You are on page 1of 209

สือ่ การสอนเรือ่ ง พันธุกรรมและความ

หลากหลายทางพันธุกรรม
ความหมายของพันธุกรรม
พันธุกรรม (Heredity)

หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิง่ มีชวี ิตจากรุ่นหนึ่ง


ไปสู่อกี รุ่นหนึ่ง (Generation) เช่น รุ่นพ่อแม่ถ่ายทอด
ลักษณะต่างๆ ลงไปสู่ร่นุ ลูกรุ่นหลาน
ตัวอย่างลักษณะที่ถ่ายทอด
ทางพันธุกรรม

คิว้ ห่าง คิว้ ต่อ


ถนัดขวา ถนัดซ้าย

มีตงิ่ หู ไม่มีตงิ่ หู
การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
• ลักษณะทางพันธุกรรม เป็ นลักษณะของสิ่งมีชวี ติ
แต่ละชนิด ซึ่งลักษณะเหล่านีส้ ามารถถ่ายทอด จาก
พ่อแม่ สิ่งมีชวี ติ มีลักษณะเฉพาะตัว ลักษณะอย่างนี้
จะแตกต่างกันมากขึน้ เมื่อเราต่างพ่อแม่กัน เรียกว่า
ความแปรผันทางพันธุกรรม
ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรม
สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ ต่อเนื่อง
(Discontinuous variation)
เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่ างได้ อย่ าง
ชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียงอย่ างเดียว เช่ น
มีลกั ยิม้ – ไม่ มีลกั ยิม้ มีตงิ่ หู- ไม่ มีตงิ่ หู ห่ อลิน้ ได้ -ห่ อลิน้
ไม่ ได้

มีตง่ิ หู – ไม่มีตง่ิ หู ห่อลิน้ ได้-ห่อลิน้ ไม่ได้


1. ความแปรผันไม่ต่อเนื่อง ( Discontinuous
variation ) มีลกั ษณะดังนี้
• มีความแตกต่างชัดเจน
• ถูกควบคุมโดย gene น้อยคู่
• สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการแสดงออกน้อยมาก
• มีความเกีย่ วข้องทางด้านคุณภาพ
• กราฟความถีข่ องลักษณะทีแ่ ตกต่าง จะได้กราฟรู ปแท่ง
• ตัวอย่าง หมู่เลือด ลักยิม้ ติง่ หู การห่อลิน้
2. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมทีต่ ่ อเนื่ อง
(continuous variation)

เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้
อย่างชัดเจน เช่น ความสูง มีโครงร่าง สีผวิ ซึง่ เกิดจากจาก
อิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิง่ แวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูง เมื่อ
ได้รบั สารอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ มีการออกกาลัง
กายก็จะทาให้ร่างกายสูงได้ ดังภาพตัวอย่าง
ความแปรผันทางพันธุกรรม ( GENETIC VARIATION )

• ความแปรผันต่อเนื่อง ( Continuous variation )


มีลกัษณะดังนี ้
• ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้เด่นชัด
• ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็ นลาดับต่อเนื่องกัน
• ถูกควบคุมโดย gene หลายคู่
• สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออก
• มีความเกี่ยวข้องทางด้านปริมาณ
• กราฟแสดงความถี่ของลักษณะที่แตกต่างเป็ นรูปโค้งปกติ
• ตัวอย่าง ความสูง นา้ หนัก สติปัญญา ความสามารถในการ
ให้ผลผลิต
หน่ วยพันธุกรรมในนิ วเคลียสของเซล ์
โครโมโซม (Chromosome)

หน่ วยพืนฐานที ่ าคัญของสิงมี
ส ่ ชวี ต ิ คือ
เซลล ์ ภายในประกอบดว้ ยไซโทพลาส
ซึม และนิ ว เคลีย สอยู่ ต รงกลางเซลล ์
ภายในนิ ว เคลีย สจะมีโ ครโมโซม ซึงมี ่
ลักษณะ เป็ นเส ้นใยบาง ๆ พันกันอยู่แต่
ละโครโมโซมจะมียน ่ าหนดลักษณะ
ี ทีก
ต่ า งๆของสิ่งมี ช ีว ิตในสิ่ งมี ช วี ิ ต แต่ ล ะ
ชนิ ด จะมีจานวนโครโมโซมแตกต่า งกัน
ออกไป

ลักษณะของโครโมโซม
โครโมโซมและยีน
โครโมโซม (chromosome) คือสารพันธุกรรมที่อยู่
ในร่างกายมนุษย์ เป็ นตัวกาหนดลักษณะต่างๆ
เช่ น สี ตา สี ผม ความสู ง และควบคุม การทางาน ของ ร่ างกาย โครโมโซมจะอยู่
ในเซลล์ ทุกเซลล์ ในร่ างกาย ในคนปกติทวั่ ไป แต่ ละเซลล์ จะมีจานวนโครโมโซม
อยู่ท้งั หมด 23 คู่ หรื อ 46 แท่ง โดย ครึ่งหนึ่งคอื 23 แท่งเราจะได้ รับมาจากพ่อ
และอกี 23 แท่งจะได้ มาจากแม่
ภาพแสดงโครโมโซม
ลักษณะของโครโมโซม
• เมื่อมองเซลล์ผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยเล็กๆ พันกันอยูใ่ นนิวเคลียส เรียกว่า โครมา
ทิน (chromatin)
• เมื่อเริม่ แบ่งเซลล์ โครมาทินจะหดตัวสัน้ เข้ามีลกั ษณะเป็ นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม
• แต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรียกว่า โครมาทิด (chromatid)
• จุดที่เชื่อมแขนทัง้ 2 ข้างของโครโมโซมให้ติดกัน เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centomere)
จำนวนโครโมโซมของสิง่ มีชวี ติ
ลักษณะของเซลล์ท่ีกาลังแบ่งตัวจะเกิดโครงสร้าง
ดังนี้
โครมาทิน(chromatin)คือลักษณะเส้นยาวๆเล็กๆขดไปมา
โครโมโซม (chromosome)คือ เมื่อโครมาตินขดแน่น
มากขึ้นและหดสัน้ ลง มีลกั ษณะเป็ นแท่ง
โครมาติด (chromatid)คือ แขนสองข้างของโครโมโซม
เซนโทรเมียร์ (centromere) คือ จุดเชือ่ มระหว่างแขนทัง้
สองข้างของโครมาติด
คนโครโมโซม 46 แท่ ง หรื อ 23 คู่
แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด
1. โครโมโซมร่ างกาย (autosome)ซึ่งมีลกั ษณะ
เหมือนกันในเพศชายและเพศหญิงจานวน 22 คู่
2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) เป็ นตัว
กาหนดลักษณะของเพศคือคู่ที่ 23 ซึ่งเพศชาย
แทน XY และเพศหญิง XX
รูปแสดง โครโมโซมของเซลล์ร่างกายเพศชายและเพศหญิง

โครโมโซมร่ำงกำย 1 เซลล์ของเพศชำย โครโมโซมร่ำงกำย 1 เซลล์ของเพศหญิง


ยีน (gene)

หมายถึง หน่วยพื้นฐานของการถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่อยู่บน
ดีเอ็นเอ เรียงกันเหมือนสร้อยลูกปั ดในโครโมโซม
ทาหน้าที่ ควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ไป
สู่ลกู หลาน ผ่านเซลล์สบื พันธุ์
มนุษย์มียนี ประมาณ 50,000 ยีน ยีนแต่ละยีนควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรม เพียงลักษณะเดียว
ยีน (gene)
ยีนที่ควบคุมลักษณะพันธุกรรมบางอย่างมี 2 ชนิด คือ
1. ยีนเด่น (dominant gene)คือ ยีนที่แสดง
ลักษณะนัน้ ๆ ออกมาได้แม้มีเพียงยีนเดียว เช่น
ความสูง ถนัดขวา ตาสีนา้ ตาล ผมหยักศก มีลกั ยิ้ม
เป็ นต้น
2. ยีนด้อย (recessive gene) คือ ยีนที่แสดง
ลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อมียนี ด้อยทัง้
สองยีนอยู่บนคู่โครโมโซม เช่น เตี้ย ถนัดซ้าย
ตาสีฟ้า ผมเหยียดตรง ไม่มีลกั ยิ้ม เป็ นต้น
ผมหยิก ผมหยิก ผมตรง ผมตรง
A ผิวปกติซึงเป็ นลักษณะเด่น
แบบฝึ กหัดข้ อ1 a ผิวเผือกซึ่งเป็ นลักษณะด้อย

พ่อ แม่
รุ่นพ่ อแม่ Aa Aa
1
เซลล์ สืบพันธุ์ A a A a

รุ่นลูก AA Aa Aa aa

ผิวปกติ ผิวปกติ ผิวปกติ ผิวเผือก

1. ลูกมีผิวปกติพนั ธุ์แท้ (AA) คิดเป็ นร้อยละ 25


2. ลูกมีผิวปกติพนั ธุ์ทาง (Aa) คิดเป็ นร้อยละ 50
3. ลูกผิวเผือก (aa) คิดเป็ นร้อยละ 25
ดีเอ็นเอ (DNA)
• DNA ย่อมาจาก Deoxyribonucleic acid
• ประกอบด้วย สายนิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
สองสายบิดตัวเป็ นเกลียวคู่ (double helix)
• มีเบส เป็ นตัวยึดสายนิวคลีโอไทด์ทงั้ สอง ซึง่ เบสมีทงั้ หมด
4 ชนิด คือ อะดีนีน (Adenine : A) ไทมีน
(Thymine : T) ไซโทซีน (Cytosine : C)
และกัวนีน (Guanine : G
DNA (deoxyribonucleic acid)

ดีเอ็นเอ เป็ นสารพันธุกรรม มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ กรดดีออกซี ไรโบนิ วคลีอิก ซึ่ งเป็ น
กรดนิวคลีอิก (กรดที่พบในใจกลางของเซลล์ทุกชนิด) ที่พบในเซลล์ของสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิด
ได้แก่ คน สัตว์ พืช เชื้อรา แบคทีเรี ย ไวรัส เป็ นต้น ดีเอ็นเอบรรจุขอ้ มู ลทางพันธุกรรม
ของสิ่ งมีชีวิตชนิ ดนั้นไว้ ซึ่ งมีลกั ษณะที่ ผสมผสานมาจากสิ่ งมีชีวิตรุ่ นก่อน ซึ่ งก็คือ พ่อ
และแม่ และสามารถถ่ายทอดไปยัง สิ่ งมีชีวติ รุ่ นถัดไป ซึ่งก็คือ ลูกหลาน

ดีเอ็นเอมีรูปร่ างเป็ นเกลียวคู่วนขวา


(Double stranded DNA)
คล้ายบันไดลิงที่บิดตัว ขาของบันไดแต่
ละข้างก็คือการเรี ยงตัวของ นิวคลีโอ
ไทด์ (Nucleotide)
DNA (deoxyribonucleic acid)
โครงสร้างของดีเอ็นเอ (Structure of DNA)
DNA เป็ นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์
(nucleotide) เรี ยงต่อกันมากมาย
1 นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย
1. น้ าตาลดีออกซีไรโบส
2. หมู่ฟอสเฟต
3. ไนโตรเจนเบส 4 ชนิด
- เบสอะดีนีน (Adenine)
- เบสไทมีน (Thymine)
- เบสไซโทซีน (Cytosine)
- เบสกวานีน (Guanine)
โดย เบส A คู่กบั T และ C คู่กบั G เสมอ
DNA (deoxyribonucleic acid)

ปริ มาณของอะดีนีน (A) = ปริ มาณของไทมีน (T) เสมอ


ปริ มาณของไซโทซีน (C) = ปริ มาณของกวานีน (G) เสมอ
DNA (deoxyribonucleic acid)

ส า ย พ อ ลิ นิ ว ค ลี โ อ ไ ท ด์
(Polynucleotide) 2 สาย ยึดกันโดยการ
จับคู่กันของเบส โดยในสายพอลิ นิวคลี โอไทด์
(polynucleotide) ปลาย 3’ ของนิ วคลีโอ
ไทด์ (nucleotide) หนึ่ งจะจับกับปลาย 5’
ของนิ วคลีโอไทด์ (nucleotide) อีกอันหนึ่ ง
แต่ละสายมีทิศทางจากปลาย 5’ ไปยัง 3’ เรี ยง
ตัวกลับสวนทิศทางกัน (antiparallel)
ข้ อสรุปเกีย่ วกับ DNA ดังนี้

1.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่ งมีชีวติ ต่างชนิดจะแตกต่างกัน

2.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่ งมีชีวติ 1 ตัว จะเหมือนกัน แม้วา่ จะ


นามาจากเนื้อเยือ่ ต่างกันก็ตาม
DNA (deoxyribonucleic acid)

ข้อสรุ ปเกี่ยวกับ DNA ดังนี้

3. องค์ประกอบเบสของ DNA ในสิ่ งมีชีวติ ชนิดหนึ่งมีความคงที่


ไม่แปรผันตามอายุ อาหาร หรื อสิ่ งแวดล้อม

4. ใน DNA ไม่วา่ จะนามาจากแหล่งใดก็ตาม จะพบ A=T ,


C=G เสมอ
ให้นกั เรี ยนสร้าง “ดีเอ็นเอ”
ลองทาดู โดยการต่อสายพอลินิวคลีโอไทด์อีกหนึ่งสาย
จากรหัสพันธุ กรรมที่กาหนดให้
โดย Robert Hooke
่ ชวี ต
ประเภทของเซลล ์ของสิงมี ิ

1. โปรคาริโอติค เซลล์ (prokaryotic cell) เป็ นเซลล์ที่ไม่มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียสห่อหุม้


สารพันธุกรรม (genetic material) ได้แก่ เซลล์ของแบคทีเรี ย และสาหร่ ายสี น้ าเงินแกมเขียว
่ ชวี ต
ประเภทของเซลล ์ของสิงมี ิ

2. ยูคาริโอติค เซลล์ (eukaryotic cell) เซลล์ที่มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียสห่อหุม้ สาร


พันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ ยีสต์ รา โปรโตซัว เซลล์สตั ว์ต่าง ๆ และเซลล์พืช

เซลล์พืช เซลล์สัตว์
การแบ่งเซลล ์ (CELL
DIVISION)
การเจริ ญเติบโต และการสื บพันธุ์ของสิ่ งมีชีวิตเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์
2 ขบวนการ คือ การแบ่งตัวของนิ วเคลียส และการแบ่งตัวของไซโทพลาซึ ม เมื่อ
การแบ่งตัวของนิวเคียสสิ้นสุด ขบวนการแบ่งตัวของไซโทพลาซึมทันที

การแบ่ งตัวของนิวเคลียสมีอยู่ 2 แบบ คือ

1. การแบ่ งตัวแบบไมโทซิส

2. การแบ่ งตัวแบบไมโอซิส
การแบ่งเซลล ์แบบไมโทซิส
(mitosis)
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ ส เป็ นการแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ของร่ างกาย
ในการเจริ ญ เติ บโต ในสิ่ งมี ชีวิตหลายเซลล์ หรื อ ในการแบ่ งเซลล์ เพื่อการสื บ พันธุ์ ใน
สิ่ งมีชีวติ เซลล์เดียว

ไม่มีการลดจานวนชุดโครโมโซม ( 2n ไป 2n หรื อ n ไป n )

เมื่อสิ้ นสุ ดการแบ่งเซลล์จะได้ 2 เซลล์ใหม่ที่มีโครโมโซมเท่าๆ กัน


และเท่ากับเซลล์ต้ งั ต้น

พบที่เนื้อเยือ่ เจริ ญปลายยอด , ปลายราก , แคมเบียม ของพืชหรื อ


เนื้อเยือ่ บุผวิ , ไขกระดูกในสัตว์
1.ระยะอินเตอร ์เฟส (interphase)
ระยะนี้เป็ นระยะเตรี ยมตัว ที่จะแบ่งเซลล์
• เป็ นระยะที่เซลล์เติบโตเติมที่

• มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีมากที่สุด

• ระยะนี้ โครโมโซมจะมีความยาวมากที่สุด
• เซลล์มีการเปลี่ยนแปลง ทางเคมีมากที่สุด
หรื อมีเมทาบอลิซึมสูงมาก
• เพิ่มจานวนโครโมโซม (Duplication) ขึ้นมา
อีกชุดหนึ่ง และติดกันอยูท่ ี่เซนโทรเมียร์
( 1 โครโมโซม มี 2 โครมาทิด)
2. ระยะโฟรเฟส (prophase)

• โครมาทิดหดสั้น ทาให้มองเห็นเป็ นแท่งชัดเจน

• เยือ่ หุม้ นิวเคลียสและนิวคลีโอลัสหายไป

เซนตริ โอลเคลื่อนไป 2 ข้างของเซลล์ และสร้าง


เส้นใยโปรตีน เรี ยกว่า ไมโทรติก สปิ นเดิล และ
สปิ นเดิล ไฟเบอร์

ในเซลล์ พืช ไม่มีเซนทริ โอล แต่มีไมโทติก สปิ นเดิล


การกระจายออก จากขั้ว ที่ อ ยู่ตรงข้ามกัน ในเซลล์
สัตว์ จะมีเซนทริ โอล 2 อัน
3. ระยะเมทาเฟส
( metaphase)
สปิ นเดิลไปเกาะที่เซนโทรเมียร์ของทุกโครมาทิด

• ระยะนี้ไมโทติก สปิ นเดิลจะหดตัว ดึงให้


โครมาทิดไปเรี ยงตัวอยูใ่ นแนวกึ่งกลางเซลล์

• โครมาทิดหดสั้นมากที่สุด จึงสะดวก
ต่อการเคลื่อนที่ ของโครมาทิดมาก

• ระยะนี้ เหมาะมากที่ สุ ด ต่ อ การนับ จ านวน


โครโมโซม จัดเรี ยงโครโมโซมเป็ นคู่ๆ หรื อเหมาะ
ต่อการศึกษารู ปร่ าง ความผิดปกติ ของโครโมโซม
4. ระยะแอนาเฟส ( anaphase)

• ระยะนี้ ไมโทติก สปิ นเดิล หดสั้นเข้า ดึงให้โคร


มาทิ ดแยกตัวออกจากกัน แล้วโครมาทิ ด จะค่อยๆ
เคลื่อนไปยังแต่ละขั้ว ของเซลล์

• โครโมโซม ในระยะนี้จะเพิ่มจาก 2n เป็ น


4n
• เป็ นระยะเวลาที่ใช้ส้ นั ที่สุด

ระยะนี้จะเห็นโครโมโซม มีรูปร่ างคล้ายอักษรต ตัววี


( V), ตัวเจ ( J) และตัวไอ ( I) ขึ้นอยูก่ บั ตาแหน่ง
ของเซนโทรเมียร์ ว่าอยูก่ ่ ึงกลางของโครโมโซม หรื อ
ค่อนข้างปลาย หรื อเกือบปลายสุด
5. ระยะเทโลเฟส ( telophase)

• เป็ นระยะสุดท้ายของการแบ่งเซลล์ โดยโครมาทิด


ที่แยกออกจากกัน จะเรี ยกเป็ น โครโมโซมลูก ซึ่งจะ
ไปรวมกลุ่มในแต่ละขั้วของเซลล์

• มีการสร้างเยือ่ หุม้ นิวเคลียส ล้อมรอบ


โครโมโซม และนิวคลีโอลัสปรากฏขึ้น

• ไมโทติก สปิ นเดิล สลายไป

• ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่มีขนาดเท่ากันเสมอ


โดยนิ ว เคลี ย สของเซลล์ใ หม่ มี อ งค์ป ระกอบ
และสมบัติเ หมื อ นกัน และมี สภาพเหมื อ นกับ
นิวเคลียส ในเซลล์เริ่ มต้น
การแบ่งเซลล ์แบบไมโอซิส
(meiosis)
• เป็ นการแบ่งเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
• หญิง - เกิดที่รังไข่ (Ovary) ได้ไข่ 1 ใบ
• ชาย - เกิดที่อณั ฑะ (Testis) ได้อสุจิ 4 ตัว
• เป็ นการแบ่ง เพื่อสร้างสปอร์ (spore) ในพืช ซึ่งพบในอับละอองเรณู (pollen
sac) และอับสปอร์
• เป็ นการแบ่งเซลล์ที่ลดจานวนโครโมโซมลงครึ่ งหนึ่ง (2n = n)
• ได้เซลล์ 4 เซลล์

การแบ่งเซลล ์แบบไมโอซิสมี 2 ขันตอน
คือ
1. ไมโอซิส I (Meiosis - I)
2. ไมโอซิส II (Meiosis - II)
ไมโอซิส I (Meiosis - I)

Interphase- I
มีการสังเคราะห์ DNA อีก 1 เท่าตัว หรื อ
มีการจาลองโครโมโซม อีก 1 ชุด และยัง
ติ ด กั น อยู่ ที่ ป มเซนโทรเมี ย ร์ ดั ง นั้ น
โครโมโซม 1 แท่ง จึงมี 2 โครมาทิด
ไมโอซิส I (Meiosis - I)

Prophase - I
โฮโมโลกัส โครโมโซม มาจับคู่แนบชิ ดกัน ทา
ให้ มี ก ลุ่ ม โครโมโซม กลุ่ ม ละ 2 ท่ อ น (
bivalent) แต่ละกลุ่ม ประกอบด้วย 4 โคร
มาทิ ด ( tetrad) และเกิ ด การแลกเปลี่ ย น
ชิ้นส่วนของโครมาทิด
( crossing over)
ไมโอซิส I (Meiosis - I)

Metaphase - I

คู่ของโฮโมโลกัส โครโมโซม เรี ยง


ตัวอยูต่ ามแนวศูนย์ กลางของเซลล์
ไมโอซิส I (Meiosis - I)

Anaphase - I

ไมโทติก สปิ นเดิล จะหดตัวดึงให้ โฮโมโลกัส


โครโมโซม ผละแยกออกจากกัน จานวนชุ ด
โครโมโซมในเซลล์ ระยะนี้ ยัง คงเป็ น 2n
เหมือนเดิม (2n เป็ น 2n)
ไมโอซิส I (Meiosis - I)

Telophase - I
โครโมโซมจะไปรวมอยู่ แต่ ละขั้วของเซลล์
ในระยะนี้ จะมีการสร้ างเยื่อหุ ้มนิ วเคลี ยส มา
ล้อมรอบโครโมโซม และแบ่งไซโทพลาสซึ ม
ออกเป็ น 2 เซลล์ เซลล์ละ n
ไมโอซิส II (Meiosis - II)

Interphase - II เป็ นระยะพักตัว ซึ่งมีหรื อไม่ก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั ชนิด


ของเซลล์ ไม่มีการ สังเคราะห์ DNA หรื อจาลองโครโมโซมแต่อย่างใด

Prophase - II โครมาทิดจะหดสั้นมากขึ้น ทาให้เห็นแต่ละ


โครโมโซม มี 2 โครมาทิด

Metaphase - II โครมาทิดมาเรี ยงตัว อยูใ่ นแนวกึ่งกลางเซลล์


Anaphase - II มีการแยกโครมาทิดออกจากกัน ทาให้จานวนชุด
โครโมโซมเพิ่มจาก n เป็ น 2 n ชัว่ ขณะ
Telophase - II มีการแบ่งไซโทพลาสซึม จนได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์
ซึ่งแต่ละเซลล์ มีโครโมโซมเท่ากับครึ่ งหนึ่ง ของเซลล์เริ่ มต้น
ไมโอซิส II (Meiosis - II)
ข้ อเปรียบเทียบการแบ่ งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส
ไมโทซิส ไมโอซิส
1. เป็ นการแบ่งเซลล์ของร่ างกาย เพื่อเพิม่ จานวน 1. เป็ นการแบ่งเซลล์ เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
เซลล์ เพื่อการเจริ ญเติบโต
2. เริ่ มจาก 1 เซลล์แบ่งครั้งเดียวได้เป็ น 2 เซลล์ใหม่ 2. เริ่ มจาก 1 เซลล์ แบ่ง 2 ครั้ง ได้เป็ น 4 เซลล์ใหม่
3. เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น 2 เซลล์ สามารถแบ่งตัวแบบ 3. เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น 4 เซลล์ ไม่สามารถแบ่งตัว
ไมโทซิสได้อีก แบบไมโอซิสได้อีก
4. การแบ่งแบบไมโทซิส จะเริ่ มเกิดขึ้นตั้งแต่ ระยะ 4. ส่ วนใหญ่จะแบ่งไมโอซิ ส เมื่ออวัยวะสื บพันธุ์
ไซโกต และสื บเนื่องกันไปตลอดชีวิต เจริ ญเต็มที่แล้ว
5. จานวนโครโมโซม หลังการแบ่งจะเท่าเดิม 5. จานวนโครโมโซม จะลดลงครึ่ งหนึ่ง ทาให้
เซลล์ใหม่มีจานวนโครโมโซมครึ่ งหนึ่ง ของเซลล์เดิม
6. ลักษณะของสารพันธุกรรม (DNA) และ 6. ลักษณะของสารพันธุกรรม และโครโมโซมใน
โครโมโซมในเซลล์ใหม่ ทั้งสองจะเหมือนกันทุก เซลล์ใหม่ อาจเปลี่ยนแปลง และแตกต่างกัน ถ้าเกิดค
ประการ รอสซิงโอเวอร์
ทบทวน!!! ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. การแบ่งเซลล์ในนิวเคลียสมีกี่แบบ? อะไรบ้าง?
2. จงบอก ระยะการแบ่งเซลล์ และ ลักษณะสาคัญ ของภาพต่อไปนี้

ภาพ 1 ภาพ 2 ภาพ 3

ภาพ 4 ภาพ 5
ี่ ดจากการ
ความผิดปกติทเกิ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
โรคพันธุกรรม
โรคพันธุกรรมมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของ
โครโมโซมและความผิดปกติของหน่ วยพันธุกรรมหรือยีน
ความผิดปกติของโครโมโซม
้ วนของโครโมโซมขาดหายไปหรือเกินมา
เกิดจากชินส่

หรือจานวนโครโมโซมเปลียนไปจากเดิ ม ย่อมจะส่งผลต่อ
้ เพราะโครโมโซมเป็
ลักษณะทางพันธุกรรม ทังนี ้ ่ ข
นทีอยู ่ อง
ยีนจานวนมาก
ความผิดปกติของโครโมโซมย่อมก่อให้เกิดโรค

พันธุกรรมต่างๆ ซึงความผิ ดปกติของโครโมโซมแบ่งได้เป็ น
2 แบบ คือ

ี่ ดก ับออโตโซม
1. ความผิดปกติทเกิ

ี่ ดก ับโครโมโซมเพศ
2. ความผิดปกติทเกิ
ตัวอย่ างความผิดปกติที่เกิดกับออโตโซม
- กลุ่มอาการดาวน์ (Down's syndrome)
สาเหตุ เกิดจากความผิดปกติของออโตโซม
โดยคู่ที่ 21 เกินมา 1 โครโมโซม

ลักษณะอาการ
เด็กในระยะแรกตัวอ่อนปวกเปี ยก ศีรษะแบน
ดั้งจมูกแบนตาห่ าง ตาชี้ขนึ้ บน มีลนิ้ จุกปาก
นิว้ มือสั้ นหัวใจพิการแต่
กาเนิด อายุส้ั น และปัญญาอ่อน
อาการของดาวน์ ซินโดรม

• มีโครงสร้างทางใบหน้าที่โดดเด่นชัดเจน เช่น หน้าแบน หัวเล็ก


หูเล็ก หูบิดผิดรู ปร่ าง ปากเล็ก ตาเรี ยว หางตาเฉียงขึ้น มีจุดสี ขาว
อยูท่ ี่ตาดา คอสั้น แขนขาสั้น ตัวเตี้ยกว่าคนในวัยเดียวกันเมื่อโต
ขึ้น
• นิ้วสั้น มือสั้น เท้าสั้น เส้นลายมือตัดเป็ นเส้นเดียว
• ลิ้นจุกอยูท่ ี่ปาก
• ตัวอ่อนปวกเปี ยก กล้ามเนื้อหย่อน ข้อต่อหลวม
• เชาวน์ปัญญาต่า ทาให้มีปัญหาด้านพัฒนาการ
รู ปแสดงลักษณะกลุ่มอาการดาวน์
- กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward's syndrome )
สาเหตุ เกิดจากความผิดปกติของออโตโซมโดยคู่ที่ 18 เกิน
มา 1 โครโมโซม

ลักษณะอาการที่ปรากฏ
จะมีลกั ษณะ หัวเล็ก
หน้ าผากแบน คางเว้า หูผดิ ปกติ ตาเล็ก
นิว้ มือบิดงอและกาเข้ าหากันแน่ น หัวใจพิการ ระบบย่ อยอาหาร
ผิดปกติ มีลกั ษณะปัญญาอ่อนอยู่ด้วย เสียชีวติ ก่ อนอายุ 1 ขวบ
รู ปแสดง ลักษณะกลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
- กลุ่มอาการพาทัว (Patau Syndrome)

สาเหตุ โครโมโซมคู่ ที่ 13 เกิ น มา 1


โครโมโซม
อาการ ศีรษะเล็กท้ายทอยโหนก คางเล็ก
ใบหู ผิดปกติและอยูต่ ่ ากว่าปกติ ปากแหว่ง
เพดานโหว่ นิ้ วกาแน่ นและซ้อนทับกันนิ้ ว
เกิ น สภาพร่ า งกายและจิ ต ใจต่ า กว่า ปกติ
หัวใจผิดปกติ อายุส้ ัน อายุไ ม่เกิ น 1 ขวบ
ปั ญญาอ่อน
- กลุ่มอาการพาทัว (Patau Syndrome)
- กลุ่มอาการพาทัว (Patau Syndrome)

รู ปแสดงลักษณะกลุ่มอาการพาเทา
กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du- cha syndrome)
เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป 1 โครโมโซม
ลักษณะอาการ
มีศีรษะเล็กกว่ าปกติ หน้ ากลม ใบหูทตี่ ่ากว่ าปกติ
ตาห่ าง มีอาการปัญญาอ่อน มีเสี ยงร้ องแหลมเล็กคล้ายเสี ยงแมวร้ อง

รู ปแสดง ลักษณะกลุ่มอาการคริดูชาต์
ความผิดปกติที่เกิดกับออโตโซม หรื อโครโมโซม
ร่ างกายคู่ที่ 1-22

- กลุ่มอาการคริดูชา หรื แคทครายซินโดรม


(Cri-du-chat Syndrome)

สาเหตุ โครโมโซมคู่ที่ 5 มีรูปร่ างผิดปกติไป 1


โครโมโซม
อาการ ศีรษะเล็กกว่าปกติ ใบหน้ากลม ใบหูต่า
กว่าปกติ ตาห่าง หางตาชี้ข้ ึนบน คางเล็ก ดั้งจมูก
แบน นิ้วมือสั้น กล่องเสี ยงผิดปกติทาให้มีเสี ยง
ร้องแหลมเล็กคล้ายแมวร้อง มีการเจริ ญเติบโต
ช้า ปั ญญาอ่อนหัวใจพิการแต่กาเนิด หายไป
บางส่ วน
ตัวอย่างโรค (Cri-du- cha syndrome)
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ

เกิดจากโครโมโซมเพศ X หรื อ Y ขาดหายหรื อเกินมาจากปกติ


แบ่ งได้ 2 แบบ
1. ความผิดปกติของโครโมโซม X
2. ความผิดปกติของโครโมโซม Y
ความผิดปกติทเี่ กิดกับโครโมโซมเพศคู่ท2ี่ 3

- กลุ่มอาการเทอร์ เนอร์ (Turner Syndrome)

สาเหตุ โครโมโซมเพศผิ ด ปกติ โดยมี


โครโมโซม X เพียงโครโมโซมเดียว คือ
XO พบในเพศหญิง 1 ต่อ 2,500 คน
อาการ รู ปร่ างเตี้ย กระดูกอกกว้างแบน
หั ว นมห่ า ง ที่ บ ริ เวณคอเป็ นพัง ผื ด กาง
แบนเป็ นปี ก ข้อศอกงอ มากกว่าปกติ ผม
ที่ ท้ า ยทอยต่ า กว่ า ปกติ การเจริ ญของ
อวัย วะเพศไม่ส มบู ร ณ์ ไม่มี ประจาเดื อ น
และเป็ นหมัน ปั ญญาอ่อน
มีโครโมโซม = 45 โครโมโซม (44+1)
มีโครโมโซม = 45 โครโมโซม (44+X0)
รู ปแสดงลักษณะกลุ่มอาการเทอร์ เนอร์
ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซมเพศ

- กลุ่มอาการไคลน์ เฟลเตอร์
(Klinefelter Syndrome)
สาเหตุ โครโมโซมเพศผิดปกติเกินกว่า
คนป กติ 1 โ คร โม โซม คื อ XXY มี
ประมาณ 1.3 ใน 1,000 ของผูช้ าย มีการ
เกิ ดกับแม่ที่มีอายุมาก จานวนโครโมโซม
มี 47 โครโมโซม พบในเพศชาย
อาการ อัณฑะเล็ก รู ปร่ างสู ง หน้าอกโต
เป็ นหมัน มี ส ภาพทางสมองและจิ ต ใจ
ร ะ ดั บ ต่ ากว่ า ป กติ ( ปั ญ ญ า อ่ อ น) มี
โครโมโซม = 47 โครโมโซม
(44+XXY)
รูปแสดงลักษณะกลุ่มอาการไคลน์ เฟลเตอร์
ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซมเพศ
- กลุ่มอาการซูเปอร์ เมน (Super men)

สาเหตุ โครโมโซมเพศเป็ นแบบ


XYY ท าให้มี โครโมโซมในเซลล์
ร่ า งกายเป็ น 47 โครโมโซม และเป็ น
แบบ 44 + XYY
อาการ ลัก ษณะของผูป้ ่ วย เป็ นเพศ
ชายที่มีรูปร่ างสู งใหญ่กว่าปกติ อารมณ์
ร้ าย โมโหง่ าย แต่ก็มีบางรายที่ มีจิตใจ
ปกติและไม่เป็ นหมันมี
โครโมโซม = 47 โครโมโซม (44+XYY)
ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซมเพศ
4. กลุ่มอาการซู เปอร์ ฟีเมล (Super
female)

โครโมโซมเพศเป็ นแบบ XXX หรื อ XXXX ทาให้มีโครโมโซมใน


เซลล์ร่างกายเป็ น 47 โครโมโซม หรื อ 48 โครโมโซม ดังนั้นมีโครโมโซมใน
เซลล์ร่างกายเป็ นแบบ 44 + XXX หรื อ 44 + XXXX ตามลาดับ
ลักษณะของผูป้ ่ วย เป็ นเพศหญิงที่มีลกั ษณะทัว่ ไปดูปกติ แต่สติปัญญาต่ ากว่า
ระดับปกติถา้ ไม่เป็ นหมัน ลูกที่เกิดจากหญิงที่มีโครโมโซมแบบนี้อาจมีความ
ผิดปกติทางโครโมโซมเพศเช่นเดียวกับแม่ มีโครโมโซม = 48 โครโมโซม
(44+XXX)
แบบฝึ กหัด
โรคทางพันธุกรรม
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
1. โรคทางพันธุกรรมทีเ่ กิดจากยีนด้ อยบนโครโมโซมเพศ (
Sex chromosome) เช่ น
1.1ตาบอดสี (Color blindness)ตาบอดสี คือ ภาวะ การมองเห็นสี
ผิดปกติ ส่วนใหญ่เป็ นการบอดสี แต่กาเนิด พบได้ 8% ของเพศชาย และ 0.5% ของ
เพศหญิ ง เพราะเป็ นการถ่ า ยทอดทางพัน ธุ ก รรมแบบลัก ษณะยี น ด้ อ ยบน
โครโมโซมเพศ ทาให้สร้าง cones ไม่ครบ 3 ชนิ ด ส่ วนใหญ่จะขาด red cones
ทาให้แยกสี แดงจากสี เขียวไม่ได้ โดยความผิดปกติจะเกิดขึ้นกับตาทั้ง 2 ข้าง และ
แก้ไขไม่ได้ บางคนไม่มี cones เลย จะเห็นแต่ภาพขาวดา
เซลล์รูปกรวยในตาคนเรามีอยู่ 3 ชนิด คือ
1. เซลล์รูปกรวยสี แดง (Red cone) มีอยูใ่ นตาข้างละประมาณ 3 ล้านเซลล์ มีสารสี
แดงอยูใ่ นตัว ดูดซึมแสงที่มีความยาวคลื่นขนาด 400-700 แต่จะดูดซึมได้ดีสุดที่ 570 นานอ
มิเตอร์
2. เซลล์รูปกรวยสี เขียว (Green cone) มีจานวนพอๆกับเซลล์รูปกรวยสี แดง มีสาร
สี เขียวที่ดูดซึมแสงขนาด 400-650 โดยดูดซึมคลื่นแสงขนาด 540 นานอมิเตอร์ได้ดีที่สุด
3. เซลล์รูปกรวยสี น้ าเงิน (Blue cone) มีอยูใ่ นตาข้างละประมาณ 1 ล้านเซลล์
ภายในมีสารสี น้ าเงิน ดูดซึมแสงที่มีความยาวคลื่นในช่วง 380-500 และดูดซึ มขนาด 400
นานอมิเตอร์ได้ดีที่สุด
ทดสอบตาบอดสี
โรคทีเ่ กิดจากความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ ( Sex
chromosome)
ตาบอดสี (Color blindness)
โรคตาบอดสีมอี ยู่ 4 ชนิด
1. ตาบอดสีอย่ างรุนแรงจะมองเห็นสี ขาว-สี ดาเท่านั้น
2. ตาบอดสีแบบดาลตันนิสม์ (Daltonism) อาจเป็ นตาบอดสี แดงหรื อตา
บอดสี เขียว อย่างใดอย่างหนึ่ง
3. ตาบอดแบบไมเนอร์ ดาลตันนิสม์ (Minor Daltonism) ยังสามารถ
มองเห็นสี เขียว สี แดงบ้างแต่ไม่ชดั
4. ตาบอดสีอย่ างอ่ อน เห็นสี บา้ งแต่ไม่ชดั จะต้องใช้เวลาสังเกตนาน หรื อเห็นได้
เฉพาะสี เดียว ถ้าหากหลายสี จะแยกสี ไม่ออก
การบอดสีมสี าเหตุ 2 ประการคือ
1. การบอดสี เนื่องจากความผิดปกติของส่วนหลังนัยน์ตา
2. การบอดสี จากพันธุกรรม
อาการตาบอดสี แบ่ งออกได้ เป็ น 2 ชนิด โดยแบ่ งไปตามสาเหตุได้ ดังนี้
1. ตาบอดสี ทเี่ กิดในภายหลัง เกิดจากความผิดปกติของการเห็นสี ที่
เกิดในภายหลัง ซึ่ งมักจะเกิดจากสาเหตุของโรคจอตา หรื อประสาทตา รวม
ไปถึงการสู ญเสี ยเซลล์รูปกรวยชนิดต่างๆ ทาให้ไม่สามารถมองเห็นสี น้ า
เงิน-เหลือง และโรคของประสาทตามักสู ญเสี ยการมองเห็นสี แดง-เขียว ซึ่ง
นอกจากมองเห็นสี ผดิ ไปแล้ว ผูป้ ่ วยมักจะมีสายตาหรื อลานสายตาที่ ผดิ ปกติ
ด้วย
2. ภาวะตาบอดสี ชนิดเกิดแต่ กาเนิด เป็ นภาวะถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมจาก X chromosome (โครโมโซม) ของฝ่ ายแม่/ฝ่ ายหญิง
จากการวิจยั ทาให้พบว่าตาบอดสี แต่กาเนิดจะมีอาการบอดสี แดง หรื อพร่ อง
สี แดง บอดสี เขียวหรื อพร่ องสี เขียว เป็ นส่ วนมาก
การถ่ ายทอดโรคตาบอดสี
1.2 ฮีโมฟี เลีย (Hemophilia)
โรคฮีโมฟี เลีย คือ โรคเลือดออกไหลไม่ หยุด เป็ น โรคทางพันธุกรรม
ที่พบมากในเพศชาย เพราะยีนที่กาหนดอาการโรคฮีโมฟี เลียจะอยู่ใน
โครโมโซม X และถ่ ายทอดยีนความผิดปกตินใี้ ห้ ลูก ส่ วนผู้หญิงหาก
ได้รับโครโมโซม X ที่ผดิ ปกติ ก็จะไม่ แสดงอาการ เนื่องจากมี
โครโมโซม X อีกตัวข่ มอยู่ แต่ จะแฝงพาหะแทนลักษณะอาการ คือ
เลือดของผู้ป่วย ฮีโมฟี เลียจะไม่ สามารถแข็งตัวได้ เนื่องยีนยีนด้อย
บนโครโมโซม X ไม่ สร้ างสารที่ทาให้ เลือดแข็งตัว จึงขาดสารที่ทาให้
เลือดแข็งตัว อาการที่สังเกตได้ เช่ น เลือดออกมากผิดปกติ เลือด
กาเดาไหลบ่ อย ข้ อบวม เกิดแผลฟกช้าขึน้ เอง แต่ โรคฮีโมฟี เลียนี้
สามารถรักษาได้ โดยการใช้ สารช่ วยให้ เลือดแข็งตัวทดแทน
รูปแสดงผู้ที่เป็ นโรคฮีโมฟิ เลีย
1.3 แขนขาลีบ ยีนด้อยบนโครโมโซม X ไม่สร้างกล้ามเนื้อแขนขา ทาให้กล้ามเนื้อ
แขนขาลีบ
1.4 โรคดักแด้
เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซม X ผู้เป็ น โรคดักแด้ จะมีผวิ หนังแห้ งแตก ตก
สะเก็ด ซึ่งแต่ ละคนจะมีความรุ นแรงของโรคต่ างกัน บางคนผิวแห้ งไม่ มาก บาง
คนผิวลอกทั้งตัว ขณะทีบ่ างคนหากเป็ นรุ นแรงก็มักจะเสี ยชี วติ จากการติดเชื้อที่
เข้ าทางผิวหนัง

1.5 ภาวะพร่ องเอนไซม์ กลูโคส 6 (G6PD) ยีนด้อยสร้ างเม็ดเลือดแดง แต่ เม็ดเลือดแดงถูก


ทาลายง่าย โดยยาและอาหาร ทาให้ แพ้ยาแพ้ อาหารอย่ างรุ่นแรง เกิดจากยีนด้ อยบน โครโมโซมเพศ
X
แบบฝึกหัดโรคทางพันธุกรรมเกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซมเพศ (X) คู่ที่23

มี 5 โรค 1. ตาบอดสี 2. ฮีโมฟี เลีย 3.แขนขาลีบ 4.โรคดักแด้


5.ภาวะพร่ องเอนไซม์ กลูโคส 6 (G6PD)

1. โรคฮีโมฟีเลียเป็นโรคที่เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซมเพศ เมื่อพ่อเป็นโรคฮีโมฟีเลีย
แต่งงานกับแม่ที่เป็นพาหะ จงหาว่าที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคฮีโมฟีเลีย ร้อยละเท่าไร
2. โรคตาบอดสี เป็ นโรคที่เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซมเพศ เมื่อนนท์ปกติแต่งงาน
กับแป้ งเป็ นโรคตาบอดสี จงหาว่าลูกสาวที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็ นโรคตาบอดสี ร้อยละ
เท่าไร
2.โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากการถ่ ายทอดยีนด้อยที่อยู่บนโครโมโซมร่ างกาย คู่ที่1-22
2.1 โรคธารั ส ซี เมีย (Thalassemia) เกิ ด จากยีนด้อยบนโครโมโซมออโต
สร้างสาร ฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็ นสารสี แดงในเม็ดเลือดแดง ลดน้อยลง เม็ดเลือดแดง
มี ล ัก ษณะผิ ด ปกติ แ ละแตกง่ า ย ก่ อ ให้ เ กิ ด อาการซี ด เลื อ ดจางเรื้ อรั ง และมี
ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา ผูท้ ี่เป็ นโรคนี้ ได้รับยีนที่ควบคุมการสร้างเม็ดเลือด
แดงผิดปกติมาจากทั้งพ่อและแม่ ผูป้ ่ วยจะมีอาการซี ดเหลืองและตับ ม้ามโตมา
ตั้งแต่เด็ก ร่ างกายเติบโตช้า ตัวเตี้ย และน้ าหนักน้อยไม่สมอายุ หน้าแปลก จมูก
แบน หน้าผากโหนกชัน กระดูกแก้ม และขากรรไกรกว้างใหญ่ ฟันยื่นเขยิน ลูก
ตาอยูห่ ่างกันมากกว่าคนปกติ
2.2 โรคคนเผือก (Albinos)
ผู้ทเี่ ป็ น โรคคนเผือก เป็ นผลมาจากการขาดเอนไซม์ ทใี่ ช้ ในการสังเคราะห์ เม็ดสีเมลานิน
จึงส่ งผลทาให้ มีผวิ หนัง ผม ขน และม่ านตาสีซีด หรื อสีขาว เพราะขาดเม็ดสี เมลานิน หรื อ
มีน้อยกว่ าปกติ ทาให้ ทนแสงแดดจ้ าไม่ ค่อยได้
ลักษณะผิวเผือก เป็ นผลมาจากการขาดเอนไซม์ ทใี่ ช้ ในการสั งเคราะห์ เม็ดสี
เมลานิน จึงส่ งผลทาให้ ผวิ หนัง เส้ นผม นัยน์ ตา และเซลล์ผวิ หนังมีสีขาว

รู ปแสดงลักษณะของคนผิวเผือก
รูปแสดงลักษณะของคนผิวเผือก
2.3 โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดรู ปเคียว
หรื อโรคซิกเกิลเซลล์ (Sickle-cell)
สาเหตุเกิดจากยีนด้อยสร้ างเม็ดเลือดแดงผิดปกติจงึ ลาเลียงออกซิเจนได้ น้อย
ผู้ป่วยจะมีอาการอ่ อนเพลีย เหนื่อยง่ าย

เป็ นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกิดขึ้นกับเลือด ความผิดปกติน้ ี เกิดจากการผ่าเหล่า


ที่ส่งผลกระทบต่อการสังเคราะห์เฮโมโกลบิน ซึ่ งเป็ นโปรตีนสาคัญที่ทาหน้าที่นา
ออกซิ เจนภายในเซลล์เม็ดเลือดแดง คนที่เป็ นโรคซิ กเกิลเซลล์จะสร้างเฮโมโกลบินให้
มีรูปร่ างผิดปกติ เมื่อความเข้มข้นของออกซิ เจนต่า เซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีรูปร่ าง
ผิดปกติเป็ นรู ปเคียว
รู ปแสดงลักษณะของเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติ
4. ชายเป็ นโรคธาลัสซีเมียแต่งงานกับหญิงปกติพาหะไม่เป็ นโรค ลูกที่ออกมาเป็ นชาย
จะเป็ นโรคธาลัสซีเมียร้อยละเท่าไร
3.โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากการถ่ ายทอดยีนเด่นที่อยู่บนโครโมโซมร่ างกาย คู่ที่1-22

การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมทีค่ วบคุมโดยยีนเด่ นบนออโทโซม


การถ่ายทอดนี้จะถ่ายทอดจากชายหรื อหญิงที่มีลกั ษณะทางพันธุ์แท้ ซึ่งมียนี
เด่นทั้งคู่หรื อมียนี เด่นคู่กบั ยีนด้อย นอกจากนี้ ยังมีลกั ษณะผิดปกติอื่นๆ ที่นา
โดยยีนเด่น เช่น คนแคระ คนเป็ นโรคท้าวแสนปม เป็ นต้น
3.โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากการถ่ ายทอดยีนเด่นที่อยู่บนโครโมโซมร่ างกาย คู่ที่1-22

3.1 โรคท้ าวแสนปม


(neurofibromatosis)ยีนเด่ นบนออโตคู่ที่
22
เป็ นโรคผิวหนังทีถ่ ่ ายทอดโดยโครโมโซม
ลักษณะทีพ่ บคือ ร่ างกายจะมีต่ มุ เต็มไปทัว่ ร่ างกาย ขนาด
เล็กไปจนใหญ่ แบ่ งเป็ น 2 ชนิด คือชนิดทีพ่ บบ่ อย พบ
ประมาณ 1 ใน 2,500 ถึง 3,500 คน โดยพบอาการอย่ าง
น้ อย 2 ใน 7 อาการต่ อไปนีค้ ือ มีปานสีกาแฟใส่ นมอย่ าง
น้ อย 6 ตาแหน่ ง, พบก้ อนเนื้องอกตามผิวหนัง 2 ตุ่มขึน้
ไป, พบกระทีบ่ ริเวณรักแร้ หรื อขาหนีบ, พบเนื้องอกของ
เส้ นประสาทตา, พบเนื้องอกของม่ านตา 2 แห่ งขึน้ ไป,
พบความผิดปกติของกระดูก
โรคท้ าวแสนปม
• (Neurofibromatosis) คือโรคทางพันธุกรรมที่
ก่อให้เกิดเนือ้ งอกตามแนวเส้ นประสาท ซึ่ งส่ งผลกระทบต่ อการ
เจริ ญเติบโตของเซลล์ เนือ้ เยื่อในเส้ นประสาท ถ่ายทอด
พันธุกรรมผิดปกติผา่ นมาทางโครโมโซมคู่ที่ 22 ซึ่งหากพ่อหรื อ
แม่เป็ นโรคท้าวแสนก็จะสามารถถ่ายทอดโรคท้าวแสนปมได้
มักพบในเด็กหรื อผูท้ ี่เริ่ มเป็ นผูใ้ หญ่ โดยได้รับมาจากพ่อแม่หรื อ
เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีน เนื้องอกที่เกิดจากโรคท้าวแสนปม
นั้นมักเป็ นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง (Benign) แต่ บางครั้ งก็
อาจกลายเป็ นเนือ้ งอกชนิดร้ ายแรง (Malignant) และ
กลายเป็ นมะเร็งได้
รูปแสดงลักษณะของคนเป็ นโรคท้ าวแสนปม
3.2 โรคกลุ่มอาการมาร์ แฟรน อาการสู งใหญ่ เลนส์ ตาหลุด แขนขา
ยาวกว่ าปกติ
3.3 โรคคนแคระ ร่ างกายแคระเตีย้ ไม่ สมอายุ
โรคคนแคระ
• Dwarf/Dwarfism คือภาวะสุ ขภาพที่ส่งผลให้ร่างกายแคระแกร็ น
หรื อตัวเตี้ยกว่าปกติ เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุ กรรมและปั ญหาสุ ขภาพ
อื่น ๆ โดยทัว่ ไปแล้ว เมื่อโตเป็ นผูใ้ หญ่ ผูป้ ่ วยโรคนี้จะสูงประมาณ 120
เซนติเมตร ซึ่งผูป้ ่ วยบางรายอาจสู งประมาณ 150 เซนติเมตร หรื อน้อยกว่า
นั้น ทั้งนี้ ภาวะดังกล่าวเกิดจากปั ญหาสุ ขภาพหลายอย่าง ซึ่ งมักเป็ นโรคทาง
พันธุ กรรม โดยเกิดจากอะคอนโดรเพลเชีย (Achondroplasia) มาก
ที่สุด อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ที่มีขนาดร่ างกายปกติก็ให้กาเนิดเด็กแคระได้ โดย
เด็กที่ป่วยด้วยโรคนี้จานวน 4 ใน 5 ราย จะเกิดมามีลกั ษณะรู ปร่ างเหมือนพ่อ
แม่ของตน
• อาการทีเ่ กิดจากอะคอนโดรเพลเชีย อะคอนโดรเพลเชียนับเป็ นสาเหตุที่
พบได้มากที่สุดของโรคนี้ ทาให้ผปู ้ ่ วยมีรูปร่ างแคระแกร็ นไม่สมส่ วน
และอาการอื่น ๆ ได้แก่ลาตัวมีขนาดปกติ
• แขนและขาสั้น โดยแขนและขาส่ วนบนจะสั้นมาก
• นิ้วสั้น โดยนิ้วกลางและนิ้วนางห่างกันมาก
• ขยับข้อศอกได้จากัด
• ศีรษะใหญ่ไม่สมส่ วน หน้าผากเถิก และสันจมูกแบน
• ขาโก่งขึ้นเรื่ อย ๆ
• หลังส่ วนล่างแอ่น โดยอาจพบกระดูกสันหลังคด หรื อกระดูกกดทับไข
สันหลัง ส่ งผลให้ขาชาหรื ออ่อนแรง
• มีส่วนสู งประมาณ 120 เซนติเมตร เมื่อโตเป็ นผูใ้ หญ่
ตัวอย่างภาพโรคคนแคระ
การป้องกันการเกิดโรคพันธุกรรม
1. จัด ตั้ง ศู น ย์ใ ห้ ค าปรึ ก ษา 2. การตรวจความผิดปกติบาง
แนะน าทางพัน ธุ ศ าสตร์ โดยให้ ประการที่เกิดขึ้นกับตัวอ่อนใน
ความรู ้ ก ั บ คู่ ส มรส หากพบว่ า ท้องแม่ (Fetus) ว่ามีโครโมโซม
ตนเองหรื อ คู่ ส มรสมี ป ระวัติ โรค ผิดปกติหรื อไม่ ทาให้แพทย์
พันธุ กรรมในครอบครัว เพื่อที่ จะ สามารถวินิจฉัยโรคพันธุกรรมบาง
ได้ตดั สิ นใจเลื อกที่จะเสี่ ยงมี บุตร โรคในทารกได้ก่อนคลอด
หรื อไม่มีบุตร
ปัจจัยที่ทาให้ เกิดการกลายพันธุ์
ตัวกระตุน้ ให้เกิดการกลายพันธุ์เรี ยกว่าสิ่ งก่อกลายพันธุ์ (mutagen)[2] เช่น
1. รังสี (radiation) รังสี ที่กระตุน้ ให้เกิดการกลายพันธุ์คือ
Ionizing Radiation เช่น รังสี เอกซ์, รังสี บีตา, รังสี แกมมา
Non-Ionizing Radiation เช่น รังสี อลั ตราไวโอเลต (รังสี ยวู ี)
2. สารเคมี เช่น สารโคลซิ ซิน (colchicine) ทาให้ชุดโครโมโซมเพิ่มขึ้นเพื่อให้พืช
มีผลผลิตในเวลาไม่นาน ไดคลอวอส ใช้กาจัดแมลง พาราควอต กาจัดวัชพืช ทาให้
เกิดการผิดปกติของโครโมโซมของคนและสัตว์ สารอะฟลาทอกซิน
(aflatoxins) เป็ นสารพิษที่ทาให้แบคทีเรี ยกลายพันธุ์เป็ นสาเหตุของมะเร็ งตับได้
3. ไวรัสบางชนิดทาให้เกิดมะเร็ ง
4. การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ ดเี อ็นเอ (DNA replication)
ผิดพลาด มีผลทาให้เกิดการเพิม่ หรื อลดจานวนเบสในคู่สาย และทาให้เกิดการเลื่อน
(shift) ของสายDNA
แบบฝึ กหัดโรคทางพันธุกรรมเกิดจากยีนเด่นบนโครโมโซมร่ างกายคู่1-22
มี 3 โรค 1. โรคท้ าวแสนปม 2. โรคกลุ่มอาการมาร์ แฟรน 3. โรคคนแคระ

5. นายโกมลเป็ นโรคท้าวแสนปมแต่งงานกับนางสาวน้ าฟ้าปกติลูกที่ออกมาเป็ นโรค


ท้าวแสนปมละเท่าไร
คาศัพท์ที่ใช้ทางพันธุศาสตร์
1. เซลล์สืบพันธุ์ (Gamete) หมายถึง ไข่ (Egg) หรื อตัวอสุจิ
(Sperm) หรื อโครงสร้างอื่น ๆ ในพืชที่ทาหน้าที่เช่นเดียวกัน

2. ลักษณะเด่น (Dominance หรื อ Dominant trait)


หมายถึง ลักษณะที่ปรากฎออกมา ในรุ่ นลูกหรื อรุ่ นต่อ ๆ ไปเสมอ

3. ลักษณะด้อย (Recessive trait) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฎแฝง


อยูไ่ ม่แสดงให้เห็น เมื่ออยูค่ ู่กบั ลักษณะเด่น ซึ่ งจะแสดงออกมาได้ก็ต่อเมื่ออยูค่ ู่กบั ลักษณะด้อย
ด้วยกันเท่านั้น
8. ยีน (Gene) หมายถึง ส่วนหนึ่งของ DNA ที่เก็บรหัสพันธุกรรม หรื อทาหน้าที่
เป็ นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
คาศัพท์ที่ใช้ทางพันธุศาสตร์

4. อัลลีน (Allele) หมายถึง ยีน 2 ยีนซึ่งอยูต่ าแหน่งเดียวกัน


บนโครโมโซมคู่เหมือนกันโดยควบคุมลักษณะเดียวกัน
5. โฮโมไซกัสยีน (Homozygous Gene)หมายถึง คู่ของ
ยีนที่เหมือนกันอยูด่ ว้ ยกันเพื่อควบคุมลักษณะ ของสิ่ งมีชีวติ เช่น TT, tt
- Homozygous Dominance หมายถึง คู่ของยีนเด่นที่เหมือน
กันอยูด่ ว้ ยกัน หรื อเรี ยกว่าเป็ นพันธุ์แท้ของลักษณะเด่น เช่น TT ,AA
- Homozygous Recessive หมายถึง คู่ของยีนด้อยที่เหมือน
กันอยูด่ ว้ ยกัน หรื อเรี ยกว่าเป็ นพันธุ์แท้ของลักษณะด้อย เช่น tt ,aa
6. เฮเทอโรไซกัสยีน (heterozygous gene) หมายถึง ยีน
ที่ต่างกันอยูด่ ว้ ยกัน เช่น Tt พันธุ์ทาง
่ ้ทางพันธุศาสตร ์
คาศัพท ์ทีใช

7. จีโนไทป์ (Genotype)หมายถึง ยีนที่ควบคุมลักษณะของสิ่ งมีชีวติ


แต่ละลักษณะ เช่น AA หรื อ aa
8. ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาที่สามารถ
สังเกตเห็นด้วยสายตา ซึ่งเป็ นผลจากการแสดงออกของ genotype
9. โฮโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome)
หมายถึง โครโมโซมที่เป็ นคู่กนั มีขนาดและรู ปร่ างภายนอกเหมือนกัน
(แต่ยนี ภายในอาจแตกต่างกัน) โดยท่อนหนึ่งมาจากพ่อ อีกท่อนหนึ่งมาจากแม่
10. โฮโมไซกัส โครโมโซม (homozygous chromosome)
หมายถึง โครโมโซมที่เป็ นโฮโมโลกัสกัน และมียนี ที่เป็ น
โฮโมไซกัสกันอย่างน้อยหนึ่งคู่
บุคคลในภาพคือใคร ?
มีความสาคัญทางวิทยาศาสตร์อย่างไร?

เกรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล


(Gregor Johann Mendel)

บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์
ประวัติการทดลองของเมนเดล
เกรกอร์ โยฮั น น์ เมนเดล เกิ ด ในปี
ค.ศ.1822 เป็ นบาทหลวงชาวออสเตรี ยมีความ
สนใจศึ กษาด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะด้าน
พันธุศาสตร์ เขาได้ใช้สถานที่ภายในบริ เวณวัด
เพื่ อท าการทดลองสิ่ ง ต่า งๆ ที่ เ ขาสนใจ เมน
เดลเริ่ มต้นทดลองเป็ นครั้งแรกในปี ค.ศ.1856
เรื่ องที่เขาทาการทดลองคือ การรวบรวมต้นถัว่
ลันเตา ( Pisum sativum ) จนกระทั่ง ปี
ค.ศ. 1900 เมนเดลยัง ได้รั บ การยกย่ อ งว่ า
เป็ น บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์
-ปลูกง่าย
-ช่วงอายุส้ นั
-มีเมล็ดมาก
-มีการถ่ายละอองเรณู ในดอก
เดียวกัน
-มีลกั ษณะของ ลาต้น ดอก ฝัก และ
เมล็ดแตกต่างกัน อย่างชัดเจน
ลักษณะถั่วลันเตาที่นามาศึกษา

เด่น เด่น ด้อย เด่น ด้อย เด่น เด่น

ด้อย ด้อย เด่น ด้อย เด่น ด้อย ด้อย


การค้นพบของเมนเดล
• เกรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล (Gregor Johann Mendel)
ศึก ษาการถ่ ายทอดลั กษณะทางพั นธุ ก รรม โดยการ
ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาต้นสูงทุกรุ่นกับต้นเตี้ยแคระ
• การศึกษาของเมนเดลพบว่ารุ่นลูกหรือรุ่น F1 เป็น
ต้นสูงทั้งหมด
• เมื่อนาเมล็ดของรุ่น F1 ไปเพาะ พบว่ารุ่นหลานหรือ
รุ่น F2 มีต้นสูงและต้นเตี้ยแคระ ในอัตราส่วน 3:1
• เมนเดลอธิ บ ายว่ า ลั ก ษณะต้ น สู งในทุ ก รุ่ น เรี ย กว่ า
ลักษณะเด่น (dominant) และลักษณะต้นเตี้ยแคระ
เกรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล
ที่ปรากฏในบางรุ่น เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive) บิดาแห่งพันธุศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมหนึ่งลักษณะ

หากนาพืชต้นสูงพันธุ์แท้ (TT)
ผสมกับต้นเตี้ยแคระ (tt) จะได้
รุ่นลูก (F1 ) ที่มียีนแบบ Tt ซึ่งมี
ลักษณะต้นสูง
เมื่อนารุ่นลูก (F1 ) มาผสมพันธุ์
กัน โอกาสที่ยีนจะเข้าคู่กันมี
3 แบบ คือ TT, Tt, tt ใน
อัตราส่วน 1:2:1 ดังนั้น
รุ่นหลาน (F2) จะมีลักษณะ
ต้นสูง และต้นเตี้ยแคระ
ในอัตราส่วน 3:1
3. กฎแห่ งลักษณะเด่ น กล่ าวว่ า ลักษณะเด่ นจะข่ ม
ลักษณะด้ อยเมื่อยีนเด่ นอยู่คู่กบั ยีนด้ อย ลักษณะ
ทีแ่ สดงออกมาเป็ นลักษณะของยีนเด่ นเท่ านั้น
Test – cross
• เป็ นการผสมเพือ่ ทีจ่ ะทดสอบ genotype ของสิ่งมีชีวิต
ว่าเป็ น พันธุแ์ ท้หรือพันธุท์ าง โดยนาไปผสมกับ
Homozygous recessive
ดังนี้
เมล็ดกลม - RR หรือ Rr
เมล็ดกลม x rr เมล็ดกลม x rr
เมล็ดกลม เมล็ดกลม : เมล็ดขรขุระ
1 : 1
ดังนั้น เมล็ดกลม = RR เมล็ดกลม = Rr
Back cross

• เป็ นการผสมพันธุโ์ ดยการนาลกูผสม F1กลับไปผสมกับ


พ่อ หรือ แม่
• เป็ นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะเดียว
( Monohybrid cross )
กระบวนการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. เพดดีกรี (pedigree) หรื อพงศาวลี เป็ นแผนผังใน
การศึกษาพันธุกรรมของคน ซึ่งแสดงบุคคลต่างๆ ใน
ครอบครัวดังแผนผัง
แผนผังแสดงสั ญลักษณ์ ของเพดดีกรี
การถ่ ายทอดพันธุกรรมที่ไม่ เป็ นไปตามกฎของเมนเดล
1. ลักษณะเด่ นไม่ สมบูรณ์ (Incomplete dominance)

คือ ลักษณะพันธุกรรมทีไ่ ม่ สามารถข่ มกันได้ เมื่อ


ลักษณะพันธุกรรมทั้งสองลักษณะอยู่ร่วมกัน
และสามารถแสดงออกได้ ท้งั สองลักษณะ ทาให้
ลูกทีเ่ กิดมามีลกั ษณะของพ่ อแม่ รวมกัน
ลักษณะเด่ นไม่ สมบูรณ์ (Incomplete dominance)

ลูกรุ่ นที่ 1 แสดงลักษณะสี


ดอกแตกต่ า งกัน จากต้น ที่ ใ ช้
เป็ นพ่อและแม่ ทั้งนี้ เนื่ องจาก
คู่ยนี ที่ควบคุมดอกสี แดงและคู่
จีนที่ควบคุมดอกสี ขาวต่างไม่
สามารถข่มกันได้
และในลูก
รุ่ น F2 อัตราส่วนของจีโน
ไทป์ จะไม่เป็ นไปตามกฎของ
เมนเดล
การถ่ ายทอดพันธุกรรมที่ไม่ เป็ นไปตามกฎของเมนเดล
2. ลักษณะเด่ นร่ วม ( co dominance)

คือ ลักษณะทีเ่ กิดจากยีนเด่ นทั้ง2 ยีนมาอยู่


ร่ วมกันและแสดงออกของลักษณะพันธุกรรมทั้ง2
เท่าๆกัน เช่ น หมู่เลือดAB ,สี ขนกระต่ าย,สี ขน
วัว เป็ นต้ น
หมู่เลือดระบบเอบีโอ ( ABO blood group)

ระบบหมู่เลือดเอบีโอจัดเป็ นหมู่เลือดที่สาคัญที่สุดในการให้เลือดระบบหมู่
เลื อ ดเอบี โ อเป็ นระบบหมู่ เ ลื อ ดที่ พ บก่ อ นระบบอื่ น ๆ ค้น พบโดย
Landsteiner ในปี พ.ศ. 2443
ลักษณะของยีน ในกรุ๊ ปเลือดต่างๆ
การกระจายของหมู่เลือดใน Group A = มียนี AO หรื อ AA
คนไทย Group B = มียนี BO หรื อ BB
A 22 % Group AB = มียนี AB
B 33 % Group O = มียนี OO
AB 8 %
O 37 %
ในการให้เลือดเราจะต้องได้เลือดจากคนเลือดหมู่เดียวกันหรื อเข้ากันได้คือ
ไม่มีสารต้านต่อแอนติเจนของเลือดที่จะให้ ดังแสดงในตาราง

หมู่เลือด แอนติเจนที(่ ผิว (ในนา้ เลือด)มีสาร ต้ องได้ รับเลือดจาก สามารถให้ เลือดกับ


เม็ดเลือดแดง) ต้ านแอนติบอดี
A Anti B หมู่ A,O หมู่ A, AB
A
B Anti A หมู่ B,O หมู่ B, AB
B
A และ B ไม่มี หมู่ AB, A,B,O หมู่ AB
AB
ไม่มี Anti A และ anti หมู่ O หมู่ O, A,B, AB
O B
พ่ อ แม่ กรุ๊ ปเลือดใด???
ตัวอย่ าง จะมีลูก ที่มีเลือดกรุ๊ปใดได้บ้าง???

พ่อ และ แม่ มีเลือด group A เหมือนกัน จะเป็ นได้ดงั นี้


ถ้าพ่อแม่เป็ น AA+ AA ลูกจะเป็ น AA ร้อยเปอร์เซนต์ (Group A ทั้งหมด)

ถ้าพ่อแม่เป็ น A0 +AA ลูกจะเป็ น AO กับ AA อย่างล่ะครึ่ ง( แต่ก็เป็ น Gr A


ทั้งหมด)

ถ้าพ่อแม่เป็ น A0 + AO ลูกจะเป็ น AO 50% กับ AA กับ OO อย่างละ 25%


(เป็ น Group A 75% กับ O 25%)
ลองทาดู!!!
1. ถ้าพ่อหมู่เลือด AB แม่หมู่เลือด O ลูกจะมีหมู่เลือดใด
ลองทาดู!!!

2. หญิงหมู่เลือด B พ่อมีหมู่เลือด AB ลูกมีหมู่เลือดใดบ้าง


ลองทาดู!!! 3. พ่อมีหมู่เลือด O แม่มีหมู่เลือด B ลูกคนแรกมีหมู่
เลือดเป็ น O มีค่ากี่เปอร์ เซ็นต์
ลองทาดู!!! 4. พ่อมีหมู่เลือด O แม่มีหมู่เลือด B คนแรกมีหมู่
เลือด O โอกาสลูกคนที่ 2 มีหมู่เลือด O มีค่าเท่าใด
หมู่โลหิตระบบอาร์ เอช (Rh)

หมู่โลหิ ตนี้จะมีสารโปรตีนที่อยูบ่ บผิวเม็ดโลหิ ตแดง ซึ่งเรี ยกว่า


แอนติเจน-ดี (Antigen-D) เป็ นตัวบ่งบอกหมู่โลหิ ตระบบนี้ ซึ่ งแบ่ง
ออกเป็ น 2 หมู่ คือ
1. หมู่โลหิ ตอาร์เอชบวก (Rh positive) คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-ดี อยูท่ ี่
ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยมีหมู่โลหิตอาร์เอชบวกประมาณ 99.7%

2. หมู่โลหิ ตระบบอาร์เอชลบ (Rh negative) คือ หมู่โลหิตที่


ไม่มีแอนติเจน-ดี อยูท่ ี่ผวิ ของเม็ดโลหิ ตแดง ในคนไทยพบว่ามีหมู่โลหิ ตนี้
เพียง 0.3% หรื อ 1,000 คน จะมีเพียง 3 คนเท่านั้น จึงเรี ยกเป็ น "หมู่
โลหิตหายาก" หรื อ "หมู่โลหิ ตพิเศษ"
ความสาคัญของหมู่โลหิตอาร์ เอชลบ (Rh-
negative)
ความจาเป็ นในการใช้โลหิต
ถ้าผูป้ ่ วยที่มีหมู่อาร์เอชลบ จาเป็ นต้องรับโลหิ ตในการรักษาพยาบาลจะต้องรับโลหิ ต
อาร์ เอชลบเหมือนกัน เพื่อป้ องกันการกระตุน้ ร่ างกายให้สร้างแอนติบอดีต่อสารดี ซึ่ ง
อาจก่อให้เกิ ดปฏิกิริยาต่อต้านขึ้นมา คือ ภูมิตา้ นทานที่ ร่างกายสร้างจะไปทาลายเม็ด
โลหิ ตแดงอาร์เอชบวก อาจทาให้ผปู ้ ่ วยเป็ นอันตรายถึงชีวติ ได้
ความสาคัญของหมู่โลหิตอาร์ เอชลบ (Rh-negative)

หมู่โลหิตอาร์เอชลบในหญิง
ในมารดาที่มีหมู่อาร์เอชลบ แต่บิดามีหมู่อาร์เอชบวก ในกรณี มารดาตั้งครรภ์แรก และ
ลูกในครรภ์มีหมู่โลหิ ตอาร์เอชบวกเหมือนพ่อ ลูกคนแรกจะปลอดภัย ถ้าตั้งครรภ์ในท้อง
ถัดมา ถ้าลูกในครรภ์มีหมู่โลหิ ตอาร์ เอชลบเหมื อนแม่ก็ไม่เป็ นปั ญหา แต่ถา้ ลูกมี หมู่
โลหิ ตอาร์ เอชบวกจะส่ งผลให้ภูมิตา้ นทานที่ มารดาสร้างขึ้นหลังคลอดลูกคนแรก ไป
ทาลายเม็ดโลหิ ตแดงของลูกคนที่สองและคนต่อๆ ไปได้ ถ้ามีหมู่โลหิ ตอาร์ เอชบวก ทา
ให้ลูกเกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง และรายที่รุนแรงอาจตายในครรภ์ได้
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชวี ภาพ

หน่ วยที่ 1 พันธุกรรมและความหลากหลายของสิงมี


่ ชวี ต

ความหมายความก ้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชวี ภาพ
หมายถึ ง การน าสิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อชิ้ น ส่ ว นของสิ่ งมี ชี วิ ต มา
ปรั บปรุ ง เพื่อให้เกิ ดการพัฒนา การเพิ่มผลผลิ ตของสิ่ งมีชีวิต และการ
แปรรู ปผลผลิตทางการเกษตร การปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ การขยายพันธุ์ ด้วย
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่หลากหลาย เช่ น การผสมเทียม การถ่ายฝาก
ตัวอ่อน พันธุ วศิ วกรรม การโคลนนิ่ง เป็ นต้น
ประเภทของเทคโนโลยีชวี ภาพ
1. เทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่มนุษย์รู้ จกั กันมานาน
ไม่ตอ้ งใช้เทคนิควิธีการทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางชีววิทยาชั้นสู งมากนัก ซึ่ ง
เทคโนโลยีชีวภาพมีมาตั้งแต่สมัยสุ โขทัย โดยเริ่ มจากการหมักเหล้า การทาซี อิ๊ว น้ าปลา
และอาหารหมักดอง เช่น ปลาร้า ผักดอง รวมทั้ง การปรับปรุ งพันธุ์พืช สัตว์ ให้มีผลผลิต
มากขึ้น มีคุณภาพดีข้ ึน

การทานา้ ปลา ผักดอง การหมักเหล้ า


ประเภทของเทคโนโลยีชวี ภาพ

2. เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่ตอ้ งใช้ความรู ้ ทางด้าน


วิทยาศาสตร์และเทคนิควิธีการทางชีววิทยาชั้นสูงเนื่องจากเกี่ยวข้องกับการตัดแต่งสาร
พันธุกรรมเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในสิ่ งมีชีวติ
เทคโนโลยีชวี ภาพมีความสาคัญอย่างไร??
เทคโนโลยีชีวภาพได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ท้ งั ทางด้านเกษตรกรรม อาหาร
การแพทย์ และเภสัชกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์ต่าง ๆ อาทิ
• เพื่อลดปริ มาณการใช้สารเคมี
• เพื่อเพิม่ พื้นที่เพาะปลูก
• เพื่อเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร เพื่อคิดค้นอาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูงขึ้น
• เพื่อค้นคิดตัวยาป้ องกันและรักษาโรค

ซึ่งล้วนเป็ นการนาเทคโนโลยีชีวภาพมารับใช้ ประชากรโลก ในการ


สร้ างสรรค์ พฒ ั นาให้ มวลมนุษย์ สามารถมีคุณภาพชี วติ ทีด่ ียงิ่ ขึน้
1.การผสมเทียม (Artificial Insemination)
การผสมเทียม คื อ การทาให้เกิ ดการปฏิ สนธิ ในสัตว์โดยไม่ตอ้ งมี การร่ วมเพศตาม
ธรรมชาติ โดยมนุษย์เป็ นผูฉ้ ี ดน้ าเชื้อของสัตว์ตวั ผูเ้ ข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์ตวั เมีย
ซึ่งเป็ นผลให้ตวั เมียตั้งท้องขึ้น

การผสมเทียมสัตว์ ทมี่ กี ารปฏิสนธิภายใน


การผสมเทียม (Artificial Insemination)
การผสมเทียมสัตว์ ทมี่ กี ารปฏิสนธิภายนอก
2. การถ่ายฝากตัวอ่อน (Embryo Transfer)
การถ่ ายฝากตัวอ่ อน เป็ นวิธีที่พฒั นามาจากการผสมเที ยม การนาตัวอ่อนที่ เกิ ด
จากการผสมระหว่างตัวอสุ จิของพ่อพันธุ์และไข่ของสัตว์แม่พนั ธุ์ที่คดั เลือกไว้ แล้วล้าง
เก็บออกมาจากมดลูกของแม่พนั ธุ์ ต่อจากนั้นนาไปฝากใส่ ไว้ให้เติบโตในมดลูกของตัว
เมียอีกตัวหนึ่ งให้อุม้ ท้องไปจนคลอด การถ่ายฝากตัวอ่อนนิ ยมทากับสัตว์ที่มีการตกลูก
ครั้งละ 1 ตัว และมีระยะเวลาตั้งท้องนาน เช่น โค กระบือ เป็ นต้น
3.การโคลนนิ่ ง (Cloning)
การโคลนนิ่ ง เป็ นการผลิ ตสิ่ งมี ชีวิตให้มีลกั ษณะทางพันธุ กรรมเหมื อนกันทุ ก
ประการ ทาให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีลกั ษณะเหมือนกันเป็ นจานวนมากภายในระยะเวลาอันสั้น
ซึ่งทาได้ท้ งั ในพืชและสัตว์

การโคลนพืช
การโคลนพืชซึ่งเป็ นที่รู้จกั กันมาก เนื่องจากมี
การนามาใช้ในวงการอุตสาหกรรม อย่างแพร่ หลายใน พ.ศ.
2537 ที่เรี ยกว่า การเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อ
้ อ
หลักการเพาะเนื อเยื ่
การโคลนนิ่ ง (Cloning)
การโคลนสั ตว์
การโคลนนิ่งสัตว์ดว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์มีอยู่ 2 วิธี คือ การถ่ายฝาก
นิวเคลียส และการแยกเซลล์หรื อตัดแบ่งตัวอ่อนในระยะก่อนการฝังตัว
ดร.เอียน วิลมุต นักวิทยาศาสตร์ ชาวสกอต ได้ โคลนแกะดอลลีส่ าเร็จในปี พ.ศ. 2540

ขันตอนการโคลนสั
ตว ์
4. พันธุวศ
ิ วกรรม (Genetic Engineering)
พันธุ วิศวกรรมหรื อการดัดแปรพันธุ กรรม หมายถึง การนาเอายีน
จากสิ่ งมีชีวิตหนึ่ งไปถ่ายฝากให้กบั สิ่ งมีชีวิตอื่น โดยมียีนพาหะพาไปทาให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะต่างไปจากพันธุ์เดิมที่มีอยูใ่ นธรรมชาติ
ขั้นตอนของกระบวนการพันธุวศิ วกรรมหรื อดัดแปรพันธุกรรม
สิ่ งมีชีวติ ที่ผา่ นการตัดแต่งยีนแล้ว เรี ยกว่า GMOs
(Genetically Modified Organisms) เช่น การผลิตฮอร์ โมน การ
พัฒนาสายพันธุ์จุลินทรี ยใ์ ห้สามารถย่อยสลายคราบน้ ามัน

การพัฒนาพันธุ์พืชให้ ต้านทานโรคและแมลง
การพัฒนาพันธุ์พืชให้ มคี ุณภาพผลผลิต

การพัฒนาพันธุ์สัตว์ ให้ มขี นาดใหญ่ ขนึ้


ปลาม้าลายเรืองแสงเกิดจากการดัดแปลง
พันธุกรรม
ปลาม้าลาย (Zebrafish) ที่ถูกดัดแปลงพันธุ กรรมให้
สามารถเรื องแสงได้เ กิ ดการใช้เ ทคนิ ค พันธุ วิศวกรรม โดยนายีนที่ ได้จาก
แมงกะพรุ นหรื อดอกไม้ทะเลชนิ ดพิเศษ ซึ่ งควบคุมการสร้างโปรตีนที่ เรื อง
แสงได้เ องตามธรรมชาติ ไปใส่ ไว้ใ นสายของดี เ อ็น เอที่ ทาหน้า ที่ ค วบคุ ม
ลักษณะทางพันธุกรรมของปลาม้าลาย จึงทาให้ปลาม้าลายซึ่ งปกติมี ลกั ษณะ
ใสและไม่เรื องแสง เปลี่ ยนแปลงลักษณะกลายไปเป็ นปลาม้าลายที่เรื องแสง
ได้ โดยทีมนักวิทยาศาสตร์ ทมี่ หาวิทยาลัยแห่ งชาติสิงคโปร์

สร้างปลาม้าลายเรื องแสงขึ้นมาเพื่อเป็ นตัว


วัดปริ มาณสารพิษในแหล่งน้ า โดยเกณฑ์ใน
การวัด คื อ ปลาม้ า ลายจะเรื องแสงหากมี
สารพิษปนอยูใ่ นแหล่งน้ านั้น
การดัดแปรพันธุกรรม
• สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม หรือ GMOs คือ สิ่งมีชีวิต ที่
ได้จากกระบวนการปรับปรุงทางพันธุกรรม หรือได้รบั การ ตัด
แต่งยีน โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม (Genetic
Engineering)
• จุดประสงค์ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารและยา
ที่อาจเกิดขึน้ ในอนาคต
วิวฒั นาการของอาหารดัดแปรพันธุกรรม
• สหรัฐอเมริกาเป็ นประเทศแรกที่ผลิตสินค้าดัดแปรพันธุกรรม
ใน พ.ศ. 2523 ประมาณ 40 รายการ เช่น ถั่วเหลือง
Roundup Ready ฝ้ายบีที ข้าวโพดบีที และมันฝรั่งบีที
เป็ นต้น
• ประเทศไทยมีการวิจยั เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชจาลองพันธุห์ รือพืช
แปลงพันธุ์ (GMP) และผลิตภัณฑ์ของพืชเหล่านีอ้ ยู่หลาย
ชนิด ได้แก่ พริก มะเขือเทศ มะละกอ (เพื่อให้ตา้ นทานต่อโรค
ไวรัส) และฝ้าย (พัฒนาฝ้ายพืน้ เมืองให้ตา้ นทานต่อหนอน
เจาะสมอฝ้าย) รวมทัง้ ข้าว (โรคขอบใบแห้ง)
ประโยชน์การดัดแปรพันธุกรรม
• 1) พันธุวิศวกรรมในพืช
วิธีการทางพันธุกรรมในพืช เป็ นวิธีการตัดต่อยีนจากสิ่งมีชีวิตอื่น
แล้วนามาต่อเข้ากับชุดของยีนของเซลล์พืชให้เปลี่ยนไปเป็ นพืชตัดต่อยีน
พืชที่ผา่ นวิธีการทางพันธุวิศวกรรม เช่น แคนตาลูปที่ดดั แปรให้สกุ
ช้า Canola ที่ทนต่อยาฆ่าวัชพืช Bromoxynil ถั่วเหลืองที่ทนต่อ
ยาฆ่าวัชพืช Glufosinate ข้าวโพดที่ทนแมลงและยาฆ่าวัชพืช
Glufosinate มะเขือเทศทนแมลง มันฝรั่งที่ทนแมลงและไวรัส
ข้าวโพดที่เกสรตัวผูเ้ ป็ นหมัน มะละกอที่ตา้ นทานไวรัสได้ มะเขือเทศที่ทา
ให้สกุ ช้าลง เป็ นต้น
2) พันธุวิศวกรรมในสัตว์
• ทาการดัดแปรยีนใน Genome โดยการนาเอายีน จากสิ่งมีชีวิตชนิด
อื่น เข้ามาแทรกในสายของ ดีเอ็นเอ ซึ่งเรียงตัวต่อกันเป็ นยีน และยีนเรียง
ต่อกันเป็ นโครโมโซม นาเอาเซลล์ท่ีได้ไปผสม หรือเลีย้ งตามขัน้ ตอน จนได้
ลูกสัตว์ท่ีมีชดุ ของหน่วยพันธุกรรมที่ไม่เหมือนเดิม เพราะมียีนใหม่เพิ่มขึน้
สัตว์ท่ีถกู เปลี่ยนยีนมีการนาไปใช้ประโยชน์ คือ
(1) ใช้เป็ นแบบอย่างในการศึกษาโรค ทัง้ ในคน และในสัตว์
(2) ใช้ศกึ ษาพัฒนาวิธีการป้องกันโรค ทัง้ ในคนและสัตว์
(3) ใช้ในพันธุกรรมบาบัด
(4) ใช้ทดลองยาและผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ
(5) ใช้ทดลองในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่
(6) เลีย้ งไว้ใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ
3) พันธุวิศวกรรมในอาหาร
• (1) ส่วนประกอบของอาหาร และวัตถุแต่งกลิน่ รส ซึง่ มีอยูห่ ลายชนิดทีผ่ ลิต หรือ
สารสกัดได้มาจากจุลนิ ทรีย ์ เช่น วิตามิน ผลิตภัณฑ์ให้รสหวาน กรดอะมิโน สีผสม
อาหาร stabilizers เอนไซม์ ฮอร์โมน thickening agents สารปรุงรส
และกลิน่ พัฒนาพืชที่ผลิตยา วัคซีน หรือสารเวชภัณฑ์อื่น ๆ เป็ นต้น
• (2) จุลนิ ทรียห์ วั เชือ้ เป็ นจุลนิ ทรียท์ ี่ใช้ในการแปรรูป หรือผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่
แบคทีเรีย ยีสต์ และรา ที่ใช้ในการผลิตภัณฑ์อาหารหมัก อาทิ เนยแข็ง โยเกิรต์
ไส้กรอกเปรีย้ ว แหนม ผักดอง ซีอวิ ้ นา้ ปลา ไวน์ เบียร์ ขนมปั ง เป็ นต้น
• (3) ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รบั การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ เช่น การ
เปลีย่ นแปลงยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์ เอนไซม์ของต้นถั่วเหลือง เมล็ดธัญญาพืช
มีกรดอะมิโนจาเป็ นครบถ้วน การเพิ่มเกลือแร่วิตามินในผลิตภัณฑ์อาหาร
ผลกระทบของการดัดแปรทางพันธุกรรม
1) ประเด็นด้านสิง่ แวดล้อม
(1) ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น ตัวอ่อนของผีเสือ้ โมนาร์ชที่กินละออง
เกสรข้าวโพดบีที ตายถึงร้อยละสีส่ บิ สี่ ภายใน 4 วัน
(2) ผลกระทบที่มีตอ่ สิง่ แวดล้อม เช่น ด้วงเต่าที่เลีย้ งไว้ให้กินเพลีย้ อ่อนจะวางไข่
น้อยลง และมีอายุสนั้ กว่าปกติถึงครึง่ หนึง่
2) ประเด็นด้านสุขภาพ
(1) ความเสีย่ งต่อผูบ้ ริโภค เช่น ภูมิแพ้อาหาร การถ่ายทอดความต้านทานยา
ปฏิชีวนะ(การถ่ายทอดยีนต้านทานยาปฏิชีวนะไปสูแ่ บคทีเรีย ในกระเพาะอาหารได้)
และสารพิษในอาหาร(ไวรัสที่ทาให้โรค MOSAICในกะหล่าดอกเกิดพิษมากขึน้ )
(2) แนวโน้มของผลกระทบต่อสุขภาพ เกิดภาวะโนไวท โกร้ท ฮอร์โมนในวัว โดย
ฮอร์โมนนี ้ มีแนวโน้มทาให้สงิ่ มีชีวติ ที่กินนา้ นมวัวเข้าไปเป็ นมะเร็ง
สรุ ปผลกระทบการดัดแปรทางพันธุกรรม
• 1. เกิดธัญพืช และวัชพืชพันธุใ์ หม่ท่ีมีความต้านทานต่อแมลง
• 2. ทาให้ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมลดลง
• 3. เกิดการผสมข้ามเผ่าพันธุข์ องเชือ้ ไวรัสและแบคทีเรียโดยไม่ทราบ
ผลกระทบ ที่จะตามมา
• 4. ถ้ามีการหลุดของยีนจากการดัดแปรพันธุกรรม เข้าไปในเซลล์ของมนุษย์
จะทาให้มนุษย์และสัตว์ไม่มีความต้านทานต่อสารปฏิชีวนะ
• 5. เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อเผ่าพันธุแ์ มลงต่าง ๆ เช่น แมลงเต่าทอง
สรุ ปผลกระทบการดัดแปรทางพันธุกรรม (ต่อ)
• 6. ถ้าเกิดความผิดพลาดในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมแล้ว
จะไม่สามารถถ่ายหรือล้างกลับได้ และจะคงอยู่กบั สิ่งมีชีวิตใหม่
และแพร่พนั ธุต์ ่อไปตลอดทุกชั่วอายุ
• 7. เกิดการถ่ายทอดสารพันธุกรรมแปลกปลอมไปสู่ธญ ั พืชอื่น ๆ
ได้
• 8. ทาให้การกสิกรรมต้องพึง่ พาทางเคมีมากเกินไป
• 9. เกิดความล้มเหลวในการควบคุมแปลงทดลองปลูกพืชดัดแปร
พันธุกรรม
สรุ ปผลกระทบการดัดแปรทางพันธุกรรม (ต่อ)
• 10. ทาให้เกิดสารเคมีตกค้างในพืชมากเกินไป
• 11. เกิดการชีน้ ากสิกรรมของโลกโดยบริษัทผูผ้ ลิตเมล็ดพันธุท์ ่ีได้
จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม และบริษัทผูข้ ายเคมีท่ีใช้ใน
การเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม
• 12. เกิดการฆ่าทลายแมลง นก สัตว์ป่า ฯลฯ โดยธัญพืชพันธุใ์ หม่
ที่จะขยาย และกระจายไปทั่วโดยไม่สามารถควบคุมได้
ประเด็นโต้แย้งอื่น ๆ
• (1) ประเด็นเรื่องการติดฉลาก การติดฉลากผลิตภัณฑ์ดดั แปรพันธุกรรม
เป็ นการทาให้ผบู้ ริโภคได้รบั ทราบเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และเป็ นการให้
โอกาสผูบ้ ริโภคมีสิทธิเลือก ซือ้ สินค้าในการบริโภค แต่ในปัจจุบนั ยังคง
มีความเข้าใจผิดว่าฉลากของอาหารดัดแปรพันธุกรรม เป็ นฉลากเตือน
อียไู ด้กาหนดระดับขีดจากัดที่ยอมรับได้ คือ ประมาณร้อยละ 1
• (2) ประเด็นทางด้านศาสนา อาจเป็ นสิ่งต้องห้ามในบางศาสนาได้
รวมทัง้ ผูท้ ่ีรบั ประทานมังสะวิรตั ิ เช่น การใส่ยีนหมูเข้าไปในพืช
หมายถึง ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตชนิ ดต่างๆ ในการ
ด ารงชี วิต อยู่ใ นแหล่ ง ที่ อ ยู่อ าศัย เดี ย วกัน หรื อ แตกต่ า งกัน ซึ่ ง
สิ่ งมีชีวิตต่างชนิ ดกันจะมีความแตกต่างกันทั้งในด้านชนิ ดและ
จานวน หรื ออาจมีพนั ธุกรรมที่แตกต่างกัน
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลาย
สิ่ งมีชีวต
ิ หลากหลาย ของระบบนิเวศ B
ความ
ทาให้ระบบนิเวศ (Ecological diversity) I
หลากหลาย O
หลาก
D
หลาย I
วิวฒั นาการ ความหลากหลาย V
ทาให้เกิด ของสิ่ งมีชีวต

สิ่ งมีชีวติ ชนิ ดใหม่ๆ ทาง E
(Species diversity)
R
ชี ว S
I
ความแปรผัน ความหลากหลาย ภาพ T
ทางพันธุ กรรมเป็ น ของพันธุ กรรม Y
พื้น านของ (Genetic diversity)
วิวฒ
ั นาการ
่ าง อาศัยอยูใ่ นแหล่งทีอยู
กบ เขียด อึงอ่ ่ เ่ ดียวกัน
นักเรียนคิดว่า???
แหล่งทีอยู่ ่ นี จั้ ดเป็ นความหลากหลายทางชีวภาพ
หรือไม่ เพราะอะไร

เป็ น เพราะกบ เขียด อึ่งอ่างเป็ นสิ่งมีชวี ิตต่างชนิ ดกัน


และมีลก ั ษณะรูปร่าง ขนาด หรือโครงสร ้างที่แตกต่างกัน
จึงเป็ นผลทาให ้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ

1. ความหลากหลายของพันธุกรรม (genetic diversity)


ความหลากหลายขององค ์ประกอบทางพันธุกรรมของสิงมี ่ ชวี ติ
ทาใหล้ กั ษณะทางพันธุกรรมของสิงมี ่ ชวี ต ่
ิ ทีแสดงออกเกิดความเหมือน และ

ความแตกต่างทังภายในสิ ่ ชวี ต
งมี ิ เดียวกันหรือต่างชนิ ด เช่น วัวชนิ ดต่างๆ

คนเชือชาติ ้
ตา่ งๆ ผีเสือชนิ ดต่างๆ
ความแตกต่าง กันมากหรือน้อ ยขึนอยู
้ ่กบ
ั ความสัม พัน ธ ์
ของจุดกาเนิ ดและการวิวฒ ั นาการของสิงมี่ ชวี ต ิ นั้นๆ เช่น ม้ากับลาเป็ น
่ ชวี ต
สิงมี ่ จุดกาเนิ ดและการวิวฒ
ิ ทีมี ั นาการทีคล ่ า้ ยคลึงกัน จึงย่อมจะมี
พันธุกรรมทีใกล่ ่ ชวี ต
้เคียงกันมากกว่าสิงมี ่
ิ ชนิ ดอืนๆ

ม้า ลา
ความหลากหลายทางพันธุกรรมมีสาเหตุด ังนี ้
1. การผ่าเหล่า (Mutation) หมายถึง ลูกทีเกิ่ ดมามีลกั ษณะแตกต่างจากพ่อแม่ อาจเกิดขึน้

เองตามธรรมชาติ หรือได ้ร ับสารเคมี เช่น ธาตุกมั มันตร ังสี สิงแวดล ้อมเป็ นพิษ

2. การสืบพันธุ ์แบบอาศัยเพศ โดยมีพ่อและแม่ทมี่ี ลกั ษณะเด่นและลักษณะด ้อย


แตกต่างกัน

3. การใช ้เทคโนโลยีชวี ภาพสมัยใหม่ เช่น การเพาะเลียงเนื ้ อ้ การผสมเทียม การโคลน การตัด
อเยื
่ นการปร ับปรุงพันธุ ์และขยายพันธุ ์ เช่น การผสมพันธุ ์ของสุนัขระหว่างสายพันธุ ์ต่างๆ
ต่อ ยีน เพือเป็

สุนัขพันธุ ์ต่างๆ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
่ ชวี ต
2. ความหลากหลายของชนิ ดของสิงมี ิ (species diversity)

่ ชวี ต
หมายถึง ความหลากหลายของชนิดสิงมี ่ อยู่ในพืนที
ิ (species) ทีมี ้ หนึ
่ ่งนั่นเอง
่ ชวี ต
เช่น ความหลากหลายชนิ ดของสิงมี ่ ชวี ต
ิ ในทะเล ความหลากหลายของสิงมี ิ ในป่ า
ความหลากหลายของชนิดของสิงมี
่ ชวี ต ้ ดงั นี ้
ิ เกิดขึนได้

1. การวิวฒ ้
ั นาการแบบทีละเล็กละน้อย จนกระทังสามารถปร บั ตัวได ้ เช่น
วิวฒ
ั นาการของยีราฟตามแนวคิดของชาลส ์ ดาร ์วิน
ความหลากหลายของชนิดของสิงมี
่ ชวี ต ้ ดงั นี ้
ิ เกิดขึนได้

่ เหมาะสมกับการดารงชีวต
2. การคัดเลือกพันธุ ์ตามธรรมชาติ จะคัดเลือกสายพันธุ ์ทีดี ิ เอาไว ้

เช่น ลักษณะปากของนกฟิ นซ ์ทีเหมาะสมกั บการกินอาหาร
ความหลากหลายทางชีวภาพ

3. ความหลากหลายของระบบนิ เวศ (Ecosystem diversity)


หมายถึง ความหลากหลายของแหล่งทีอยู ่ ่ซงประกอบไปด
ึ่ ้วยปัจจัยทางชีวภาพและ

ปัจจัยทางกายภาพ ทีเหมาะสมกั ่ ชวี ต
บสิงมี ่ ชวี ต
ิ ในระบบนิ เวศ สิงมี ิ บางชนิ ดสามารถปรับตัวให ้

อยู่ได ้ในระบบนิ เวศทีหลากหลาย แต่บางชนิ ดจะดารงชีวต ิ อยู่ได ้ในระบบนิ เวศทีจ่ าเพาะ
เท่านั้น

ระบบนิ เวศ หมายถึง ระบบความสัมพันธ ์ของ


่ ชวี ต
สิงมี ่ ่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ซึงมี
ิ ในแหล่งทีอยู ่ ปัจจัยทาง

กายภาพและชีวภาพ ทีเหมาะสมกั ่ ชวี ต
บสิงมี ิ แต่ละชนิ ด
ในระบบนิ เวศนั้น ระบบนิ เวศมีหลายชนิ ด
้ ด
ระบบนิ เวศแหล่งนาจื
ได ้แก่ แม่นา้ ลาคลอง หนอง คู บึง สระ ทะเลสาบ และอ่างเก็บนา้ ซึง่
้ ชนา้ สิงมี
เป็ นแหล่งอาศัยของสัตว ์นาและพื ่ ชวี ต ่
ิ ทีอาศั ้ ด
ยอยูใ่ นแหล่งนาจื

เช่น แพลงก ์ตอน แมลง หอย ปลา กุ ้ง สัตว ์สะเทินนาสะเทินบก พืชนา้
เป็ นต ้น
ระบบนิ เวศในทะเล

่ สงมี
ได ้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึงมี ิ่ ชวี ต ้ ชายฝั่งทะเล
ิ อาศัยอยู่เป็ นจานวนมากตังแต่
ทีมี ้ั
่ ทงหาดทราย ้
หาดหิน และหาดโคลนจนถึงไหล่ทวีป พืนทะเลหรื ้
อพืนมหาสมุ ทร รวมทัง้
แนวปะการงั
ระบบนิ เวศป่ าชายเลน
เป็ นป่ าบริเวณชายฝั่งทะเลและปากแม่นาของประเทศ

เป็ นบริเวณนากร่้ อย สภาพดินเป็ นดินเลน ดินมีแร่ธาตุและ
สารอาหารต่างๆ อุดมสมบูรณ์ พรรณไม้ทส ่ี าคัญทีพบในป่
่ า
ชายเลน ได ้แก่ ต ้นโกงกาง ต ้นแสม ต ้นโปรงแดง เป็ นต ้น
ระบบนิ เวศป่ าไม้
เป็ นระบบนิ เวศที่ มี ค วามหลากหลายทางชีว ภาพ มี ก าร
ไหลเวียนของแร่ธาตุเป็ นแหล่งทีอยู่ ่อาศัยของพืชและสัตว ์ เป็ น
แหล่ ง อาหาร ยาร ก ั ษาโรค นอกจากนี ้ป่ าไม้ย ัง ช่ว ยร ก
ั ษา
อุณหภูมข ิ องโลกไม่ให ้สูงเกินไป
ผลของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. ผลทีมี่ ตอ่ มนุ ษย ์ มนุ ษย ์สามารถคัดเลือกสายพันธุ ์พืชและ
สัตว ์มาใช ้ประโยชน์ตามต ้องการได ้ ไม่วา่ จะเป็ นการคัดเลือกสายพันธุ ์มา
ใช ้เป็ นอาหาร เครืองนุ ่ อ
่ ่ งห่ม ทีอยู ่ าศัย หรือใช ้เป็ นยารกั ษาโรค เช่น การ
เลือกใช ้แรงงานจากสัตว ์ๆ ให้เหมาะสม เลือกใช ้พืชตกแต่งสวนหย่อม

ช ้างลากท่อนซุง ใช ้พืชตกแต่งสวนหย่อม
ผลของความหลากหลายทางชีวภาพ
่ ตอ
2. ผลทีมี ่ สัตว ์และพืช ความหลากหลายทางชีวภาพทา
ให้สัตว ์และพืชอยูร่ วมกันในธรรมชาติอย่างสมดุล เช่น อยู่รวมกันแบบพึงพา ่
อาศัย กัน แบบอิง อาศัย กัน หรือ แบบเบีย ดเบีย นที่เรีย กว่ า ปรสิต ซึงอาจ ่

เกิดขึนระหว่ า งพืชกับ พืช สัตว ์กับ สัตว ์ หรือ สัตว ์กับ พืช จึง มีการถ่า ยทอด
พลังงานทาให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ

สัตว ์กับสัตว ์ พืชกับพืช


ผลของความหลากหลายทางชีวภาพ
่ ต่อสิงแวดล้
3. ผลทีมี ่ อม ความหลากหลายทางชีวภาพทัง้
จานวนและชนิ ดของพันธุ ์พืช พันธุ ์สัตว ์ และจานวนประชากรทา

ให ้สิงแวดล ้
้อมมีความสมดุลทังทางอากาศ ดิน และน้า ถ ้าความ
หลากหลายทางชีวภาพหมดไปจะทาใหส้ งแวดล ่ิ อ้ มขาดสมดุล

ซึงจะมี ผลต่อมนุ ษย ์ สัตว ์ และพืช เช่นกัน
สาเหตุทที่ าให้ความหลากหลายทาง

ชีวภาพเปลียนแปลง
1. การกระทาของมนุ ษย ์
การนาทรพ ั ยากรธรรมชาติไปใช ้โดยขาดการวางแผนทีดี่ ในการหามา
่ ้พืนที
ทดแทน เช่น การตัดไม้ทาลายป่ า เพือใช ้ เพาะปลู
่ ่
กหรือผลิตสิงของ

เครืองใช ้ นดิบ การทาเหมืองแร่
้ การขุดเจาะนามั

การตัดไม้ทาลายป่ า ้ นดิบ
การขุดเจาะนามั
สาเหตุทที่ าให้ความหลากหลายทาง

ชีวภาพเปลียนแปลง
การใช ้สารเคมีตา่ งๆ เช่น สารเคมีกาจัดศัตรูพช ื ปุ๋ ย สารเคมี
กาจัดหญ ้าหรือวัชพืชทาให ้ห่วงโซอาหารถูกทาลาย สิงมี ่ ชวี ต

บางชนิ ดขาดแคลนอาหาร แต่สงมี ่ิ ชวี ต
ิ บางชนิ ดอาจเพิม ่
ปริมาณอย่างรวดเร็ว ทาให ้เกิดการเสียดุลธรรมชาติ
สาเหตุทที่ าให้ความหลากหลาย

ทางชีวภาพเปลียนแปลง
2. ภัยธรรมชาติ
เช่น ไฟไหมป้ ่ า น้าท่วม เกิดพายุ แผ่นดินไหว ภูเขา
ไฟระเบิด หรือเกิดภาวะแห้งแล ้ง แต่ธรรมชาติสามารถ
ุ ธรรมชาติได ้ เนื่ องจากภัย
เกิดการปร ับตัวเข ้าสู่ดล
้ บ่อยครงเท่
ธรรมชาติเกิดขึนไม่ ้ั ากับการกระทาของ
่ ดขึนเกื
มนุ ษย ์ทีเกิ ้ อบทุกวัน

ไฟไหม้ป่า ภาวะแห ้งแล ้ง


การอนุ ร ักษความหลากหลายทางชี
์ วภาพ
1. จัดระบบนิ เวศให ้ใกล ้เคียงตามธรรมชาติ โดยฟื ้นฟู
้ เสื
หรือพัฒนาพืนที ่ อมโทรมให
่ ้คงความหลากหลายทาง
่ ด
ชีวภาพไว ้มากทีสุ

2. จัดให ้มีศน
ู ย ์อนุ ร ักษ ์หรือพิทก ่ ชวี ต
ั ษ ์สิงมี ่ าเนิ ด
ิ นอกถินก
่ น ทีพั
เพือเป็ ่ กพิงชัวคราวที
่ ่
ปลอดภั ย ก่อนนากลับไปสู่
ธรรมชาติ เช่น สวนพฤกษศาสตร ์ ศูนย ์เพาะเลียงสั ้ ตว ์
้ ม เป็ นต ้น
นาเค็

3. ส่งเสริมการเกษตรแบบไร่นาสวนผสม และใช ้ต ้นไม้ล ้อม


้ั ้านหรือแปลงเกษตร เพือให
รวบ ่ ้มีพช
ื และสัตว ์หลากหลาย
่ นการอนุ ร ักษ ์ความ
ชนิ ดมาอาศัยอยูร่ ว่ มกัน ซึงเป็
หลากหลายทางชีวภาพได ้

You might also like