจัดในการใช้งาน
เส้นใยสังเคราะห์ : ข้อดี ทนต่อการซักล้าง ปรับปรุงสมบัติตามการใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
ข้อเสีย ระบายอากาศน้อย ย่อยสลายยาก

ขยะพลาสติก
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นและอภิปรายเกี่ยวกับปริมาณขยะพลาสติกรวมถึงวิธีการกาจัดขยะพลาสติก
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลเกี่ยวกับปริมาณขยะพลาสติกในประเทศไทย
2. รํวมกันวิเคราะห๑ปัญหาที่เกิดจากขยะพลาสติก รวมถึงวิธีการกาจัด
3. นาเสนอผลการศึกษา
เฉลย ตัวอย่างการนาเสนอ
แต่ละปีประเทศไทยมีขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากรายงานข่าวของหนังสือพิมพ์คมชัดลึกใน
วันที่ 23 เมษายน 2552 ว่าปริมาณขยะทั่วประเทศมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน เฉพาะในกรุงเทพมหานครมีขยะ
ที่เก็บได้ 8,500 ตันต่อวัน และเป็นขยะจากถุงพลาสติก 1,800 ตันต่อวัน ตามแผนการจัดการขยะมูลฝอยแห่งชาติ
ได้มีเปูาหมายที่จะสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์กาจัดขยะแบบครบวงจร สาหรับนักเรี ยนสามารถใช้หลัก 1A 3R ในการ
ช่วยลดปริมาณราคาขยะลง คือ Avoid (หลีกเลี่ยนหรืองดใช้ของที่ไม่จาเป็น) Reduce (ลดการใช้ให้น้อยลง)
Reuse (นาของที่มีอยู่มาซ่อมแล้วใช้ใหม่) และ Recycle (แปรรูปนากลับมาใช้ใหม่)
43

พลาสติกรีไซเคิล
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นและอภิปรายผลิตภัณฑ๑พลาสติกที่ใช๎ในชุมชน
วิธีทา
1. สารวจและเก็บตัวอยํางผลิตภัณฑ๑พลาสติกที่ใช๎ในชุมชน
2. จัดกลุํมผลิตภัณฑ๑พลาสติกตามประเภทของพลาสติกรีไซเคิล
3. นาเสนอผลการศึกษา

1. ยกตัวอยํางปัญหาที่เกิดจากผลิตภัณฑ๑พอลิเมอร๑
เฉลย ปัญหาขยะพลาสติก ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์
2. เพราะเหตุใดพลาสติกจึงกํอให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล๎อม
เฉลย พลาสติกสลายตัวยาก ไม่ละลายน้า ไม่ละลายในกรด-เบส หรือตัวทาละลายอินทรีย์บางชนิด
3. พลาสติกกํอให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล๎อมอยํางไร
เฉลย ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต : เมื่อเผาขยะพลาสติกจะเกิดควันซึ่งเป็นแก๊สพิษ ทาให้ระบบหายใจเกิดการ
ระคายเคือง
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : ขยะพลาสติกเมื่อทิ้งลงในสิ่งแวดล้อมจะสลายตัวได้ยาก ถ้ามีปริมาณ
พลาสติกอยู่ในดินมาก จะทาให้ดินขาดความสมบูรณ์ พืชเจริญเติบโตไม่ดี เพราะน้าและแร่ธาตุดูดซึม
ผ่านไม่ได้ การทิ้งพลาสติกลงในแหล่งน้าอาจก่อให้เกิดการกีดขวางการจราจรทางน้า หากทิ้งลงสู่ท่อ
ระบายน้าอาจทาให้ขัดขวางการไหลของน้า ทาให้ท่อน้าอุดตัน
4. มีวิธีการลดการใช๎พลาสติกอยํางไร
เฉลย ลดปริมาณการใช้และพยายามกลับมาใช้ใหม่
5. พลาสติกรีไซเคิลคืออะไร
เฉลย พลาสติกที่สามารถนากลับไปผ่านขั้นตอนกระบวนการผลิตเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
6. เพราะเหตุใดจึงต๎องมีการคัดแยกขยะพลาสติก
เฉลย เพื่อรวบรวมขยะพลาสติกประเภทเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการนากลับมาใช้ใหม่หรือการรี
ไซเคิล
7. พลาสติกที่ผลิตจากพลาสติกที่ใช๎แล๎วควรนามาใช๎บรรจุอาหารหรือไมํ เพราะเหตุใด
เฉลย ไม่สมควร เพราะมีสารปนเปื้อนอยู่
8. พลาสติกชีวภาพคืออะไร
เฉลย วัสดุที่ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ เช่น แปูง เซลลูโลสจากข้าวโพด โปรตีนจากถั่ว
9. พลาสติกชีวภาพมีข๎อดีและข๎อเสียอยํางไร
เฉลย ข้อดี : ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ลดปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม
ข้อเสีย : พลาสติกชีวภาพมีข้อจากัดในการใช้งาน เช่น พลาสติกชีวภาพที่ผลิตจากแปูงจะเกิดการ
พองตัวหรือเสียรูปเมื่อได้รับความชื้น
44

ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นการนาผลิตภัณฑ๑พอลิเมอร๑สังเคราะห๑ไปใช๎ประโยชน๑
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลผลิตภัณฑ๑พอลิเมอร๑สังเคราะห๑ชนิดตํางๆ ที่นาไปใช๎ประโยชน๑ด๎านตํางๆ
2. สรุปข๎อมูลในรูปแผนผังความคิดหรือแผนผังมโนทัศน๑
3. นาเสนอผลการศึกษา
ขึ้นอยู่กับการนาเสนอของผู้เรียน

1. ปัจจุบันเทคโนโลยีพอลิเมอร๑สังเคราะห๑มีการพัฒนาอยํางไร
เฉลย เทคโนโลยีของการผลิตพอลิเมอร์มีความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างรวดเร็ว เช่น การปรับปรุงสมบัติ
ของพอลิเมอร์ รวมทั้งการแปรรูปพอลิเมอร์เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่มีรูปร่างตามต้องการ
2. ไฟเบอร๑กลาสคืออะไร
เฉลย พลาสติกที่มีการเติมใยแก้วเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทนต่อแรงกระแทก
3. พลาสติกนาไปใช๎ประโยชน๑ทางการแพทย๑อยํางไร
เฉลย พอลิไวนิลคลอไรด์ผลิตถุงใส่เลือก เส้นเลือดเทียม
พอลิไตรีนใช้ทาหลอดฉีดยา
พอลิโพรพิลีนใช้ทากระดูกเทียม เอ็นเย็บแผล
พอลิเอทิลีนใช้ทาอวัยวะเทียม เช่น ฟันปลอม ลิ้นหัวใจ กระเพาะปัสสาวะ และท่อน้าดี ซิลิโคน ใช้ทา
แม่พิมพ์และใช้ในด้านศัยกรรมตกแต่ง
4. ยกตัวอยํางพอลิเมอร๑สังเคราะห๑นามาใช๎ทาสารชํวยติดยึด
เฉลย กาวพอลิไวนิลแอซิเตต (กาวลาเท็กซ์) กาวอะคริลิก กาวไซยาโนอะคริเลต (กาวอิพอกซี)
5. พอลิเมอร๑สังเคราะห๑นามาใช๎ในงานกํอสร๎างอยํางไร
เฉลย พิลิสไตรีน-บิวทาไดอีน-สไตรีน (Styrene-Butadiene-Styrene = SBR) ผสมกับยางมะตอยเป็น
วัสดุเชื่อมต่อของคอนกรีต เพื่อทาหน้าที่รองรับการขยายตัวของคอนกรีตเมื่อได้รับความร้อน ช่วยไม่
ใช้ยางมะตอยเหลวมาก
6. พอลิเมอร๑สังเคราะห๑นามาใช๎ในงานเกษตรอยํางไร
เฉลย พลาสติกพีวีซีคลุมดินเพื่อช่วยรักษาความชุ่มชื้น และปูองกันการถูกทาลายของผิวดิน ใช้ทาตาข่าย
กันแมลงในการปลูกผักปลอดสารพิษ
พอลิเอทิลีนปูพื้นดินที่เป็นดินร่วนหรือดินทรายเพื่อช่วยให้สามารถกักเก็บน้าไว้ได้
เม็ดพลาสติกผสมในดินเหนียวเพื่อช่วยทาให้ดินร่วนขึ้นด้วย
45

1. สรุปความรู๎เรื่องพอลิเมอร๑ในรูปแผนผังความคิด
เฉลย ขึ้นอยู่กับสภาพจริงของผู้เรียน
2. ระบุมอนอเมอร๑พอลิเมอร๑ตํอไปนี้
เฉลย เซลลูโลส : กลูโคส
เส้นใยจากรังไหม : กรดอะมิโน
พอลิเอทิลีน : เอทิลีน
ยางพารา : ไอโซปรีน
3. เขียนโครงสร๎างของพลาสติกที่มีสมบัติดังนี้
ก. มีความแข็ง ไมํสามารถหลอมหรือเปลี่ยนรูปรําง เมื่อได๎รับความร๎อนสูงจะแตกหัก
ข. มีความหนาแนํนและจุดหลอมเหลวต่า เปลี่ยนรูปได๎เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อร๎อนจะอํอนตัว และเมื่อเย็นจะ
แข็งตัว
ค. มีความหนาแนํนและจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง
เฉลย ก. แบบร่างแห ข. แบบกิ่ง ค. แบบเส้น
4. พลาสติกเทอร๑โมพลาสติกและพลาสติกเทอร๑มอเซตมีความแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย พลาสติกเทอร์โมพลาสติก เป็นพลาสติกที่มีโครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่งที่มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิ
เมอร์น้อยมาก จะอ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิลดลง สามารถนาไปหลอมเหลวเพื่อ
นามาใช้ใหม่ได้
พลาสติกเทอร์มอเซต เป็นพลาสติกที่มีโครงสร้างแบบแห เมื่อได้รับความร้อนจึงไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไม่
สามารถนามาหลอมเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก
5. พลาสติก เส๎นใย และยางมีสมบัติเดํนแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย สมบัติเด่นของพลาสติก คือ อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน ไม่ผุกร่อนง่าย มีความเหนียว ยืดหยุ่นได้ แข็งแรง
น้าหนักเบา ทนต่อการสึกกร่อน ทนต่อสารเคมี เป็นฉนวนไฟฟูา กันน้าได้ สามารถนาไปขึ้นรูปใหม่ได้
สมบัติเด่นของยาง คือ มีความยืดหยุ่น สามารถยืดออกหรือเปลี่ยนขนาดได้เมื่อถูกดึง และกลับคืนสู่สภาพ
เดิมได้เมื่อปล่อยแรงดึง มีความต้านทานต่อแรงดึงสูง ทนต่อการขัดถู เป็นฉนวนที่ดรมาก ทนน้า ทนน้ามัน
จากพืชและสัตว์ เมื่ออยู่ในสภาวะที่ร้อนหรือมีแสงจ้ามากๆ จะอ่อนตัวและเหนียวและที่อุณหภูมิต่าจะแข็ง
และเปราะ
สมบัติเด่นของเส้นใยขึ้นอยู่กับโครงสร้าง องค์ประกอบทางเคมี และการเรียงตัวของโมเลกุลในเส้นใย
โดยทั่วไปเส้นใยควรมีสมบัติดังนี้ มีความแข็งแรง และทนทาน สามารถปั่นได้ มีความสามารถในการดูดซับดี
46

6. ผู๎เรียนจะมีหลักเกณฑ๑ในการเลือกใช๎ภาชนะพลาสติกอยํางไร
เฉลย พลาสติกเป็นสารพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่ทาจากสารเคมีหลายชนิด ดังนั้นควรเลือกใช้ภาชนะพลาสติก
ให้เหมาะสมกับการใช้งาน และมีความระมัดระวังในการใช้ การใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารควร
เลือกชนิดของพลาสติกที่เหมาะกับชนิดของอาหาร ถุงพลาสติกมีทั้งถุงร้อนและถุงเย็น ถุงร้อนจะไม่
ทนเย็นจะเห็นได้ว่าถ้านาถุงร้อนไปใส่ในช่องแช่แข็งถุงจะกรอบและแตก ส่วนถุงเย็นนามาใส่ของร้อง
ไม่ได้ นอกจากนี้ไม่ควรใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารที่เป็นกรด เช่น น้าสมสายชู เพราะกรดจาก
น้าส้มสายชูอาจทาปฏิกิริยากับพลาสติก จึงควรใช้ภาชนะที่ทาจากวัตถุที่ทนต่อความเป็นกรดและด่าง
ได้อย่างเช่น แก้ว และไม่ควรใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอ าหารที่ร้อนจัดเป็นเวลานาน เพราะพลาสติก
บางชนิดไม่ทนความร้อน เมื่อใช้ใส่อาหารร้อนหรือน้าเดือด ความร้อนจะทาให้สีจากภาชนะละลายปน
มาได้
กล่องโฟมเป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่ไม่ควรนามาใส่อาหารที่ร้อนจัด เพราะจะทาให้สารเคมีซึ่งเป็น
อันตรายจากกล่องโฟมละลายออกมา
7. การกาจัดพลาสติกโดยวิธีการตํอไปนี้กํอให๎เกิดมลพิษอยํางไร
ก. การเผา
ข. การทิ้งปนไปกับขยะมูลฝอย
เฉลย ก. การเผา ถ้าเป็นพลาสติกจากมอนอเมอร์ที่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว เช่น พอลิสไต
รีนจะเกิดเขม่ามาก หรือถ้าเป็นพีวีซีจะทาให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ นอกจากนี้พลาสติก
ประเภทโฟมที่มีสาร CFC แทรกอยู่ในเนื้อโฟม เมื่อถูกเผาไหม้สาร CFC จะลอยขึ้นสู่บรรยากาศไป
ทาลายโอโซนในบรรยากาศ ทาให้แสงอัลตราไวโอเลตส่งผ่านมายังโลกได้มากขึ้น ซึ่งอาจทาให้
เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง ต้อกระจก อุณหภูมิของผิวโลกสูงขึ้น และระบบนิเวศเสียสมดุล
ข. การทิ้งปนไปกับขยะมูลฝอย พลาสติกเป็นสารพอลิเมอร์ ที่มีความคงทนสูงและทนทานต่อน้า
แสงแดด และอากาศ สลายตัวยาก จึงตกค้างอยู่ใสสิ่งแวดล้อมทั้งทางดินและทางน้า ทาให้เกิด
ภาวะมลพิษ
8. เส๎นใยไนลอน เส๎นในฝ้าย และเส๎นใยไหม แตกตํางกันอยํางไร
เฉลย เส้นใยไนลอนเป็นเส้นใยสังเคราะห์ มีสมบัติไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนต่อซักล้าง ทนต่อสารเคมี ซักง่าย
แห้งเร็ว เหมาะกับอากาศเย็น แต่ย่อยสลายยาก ส่วนเส้นใยฝูายเป็น เส้นใยธรรมชาติที่มาจากพืชและ
เส้นใยไหมเป็นเส้นใยธรรมชาติที่มาจากสัตว์ โดยเส้นใยธรรมชาติมีสมบัติยับง่าย ดูด (เหงื่อ) ได้ดี ไม่
ทนต่อสารเคมี ซักง่ายแต่แห้งช้า เหมาะกับอากาศร้อนสวมใส่สบาย ย้อมสีติดง่าย ระบายอากาศได้ดี
ย่อยสลายง่ายแต่ไม่ทนต่อการซัก
9. บอกวิธีใช๎ถุงพลาสติกโดยไมํกํอให๎เกิดอันตราย
เฉลย ไม่ควรนาถุงพลาสติกใช้แล้วมาใช้บรรจุอาการอีก
เลือกใช้ตะเกียบพลาสติกที่ไม่เคลือบสี
47

อย่างใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารที่ร้อนจัด น้ามันปรุงอาหาร อาหารรสเปรี้ยวจัด น้าส้ม พริกดอง


และผักหรือผลไม้ดอก
อย่าใช้ช้อนพลาสติกแช่ทิ้งไว้ในถ้วยน้าส้มพริกดอง
อย่าให้เด็กอมของเล่นพลาสติกที่มีสีจัด
ไม่ควรใช้ถุงเย็นมาใส่อาหารที่ร้อนจัด
ไม่ควรใช้ถุงพลาสติกแบบหิ้วมาใส่อาหาร
10. พลาสติกทาให๎สิ่งแวดล๎อมเป็นพิษได๎อยํางไร
เฉลย พลาสติกเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมากเนื่องจากพลาสติกย่อยสลายยากมากใน
ขณะที่การผลิตและการใช้พลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงทาให้เ กิดปัญหาขยะพลาสติกปนเปื้อนใน
สิ่งแวดล้อมทาให้เกิดปัญหาการเสื่อมโทรมของดิน ทาให้ดินบริเวณนั้นไม่สามารถเพาะปลูกได้ ขยะ
พลาสติกที่สะสมอยู่ตามแหล่งน้าและท่อระบายน้า ทาให้ทางระบายน้าอุดตันส่งผลให้น้าไม่สามารถ
ไหลถ่ายเทและหมุนเวียนได้ เป็นต้นเหตุของน้าเน่าเสี่ยและทาให้เกิดน้าท่วมในฤดูฝน การกาจัดขยะ
พลาสติกโดยการเผาจะปล่อยสารมลพิษหลายชนิดออกสู่สิ่งแวดล้อม เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็น
แก๊สเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน และแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ที่มนุษย์ได้รับเข้าสู่
ร่างกายอาจทาให้เกิดอาการต่างๆ เช่น คลื่นไส้ มึนศีรษะ หมดสติ เนื่องจากแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
ทาให้การลาเลียงออกซิเจนในกระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
11. การนาขวดน้าพลาสติกที่ใช๎แล๎วมาดัดแปลงเป็นแจกันใสํดอกไม๎เป็นกระบวนการรีไซเคิลหรือไมํ เพราะเหตุใด
เฉลย รีไซเคิล (Recycle) เป็นการจัดการวัสดุที่กาลังจะเป็นขยะ โดยนาไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ
โดยเฉพาะการหลอม เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ส่วนรียูส (reuse) หมายถึงการนากลับมาใช้
ใหม่โดยไม่ผ่านกระบวนการแปรสภาพ ดังนั้นการนาขวดน้าพลาสติกที่ใช้แล้ว มาดัดแปลงเป็นแจกัน
ใส่ดอกไม้จัดว่าเป็นกระบวนการรี ยูส (reuse) เพราะเป็นการนากลับมาใช้ใหม่โดยไม่ผ่าน
กระบวนการแปรสภาพ
12. ภาชนะและบรรจุภัณฑ๑ตํอไปนี้จัดอยูํในพลาสติกรีไซเคิลกลุํมใด และมีสัญลักษณะอยํางไร
เฉลย
ชนิดของบรรจุภัณฑ์ พลาสติกกลุ่มที่ และสัญลักษณ์
ขวดน้าดื่ม พลาสติกกลุ่มที่ 1 คือ เพท (PETE)
ขวดใส่แชมพู บรรจุภัณฑ์น้ายาทาความสะอาด พลาสติกกลุ่มที่ 2 คือ HDPE
ท่อน้าประปา พลาสติกกลุ่มที่ 3 คือ พีวีซี PVC
ถุงบรรจุอาหารเย็น พลาสติกกลุ่มที่ 4 คือ LDPE
ถุงร้อนชนิดใส พลาสติกกลุ่มที่ 5 คือ PP
กล่องโฟม เทปเพลง พลาสติกกลุ่มที่ 6 คือ PS
48

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 5

1. ข๎อใดจัดเป็นพอลิเมอร๑ธรรมชาติและพอลิเมอร๑สังเคราะห๑ตามลาดับ
เฉลย ข. ยางพารา ไนลอน
2. สารใดเกิดจากพอลิเมอร๑ไรเซชันแบบเติม
เฉลย ค. พอลิเมอรืทิลีน
3. ข๎อใดจัดเป็นพอลิเมอร๑
เฉลย ง. กรดนิวคลิอิก
4. พอลิเอทิลีนมีโครงสร๎างแบบใด
เฉลย ข. แบบกิ่ง
5. พอลิเมอร๑ชนิดหนึ่งมีสมบัติโค๎งงอได๎มาก มีความหนาแนํนและจุดเดือดสูง มีความยืดหยุํนน๎อย พอลิเมอร๑ชนิดนี้มี
โครงสร๎างแบบใด
เฉลย ก. แบบเส้น
6. ข๎อใดคือผลิตภัณฑ๑จากพอลิเมอร๑
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
7. ข๎อใดไมํจัดเป็นเทอร๑มอพลาสติก
เฉลย ง. ซิลิโคน
8. กลํองน้าแข็งเป็นโฟมที่ผลิตจากสิ่งใด
เฉลย ข. พอลิสไตรีน
9. ข๎อใดคือสมบัติของเมลามีน
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
10. ข๎อใดถูกต๎องเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของพลาสติก
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
11. ข๎อใดไมํจัดเป็นสมบัติของยางพารา
เฉลย ค. ทนต่อน้ามันเบนซิน
12. ข๎อใดคือสมบัติที่ดีของยางสังเคราะห๑
เฉลย ก. มีความต้านทานต่อน้ามันและแก๊สธรรมชาติ
13. ยางที่ใช๎ทาจุกนมสาหรับเด็กเป็นยางประเภทใดและชนิดใด
เฉลย ค. ยางสังเคราะห์/IR
14. เซลลูโลสได๎จากสํวนใดของพืช
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
15. เส๎นใยที่ได๎จากแรํธาตุนามาใช๎ประโยชน๑อยํางไร
เฉลย ข. ทาเสื้อผ้าสวมใส่
49

16. เพราะเหตุใดผ๎าที่ทาจากเส๎นใยธรรมชาติจึงสวมใสํสบายกวําผ๎าที่ทาจากเส๎นใยสังเคราะห๑
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
17. ข๎อใดเป็นการนานาโนเทคโนโลยีมาใช๎กับผลิตภัณฑ๑
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
18. พลาสติกกํอให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมอยํางไร
เฉลย ง. ข้อ ข. และ ค.
19. พลาสติกชนิดใดจัดอยูํในกลุํม 3
เฉลย ก. PVC
20. ข๎อใดกลําวไมํถูกต๎อง
เฉลย ง. ทางด้านการเกษตรใช้พลาสติกพีวีซีปูพื้นดินร่วนหรือดินปนทรายเพื่อช่วยให้สามารถกักเก็บน้าไว้ได้

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 6
สมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถทดลองสมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคาร๑บอนบางชนิด
อุปกรณ์
1. เฮกเซน 2 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
2. เฮกซีนหรือไซโคลเฮกซีน 2 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
3. สารละลายโพแทสเซียมเปอร๑แมงกาเนต 2 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
4. น้ากลั่น 4 ลูกบาศก๑เซนติเมตร
5. หลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด
6. จานหลุมโลหะ 1 อัน
7. หลอดหยด 1 อัน
8. ไม๎ขีดไฟ 1 กลํอง
วิธีทา
1. หยดเฮกเซน 5 หยด และน้า 10 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เขยําและสังเกตการละลาย
2. หยดเฮกเซนลงในจานหลุมโลหะ 5 หยด จุดไฟและสังเกตการลุกไหม๎
3. หยดเฮกเซน 5 หยดลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก แล๎วหยดสารละลายโพแทสเซียมเปอร๑แมงกาเนต 2 หยด
เขยําและสังเกตการเปลี่ยนแปลง
4. ทาการทลองเชํนเดียวกับข๎อ 1-3 โดยใช๎เฮกซียนแทนเฮกเซน
5. ศึกษาสมบัติบางประการของเฮกเซน เฮกซียนและเบนซีน โดยใช๎ข๎อมูลที่ได๎จากการทดลอง
6. บันทึกผลการทดลอง
50

การทาปฏิกิริยา การทาปฏิกิริยากับสารละลาย
ชนิดของสาร/ การละลาย
การเผาไหม้ กับสารละลาย โบรมีนและทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
สมบัติ ในน้า
KMnO4 ในที่มืด ในที่สว่าง
เฮกเซน ไมํละลาย ติดไฟใ สารละลาย สารละลายโบรมีน สารละลาย
แยกเป็น 2 ชั้น ห๎เปลวไฟสวําง KMnO4 และกระดาษลิตมัส โบรมีนเปลี่ยนสี
โดยเฮกเซนอยูํ ไมํมีควัน ไมํเปลี่ยนสี ไมํเปลี่ยนสี จากสีน้าตาลแดง
ด๎านบน เป็นไมํมีสี และ
น้าอยูํด๎านลําง กระดาษลิตมัส
สีน้าเงินเปลี่ยน
เป็นสีแดง
เฮกซีน ไมํละลาย แยก ติดไฟให๎ สารละลาย สารละลายโบรมีน สารละลายโบรมีน
เป็น 2 ชั้น โดย เปลวไฟสวําง KMnO4 เปลี่ยน เปลี่ยนจาก เปลี่ยนสีจาก
เฮกซีนอยูํชั้นบน และมีเขมํา จากสีมํวงเป็น สีน้าตาลแดง สีน้าตาลแดง
น้าอยูํชั้นลําง ไมํมีสี และ เป็นไมํมีสี และ เป็นไมํมีสี และ
มีตะกอน กระดาษลิตมัส กระดาษลิตมัส
สีน้าตาลดา ไมํเปลี่ยนสี ไมํเปลี่ยนสี
เกิดขึ้นเล็กน๎อย
เบนซีน ไมํละลาย แยก ติดไฟงําย สารละลาย สารละลายโบรมีน สารละลายโบมีน
เป็น 2 ชั้น ให๎เปลวไฟ KMnO4 และกระดาษลิตมัส และกระดาษ
โดยเบนซีน ที่มีควันและ ไมํเปลี่ยนสี ไมํเปลี่ยนสี ลิตมัสไมํเปลี่ยนสี
อยูํชั้นบน เขมํามาก
น้าอยูํชั้นลําง

จากการทดลองและข๎อมูลเพิ่มเติม เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนมีสมบัติเหมือนหรือแตกตํางกันอยํางไร


เฉลย 1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้ง 3 ชนิด คือ เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนไม่ละลายน้า
2. สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนทั้ ง 3 ชนิ ด แยกชั้ น ลอยสู่ ส่ ว นบนของน้ า แสดงว่ า สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า
3. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ได้ผลิตภัณฑ์
เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้า แต่การเผาไหม้ของเบนซีนเกิ ดเขม่ามาก เฮกซีนเกิดเขม่า
เล็กน้อย ส่วนเฮกเซนไม่มีเขม่า แสดงว่าการเผาไหม้ของเบนซีนและเฮกเซนไม่สมบูรณ์ส่วนเฮกเซน
เผาไหม้ได้สมบูรณ์
51

4. จากปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้ง 3 ชนิด กับสารละลายโบรมีน และสารละลาย


โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต สามารถจาแนกสารได้ 3 ประเภท
4.1 สารประกอบโฮโดรคาร์บอนที่ไม่ฟอกสีสารละลายโบรมีนในที่มืด แต่ฟอกจางสีสารละลาย
โบรมีนในที่สว่าง แล้วได้แก๊สที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้าเงินเป็นสีแดง และไม่ฟอกจางสี
สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต คือ เฮกเซน
4.2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ฟอกจางสี สารละลายโบรมีนทั้งในที่มืดและที่สว่าง และฟอก
จางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต คือ เฮกซีน
4.3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่ฟอกจางสีสารละลายโบรมีนทั้งในที่มืดและที่สว่าง และ
ไม่ฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต คือ เบนซีน

ปิโตรเลียม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นข๎อมูล อธิบายการเกิด และการสารวจแหลํงปิโตรเลียม
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลการเกิดปิโตรเลียม การสารวจแหลํงปิโตรเลียมจากอินเทอร๑เน็ต
2. อภิปราย สรุปผล และจัดทารายงาน
ขึ้นอยู่กับสภาพจริงของผู้เรียน

ปิโตรเลียม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถอภิปรายความสาคัญของปิโตรเลียมที่มีผลตํอเศรษฐกิจ
วิธีทา
1. ระดมความคิด อภิปราย สรุปในหัวข๎อ “ปิโตรเลียมมีความสาคัญตํอเศรษฐกิจอยํางไร”
2. จัดทารายงานนาเสนอข๎อมูล
ขึ้นอยู่กับสภาพจริงของผู้เรียน

1. แหลํงพลังงานจากปิโตรเลียมชนิดใดที่มนุษย๑นามาใช๎งานมากที่สุด
เฉลย น้ามันดิบ
2. ปิโตรเลียมคืออะไร เกิดขึ้นได๎อยํางไร
เฉลย ปิโตรเลียมคือเชื้อเพลิงฟอสซิลหรือเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ เกิดจากซากสิ่งมีชีวิตทั้งซากพืชและ
ซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยทับถมอยู่ใต้ทรายและโคลนตมเป็นเวลานาน จนในที่สุดซากสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะถูก
กดทั บ อยู่ ภ ายใต้ เ ปลื อ กโลกที่ มี ค วามดั น และอุ ณ หภู มิ สู ง ซึ่ ง จะรวมตั ว กั น เป็ น สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดปะปนกัน
52

3. ปิโตรเลียมประกอบด๎วยสารประเภทใดเป็นองค๑ประกอบหลัก
เฉลย ปิโตรเลียมประกอบด้วยสารไฮโดรเจนและคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลัก
4. ปิโตรเลียมพบในชั้นหินชนิดใด เพราะเหตุใด
เฉลย ปิโตรเลียมพบในชั้นหินทรายที่อยู่ระหว่างหินดินดาน
5. แหลํงน้ามันดิบที่พบลําสุดของประเทศไทยอยูํที่ใด
เฉลย บริเวณชายฝั่งจังหวัดนราธิวาส
6. แหลํงผลิตก๏าซธรรมชาติที่ใหญํที่สุดในประเทศไทยตั้งอยูํที่ใด
เฉลย อยู่ในอ่าวไทย ชื่อ แหล่งบงกช
7. แหลํงปิโตรเลียมที่มีขนาดใหญํที่สุดในโลกอยูํที่ใด
เฉลย บริเวณอ่าวเปอร์เซีย
8. แหลํงปิโตรเลียมที่มีคุณภาพดีที่สุดอยูํที่ใด
เฉลย อยู่ที่ประเทศไนจีเรีย
9. อธิบายความสัมพันธ๑ระหวํางสถานะจุดเดือด และจานวนอะตอมของคาร๑บอนจากการกลั่นลาดับสํวนน้ามันดิบ
เฉลย จานวนอะตอมของคาร์บอนในน้ามันดิบ 1-4 อยู่ในสถานะแก๊ส 5-19 อยู่ในสถานะของเหลว 19-40
อยู่ในสถานะของเหลวหนืดข้น มากกว่า 40 จะอยู่ในรูปของเหลวหนืดข้นจนเป็นของแข็ง จุดเดื อด
ของน้ามันดิบจะขึ้นกับจานวนอะตอมของธาตุคาร์บอนถ้ามีจานวนอะตอมมาก จุดเดือดจะสูง
10. ยกตัวอยํางผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากการกลั่นน้ามันดิบ
เฉลย ก๊าซหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันก๊าด น้ามันเตา ยางมะตอย
11. แก๏สธรรมชาติที่ขุดเจาะจากใต๎พื้นดินมีสถานะใด
เฉลย มีลักษณะเป็นของเหลวจข้นถึงหนืดสีดา
12. แก๏สธรรมชาติและแก๏สธรรมชาติเหลวมีสารใดเป็นองค๑ประกอบ
เฉลย แก๊สธรรมชาติและแก๊สธรรมชาติเหลวประกอบด้วยสารประกอบของไฮโดรเจนและคาร์บอน
13. ประเทศไทยมีโรงแยกแก๏สอยูํที่ใด
เฉลย โรงงานแยกแก๊สอยู่ที่ตาบลมาบตาพุด จังหวัดระยอง
14. กระบวนการแยกแก๏สธรรมชาติประกอบด๎วยกระบวนการใด
เฉลย กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติใช้กระบวนการกลั่นลาดับส่วน
1. หน่วยแยกแก๊สรวม
2. หน่วยแยกผลิตภัณฑ์
15. กระบวนการแยกแก๏สธรรมชาติที่ไมํใชํสารประกอบไฮโดรคาร๑บอนมีวิธีการอยํางไร
เฉลย กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนด์
1. การกาจัดปรอท
2. การกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สไฮโดรเจนซัลเฟด์
3. การกาจัดความชื้น
53

16. การกาจัดแก๏สคาร๑บอนไดออกไซด๑และแก๏สไฮโดรเจนซัลไฟด๑ออกจาแก๏สธรรมชาติมีวิธีการอยํางไร
เฉลย การก าจั ด แก๊ ส คาร์ บ อนไดออกไซด์ แ ละแก๊ ส ไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ โ ดยใช้ ส ารละลายโพแทสเซี ย ม
คาร์บอเนต (K2 CO3) ดูดซับแก๊สทั้ง 2 ชนิดออกจากก๊าซธรรมชาติ
17. กระบวนการแยกสารประกอบไฮโดรคาร๑บอนออกจากแก๏สธรรมชาติมีวิธีการอยํางไร
เฉลย กระบวนการแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกจากแก๊สธรรมชาติจะใช้วิธีกลั่นลาดับส่วนโดย
เปลี่ยนสถานะของแก๊สเป็นของเหลวโดยใช้ความดัน

แก๊สธรรมชาติ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถสืบค๎นข๎อมูลเกี่ยวกับการแยกแก๏สธรรมชาติ และประโยชน๑ที่ได๎จากผลิตภัณฑ๑
วิธีทา
1. สืบค๎นข๎อมูลเกี่ยวกับการแยกแก๏สธรรมชาติ ผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากการแยกแก๏ส และการนามาใช๎ประโยชน๑
2. นาเสนอข๎อมูลในรูปแบบแผนภาพตํางๆ เชํน แผนผังความคิด แผนผังมโนทัศน๑
ขึ้นอยู่กับผู้เรียน

1. ผลิตภัณฑ๑จากปิโตรเลียมได๎มาจากแหลํงใดบ๎าง
เฉลย น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติเหลว แก๊สธรรมชาติ
2. ยกตัวอยํางผลิตภัณฑ๑จากน้ามันดิบและการใช๎ประโยชน๑จากผลิตภัณฑ๑
เฉลย แก๊สปิโตรเลียมเหลว : ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน
น้ามันเบนซิน : ใช้เป็นเชื้องเพลิงในเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
น้ามันดีเซล : ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล
น้ามันก๊าด : ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนและแสงสว่าง เป็นตัวทาลายสารบางชนิดในการผลิต
น้ายากทาความสะอาด น้ายาขัดเงา และสารกาจัดแมลง
น้ามันเตา : ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม
น้ามันหล่อลื่น : สารเคลือบผิวโลหะของชิ้นส่วนเครื่องยนต์ที่มีการเคลื่อนที่เพื่อลดการเสียดสีและลด
การสึกหรอดของผิวโลหะ
ยางมะตอย : นามาทาผิวหน้าถนน ทางเท้า ทางวิ่งเครื่องบิน ลานจอดรถ ฯลฯ
สารตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี : ผลิตเม็ดพลาสติก
3. น้ามันแก๏สโซฮออล๑คืออะไร
เฉลย การนาน้ามันเบนซินผสมกับเอทานอลในปริมาณที่กรมธากิจพลังงานกาหนด
4. เครื่องยนต๑แก๏สโซลีนตํางจากเครื่องยนต๑ดีเซลอยํางไร
เฉลย เครื่องยนต์แก๊สโซลีนเป็นเครื่องยนตจ์ชนิดสันดาปภายในมีหัวเทียนเป็นตัวจุดระเบิด
เครื่ องยนต์ดีเซลเป็นเครื่ องยนต์แรงอัดสูงและจุดระเบิดเอง โดยการสเปรย์น้ามันดีเซลเข้าไปใน
กระบอกสูบที่อัดอากาศจนได้อุณหภูมิสูงจึงสามารถจุดระเบิดได้เอง โดยไม่ต้องใช้หัวเทียน
54

5. น้ามันแก๏สโซฮอล๑อี 10 อี 20 และอี 85 มีความแตกตํางกันอยํางไร


เฉลย แก๊สโซฮอล์อี 10 มีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกินร้อยละ 1 และไม่ต่ากว่าร้อยละ 9 กับน้ามันเบนซิล
พื้นฐานร้อยละ 90 โดยปริมาตร
น้ามันแก๊ซโซฮอล์อี 20 มีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกินร้อยละ 20 และไม่ต่ากว่าร้อยละ 19 กับน้ามัน
เบนซิลพื้นฐานร้อยละ 80 โดยปริมาตร
น้ามั้นแก๊สโซฮอล์อี 85 มีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกินร้อยละ 85 และไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 กับน้ามัน
เบนซินพื้นฐานร้อยละ 15 โดยปริมาตร
6. ในโรงงานอุตสาหกรรมใช๎น้ามันชนิดใดเป็นเชื้อเพลิง เพราะเหตุใด
เฉลย น้ามันเตา : ราคาถูก ใช้ง่าย ให้ความร้อนสูง
7. ยกตัวอยํางผลิตภัณฑ๑จากแก๏สธรรมชาติและการนามาใช๎ประโยชน๑
เฉลย แก๊สมีเทน : ใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์
แก๊สอีเทน แก๊สโพรเพน : ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสากหรรมปิโตรเคมี เพื่อนาไปผลิตเม็ดพลาสติกและ
เส้นใยพลาสติกชนิดต่างๆ
แก๊สโพรเพน แก๊สบิวเทน : นามาผสมเป็นแก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG) ใช้หุงต้มในครัวเรือน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ : ผลิตน้าแข็งแห้ง สารตั้งต้นในการทาฝนเทียม สร้างหมอกควันจาลองใน
อากาศ

1. เมื่อปิโตรเลียมเกิดการเผาไหม๎จะได๎สารใด
เฉลย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้า
2. แก๏สคาร๑บอนไดออกไซด๑ในบรรยากาศมาจากแหลํงใดบ๎าง
เฉลย การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ได้แก่ น้ามัน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ
3. แก๏สคาร๑บอนไดออกไซด๑เกี่ยวข๎องกับภาวะโลกร๎อนอยํางไร
เฉลย ถ้าในบรรยากาศมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซดืมากเกิดภาวะสมดุลจะทาให้เกิดปรากฏการณ์แก๊สเรือน
กระจกหุ้มโลกไว้ ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เกิดภาวะโลกร้อน
4. แก๏สคาร๑บอนมอนอกไซด๑เกิดขึ้นได๎อยํางไร
เฉลย ปฏิกิริยาเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากปริมาณแก๊สออกซิเจนที่เข้าทาปฏิกิริยามีน้อย
5. แก๏สคาร๑บอนมอนอกไซด๑กํอให๎เกิดอันตรายอยํางไร
เฉลย ถ้าได้รับแก๊สปริมาณมากอาจเสียชีวิต เนื่องจากแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์จะไปแย่งจับเฮโมโกลบิน
แทน แก๊สออกซิเจน ทาให้เลือกลาเลียงแก๊สออกซิเจนไปสู่เซลล์ในร่างกายได้น้อยลง
6. ผลิตภัณฑ๑จากน้ามันดิบและแก๏สธรรมชาติ เชํน ทินเนอร๑ น้ามันเบนซิน กํอให๎เกิดอันตรายแกํรํางกายอยํางไร
เฉลย สารเหล่านี้เข้าสู่ร่างกายได้โดยการหายใจ การรับประทาน และการสัผมัส เมื่อสารเข้าสู่ร่างกายจะดูด
ซึมไปสู่อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย อาจทาอันตรายต่ออวัยวะ เช่น ตับ ไต สมอง และเป็นอันตราย
ต่อสุขภาพหรือชีวิตได้
55

7. แนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดจากตัวทาละลายตํางๆ ทาได๎อยํางไร
เฉลย ควรศึกษาความเป็นอันตรายจากเอกสารหรือฉลากที่ติดมากับผลิตภัณฑ์ ใช้สารตามคาแนะนาใส่
อุปกรณ์ปูองกันไม่ให้ตัวทาละลายเข้าสู่ร่างกาย ใช้ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี ทาความสะอาดมือ และ
ร่างกายหลังจากการสัมผัสตัวทาละลาย และควรหลีกเลี่ยงการสูดดมกลิ่นไอของสารเหล่านี้
8. การจัดเก็บสารตัวทาละลายตํางๆ มีวิธีเก็บอยํางไร
เฉลย เก็บเป็นสัดส่วนไม่รวมกับสารอื่น เก็บไว้ในภาชนะปิด อากาศถ่ายเทได้ดี อยู่ในที่เย็น ห่างจากความ
ร้อนและประกายไฟ
9. ยกตัวอยํางการแก๎ไขปัญหาเมื่อเกิดการรั่วไหลของน้ามันดิบลงทะเล
เฉลย หาวัสดุดักจับน้ามันคืนให้ได้มากที่สุด การกาจัดโดยการเผา

พลังงานทดแทนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให๎สามารถวิเคราะห๑เกี่ยวกับพลังงานทดแทนเชิงเศรษฐกิจ ด๎านสิง่ แวดล๎อม และผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
วิธีทา
1. สืบค๎นพลังงานทดแทนที่สนใจ 1 ชนิด
2. วิเคราะห๑ข๎อมูลเชิงเศรษฐกิจ ด๎านสิ่งแวดล๎อม และผลกระทบที่เกิดจากการใช๎พลังงานทดแทน
3. นาเสนอผลการศึกษา
ขึ้นอยู่กับผู้เรียน

1. สถานการณ๑การใช๎พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลในปัจจุบันเป็นอยํางไร
เฉลย ใช้พลังงานสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีแนวโน้มทาให้เกิดวิกฤตพลังงาน
2. พลังงานทดแทนคืออะไร
เฉลย พลังงานที่ใช้แทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงาน
นิวเคลียร์
3. เซลล๑แสงอาทิตย๑คืออะไร
เฉลย สิ่งประดิษฐ์กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นอุปกรณ์สาหรับเปลี่ยนพลังงานแสดงอาทิตย์
ใช้เป็นพลังงานไฟฟูา
4. เหตุใดประเทศไทยจึงสามารถนาพลังงานแสงอาทิตย๑มาใช๎ประโยชน๑ได๎อยํางเต็มที่
เฉลย ประเทศไทยตั้งอยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร พลังงานแสงอาทิตย์ส่องมาตลอดปี
5. เหตุใดเซลล๑แสงอาทิตย๑จึงไมํสามารถใช๎ประโยชน๑ได๎อยํางแพรํหลาย
เฉลย การทาเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟูาจากแสงอาทิตย์ใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างมาก เมื่อเทียบกับการซื้อ
กระแสไฟฟูา
56

6. พลังงานชีวมวลคืออะไร
เฉลย พลังงานที่สะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิต
7. ยกตัวอยํางทรัพยากรชีวมวล
เฉลย พืชผลทางการเกษตร เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ไม้และเศษไม้ ของเหลือจากอุตสาหกรรม และชุมชน
8. ยกตัวอยํางพืชที่นามาผลิตน้ามันแก๏สโซฮอล๑
เฉลย ข้าวโพด มันสาปะหลัง
9. ยกตัวอยํางวัตถุดิบที่ใช๎ผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทย
เฉลย ปาล์มน้ามัน มะพร้าว ถั่วเหลือง เมล็ดดอกทานตะวัน เมล็ดสบู่ดา
10. ยกตัวอยํางการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต๑เพื่อลดการใช๎พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล
เฉลย รถยนต์ไฮบริด เป็นรถยนต์ที่ ได้รับการพัฒนาเพื่อประหยัดน้ามัน โดยเครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟูา
ในการทางานร่วมกัน
รถยนต์ไฟฟูา เป็นรถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟูาหมุนมอเตอร์ไฟฟูาในการขับเคลื่อน

1. สรุปเรื่องปิโตรเลียมโดยใช๎ผังมโนทัศน๑หรือแผนผังความคิด
เฉลย ขึ้นอยู่กับนักเรียน
2. สารประกอบไฮโดรคาร๑บอนที่ใช๎เป็นเชื้อเพลิงหุงต๎มตามบ๎านเรือนและที่ใช๎เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต๑เหมือนหรือ
ตํางกันอยํางไร
เฉลย ต่างกัน สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มที่เป็นของผสมระหว่างแก๊สโพรเพนและ
แก๊สบิวเทน (LPG) ส่วนเชื้อเพลิงในรถยนต์เป็นแก๊สธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV) หรือแก๊ส
ธรรมชาติอัด (CNG) มีแก๊สมีเทนเป็นองค์ประกอบหลัก
3. ผลิตภัณฑ๑ปิโตรเลียมที่ได๎จากการกลั่นลาดับสํวนน้ามันดิบและผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีตํางกันอยํางไร
ให๎ยกตัวอยํางและบอกประโยชน๑
เฉลย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ได้จากการกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้โดยตรงจากการกลั่น
เช่ น แก๊ ส หุ ง ต้ ม ตั ว ท าละลาย น้ ามั น เบนซิ น น้ ามั น ก๊ า ด น้ ามั น ดี เ ซล และน้ ามั น เตา เป็ น ต้ น
ส่วนผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีใช้ผลิตภัณฑ์ ที่กลั่นได้จากน้ามันดิบ เป็นสารตั้งต้น
ในอุตสาหกรรมเพื่อใช้ผลิตเครื่องใช้ต่างๆ เช่น ขวดน้าดื่ม ท่อน้า โฟม บัตรเครดิต ยางสังเคราะห์
เส้นใยสังเคราะห์ และผงซักฟอก เป็นต้น
4. เชื้อเพลิงตํอไปนี้มีความแตกตํางกันอยํางไร
เฉลย 4.1 แก๊ส NGV และ LPG
แก๊ส NGV เป็นแก๊สธรรมชาติที่ใช้เป็นเชื้ อเพลิงสาหรับรถยนต์ มีแก๊สมีเทนเป็นองค์ประกอบ
หลักส่วนแก๊ส LPG คือ แก๊สหุงต้ม เป็นแก๊สผสมของโพรเพนและบิวเทน
57

4.2 น้ามันแก๊สโซฮอล์ อี 10 กับน้ามันแก๊สโซฮอล์ อี 85


น้ามันแก๊สโซฮอล์ อี 10 มีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกิ นร้อยละ 10 กับน้ามันเบนซินพื้นฐาน
ร้อยละ 90 โดยปริมาตร ส่วนน้ามันแก๊สโซฮอล์ อี 85 มีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกินร้อยละ
85 กับน้ามันเบนซินพื้นฐานร้อยละ 15 โดยปริมาตร
4.3 เครื่องยนต์แก๊สโซลีนและเครื่องยนต์ดีเซล
เครื่ อ งยนต์ แ ก๊ ส โซลี น เป็ น เครื่ อ งยนต์ ช นิ ด สั น ดาปภายใน มี หั ว เที ย นเป็ น เครื่ อ งจุ ด ระเบิ ด
เครื่องยนต์ดีเซล เป็นเครื่องยนต์แรงอัดสูงและจุดระเบิดเอง โดยการสเปรย์น้ามันดีเซลเข้าไปใน
กระบอกสูบที่อัดอากาศจนได้อุณหภูมิสูง จึงสามารถจุดระเบิดได้ โดยไม่ต้องใช้หัวเทียน
5. ผู๎เรียนเห็นด๎วยหรือวําประเทศที่ผลิตน้ามันดิบสํงออก ประชากรมีความเป็นอยูํดี พร๎อมให๎เหตุผลประกอบ
เฉลย ผู้เรียนอาจตอบว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยขึ้นอยู่กับเหตุผล เช่นเห็นด้วยเพราะประเทศที่ส่งน้ามับดิบ
ได้จะมีรายได้เข้าประเทศจานวนมาก เนื่องจากน้ามันดิบเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุกประเทศที่ส่งผลให้มี
รายได้ เ พื่ อ พั ฒ นาประเทศและสภาพความเป็ น อยู่ หรื อ ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยเพราะประเทศส่ ง ออกน้ ามั น
บางประเทศ สภาพความเป็นอยู่ของประชากรยังไม่ดีทั้งนี้อาจเนื่องมาจากมีจานวนประชากรมาก
ประชากรส่วนใหญ่ขาดความรู้
6. ในชีวิตประจาวันผู๎เรียนใช๎ผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากการกลั่นน้ามันดิบอะไรบ๎าง
เฉลย ในชีวิตประจาวันมีการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ เช่น ใช้แก๊สหุงต้มในการปรุงอาหาร
ใช้น้ามันเบนซินและน้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะในการเดินทางขนส่ง และใช้น้ามันเตา
เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภค เป็นต้น
7. คากลําวที่วํา “ปิโตรเลียมเป็นหัวใจของกิจกรรมทั้งในชีวิตประจาวันไปจนถึงกิจกรรมด๎านการเกษตร อุตสาหกรรม
และเศรษฐกิจ จนกลําวได๎วําปิโตรเลียมเป็นปัจจัยที่บํงบอกความมั่งคั่งของประเทศ” ผู๎เรียนเห็นด๎วยหรือไมํ เพราะ
เหตุใด
เฉลย เห็นด้วยกับคากล่าวข้างต้น เพราะเป็นความจริงที่ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียม ส่วนใหญ่นามาใช้
เป็นเชื้อเพลิงในการทาอาหาร ยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะผลิตกระแสไฟฟูาซึ่งเป็นหัวใจ
สาคัญของเครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟูาทุกชนิดในครัวเรือน และในสานักงาน รวมทั้งใช้เป็นวัตถุดิบหรือสารตั้ง
ต้นในโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเป็นสินค้าส่งออก ทาให้มีรายได้เข้าประเทศและไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
เพื่อซื้อปิโตรเลียม จึงทาให้รัฐบาลจัดการสาธารณูปโภคต่างๆ ที่อานวยความสะดวกบริการแก่ประชากรของ
ตนได้ ทาให้ประชากรในประเทศมีความเป็นอยู่ที่ดี จึงกล่าวได้ว่าปิโตรเลียมเป็นปัจจัยที่ บ่งชี้ความมั่งคั่งของ
ประเทศ
8. ผู๎เรียนคิดวําจะมีปิโตรเลียมใช๎ตลอดไปหรือไมํ เพราะเหตุใด
เฉลย ปิโตรเลียมคงจะไม่มีใช้ตลอดไป เพราะในปัจจุบันมีปริมาณการใช้ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นและ
อย่างต่อเนื่อง แต่การเกิดปิโตรเลียมต้องใช้เวลานานหลายร้อยล้านปี ในอนาคตปริมาณปิโตรเลียมใน
ธรรมชาติจึงอาจถูกใช้หมดไปได้
58

9. ผลิตภัณฑ๑จากการกลั่นน้ามันดิบมีประโยชน๑เหมือนหรือตํางกันอยํางไร
เฉลย ผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ามันดิบที่กลั่นได้ในแต่ละช่วงของจุดเดือดจะมีสมบัติต่างกัน จึงนามาใช้

ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่น จุดเดือดน้อยกว่า 30 C
10. ยกตัวอยํางวิธีการลดการใช๎พลังงานฟอสซิลในบ๎านของผู๎เรียน
เฉลย ตัวอย่างเช่น ไม่ เกิดโทรทัศน์ทิ้ง ไว้ รี ดผ้าครั้ งละหลายๆ ตัว ตั ดหญ้ าโดยใช้กรรไก ปรั บอุณหภู มิ

เครื่องปรับอากาศที่ 25 C ไม่เปิด-ปิดประตูตู้เย็นบ่อยๆ วางแผนการเดินทางก่อนการเดินทาง ปิดไฟ
ทุกครั้งหลังออกจากห้อง ไม่เปิดน้าทิ้งไว้ระหว่างแปรงฟัน และใช้หลอดไฟแบบประหยัดแทนหลอด
แบบเดิม เป็นต้น
11. ยกตัวอยํางตัวทาละลายที่มีอันตรายตํอระบบทางเดินหายใจ พร๎อมบอกวิธีป้องกัน
เฉลย ตัวอย่างเช่น ทินเนอร์ น้ามันเบนซิน โทลูอีน แล็กเกอร์ น้ายาย้อมผม เป็นต้น แนวทางการปูองกัน
เช่น ศึกษาอันตรายของสารที่ใช้จากเอกสาร หรือฉลาก ปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้อุปกรณ์ ปูองกัน
หลีกเลี่ยงการสูดดม ใช้สารในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และทาความสะอาดมือหลังจากการใช้งานแล้ว
เป็นต้น
12. สืบค๎นข๎อมูลพลังงานที่ใช๎ทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ยกตัวอยํางและอธิบายวิธีการนาไปใช๎
เฉลย พลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟรอสซิล หรือเรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ถือว่าเป็น
พลังงานที่ใช้ไม่หมด เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน พลังงานนิวเคลียร์พลังงานความร้อนไต้พิภพ
เป็นต้น ตัวอย่างวิธีการนาพลังแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ พลังงาน
แสงอาทิตย์เป็นพลังงานหมุนเวียนสามารถนามาใช้ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด และแผ่รังสีไปถึงผู้ใช้โดยตรง
อีกทั้งเป็นแหล่งพลังงานที่สะอาดปราศจากมลพิษ มนุษย์รู้จักนาพลังงานแสงอาทิตย์จากดวงอาทิตย์
มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การตากผ้า การตากผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรมนาเกลือ การ
กลั่นน้าด้วยแสงอาทิตย์ ทาเตาแสงอาทิตย์ การผลิตพลังงานไฟฟูา เป็นต้น
13. ถ๎ารถยนต๑ของผู๎เรียนสามารถใช๎เชื้อเพลิงได๎หลายชนิด ผู๎เรียนจะเลือกใช๎เชื้อเพลิงชนิดใด เพราะเหตุใด
เฉลย ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์ E 10 เพราะเหมาะสมกับเครื่องยนต์ มีความคุ้มค่า มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ประหยัดเชื้อเพลิงจากฟอสซิล เช่น ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์ E 10 จาก
เชื้อเพลิงฟอสซิล มีผลกระทบน้อย ราคาถูกและช่วยส่งเสริมเกษตรกรให้มีรายได้ในการปลูกพืชเพื่อ
ผลิตเอทานอล
14. พลังงานทดแทนที่ประเทศตํางๆ คิดค๎นเพื่อใช๎แทนพลังงานฟอสซิลได๎แกํอะไรบ๎าง และมีความสาคัญมากน๎อย
เพียงใด
เฉลย พลังงานทดแทนเป็นพลังงานที่ใช้แทนพลังงานที่มาจากเชื้อเพลิงฟอสซิ ล เป็นพลังงานทางเลือกที่มี
ความสะอาด สามารถหมุ น เวี ย นน ากลั บมาใช้ ใ หม่ ได้ อี ก เช่น พลั งงานแสงอาทิต ย์ พลัง งานลม
พลังงานน้า พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาเทคโนโลยี
และจัดหาพลังงานสะอาดทดแทนพลังงานที่มาจากเชื้อเพลิงฟอลซิล เช่น การผลิตไฟฟูาจากพลังงาน
แสงอาทิตย์โดยใช้ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) แต่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างแพงมากเมื่อเทียบกับ
การซื้อมาใช้ จึงยังไม่แพร่หลายนักในประเทศไทย
59

15. การจากัดคราบน้ามันโดยการเผามีผลตํอสิ่งแวดล๎อมและมีข๎อจากัดอยํางไร
เฉลย การกาจัดคราบนามันโดยการเผาเป็นวิธีการกาจัดคราบน้ามันได้ถึงร้อยละ 99 ก็จริง แต่จะมีผลเสีย
ต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ทาให้อุณหภูมิของน้าสูงขึ้น ทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าลดลงและสิ่งมีชีวิตใน
น้าอาจตายได้ นอกจากนั้นน้ามันส่วนใหญ่มีกามะถันเป็นสิ่งเจือปน เมื่อเผาไหม้จะทาให้เกิดแก๊สซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ และเมื่อแก๊สนี้เกิดปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน จะเปลี่ยนเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์แล้วรวมตัวกับ
น้าฝนทาให้เกิดฝนกรด มีผลทาให้ต้นไม้ถูกทาลาย ทาให้น้าเสียจนปลาไม่มีที่อยู่อาศัย ฝนกรดกัดกร่อนอาคาร
บ้านเรือน และโครงสร้างของอาคารที่ ก่อสร้างด้วยหินปูน นอกจากนั้นการเผาไหม้ของน้ามันจะเกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งซึ่งทาให้
เกิดภาวะโลกร้อน และการมีน้ามันลอยตัวอยู่บนผิวน้าจะทาให้ปริมาณออกซิเจนในน้าลดลง จึงส่งผลต่อปลา
ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นได้ ข้อที่ต้องระวังอย่างยิ่งสาหรับวิธีนี้คือ ต้องทาการเผาคราบน้ามันขณะคลื่นลมไม่แรง
เพื่อปูองกันเปลวไฟไปติดบริเวณอื่น

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 6

1. ข๎อใดกลําวถึงปิโตรเลียมถูกต๎อง
เฉลย ก. ถูกทุกข้อ
2. สถานะของผลิตภัณฑ๑ปิโตรเลียมที่ได๎จากการกลั่นลาดับสํวนข๎อใดไมํถูกต๎อง
เฉลย ก. สารประกอบที่มีคาร์บอน 40-50 อะตอม มีสถานะเป็นของแข็ง
3. ข๎อใดไมํจัดเป็นผลิตภัณฑ๑กลั่นตรงจากการกลั่นน้ามันดิบ
เฉลย ง. เม็ดพลาสติก
4. สารละลายโพแทสเซียมคาร๑บอเนตใช๎เพื่อวัตถุประสงค๑ใด
เฉลย ข. ดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไวด์ออกจากแก๊สธรรมชาติในกระบวนการแยกสารที่ไม่ใช่สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน
5. ข๎อใดไมํถูกต๎อง
เฉลย ค. แนฟทา ทาถนน ทางเท้า
6. ข๎อใดคือแก๏สหุงต๎มที่ใช๎ในครัวเรือน
เฉลย ค. แก๊สโพรเพนและแก๊สบิวเทน
7. ในการแสดงคอนเสิร๑ตจะใช๎แก๏ส ก ในการสร๎างหมอกควันจาลอง ก คือแก๏สชนิดใด
เฉลย ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แข็ง
8. น้ามันแก๏สโซฮอล๑ E 20 มีสํวนผสมตามข๎อใด
เฉลย ก. เอทานอลไม่เกินร้อยละ 20 และไม่ต่ากว่าร้อยละ 19 กับน้ามันเบนซิลพื้นฐานร้อยละ 80
9. การเผาไหม๎ที่สมบูรณ๑จากปฏิกิริยาระหวํางสารไฮโดรคาร๑บอนกับออกซิเจนคือสารใด
เฉลย ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้า
60

10. ข๎อใดคือแนวทางการป้องกันสาหรับผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับตัวทาละลาย
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
11. ข๎อใดคือวิธีแก๎ปัญหาการรั่วไหลของน้ามันดิบที่ไหลลงสูํทะเล
เฉลย ง. ข้อ ก. และ ข.
12. ข๎อใดคือพลังงานจากปิโตรเลียมที่นามาใช๎ประโยชน๑ได๎มากที่สุดถึงน๎อยที่สุด
เฉลย ข. น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน
13. ข๎อใดจัดเป็นพลังงานทดแทน
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
14. ข๎อใดคือขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล
เฉลย ง. น้ามันพืช + แอลกอฮอล์ โซเดียมไฮดอรกไซด์ ไบโอดีเซล
15. ข๎อใดสามารถลดปริมาณการใช๎เชื้อเพลิงฟอสซิล
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
16. แหลํงปิโตรเลียมที่มีคุณภาพดีที่สุดอยูํที่ใด
เฉลย ก. ประเทศไนจีเรีย
17. ข๎อใดจัดเป็นแหลํงผลิตแก๏สธรรมชาติที่ใหญํที่สุดในประเทศไทย
เฉลย ข. แหล่งบงกช บริเวณอ่าวไทย
18. ข๎อใดคือองค๑ประกอบหลักของแก๏สธรรมชาติ
เฉลย ก. มีเทน
19. ข๎อใดเป็นสมบัติของเบนซิน
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
20. สารใดเกิดการเผาไหมได๎สมบูรณ๑
เฉลย ค. เฮกเซน

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 7
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. แหลํงกาเนิดพลังงานไฟฟ้ามาจากที่ใดบ๎าง (สรุปกระบวนการเกิดไฟฟ้า)
เฉลย พลังงานไฟฟูาเกิดมาจาก 3 กระบวนการ ได้แก่
- ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ก ารเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าในเซลล์ ไ ฟฟู า จะเปลี่ ย นจากพลั ง งานเคมี เ ป็ น พลั ง งานไฟฟู า
เซลล์ไฟฟูาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภท คือ เซลล์ไฟฟูาแบบปฐมภูมิ ได้แก่ ถ่านไฟฉาย และ
เซลล์ไฟฟูาแบบทุติยภูมิ ได้แก่ แบตเตอรี่
61

- กระแสไฟฟูาเหนี่ยวนา เกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็กและเกิดจากการ
เคลื่อนที่ของแม่เหล็กในขดลวด หลักการดังกล่าวนามาประดิษฐ์เป็นไดนาโมเพื่อผลิตกระแสไฟฟูา
ส่งมาตามบ้านเรือน
- ปฏิกิริยาโฟโตอิเล็กตริก เกิดจากแสงตกระทบบนพื้นผิวโลหะ แล้วทาให้อิเล็กตรอนบนผิวโลหะ
หลุดออกมา และนาหลักการนี้มาผลิตเซลล์สุริยะ
2. ไดนาโมคืออะไร มีหลักการทางานอยํางไร
เฉลย ไดนาโม คือ เครื่องกาเนิดไฟฟูา เป็นเครื่องกลที่ใช้สาหรับเปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟูา
โดยใช้หลักการให้ลวดตัวนาเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กเพื่อให้เกิดกระแสไฟฟูาในลวดตัวนา
3. อธิบายหลักการทางานของการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล๑สุริยะ
เฉลย เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบแผงโซลาเซลล์จะเกิดฟูากระแสตรงซึ่งจะส่งไปยังเครื่องควบคุมการชาร์จ
แบตเตอรี่ ซึ่งจะชาร์จไฟฟูากระแสตรงที่ได้นี้เข้าสู่แบตเตอรี่ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ควบคุมการจ่าย
ไฟฟูากระแสตรงจากแบตเตอรี่ไปยังเครื่องแปลงไฟฟูา เพื่อแปลงไฟฟูากระแสสลับและจ่ายไฟใน
เครื่องใช้ไฟฟูาในบ้าน
4. เพราะเหตุใดเมื่อใช๎แบตเตอรี่รถยนต๑ไปนานๆ จึงไมํมีไฟต๎องนาไปชาร๑จใหมํ
เฉลย เมื่อใช้แบตเตอรี่รถยนต์ไปนานๆ ผลจากปฏิกิริยาเคมีจะทาให้ขั้วไฟฟูาทั้งคู่เปลี่ยนเป็นกลายเป็น
ตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) เหมือนกัน จะทาให้ศักย์ไฟฟูาเท่ากัน ความต่างศักย์จะลดลงไปเรื่อยๆ
จนกระทั่งเป็นศูนย์ จึงไม่มีความแตกต่างของศักย์ไฟฟูาระหว่างขั้วทั้งสอง กระแสไฟฟูาจะหยุดไหล
ดังนั้นเราจึงต้องนาแบตเตอรี่กลับไปชาร์จใหม่
5. เหตุใดจึงต๎องคัดแยกถํายไฟฉายถํานกระดุม หรือแบตเตอรี่ที่ไมํใช๎แล๎ว ออกจากขยะทั่วไปกํอนนาไปทิ้ง
เฉลย เพราะพิษภัยและอันตรายจากถ่านไฟฉาก แบตเตอรี่ มาจากสารที่ใช้ในการทาแบตเตอรี่ที่สาคัญ คือ
สารตะกั่ว เป็นต้น สารพิษต่างๆ เหล่านี้หากไม่ได้รั บการจัดการอย่างถูกวิธี โอกาสที่จะเกิดการ
ปนเปื้อนต่อแหล่งน้า ผิวดิน พื้นดิน และบรรยากาศแล้วแพร่ไปสู่คน พืช และสัตว์ก็มีสูง ทาให้เกิด
การเจ็บปุวยอย่างเฉียบพลัน หรืออย่างเรื้อรัง ดังนั้นก่อนทิ้งควรมีการคัดแยกและเขียนปูายติดไว้ว่า
ขยะมีพิษ เพื่อให้นาไปกาจัดอย่างถูกวิธี

ตอนที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. ความตํางศักย๑ไฟฟ้าคืออะไร เมื่อต๎องการวัดความตํางศักย๑ในวงจรไฟฟ้า ต๎องใช๎เครื่องมือใด
เฉลย ความต่างศักย์ไฟฟูา คือ ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟูาระหว่างจุด 2 จุด โดยเครื่องมือที่ใช้วัดคือ
โวลต์มิเตอร์ และต้องต่อแบบขนาน
2. กระแสไฟฟ้ากับความตํางศักย๑มีความสัมพันธ๑กันในลักษณะใด
เฉลย กระแสไฟฟูาแปรผันตรงกับความต่างศักย์
62

3. ตัวนาไฟฟ้ามีความสัมพันธ๑กับอุณหภูมิอยํางไร
เฉลย ตัวนาไฟฟูาโดยส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นก็จะมีความต้านทานมากขึ้น
4. เครื่องใช๎ไฟฟ้าในบ๎านแตํละชนิดมีกระแสไฟฟ้าเทํากันหรือไมํ สังเกตจากอะไร
เฉลย ไม่เท่ากันสังเกตจากกาลังไฟฟูาของเครื่องใช้ไฟฟูา
5. ไฟฟ้ากระแสตรง มีชื่อยํอ คือ DC มีลักษณะสาคัญอยํางไร
เฉลย กระแสไฟฟูาไหลในทิศทางเดียวกัน โดยกระแสไฟฟูาจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟูาสูงกว่าไปยังจุดที่มี
กระแสไฟฟูาต่ากว่า หรือจากขั้วบวกผ่านวงจรไปยังขั้วลบทางเดียวตลอดเวลา
6. ไฟฟ้ากระแสสลับมีชื่อยํอ คือ AC มีลักษณะสาคัญอยํางไร
เฉลย เป็นกระแสไฟฟูาที่ไหลกลับทิศไปมา โดยกระแสไฟฟูาจะไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ และเกิดการ
เปลี่ยนสลับขั้วจากขั้วลบเป็นขั้วบวก ขั้วบวกเป็นขั้วลบทาให้กระแสไหลกลับมา

ตอนที่ 2 จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. เงิน เป็นโลหะตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุด และอโลหะที่นาไฟฟ้าได๎คือ แกรไฟต์
2. สมบัติของวัสดุที่ยอมให๎กระแสไฟฟ้าไหลผํานมากหรือน๎อย เรียกวํา ตัวนาไฟฟูา
3. กระแสไฟฟ้าระหวํางจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้าจะหลุดไหลเมื่อมีศักย๑ไฟฟ้า เท่ากัน หรือมีความตํางศักย๑มีคําเทํากับ
ศูนย์
4. อิเล็กตรอนมีทิศการไหลจากขั้ว ลบ ไปยังขั้ว บวก และกระแสไฟฟ้ามีทิศการไหลจากขั้ว บวก ไปยังขั้ว ลบ
5. กระแสไฟฟ้าที่ใช๎ในบ๎านเรือนในเมืองไทยมีความตํางศักย๑ไฟฟ้าเทํากับ 220 โวลต๑ และมีความถี่ 50 รอบตํอวินาที

1. อธิบายการทางานของสวิตช๑ 2 ทาง
เฉลย สวิตช์แบบนี้จะมีขั้วอยู่ 3 ขั้ว โดยขั้วกลางจะต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟูาส่วนอีก 2 ขั้วจะใช้สาหรับ
ต่อไปยังทิศทางที่จะให้กระแสไฟฟูาไหลผ่าน ซึ่งการกดสวิตช์แบบ 2 ทาง จะเป็นการเลือกว่าจะให้ขั้ว
กลางของสวิตช์เชื่อต่อกับขั้วใด
2. ฟิวส๑ขนาด 30 A หมายถึงอะไร
เฉลย ฟิวส์จะยอมให้กระแสไฟฟูาไหลผ่านได้ไม่เกิ น 30 A หากมีกระแสไฟฟูาไหลผ่านมากกว่านี้ฟิวส์จะ
หลอมละลาย ตัดวงจรไฟฟูา
3. ปัจจุบันมีการนาสวิตช๑อัตโนมัติมาใช๎งานอยํางมากมาย สวิตช๑อัตโนมัติมีข๎อดีอะไรบ๎าง
เฉลย ตัดวงจรจากไฟฟูาลัดวงจรหรือไฟฟูาเกินขนาดแล้ว ทาให้ไม่มีส่วนใดเสียหาย
4. ไฟฟ้าลัดวงจร คืออะไร
เฉลย วงจรไฟฟูามีความผิดปกติ เนื่องจากลวดตัวนาไฟฟูาสัมผัสกันจากฉนวนหุ้มสายไฟชารุ ด ทาให้
กระแสไฟฟูาไม่ไหลไปตามลวดตัวนาในสายๆไฟตามปกติ แต่กระแสไฟฟูาเกือบทั้งหมดจะไหลผ่านบริ
เวรจุดที่ลวดตัวนาสัมผัสกันหรือจุดที่เกิดไฟฟูาลัดวงจร ทาให้ที่บริ เวณดังกล่าวมีพลังงานไฟฟูา
เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน และทาให้ลวดตัวนาที่สัมผัสกันเกิดไฟไหม้ได้
63

5. การป้องกันไมํให๎ไฟฟ้าในบ๎านเกิดการลัดวงจร จะทาได๎อยํางไรบ๎าง
เฉลย 1. ติดตั้งสายดิน
2. ติดตั้งสวิทซ์อัตโนมัติ
3. ตรวจดูสายไฟฟูาตามส่วนต่างๆ ในบ้าน ให้ฉนวนหุ้มสายไฟฟฟูาอยู่ในสภาพดี ถ้าสายไฟเก่าก็
ควรเปลี่ยนสายไฟใหม่
4. ตรวจดูสภาพของเครื่องใช้ไฟฟูา สายไฟต้องไม่ชารุด และมีฉนวนหุ้ม
5. เมื่อดึงเต้าเสียบออกจากเต้ารับ ควรจับที่เต้าเสียบ ไม่ควรกระชากที่สายไฟ เพราะอาจทาให้
สายไฟฟูาหลุดออกจากเต้าเสียบแล้วเกิดไฟฟูาลัดวงจรได้

1. การตํอวงจรไฟฟ้ามีกี่แบบ แตกตํางกันอยํางไร
เฉลย มี 3 แบบ ได้แก่ 1) การต่อวงจรไฟฟูาแบบอนุกรม เป็นการทาให้กระแสไฟฟูาไหลไปทางเดียวไม่มี
การแยกเป็นสาย 2) การต่อกระแสงไฟฟูาแบบขนาน กระแสไฟฟูาแยกได้หลายทาง เพราะแยก
อุปกรณ์แต่ละชนิดในการเชื่อมต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟูา 3) การต่อแบบผสม เป็นการต่อแบบอนุกรม
และขนานร่วมกัน
2. การเลือกสายไฟฟ้ามาใช๎ในบ๎านเรือนต๎องคานึงถึงอะไรบ๎าง
เฉลย 1. ปริมาณของกระแสที่ไหลผ่าน เช่น หลอดไฟ หม้อหุงข้าว เตารีด เครื่องทาน้าอุ่น แอร์
2. ขนาดของสายไฟต้องสัมพันธ์กับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟูา
3. คุณภาพของสายไฟฟูาต้องได้มาตรฐาน มอก.
3. เพราะเหตุใดโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญํจึงใช๎ไฟระบบ 3 เฟส และมีการติดตั้งหม๎อแปลงไฟฟ้ากํอน นาไปใช๎
ภายในโรงงาน
เฉลย เพราะในอาคารพาณิชย์ และโรงงานอุตสาหกรรม มักมีเครื่องใช้ไฟฟูาที่กินไฟสูง ซึ่งผู้ใช้ไฟฟูาจะต้อง
ติดตั้งหม้อแปลงเอง เพราะระบบ 3 เฟสนี้จะมีแรงดันไฟฟูา 380 โวลด์ จึงต้องใช้หม้อแปลงลด
แรงดันลงมาให้เหมาะสมตามที่ต้องการใช้งาน
4. เพราะเหตุใดจึงมีการติดตั้งสะพานไฟยํอยแยกแตํละชั้นภายในอาคาร
เฉลย ความสะดวกในการซ่อมแซมเฉพาะจุดหากมีอุปกรณ์ชารุดเสียหาย หรือหากเกิดไฟฟูาลัดวงจรก็จะ
ดับเพียงบางจุดเท่านั้น
5. การชํวยเหลือผู๎ที่ได๎รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้า มีแนวปฏิบัติอยํางไร
เฉลย การช่วยเหลือผู้ที่ได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟูา ผู้ช่วยเหลือต้องรอบคอบและระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง
ห้ามใช้มือเปล่าสัมผัสผู้กาลังได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟูา สิ่งแรกที่ต้องทาคือต้องหยุดกระแสไฟฟูา
โดยการถอดปลั๊กหรือตัดสะพานไฟ จากนั้นให้ใช้วัสดุที่เป็นฉนวน เช่น ไม่แห้ง ผ้าแห้ง หรือเชือกแห้ง
มาผลักให้ผู้กาลังได้รับอันตรายออกจากกระแสไฟฟูา
64

1. หม๎อหุงข๎าวไฟฟ้ามีตัวเลขกากับไว๎ 220V 550W หมายความวําอยํางไร


เฉลย เมื่อต่อหม้อหุงข้าวไฟฟูากับความต่างศักย์ 220 โวลต์ จะใช้กาลังไฟฟูา 550 วัตต์ หรือใช้พลังงาน
ไฟฟูา 550 จูล ในเวลา 1 วินาที
2. พลั ง งานไฟฟ้ า มี ห นํ ว ยเป็ น จู ล หาคํ า พลั ง งานไฟฟ้ า ได๎ จ าก ค่ า พลั ง งานไฟฟู า ใน 1 หน่ ว ยเวลา เรี ย กว่ า
กาลังไฟฟูา หาได้จากความสัมพันธ์
พลังงานไฟฟูา (หน่วย) = กาลังไฟฟูา (กิโลวัตต์) x เวลา (ชั่วโมง)
W = Pt
3. หม๎อหุงข๎าวไฟฟ้าใบหนึ่งใช๎กาลังไฟฟ้า 1,320 วัตต๑มีกระแสไฟฟ้าไหลผําน 6 แอมแปร๑ หม๎อหุงข๎าวใบนี้ตํอกับความ
ตํางศักย๑ไฟฟ้าเทําใด
เฉลย จากสูตร P = VI
เมื่อ P คือ กาลังไฟฟูา = 1,320 วัตต์
V คือ ค่าความต่างศักย์ที่ต้องการคานวณว่ามีค่าเท่าใด
I คือ กระแสไฟฟูา = 6 แอมแปร์
แทนค่าปริมาณต่างๆ P = VI
P
V = I
1,320
= = 220 โวลต์
6
ดังนั้น หม้อหุงข้าวใบนี้ต่ออยู่กับความต่างศักย์ไฟฟูา 220 โวลต์
4. ครอบครัวหนึ่งใช๎เครื่องใช๎ไฟฟ้าเทํากันทุกวัน ดังนี้
โทรทัศน๑ 150 วัตต๑ ใช๎วันละ 3 ชั่วโมง
เตารีดไฟฟ้าขนาด 1,000 วัตต๑ ใช๎วันละ 1 ชั่วโมง
หลอดไฟฟ้าขนาด 60 วัตต๑ 5 หลอด ใช๎วันละ 8 ชั่วโมง
หม๎อหุงข๎าวขนาด 1,000 วัตต๑ ใช๎วันละ 2 ชั่วโมง
ถ๎าไฟฟ้าที่ใช๎มีความตํางศักย๑ไฟฟ้า 220 โวลต๑ และเสียคําไฟฟ้าหนํวยละ 2 บาท ในเดือนกันยายน บ๎านหลังนี้
จะต๎องเสียคําไฟฟ้าเทําใด
เฉลย วิธีทาจากสูตร พลังงานไฟฟูา (หน่วย) = กาลังไฟฟูา (กิโลวัตต์) x เวลา (ชั่วโมง)
W = Pt
และจาก 1000 วัตต์ = 1 กิโลวัตต์
1. โทรทัศน์ขนาด 150 วัตต์ ใช้วันละ 3 ชั่วโมง = 0.15 กิโลวัตต์ x 3 ชั่วโมง
= 0.45 หน่วย
2. เตารีดไฟฟูาขนาด 1,000 วัตต์ ใช้วันละ 1 ชั่วโมง = 1 กิโลวัตต์ x 1 ชั่วโมง
= 1 หน่วย
65

3. หลอดไฟฟูาขนาด 60 วัตต์ 5 หลอด ใช้วันละ 10 ชั่วโมง = 0.6 กิโลวัตต์ x 5 หลอด x 10 ชั่วโมง


= 3 หน่วย
4. หม้อหุงข้าวขนาด 1,000 วัตต์ ใช้วันละ 2 ชั่วโมง = 1 กิโลวัตต์ x 2 ชั่วโมง
= 2 หน่วย
รวมใน 1 วัน ใช้พลังงานไฟฟูา 0.45 + 1 + 3 + 2 = 6.45 หน่วย
เดือนกันยายนมี 30 วัน ดังนั้นใช้พลังงานเดือนละ 6.45 x 30 = 193.5 หน่วย
ค่าไฟฟูาหน่วยละ 2 บาท ดังนั้นในเดือนกันยายนต้องจ่ายค่าไฟฟูา = 193.5 x 2 = 390 บาท
5. การชํวยเหลือผู๎ที่ได๎รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้ามีแนวปฏิบัติอยํางไร
เฉลย คือ ต้องตัดกระแสไฟฟูาโดยการถอดปลั๊กหรือตัดสะพานไฟ ห้ามใช้มือเปล่าสัมผัสผู้กาลังได้รั บ
อันตรายจากกระแสไฟฟูาโดยตรง ควรใช้วัสดุที่เป็นฉนวน เช่น ไม้แห้ง ผ้าแห้ง หรือเชือกแห้งมาผลักผู้กาลัง
ได้รับอันตรายออกจากกระแสไฟฟูา

1. แหลํงกาเนิดไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย๑ต๎องมีสํวนประกอบสาคัญ คือ แผ่นรับแสงอาทิตย์ที่เป็นสารกึ่งตัวนาและ


แผ่นที่รับอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจากแผ่นรับแสงอาทิตย์ เป็นสารพวก ซิลิคอน
2. ถํานไฟฉายและแบตเตอรี่ให๎พลังงานไฟฟ้าได๎เพราะ เกิดปฏิกิริยาทางเคมีของสารเคมีที่บรรจุอยู่ภายใน ทาให้
เกิดการเคลื่อนที่อิเล็กตรอน ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟูาออกมา เรียกได้ว่าเป็นการเปลี่ยนจากพลังงานทางเคมี
ให้เป็นพลังงานทางไฟฟูา
3. กระแสไฟฟ้า คือ สิ่งที่สมมติขึ้นแทนการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนบนลวดตัวนาที่ต่ อระหว่างจุด 2 จุดที่มีความ
ต่างศักย์ไฟฟูา
4. ความต๎านทานไฟฟ้าจะสูงหรือต่าขึ้นอยูํกับปัจจัยตํางๆ ได๎แกํ ชนิดของตัวนา ขนาดของตัวนา ความยาวของ
ตัวนาและอุณหภูมิ
5. กฎของโอห๑ม กลําววํา เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟูาของตัวนาไฟฟูาจะมี
ค่าคงที่เท่ากับความต้านทานของตัวนาไฟฟูานั้น
6. สะพานไฟ (cut out) ทาหน๎าที่ เป็นอุปกรณ์สาหรับตัดหรือต่อวงจรไฟฟูา ตัวสะพานไฟทาด้วยโลหะ มีฉนวน
กระเบื้องหรือพลาสติกห่อหุ้มอยู่ มีคันจับใช้ยกขึ้นลงได้ ซึ่งถ้าจะตัดวงจรไฟฟูาให้สะพานไฟขึ้น และถ้าจะต่อ
วงจรไฟฟูาให้สับลง
7. สํวนประกอบของวงจรไฟฟ้าที่สาคัญ ได๎แกํ 1) แหล่งกาเนิดไฟฟูา เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย 2) ตัวนาไฟฟูา
เช่น สายไฟฟูา หรือสื่อที่สามารถนาไฟฟูาได้ 3) เครื่องใช้ไฟฟูา ส่วนสวิตช์มีไว้เพื่อความสะดวกเมื่อเปิด ปิด
เครื่องใช้ไฟฟูา จึงจัดเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟูาด้วย
8. ไฟฟ้าดูด หมายถึง การมีกระแสไฟฟูาไหลผ่านร่างกาย เพราะร่างกายสามารถนาไฟฟูาได้ ความรุนแรงจะมาก
หรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของกระแสไฟฟูา และเส้นทางที่กระแสไฟฟูาไหลผ่าน
66

9. สายดิน คือ สายไฟที่ต่อเข้ากับเครื่องใช้ไฟฟูาหรือส่วนโครงนอกของเครื่องใช้ไฟฟูา เมื่อมีกระแสไฟฟูารั่วจาก


เครื่องใช้ไฟฟูาจะไหลลงสู่สายดินโดยไม่ผ่านร่างกายผู้สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟูาอยู่ ซึ่งทาให้ ปลอดัยจากการถูก
ไฟฟูาดูด
10. ยกตัวอยํางเครื่องมือที่ใช๎ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า มีความสาคัญอยํางไร เครื่องมัลติมิเตอร์ ไขควงตรวจสอบไฟฟูา
เพื่อทดสอบว่ามีช่องว่างในวงจรหรือไม่ ซึ่งถ้าวงจรไฟฟูาขาด ก็สามารถซ่อมแซมได้โดยการเชื่อมต่อช่องว่าง
ดังกล่าวให้สมบูรณ์ เช่น ต่อสายไฟฟูาที่ขาดให้เรียบร้อยสามารถเปลี่ยนสายไฟฟูาใหม่

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 7
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข๎อเดียว
1. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได๎อยํางไร
เฉลย ค. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
2. ข๎อใดกลําวถูกต๎อง
เฉลย ก. อิเล็กตรอนจะไหลจากขั้วลบไปขั้วบวก
3. ผู๎ที่ค๎นพบไฟฟ้าสถิตคือ
เฉลย ก. ทาลิส
4. ผู๎ที่ค๎นพบกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาคือ
เฉลย ค. ไมเคิล ฟาราเดย์
5. ตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุดคือข๎อใด
เฉลย ก. เงิน
6. ข๎อใดกลําวถูกต๎องเกี่ยวกับเซลล๑ไฟฟ้าอยํางงําย
1. แผ่นทองแดงทาหน้าที่เป็นขั้วลบ
2. กรดซัลฟิวริกเจอจางเป็นอิเล็กโตรไลต์
3. จากปฏิกิริยาจะมีฟองแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น
4. แผ่นทองแดงแตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่าแผ่นสังกะสี
เฉลย ค. ข้อ 2 และ 3
7. อโลหะชนิดใดนาไฟฟ้าได๎
เฉลย ค. แกรไฟต์
8. ข๎อใดเป็นเซลล๑ทุติยภูมิ
เฉลย ข. แบตเตอรี่
9. โลหะที่ใช๎ทาเซลล๑สุริยะคือ
เฉลย ค. ซิลิคอน
10. ข๎อใดคือเหตุผลสาคัญที่ใช๎อะลูมิเนียมทาสายไฟแรงสูง
เฉลย ข. น้าหนักเบา
67

11. ข๎อใดกลําวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแบตเตอรี่รถยนต๑
เฉลย ค. ศักย์ไฟฟูามีค่าคงที่ตลอดอายุการใช้งาน
12. อุปกรณ๑ใดมีหน๎าที่ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้า
เฉลย ข. ฟิวส์
13. ฟิวส๑เป็นโลหะผสมระหวํางโลหะชนิดใด
เฉลย ข. ตะกัว่ + ดีบุก
14. ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส จะมีสายที่มีไฟกี่สาย
เฉลย ง. 4 สาย
15. คอมมิวเตเตอร๑คืออะไร
เฉลย ข. วงแหวนครึ่งซึกในไดนาโมกระแสตรง
16. ฉลากที่เขียนติดในเครื่องใช๎ไฟฟ้าวํา 220 V 90 W บอกคําอะไรบ๎าง ตามลาดับ
เฉลย ก. ความต่างศักย์ไฟฟูา และกาลังไฟฟูา
17. การกระทาของใครอาจกํอให๎เกิดอันตรายได๎
เฉลย ก. สมปองใช้ลวดทองแดงแทนฟิวส์
18. ถ๎าหากมีกระแสไฟฟ้าไหลผํานสะพานไฟมากกวําที่สะพานไฟจะทนได๎สิ่งที่จะเกิดขึ้นคืออะไร
เฉลย ก. ฟิวส์ในสะพานไฟขาด
19. โทรทัศน๑ขนาด 550 วัตต๑ 220 โวลต๑ ควรใช๎ฟิวส๑ขนาดใดตํอยูํภายใน
เฉลย ข. 3A
20. ข๎อใดอธิบายกาลังไฟฟ้าได๎ดีที่สุด
เฉลย ค. พลังงานไฟฟูาที่เครื่องใช้ไฟฟูาใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 8
1. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าตํางจากคลื่นกลอยํางไร
เฉลย คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาสามารถเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศได้ แต่คลื่นกลไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศได้
2. นักวิทยาศาสตร๑ที่ตั้งทฤษฎีคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าคือใคร
เฉลย แมกซ์เวลล์
3. จงอธิบายการเกิดคลื่นแมํเหล็กฟ้าตามข๎อ 2
เฉลย บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟูา และสนามไฟฟูาที่
เปลี่ยนแปลงจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโดยสนามไฟฟูาเหนี่ยวนาจะอยู่ในระนาบที่ตั้งฉากกับทิศของ
สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง การเหนี่ยวนาเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ และจะเกิดคลื่น
แม่เหล็กไฟฟูาแผ่ออกมา
68

4. จากการทดลองของเฮิรตซ๑พบปรากฏการณ๑อะไรที่เขาสามารถยืนยันได๎วําเป็นคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า
เฉลย เห็นประกายไฟ
5. จากรูปเมื่อเกิดคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าเครื่องที่ไปทางแกน Z ความสัมพันธ๑ของสนามแมํเหล็ก
B และสนาทไฟฟ้า E ของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า จะมีทิศอยํางไร
เฉลย E จะขนานแกน X , B จะขนานแกน Y

1. จงบอกคุณสมบัติของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้ามา 2 ข๎อ
เฉลย เป็นคลื่นตามขวาง มีอัตราเร็วในสุญญากาศ 3 x 108 m/s
2. จงเรียงคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าตํอไปนี้จากคลื่นที่มีความถี่น๎อยไปมาก
เฉลย รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ รังสีอัลตราไวโอเลต แสงที่มองเห็นได้ รังสีอินฟราเรด ไม่โครเวฟ คลื่นวิทยุ
3. สถานีวิทยุเอเอ็มแหํงหนึ่งกระจายเสียงคลื่นวิทยุด๎วยความถี่ 100 เมกะเฮิรตช๑ ถ๎าคลื่นวิทยุมีอัตราเร็ว 3 x 108
เมตรตํอวินาที จงความความถี่ในหนํวยเฮิรตช๑ และความยาวคลื่นในหนํวยเมตร
เฉลย f = 100 MHz = 100 x 106 Hz
ความเร็ว (v) = ความถี่ (f) x ความยาวคลื่น ( )
ความยาวคลื่น = ความเร็ว
ความถี่
3 x 108
=
100 x 106
= 3 m
4. จากข๎อ 3 คลื่นวิทยุจะใช๎เวลานานเทําไรจึงจะสํงไปได๎ไกล 60 กิโลเมตร

เฉลย t = S
V
= 60 x 103/3 x 108
= 2 x 10-4 วินาที
5. รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย๑สามารถทาให๎เกิดวิตามินชนิดใดในรํางกาย
เฉลย วิตามินดี
6. หลอดฟลูออเรสเซนต๑ให๎แสงสวํางเนื่องจากสเปคตรัมคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าชนิดใด
เฉลย รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระทบกับสารเรืองแสงที่ข้างหลอดเกิดการเรืองแสง
7. สเปคตรัมคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าที่ใช๎ในการสื่อสารคืออะไร
เฉลย 1. คลื่นวิทยุ
2. ไมโครเวฟ
3. แสง
69

8. จงบอกหลักทั่วไปของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้ามา 3 ข๎อ
เฉลย 1. เคลื่อนที่โดยไม่ผ่านตัวกลาง
2. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันทุกชนิด
3. สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟูามีทิศตัง้ ฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา
9. รังสีชนิดใดที่ใช๎ในการทางานของรีโมทคอนโทรล
เฉลย รังสีอินฟาเรด
10. รังสีชนิดใดเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะโลกร๎อน
เฉลย รังสีอัลตร้าไวโอเลต

1. ใครเป็นผู๎ทาการทดลองพิสูจน๑ทฤษฎีคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าได๎สาเร็จ
เฉลย ไฮน์ริช เฮิรตซ์
2. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าชํวงที่ตามองเห็นแยกเป็นกี่สี อะไรบ๎าง
เฉลย 7 สี ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง
3. รังสีชนิดใดใช๎สร๎างสัญญาณกันขโมย
เฉลย รังสีอินฟาเรด
4. จงอธิบายสมบัติของเลเซอร๑
เฉลย แสงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ มีความถี่เดียว มีทิศทางการเคลื่อนที่แน่นอน และจ่ายพลังงานแสง
ออกมาที่มีลักษณะเดียวกันทุกประการ
5. จงบอกประโยชน๑ของรังสีเอกซ๑
เฉลย ใช้ ถ่ า ยภาพในร่ า งกายเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย โรค ตรวจหาอาวุ ธ ปื น ระเบิ ด ใช้ ต รวจหารอยร้ า วของโลหะ
ใช้วิเคราะห์ธาตุและสารประกอบต่างๆ
6. การที่แสงขาวเคลื่อนที่ผํานปริซึมจะเห็นเป็นแสง 7 แสงสีเพราะอะไร
เฉลย เพราะมีความถี่ ความยาวคลื่น ต่างกันทาให้มุมของการหักเหแตกต่างกันจึงแยกออกมาเป็นสีต่างๆ
7. ถ๎ารังสีเอกซ๑มีความยาวคลื่น 0.3 นาโนเมตร จะมีความถีกี่เฮิรตซ๑ กาหนดให๎รังสีเอกซ๑มีความเร็ว 3 x 108 เมตรตํอวินาที
เฉลย จาก v = f
f = v

3 x 108
=
0.3 x 10-9
= 1018 Hz
8. ไส๎หลอดไฟฟ้านอกจากจะปลํอยแสงแล๎วยังปลํองรังสีชนิดใดออกมา
เฉลย รังสีอินฟราเรด
70

9. อุปกรณ๑รับคลื่นในการสื่อสารโทรคมนาคมจะมีรูปทรงใด
เฉลย พาราโบลา
10. สถานีวิทยุเอเอ็มแหํงหนึ่งกระจายเสียงคลื่นวิทยุด๎วยความยาวคลื่น 3 เมตร ถ๎าคลื่นวิทยุมีอัตราเร็ว 3 x 108 เมตร
ตํอวินาที จงหาความถี่ของคลื่นวิทยุนี้ในหนํวยเมกะเฮิรตซ๑
เฉลย จาก v = f
f = v

3 x 108
=
3
8
= 10 Hz
= 100 MHz
11. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าชนิดใดสามารถทาให๎เกิดประจุอิสระในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร๑
เฉลย รังสีอัลตราไวโอเลต
12. สถานี วิ ทยุ ที่สํ ง ออกอากาศโดยสํ ง สัญ ญาณเสี ยงให๎ไ ปบัง คั บ แอมพลิ จู ดของคลื่น พาหนะเปลี่ ยน เรี ยกการสํ ง
คลื่นวิทยุนี้วํา
เฉลย การส่งคลื่นวิทยุระบบ A.M.
13. จงวาดรูปของทิศสนามแมํเหล็ก สนามไฟฟ้า และทิศการกระจายของคลื่นที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนสนามแมํเหล็ก
และสนามไฟฟ้า
เฉลย

14. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าชนิดใดที่เป็นอันตรายตํอมนุษย๑มากที่สุด
เฉลย รังสีแกมมา
15. จงอธิบายคลื่นฟ้าและคลื่นดิน
เฉลย คลื่นฟูา คือ คลื่นที่ออกสถานีส่งออกไปแล้วไม่ตกกระทบกับผิวโลกนอกจากจะเกิดการสะท้อนจาก
ชั้นบรรยากาศกลับมาสู่ผิวโลก
คลื่นดิน คือ คลื่นที่ออกจากสถานีแล้วตกกระทบกับผิวโลก ซึ่งจะมีรัศมีครอบคลุมโดยรอบจากสถานี
ส่งประมาณ 80 กิโลเมตร
71

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 8
1. ข๎อใดเป็นแหลํงกาเนิดแสงของคลืน่ แมํเหล็กไฟฟ้า
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
2. จากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของสนามแมํเหล็ก (B) สนามไฟฟ้า (E) ของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า
จะเคลื่อนที่ไปตามแกนใด
เฉลย ก. X
3. สเปกตรัมของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าแตํละชนิดมีปริมาณใดที่เหมือนกัน
เฉลย ค. อัตราเร็วในสุญญากาศ
4. คลื่นแมํเหล็กฟ้าข๎อใดมีความยาวคลื่นสูงสุด
เฉลย ก. คลื่นวิทยุ
5. ประสาทสัมผัสความร๎อนบริเวณผิวหนังจะไวตํอรังสีชนิดใด
เฉลย ค. อินฟราเรด
6. ข๎อใดเรียงลาดับความถี่น๎อยไปมากของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า
เฉลย ง. ไม่โครเวฟ แสง รังสีเอกซ์
7. แสงที่ตามองเห็นจะอยูํในความถี่เทําใด
เฉลย ง. 5 x 1014 เฮิรตซ์
8. รํางกายของมนุษย๑สามารถแผํรังสีชนิดใดออกมาได๎
เฉลย ก. อินฟราเรด
9. รังสีชนิดใดที่เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุกัมมัมตรังสี
เฉลย ค. รังแกมมา
10. คลื่นวิทยุในอากาศมีอัตราเร็ว 3 x 108 เมตรตํอวินาที และมีความถี่ 500 กิโลเฮิรตซ๑ จะมีความยาวคลื่นเทําใด
เฉลย ข. 600 เมตร
11. จากข๎อ 10 คลื่นวิทยุมีความถี่กี่เฮิรตซ๑
เฉลย ง. 5 x 105 เฮิรตซ์
12. รูปแสดงสเปกตรัมของคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า อักษร B คือรังสีชนิดใด
เฉลย ข. รังสีอินฟราเรด
13. ข๎อใดถูกต๎อง
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
14. เหตุใดการสํงคลื่นวิทยุระบบ AM จึงครอบคลุมพื้นที่ได๎ไหลกวําการสํงคลื่นวิทยุระบบ FM
เฉลย ก. เพราะระบบ AM สะท้อนในชั้นบรรยากาศ
15. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าชนิดใดใช๎ในการสื่อสารโดยใช๎ดาวเทียมซึ่งอยูํนอกโลกทาหน๎าที่เป็นสถานียํอย
เฉลย ค. ไมโครเวฟ
72

16. รูปแสดงสเปกตรัมของคลื่นแมํเหล็กฟ้า อักษร P และ Q คือรังสีชนิดใด


เฉลย ข. รังสีเอกซ์ แสง
17. รังสีชนิดใดใช๎ตรวจอาวุธในกระเป๋าเดินทางที่สนามบิน
เฉลย ค. รังสีเอกซ์
18. คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าที่ไมํเป็นอันตรายตํอมนุษย๑คือ
เฉลย ก. คลื่นวิทยุ
19. ถ๎าเรายืนอยูํบนพื้นโลกแหํงหนึ่ง ถ๎ามีคลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ผํานขึ้นไปทางทิศเหนือ และตรงที่เรายืนอยูํพบวํามี
สนามไฟฟ้าพุํงไปทางทิศตะวันตก สนามแมํเหล็กจะพุํงในทิศใด
เฉลย ค. แนวดิ่งพุ่งขึ้น
20. รังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย๑ชํวยทาให๎เกิดสารอาหารใดในรํางกาย
เฉลย ข. วิตามิน D

You might also like