You are on page 1of 147

1.

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

VARIETY สารพันธุกรรม พันธุศาสตร์


DNA
SPECIES Genetics

ลักษณะด้ อย พันธุกรรม ยีน


RECESSIVE Heredity GENE

ลักษณะเด่ น CHROMOSOME
DOMINANT

www.themegallery.com
1.การถ่ า ยทอดลั
พันธุกรรมหรือกรรมพันธุ์ ( Heredity )
ก ษณะทางพั
น ธุ ก รรม
พันธุกรรมหรือกรรมพันธุ์ หมายถึง การถ่ ายทอด ลักษณะต่ างๆ ของสิ่งมีชีวติ จากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่น
หนึ่ง อัลลีน (Allele) หมายถึง ยีน 2 ยีนซึ่งอยู่ตำแหน่ งเดียวกันบนโครโมโซมคู่เหมือนกันโดยควบคุม
ลักษณะเดียวกัน
- ถ้ ามี gene เหมือนกันเรียกว่ า พันธุ์แท้ (homozygous)
- ถ้ ามี gene ไม่ เหมือนอยู่ด้วยกัน เรียกว่ าพันธุ์ทาง (heterozygous)
ลักษณะทางพันธุกรรม( Genetic Charactor) ถูกควบคุมโดย ยีน (Gene) อยู่บน
โครโมโซม(Chromesome) หรือสารพันธุกรรม DNA (Deoxyribonucleic Acid) ลูกจะได้ รับจากพ่อครึ่งหนึ่ง
แม่ ครึ่งหนึ่ง
จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง ชุดของ gene ทีม่ าเข้ าคู่กนั ซึ่งสิ่ งมีชีวติ ได้ รับมาจากพ่อและแม่
ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะต่ าง ๆ ทีส่ ามารถแสดงออกมาให้ เห็นได้ เป็ นผลมาจาก genotype และ
สิ่ งแวดล้ อม
www.themegallery.com
1.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

พันธุกรรม
HEREDITY

www.themegallery.com
1.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สารพันธุกรรม DNA สารพันธุกรรม ( genetic materials) คือ สารชีวโมเลกุล
(Biomolecules) ทีท่ ำหน้ าทีเ่ ก็บข้ อมูลรหัสสำหรับการทำงานของของ
สิ่ งมีชีวติ ต่ าง ๆ เอาไว้ เช่ น เมื่อสิ่ งมีชีวติ มีการสื บพันธุ์ จะมีการแบ่ ง
เซลล์ แบบไมโอสิ ส (meiosis) ก็จะมีการแบ่ งสารพันธุกรรมนีไ้ ปยัง
เซลล์ ทแี่ บ่ งไปแล้ วด้ วย โดยยังคงมีข้อมูลครบถ้ วน
สารชีวโมเลกุลทีท่ ำหน้ าทีเ่ ป็ นสารพันธุกรรมในเซลล์ของสิ่ งมีชีวติ
ชั้นสู ง ซึ่งพบได้ จาก นิวเคลียส ของเซลล์ เรียกรวมว่ า กรดนิวคลีอคิ
(Nucleic acids) โดยคุ สิ่ งมีชณ
ีวิตสมบั
ส่ วนใหญ่ ใช้ดีเอ็นแเอสำหรั
ติทางเคมี บเก็บวข้อคลี
บ่ ง กรดนิ มูลอทางพั
คิ ได้นเป็ธุกนสอง
รรม
ชนิดย่ อย คือ อาร์ เอ็นเอ (RNA - Ribonucleic acid) และ
ดีเอ็นเอ(DNA - Deoxyribonucleic acid) สิ่ งมีชีวติ ส่ วนใหญ่ มีสาร
พันธุกรรมเป็ น ดีเอ็นเอ รหัสบนสารพันธุกรรม หากมีการถอดรหัส
(Transcription) ออกมาได้ เรียกรหัสส่ วนนั้นว่ า ยีน (Gene)

www.themegallery.com
1.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์
เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mende เกิด วันที่
27 กรกฎาคม ค.ศ. 18 ทีเ่ มืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศ
สาธารณรัฐเชค (Republic of Czech) เสี ยชีวติ วันที่ 6
มกราคม ค.ศ. 1884 ทีเ่ มืองเบิร์น (Brunn) ประเทศสา
ธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน - ค้นพบลักษณะการถ่ ายทอดพันธุกรรม
ของสิ่ งมีชีวติ
- ให้ กำเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (Genetices)
เมนเดลได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่ งพันธุศาสตร์
ด้ วยผลงานการค้ นพบความลับทางธรรมชาติ ทีว่ ่ าด้ วยการ
ถ่ ายทอดลักษณะต่ าง ๆ ของพ่อแม่ ไปยังลูกหลาน หรือที่
เรียกว่ า กรรมพันธุ์ (Heredity)
www.themegallery.com
1.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์

จากกฎสรุปได้ ดงั นี้

พันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้
พันธุ์ลูก( F1)ได้ พนั ธุ์แท้ เหมือนเดิมหมด

พ่อแม่ พนั ธุ์แท้ ผสมกับแม่ หรือพ่อพันทาง


พันธุ์ลูก(F1)เหมือนพ่อครึ่งหนึ่งแม่ ครึ่งหนึ่ง
พ่อแม่ พนั ธุ์ทางผสมกัน
พันธุ์ลูก(F1)เป็ นพันธุ์แท้ เหมือนพ่อหรือแม่
มีลกั ษณะเด่ น 1 ส่ วน ลักษณะด้ วย 1 ส่ วนและ ได้ ทดลองโดยใช้ พชื ตระกูลถัว่
พันทาง 2 ส่ วน
www.themegallery.com
1.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์

จากกฎสรุปได้ ดงั นี้

พันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้
พันธุ์ลูก( F1)ได้ พนั ธุ์แท้ เหมือนเดิมหมด

พ่อแม่ พนั ธุ์แท้ ผสมกับแม่ หรือพ่อพันทาง


พันธุ์ลูก(F1)เหมือนพ่อครึ่งหนึ่งแม่ ครึ่งหนึ่ง
พ่อแม่ พนั ธุ์ทางผสมกัน
พันธุ์ลูก(F1)เป็ นพันธุ์แท้ เหมือนพ่อหรือแม่
มีลกั ษณะเด่ น 1 ส่ วน ลักษณะด้ วย 1 ส่ วนและ ได้ ทดลองโดยใช้ พชื ตระกูลถัว่
พันทาง 2 ส่ วน
www.themegallery.com
2. การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of
Sex
แบ่ งเป็ นเพศผู้และเพศเมียโดยมีความแตกต่ างกันจากความหมายของคำเหล่ านีท้ คี่ วรทราบ

Gene ยีน
Chromosome โครโมโซม

การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ
Sex Chromosome
โครโมโซมเพศ Autosome
โครโมโซมร่ างกาย
www.themegallery.com
2. การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination
of Sex

Gene ยีน

หน่ วยพันธุกรรม หรือ ยีน คือ ส่ วนหนึ่ง


ของโครโมโซม (Chromosome segment) ที่
ถอดรหัส (encode) ได้ เป็ นสาย ยีนสามารถเป็ น
ได้ ท้งั ดีเอ็นเอ หรือว่ า อาร์ เอ็นเอ ก็ได้ แต่
ในสิ่ งมีชีวติ ชั้นสู งนั้นจะเป็ นดีเอ็นเอ
หมดเพราะเสถียรมากเหมาะแก่การเก็บข้ อมูล
ขณะทีอ่ าร์ เอ็นเอ จะพบในพวกไวรัส ยีน
ทั้งหมดของสิ่ งมีชีวติ หรือเซลล์ จะรวมเรียกว่ า
จีโนม ภาพยีน GENE
www.themegallery.com
2. การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination
of Sex

โครโมโซม Chromosome

โครโมโซม (chromosome) เป็ นทีอ่ ยู่ของยีน ซึ่งทำ


หน้ าทีค่ วบคุมและถ่ ายทอดข้ อมูล เกีย่ วกับลักษณะทาง
พันธุกรรมต่ างๆ ของสิ่ งมีชีวติ เช่ น ลักษณะของเส้ นผม
ลักษณะดวงตา เพศ และผิว จากการศึกษาลักษณะ
โครโมโซม จะต้ องอาศัยการดูด้วยกล้ องจุลทรรศน์ ที่
กำลังขยายสู งๆ จึงจะสามารถ มองเห็นรายละเอียดของ
โครโมโซมได้

ในภาวะปกติเมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลกั ษณะ ภาพโครโมโซม Chromosome


คล้ายเส้นด้ายบางๆ เรี ยกว่า “โครมาติน (chromatin) ” ขดตัวอยูใ่ น
นิวเคลีwww.themegallery.com
ยส
2. การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of
Sex
แบ่ งเป็ นเพศผู้และเพศเมียโดยมีความแตกต่ างกันจากความหมายของคำเหล่ านีท้ คี่ วรทราบ

โครโมโซมเพศ โครโมโซมร่ างกาย


Sex Chromosome Autosome

สำหรับโครโมโซมทีเ่ หลืออีก 1 คู่จากทั้งหมด 23 สำหรับในมนุษย์ มีจำนวนโครโมโซม 46


คู่ จะเป็ นโครโมโซมที่ทำหน้ าที่กำหนดเพศ เรียกว่ า โครโมโซม หากนำมาจัดเป็ นคู่จะได้ 23 คู่ซึ่งจะมี
โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) โดยโครโมโซม
จะเป็ นการจับคู่กนั ของโครโมโซม 2 ตัวที่มีลกั ษณะ 22 คู่ ทีเ่ หมือนกันในเพศชายและเพศหญิงเราจะ
ต่ างกันคือ โครโมโซม X เป็ นตัวกำหนดเพศหญิง และ เรียกคู่โครโมโซมเหล่ านีว้ ่ า โครโมโซมร่ างกาย
โครโมโซม Y เป็ นตัวกำหนดเพศชาย ซึ่งมีขนาดเล็ก (autosome) ซึ่งจะมีบทบาทในการกำหนดลักษณะ
กว่ าโครโมโซม X ทางพันธุกรรมต่ างๆในร่ างกาย
www.themegallery.com
2. การกำหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of Sex
การเกิดเพศหญิงเพศชาย

เพศชาย เพศหญิง

เซลล์เพศที่ถูกสร้ างขึน้ มาแต่ ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยที่เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย (สเปิ ร์ ม) จะมี


เซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y ส่ วนเซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิงจะมีโครโมโซมได้ เพียงชนิดเดียว
คือ 22+X ดังนั้นโอกาสในการเกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ ากัน ขึน้ อยู่
กับสเปิ ร์ มที่เข้ าผสมกับไข่ จะเป็ นสเปิ ร์ มชนิดใด

โครโมโซมในร่ างกายมนุษย์ มีท้งั หมด 46 แท่ ง มนุษย์ ผู้หญิง มีโครโมโซม 44+XX แท่ ง
แบ่ งเป็ น มนุษย์ ผู้ชาย มีโครโมโซม 44+XY แท่ ง
1.โครโมโซมร่ างกาย (autosome) จำนวน 44 แท่ ง เซลล์ ไข่ มีโครโมโซม 22+X แท่ ง
2.โครโมโซมเพศ (sex chromosome) จำนวน 2 เซลล์ อสุ จิ มีโครโมโซม 22+X แท่ ง หรือ 22+Y แท่ ง
www.themegallery.com
แท่ ง มีรูปแบบเป็ น XX หรือ XY
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ( Sex Chrosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมเพศ
1. อาการไคลน์ เฟลเตอร์ ซินโดรม (Klinefelter , s Syndrome)

โครโมโซมเพศแบบ
XXXY

โครโมโซมเพศชายคู่ที่ 23 มีโครโมโซม x เพิม่ ขึน้ มา 1 อันทำให้ โครโมโซมคู่ที่ 23 เป็ น 44+xxy = 47 โครโมโซม

www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ( Sex Chrosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมเพศ
2. อาการเทอร์ เนอร์ ซินโดรม (turner, s Syndrome)

เกิดในเพศหญิง มีโครโมโซมเพศคู่ที่ 23 มีโครโมโซม x อีกอันเป็ น 0 เนื่องจากผสมกับเซลอสุ จิที่ไม่ มีโครโมโซมเพศ


ทำให้ มีโครโมโซมเป็ น 44+x0 = 45 โครโมโซม
www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย (Autosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย เป็ นความผิดปกติทไี่ ม่ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1. เด็กทีม่ ีอาการดาวน์ ซินโดรม (Down, s Syndrome)

โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ ง  

www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย (Autosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย เป็ นความผิดปกติทไี่ ม่ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
2. อาการไคร์ ดูชาต์ ซินโดรม (Cri-Du-Chat Syndrome)

โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป 1 แต่ มีโครโม โซมครบ 46 เหมือนคนปกติ

www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคตาบอดสี

www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคฮีโมฟิ เลีย

ภาวะเลือดออกง่ าย หรือเลือดออกแล้ วหยุดยาก อาจมีสาเหตุจากความผิดปกติ


ของหลอดเลือด เกล็ดเลือด (platelets) หรือระบบการแข็งตัวของ
เลือด(coaglulation system)ลักษณะของเลือดออกที่เกิดขึน้ ตามผิวหนัง อาจเป็ นจุด
แดง ขนาด 1 มิลลิเมตรหรือเท่ าปลายเข็มหมุด หรือเท่ าปลายนิว้ หรือเป็ นก้ อนนูน
(hematoma)
โดยทั่วไป ถ้ ามีสาเหตุจากหลอดเลือดผิดปกติ (เช่ น หลอดเลือดเปราะ ในผู้ป่วย
ไข้ เลือดออก มักจะเกิดเป็ นจุดแดงหรือจ้ำเขียวตืน้ ๆ 
ถ้ าเกิดจากเกล็ดเลือดผิดปกติ (เช่ น เกล็ดเลือดต่ำในผู้ป่วยไข้ เลือดออก, โลหิต
จางอะพลาสติก, มะเร็งเม็ดเลือดขาว, เอสแอลอี, ไอทีพ)ี มักเกิดเป็ นจุดแดงซึ่งอาจมี
จ้ำเขียวร่ วมด้ วยหรือไม่ กไ็ ด้
ถ้ าเกิดจากระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (เช่ น ฮีโมฟิ เลีย, ตับแข็ง, ภาวะ
ไตวาย, งูพษิ กัด) มักเกิดเป็ นจ้ำเขียว หรือก้ อนนูน โดยไม่ มีจุดแดงร่ วมด้ วย

www.themegallery.com
3. ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคฮีโมฟิ เลีย
โรคธาลัสซีเมีย คือ โรคซีดชนิดหนึ่งทีส่ ามารถติดต่ อ
ได้ โดยทางกรรมพันธุ์ และมีการสร้ างฮีโมโกลบิน ทำให้
เม็ดเลือแดงมีลกั ษณะผิดปรกติและแตกง่ าย ก่ อให้ เกิด
อาการซีด เลือดจางเรื้อรัง และมีภาวะแทรกซ้ อนอืน่ ๆ เม็ดเลือดที่ปกติ
ส่ วนใหญ่ ผู้ทเี่ ป็ นโรคนีจ้ ะได้ รับยีนทีผ่ ดิ ปรกติของพ่อ
และแม่

เม็ดเลือดแดงที่มีเบต้ าธาลัสซีเมีย-ฮีโมโกลบิน

www.themegallery.com
4. มิวเตชัน่ (Mutation)
มิวเตชั่น (Mutation)เป็ นการเกิกพันธุ์ใหม่ หรือการผ่าเหล่า หมายถึงลักษณะของสิ่งมีชีวติ ที่เกิดมาใหม่แตกต่างจากลักษณะเดิม

1 2

มิวเตชันของเซลล์ ร่างกาย เกิดขึน้ ตามเซลล์ มิวเตชันของเซลล์ สืบพันธุ์ เกิดขึน้ กับเซลล์


ของร่ างกายเมื่อเกิดขึน้ แล้ วไม่ มีการถ่ ายทอด สื บพันธุ์ เมื่อเกิดขึน้ แล้ วถ่ ายทอดลักษณะต่ อ
จะตายไปพร้ อมกับเจ้ าของ ไปยังลูกหลาน

www.themegallery.com
5.พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)

พันธุวศิ วกรรม เป็ นกระบวนการปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวติ โดยนำ ยีนจากสิ่งมีชีวติ ชนิดพันธุ์หนึ่ง


(species) ถ่ ายฝากเข้ าไปอีกชนิดพันธุ์หนึ่ง เพือ่ จุดประสงค์ ทจี่ ะปรับปรุงสายพันธุ์ให้ ดขี นึ้ กระบวนการดัง
กล่ าวไม่ ได้ เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ สิ่ งมีชีวติ ดังกล่ าวมีชื่อเรียกว่ า GMO (genetically modified
organism) ตัวอย่างการวิจัยและพัฒนา รวมถึงการใช้ ประโยชน์ เชิงการค้ามีมากมาย

www.themegallery.com
5. พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)
พืช GMOS 5 ชนิดทีไ่ ด้ รับการยอมรับว่ าปลอดภัยสำหรับการบริโภค สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สหภาพยุโร
ปสวิตเซอร์ แลนด์ ได้ รับอนุญาตให้ นำมาใช้ ในเชิงพาณิชย์
มันฝรั่ง

ถั่วเหลือง

เรพ(เมล็ดพืชน้ำมัน)ที่ทนทานต่ อสารกำจัดวัชพีช

www.themegallery.com ข้ าวโพด
6. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

การผสมพันธุ์ต่างสายพันธุ์ (Hybridization)

ม้ าตัวเมีย ลาตัวผู้ ล่ อ เรียกว่ า Mule

ผสม

www.themegallery.com
6. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

การผสมพันธุ์ต่างสายพันธุ์ (Hybridization)

ม้ าตัวผู้ ลาตัวเมีย ล่ อ เรียกว่ า hinny

ผสม

www.themegallery.com
6. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

เทคนิคในการตัดต่ อยีน (Recombinant DNA)

ตัดยีน ( DNA ) จากผู้ให้ + DNA ของตัวกลาง ผู้รับเพือ่ สร้ างสารโปรตีน นำสารที่ได้ ไปทำให้
บริสุทธิ์

เทคนิคในการตัดต่ อยีน (Recombinant DNA) สำหรั บพันธุวศ


ิ วกรรมได้ พฒ
ั นาเทคนิค
วิชาการต่ าง ๆจนเป็ นทีร่ ู้ จักทัว่ ไป คือ เทคนิคลีคอมบิแนนท์ ดีเอ็นเอ

www.themegallery.com
6. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

เทคนิคในการโคลนนิ่ง (Cloning)หรือการปลูกถ่ ายพันธุกรรม

www.themegallery.com
ยีน (Gene)
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวติ นั้นๆ

หน่วยย่อยของสารพันธุกรรมที่มีหน้าที่ในการถ่ายทอดคุณลักษณะของ
สิ่ งมีชีวติ ต่างๆ จากรุ่ นหนึ่งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่งซึ่ งถูกบรรจุอยูใ่ นโครโมโซม

เป็ นตัวกําหนดลักษณะต่างๆ ของสิ่ งมีชีวติ


DNA คือ สารพันธุกรรม
ความรู้พ้ืนฐานที่น ำไปสู่ เทคโนโลยีชีวภาพ

• DNA คือสารพันธุกรรม
• โครงสร้างของ DNA
• อณูชีววิทยา (molecular biology) หรื อวิชาที่วา่ ด้วยการ
ศึกษาโครงสร้าง และการทํางานของสิ่ งมีชีวติ ในระดับโมเลกุล
กฎแห่ งชีวติ The Central Dogma
โปรตีน
ยีน (Gene)

• ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวติ นั้นๆ


• หน่วยย่อยของสารพันธุกรรมที่มีหน้าที่ในการถ่ายทอดคุณลักษณะของ
สิ่ งมีชีวติ ต่างๆ จากรุ่ นหนึ่งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่งซึ่ งถูกบรรจุอยูใ่ นโครโมโซม
• เป็ นตัวกําหนดลักษณะต่างๆ ของสิ่ งมีชีวติ
• ส่ วนของเส้น DNA ที่มีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ก่อนที่จะเปลี่ยน
ไปเป็ นเอ็นไซม์หรื อโปรตีนชนิดต่างๆเพื่อใช้ในการดํารงอยูข่ องสิ่ งมี
ชีวติ ทุกชนิด
เซล = หน่ วยย่ อยพืน้ ฐานของชีวติ
nucleotide ribose

nucleotide
deoxyribose

deoxyribonucleic acid
A

T
Human Genome

AGCTTTGGTGAAGATCTAGATACAGAATGGCAGTAGACGTA
TCGATCGTAGGGCTTTGAGCTTGGGACTGAATCGTTAGGCCC
CTTTTGGGGAGAGACTGATCTGACATYGGCTAGCTGACG……
……….

1 million pages telephone book


การคัดลอกรหัสจาก DNA เป็ น RNA
Transcription
RNA
การถอดรหัสจาก RNA ไปเป็ น Protein
ชีวติ ?
• เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป

• ความสามารถในการสื บพันธุ์
DNA Replication
การจำลองตัวของดีเอ็นเอ
สรุป

• DNA เป็ นสารพันธุกรรมที่เป็ นตัวเก็บข้อมูลที่เป็ นตัวกําหนดสิ่ งมีชีวติ


• โดยเก็บไว้ในรู ปของรหัสของ nucleotide ที่เขียนแทนด้วยตัวอักษร 4 ตัว
คือ A T C และ G
• รหัสเหล่านี้จะถูกถอดออกมาผ่าน RNA จนเป็ นลําดับของ กรดอะมิโน
20 ชนิดในโปรตีน
• DNA หรื อยีน นั้นเป็ นเพียงตัวเก็บข้อมูลแต่ไม่สามารถทําหน้าที่ใดๆ ใน
เซล ได้ตอ้ งแสดงออกมาในรู ปของโปรตีนชนิดต่างๆเพื่อเป็ นโครงสร้าง
และเครื่ องจักรในการดําเนินชีวติ ของสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิด
ทางวิทยาศาสตร์พนั ธุกรรม
• พันธุวศิ วกรรม,
– การตัดต่อยีน
– PCR
– การตรวจเอกลักษณ์ดว้ ย DNA
– ยีโนมมนุษย์
• GMO
• เทคโนโลยีดีเอ็นเอกับชีวติ ในปัจจุบนั และอนาคต
• วิธีการสกัดดีเอ็นเออย่างง่ายที่บา้ น
การตัดต่อยีน
การตรวจเอกลักษณ์ ด้วยดีเอ็นเอ
GMOs

Genetically Modified Organisms


GM Cotton & GM Tomato &
GM Papaya
Golden Rice
Bt Corn and Monarch butterfly
GM Salmom
เทคโนโลยีดเี อ็นเอ กับชีวติ ในปัจจุบัน และอนาคต

• การรักษาโรคแนวใหม่
• การประยกุ ต์ ใช้ DNA ในงานทางนิติเวช
• SARS, ไข้ หวัดนก RT-PCR
• Cloning และ Stem cell
Cloning
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
• การใช้ เทคโนโลยีเพือ่ ทำให้ สิ่งมีชีวติ หรือองค์ ประกอบของสิ่ งมีชีวติ มี
สมบัตติ ามต้ องการ ยกตัวอย่ างเช่ น
– การใช้ จุลนิ ทรีย์ในการหมัก
– การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์พชื และสั ตว์
– เทคโนโลยีชีวภาพทีเ่ กีย่ วกับ DNA (DNA Technology)
พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)
• พันธุวศิ วกรรม (genetic engineering) หมายถึง เทคโนโลยีทที่ ำการเคลือ่ น
ย้ ายยีน (gene) จากสิ่ งมีชีวติ สปี ชีส์หนึ่งไปสู่ สิ่งมีชีวติ อีกสปี ชีส์หนึ่ง เป็ นการ
สร้ าง DNA สายผสม (recombinant DNA)
• สร้ างสิ่ งมีชีวติ รู ปแบบใหม่ (novel) ทีม่ คี ุณลักษณะแบบใหม่ ซึ่งไม่ เคยปรากฏ
ในธรรมชาติมาก่ อน
• เปลีย่ นแปลงหน่ วยพันธุกรรม
หรือ DNA ของสิ่ งมีชีวติ
• เคลือ่ นย้ ายยีนทีอ่ ยู่เหนือกฎเกณฑ์
ธรรมชาติ สิ่ งมีชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ อาจมียนี
ลูกผสมแบบใหม่
การโคลนยีน
Cloning : หมายถึง กระบวนการสร้ างสิ่ งทีม่ ลี กั ษณะทางพันธุกรรม เหมือนกัน
กับสิ่ งทีม่ อี ยู่ก่อน
มนุษย์ รู้ จักโคลนนิ่งมาแต่ สมัยโบราณแล้ว แต่ เป็ นการรู้ จักโคลนนิ่ง ทีเ่ กิดกับพืช
นั่นคือ การขยายพันธุ์พชื โดย ไม่ อาศัยเพศ เช่ น การแตกหน่ อ
http://www.youtube.com/watch?
v=OCro5zfc3uc&feature=player_embedded#at=42
http://goal90antique.blogspot.com/2017/11/blog-post_13.html
กระบวนการในพันธุวศิ วกรรม
ประกอบด้ วยกระบวนการโดยรวมคือ
1. การเตรียมยีน (gene)หรือ DNA ทีส่ นใจ
2. การตัด DNA อย่ างจำเพาะด้ วยเอนไซม์ ตดั จำเพาะ
3. การเชื่อมต่ อชิ้นส่ วนของ DNA ทีแ่ ยกได้ กบั DNA พาหะ (vector) เช่ น พลาสมิด
(plasmid), phage, cosmid
4. การนำพาหะ (vector) ทีม่ ยี นี ทีส่ นใจแทรกอยู่ หรือ DNA สายผสม ใส่ เข้ าไปใน
เซลล์ ผู้รับ (host)
– หลังจากนั้นเลีย้ งเซลล์ ผู้รับให้ แบ่ งเซลล์ หลายๆครั้ง ทำให้ เพิม่ จำนวนเซลล์ หรือเพิม่
ปริมาณยีนทีน่ ่ าสนใจ กระบวนการนีเ้ รียกว่ าการโคลนยีน (gene cloning)
5. การคัดเลือกเซลล์ ทมี่ ี DNA สายผสมตามทีต่ ้ องการ
การโคลน
ยีน
• ลูกลิงโคลนนิง่ คูแ ่ รกในจีน
• https://ngthai.com/animals/7317/first-monkey-clones/
1.การเตรียมยีน (gene)หรือ DNA ทีน่ ่ าสนใจ
การเตรียมชิ้นส่ วนยีนหรือ DNA ทีน่ ่ าสนใจมีหลายวิธีดงั นี้
1. การสกัดจากเซลล์ หรือเนือ้ เยือ่ ของสิ่ งมีชีวติ ทีต่ ้ องการศึกษา ซึ่งเป็ น DNA ทั้งหมดในจีโนมของ
สิ่ งมีชีวติ ชนิดนั้น เรียกว่ า genomic DNA
2. การเตรียม DNA จาก mRNA
– โดยใช้ เอนไซม์ reverse transcriptase
– จะได้ DNA ทีส่ ั งเคราะห์ ขนึ้ หรือถอดรหัสจาก mRNA เรียกว่ า complementary DNA
(cDNA)
3. การสั งเคราะห์ DNA โดยวิธีทางเคมี
– สามารถสั งเคราะห์ oligonucleotide ให้ มีลำดับเบสทีต่ ้ องการโดยเครื่องสั งเคราะห์
อัตโนมัติ
– มี 2 วิธีทใี่ ช้ กนั อย่ างกว้ างขวางคือ วิธี phosphate triester และวิธี phosphite triester
2. การตัด DNA อย่ างจำเพาะด้ วยเอนไซม์ ตดั จำเพาะ

• เอนไซม์ ตดั จำเพาะ (Restriction enzyme or restriction


endonuclease)
• แบบที่ 2 (type II) เป็ นเอนไซม์ ทใี่ ช้ กนั มากในการ
ตัดต่ อยีน
• ประกอบด้ วยโพลีเพพไทด์ เพียงชนิดเดียว
• การตัด DNA จะเกิดทีต่ ำแหน่ งจำเพาะในบริเวณจดจำ
(recognition site) หรือจุดใกล้กบั บริเวณจดจำ ทำให้ ได้ ชิ้น
ขนาด DNA ทีม่ ขนาดแน่
ี ขนาดแน่นอน
ตัวอย่ างเอนไซม์ ตดั จำเพาะ
(restriction enzyme)
Blunt end vs. sticky end
3. การเชื่อมต่ อชิ้นส่ วนของ DNA ทีแ่ ยกได้ กบั
DNA พาหะ (vector)
• การเชื่อมต่ ออาศัยเอนไซม์ ligase
• การทำพันธุวศิ วกรรมต้ องนำ DNA ทีส่ นใจเข้ าสู่ ภายในเซลล์ ผู้รับ โดยอาศัย DNA พาหะ (vector)
• คุณสมบัติของ DNA พาหะ (vector)มีดงั นี้
– มีส่วนของ DNA ทีเ่ ป็ นจุดเริ่มในการจำลองตัว (origin of replication,ORI) ทำให้ สามารถ
เพิม่ จำนวนตัวเองได้ พร้ อมๆ กับ DNA ทีใ่ ส่ เข้ าไป
– มียนี เครื่องหมาย (marker gene) สำหรับใช้ ในการคัดเลือก เช่ น ยีนทีด่ อื้ ยาปฏิชีวนะ ยีนที่
เกีย่ วกับการสร้ างหรือสลายกรดอะมิโนและน้ำตาลบางชนิด
– มีบริเวณจดจำของเอนไซม์ ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดเพียง ตำแหน่ งเดียวในโมเลกุล
ของ DNA พาหะ (unique or polylinker site)
ชนิดของ DNA พาหะ(vector)
ขึน้ อยู่กบั ขนาดของ DNA ทีน่ ำมาเชื่อมและเซลล์ ผู้รับ
ตารางแสดง DNA พาหะ(vector)ชนิดต่ างๆและขนาดของชิ้น DNA ทีแ่ ทรกในพาหะได้
เซลล์ผรู้ บั
DNA พาหะ (vector) รูปร่าง ขนาดของชิ้น DNA ที่แทรกได้
(host)
Plasmid DNA สายคู่, วงกลม E. coli ยาวได้ถึง 10 กิโลเบส
E. coli
Bacteriophage DNA สายตรง, ไวรัส ยาวได้ถึง 20 กิโลเบส

E. coli
Cosmid DNA สายคู่, วงกลม 30-50 กิโลเบส

Yeast Artificial โครโมโซม 250-1000 กิโลเบส (1 เมกะ


yeast
Chromosome-YACs เทียม,ยีสต์ เบส)
pBR322, 4.36kb
Plasmid
Fig. 14-9: Cloning by cosmids. The cosmid is cut at a BglII site next to the cos site. Donor genomic DNA is cut
using Sau3A, which gives sticky ends compatible with BglII. A tandem array of donor and vector DNA results
from mixing. Phage is packaged in vitro by cutting at the cos site. The cosmid with inserts recircularizes once in
the bacterial cell.
4. การนำพาหะ (vector) ทีม่ ยี นี ทีส่ นใจแทรกอยู่ หรือ DNA สายผสม ใส่ เข้ าไปในเซลล์
ผู้รับ
• ขั้นตอนการนำ DNA สายผสม ใส่ เข้ าไปในเซลล์ ผู้รับมีหลายวิธี คือ
4.1 Transformation
• เป็ นการนำ DNA ในรู ปplasmidเข้ าสู่ เซลล์ ผู้รับ
• เซลล์ ผู้รับทีน่ ิยมใช้ กนั มากคือ E. Coli
• โดยทำให้ เซลล์ ผู้รับเป็ น competent cell ก่ อน มีสองวิธีคอื
– การใช้ สารเคมี เช่ น dimethyl sulfoxide-DMSO, CaCl2, MgCl2
– Electroporation- ใช้ กระแสไฟฟ้าทำให้ เกิดรู ทเี่ ยือ่ หุ้มเซลล์ ทำให้
DNA หรือพลาสมิดเข้ าสู่ เซลล์ ได้
– การใช้ แสงlaser ทำให้ เกิดรู ทเี่ ยือ่ หุ้มเซลล์
4.2 Transfection
– เป็ นการนำ DNA ของphageทีม่ ขี นาดเล็ก เช่ น M13 เข้ าสู่ เซลล์ ผู้รับ
– เมือ่ แบคทีเรียได้ รับ DNA ของphageจำนวนมาก เซลล์ จะแตกและ phage จะ
บุกรุกเซลล์ อนื่ ต่ อไปทำให้ เกิดจุดใส (clear plaque)
– จุดใส (clear plaque)คือจำนวน DNA ของphageทีเ่ ข้ าสู่ เซลล์ แบคทีเรีย
4.3 Transduction
– เป็ นการนำ DNA ของcosmid,lamda phage ทีม่ ขี นาดใหญ่ เข้ าสู่ เซลล์ ผู้รับ
– โดยบรรจุลงในอนุภาคของ phage ก่ อนแล้ วจึงนำเข้ าเซลล์
– วิธีนีม้ ปี ระสิ ทธิภาพสู งกว่ า Transformation
จุดใส (clear plaque)
คือจำนวน DNA ของphageที่เข้าสู่เซลล์แบคทีเรีย
5.การคัดเลือกเซลล์ ทมี่ ี DNA สายผสมตามทีต่ ้ องการ
5.1 การคัดเลือกโดยอาศัยลักษณะ (phenotype)
– เป็ นการอาศัยการแสดงออกของยีนเครื่องหมาย (marker
gene) และมีการสร้ างโปรตีนออกมา
– เช่ น การสร้ างเอนไซม์ บางชนิดทีท่ ำให้ เกิด clear zone ใน
อาหารเลีย้ งเชื้อทีม่ ี substrate (IPTG) อยู่
– หรือพบลักษณะการดือ้ ยาในเซลล์ผู้รับทีไ่ ด้ รับมาจากพลา
สมิด
5.2 การคัดเลือกโดย DNA hybridization
– อาศัยการจับคู่กนั ของสาย DNA ทีเ่ ป็ นตัวติดตาม (probe)
กับ DNA เป้ าหมายทีต่ ้ องการตรวจหาทีม่ ลี ำดับเบสคู่สมกัน
บน membrane
– โดย probe จะติดฉลากด้ วยสารไอโซโทปหรือเอนไซม์
5.3 การคัดเลือกโดยวิธีทางอิมมิวโนวิทยา
– ทำได้ เมือ่ โคลนทีต่ ้ องการแสดงออกได้ โดยผลิตโปรตีน แต่
โปรตีนไม่ แสดงลักษณะหรือ phenotype
ทีช่ ัดเจน
– เป็ นการตรวจสอบโปรตีนทีเ่ ซลล์ผลิตขึน้ โดยใช้ แอนติบอดีที่
จำเพาะกับโปรตีนทีต่ ้ องการนั้น
การคัดเลือกโดยอาศัยลักษณะ (phenotype)

• Plasmid/phageทีม่ สี ่ วนของยีนทีส่ ร้ าง b-galactosidase จะสร้ างเฉพาะ a-fragment


• เมือ่ Plasmid/phage ถูกนำเข้ าสู่ แบคทีเรีย ภายใต้ ภาวะทีถ่ ูกกระตุ้นด้ วย IPTG จะทำให้ มี
การสร้ าง b-galactosidaseในแต่ ละ fragment ซึ่งสามารถเปลีย่ น X-gal ให้ เป็ นสี น้ำเงินได้
• แต่ ถ้ามี foreign DNA มาเชื่อมจะทำให้ เกิดการทำงานของยีนดังกล่าวบกพร่ อง
• ไม่ มกี ารสร้ าง b-galactosidase ไม่ สามารถเปลีย่ น X-gal ได้ จึงให้ โคโลนีสีขาว
Polymerase Chain Reaction (PCR)
• เพิม่ จำนวน DNA ในหลอดทดลอง
• เครื่องมือ thermocycler
(เครื่ องมือที่เรี ยกว่า "เทอร์ มอไซเคลอร์ (thermocycler)")
ขั้นตอนของกระบวนการ PCR
1. การแยกสายดีเอ็นเอเกลียวคู่ออกจากกัน (Denaturation) ใช้ อุณหภูมิ
ประมาณ 94 องศาเซลเซียส เมือ่ เริ่มต้ นดีเอ็นเอแม่ แบบ จะอยู่ในลักษณะที่
เป็ นเกลียวคู่ เมือ่ เพิม่ อุณหภูมถิ งึ ประมาณ 94 องศาเซลเซียส จะทำให้ พนั ธะ
ไฮโดรเจนระหว่ างคู่เบสของดีเอ็นเอถูกทำลาย ทำให้ เส้ นดีเอ็นเอแยกออกจาก
กัน
2. การจับของไพรเมอร์ กบั DNA แม่ แบบ (Annealing) เมือ่ แยกสายดีเอ็นเอ
ออกจากกันแล้ ว จะลดอุณหภูมลิ งเหลือ 40 - 62 องศาเซลเซียส เพือ่ ให้
ดีเอ็นเอสั งเคราะห์ ขนาดสั้ นประมาณ 15 - 25
คู่เบส ทีเ่ รียกว่ า ไพร์ เมอร์ (Primer) เข้ ามาจับบริเวณทีม่ ลี ำดับเบสคู่สมกัน
ในการสั งเคราะห์ ดเี อ็นเอ
3. การสั งเคราะห์ DNA สายใหม่ ต่อจากไพรเมอร์ (Extension) ใช้
อุณหภูมิ ประมาณ 68-72 องศาเซลเซียส ในขั้นตอนนีจ้ ะเป็ นการ
สร้ างสายดีเอ็นเอต่ อจาก
ไพร์ เมอร์ โดยอุณหภูมทิ ใี่ ช้ จะพอเหมาะกับ การทำงานของ Taq
DNA polymerase
• http://www.maxanim.com/genetics/PCR/
pcr.swf
• http://www.sciencemedia.com/website/
demos/biochem/PCRMutagenesis.swf
ลายพิมพ์ DNA (DNA Fingerprint)
ลายพิมพ์ DNA (DNA Fingerprint)
DNA ทั้งหมดของสิ่ งมีชีวติ นั้นประกอบด้ วย 2 ส่ วน  
• coding DNA     ทำหน้ าทีค่ วบคุมการสร้ างโปรตีนทีม่ คี วาม
สำคัญต่ อกลไกต่ างๆ ภายในร่ างกาย  ซึ่งจะมีอยู่เพียงร้ อยละ 5
ของชุ ด DNAทั้งหมด 
• noncoding DNA  ร้ อยละ 95 มีส่วนหนึ่งทีเ่ ป็ นเบสซ้ำต่ อเนื่อง
(tandem repeat)  อยู่หลายตำแหน่ ง  
Tandem Repeat
เบสซ้ำต่ อเนื่องนีเ้ องทีน่ ำมาทำเป็ นลายพิมพ์ดเี อ็นซึ่งเป็ นเครื่องหมาย
พันธุกรรม  ทำให้ สามารถรู้ ลกั ษณะของจำนวนการซ้ำของท่ อน DNA
 แต่ ละชุดในแต่ ละตำแหน่ งบนสาย DNA  ของสิ่ งมีชีวติ และบุคคลได้   
สามารถใช้ ความแตกต่ างกันของขนาดและจำนวนการซ้ำของท่ อน
DNA แต่ ละชุ ดนี้ บ่ งบอกถึงข้ อมูลพันธุกรรมเฉพาะของแต่ ละ
บุคคลได้   
หลักการทำงานของเทคโนโลยีลายพิมพ์ DNA
1. เก็บตัวอย่ างเซลล์ ตัวอย่ างต้ องมี DNA ทีม่ คี ุณภาพ ไม่ เสื่ อมสลาย
(ปัจจัยทีท่ ำให้ DNA เสื่ อมสลายคือ ระยะเวลา อุณหภูมิ ความชื้น
แสงแดด สารเคมี จุลนิ ทรีย์ ฯลฯ)
2. สกัด DNA จากเซลล์ ของตัวอย่ าง
3. ตรวจลายพิมพ์ ดเี อ็นเอ หลักการคือ เลือกตัด DNA ในส่ วนทีแ่ สดง
เอกลักษณ์ เฉพาะบุคคล โดยใช้ restriction enzyme จากนั้นนำชิ้นส่ วน
DNA ทีถ่ ูกตัดมาวิเคราะห์ ตามขนาดด้ วยวิธี Gel Electrophoresi
4. แปลผลลายพิมพ์ DNA โดยการอ่ านผลจากลักษณะตำแหน่ งของแถบดี
เอ็น หรือกราฟทีไ่ ด้
ประโยชน์ ของลายพิมพ์ DNA
• ใช้ พสิ ู จน์ ความสั มพันธ์ ทางสายเลือด
• ใช้ ในการติดตามการรักษาผู้ป่วยทีไ่ ด้ รับการปลูกถ่ าย
ไขกระดูก ในการรักษาลูคเี มีย ผู้ป่วยต้ องรับการปลูกถ่ าย
ไขกระดูกจากผู้ให้ หากลายพิมพ์ดเี อ็นเอเลือดผู้ป่วย
เปลีย่ นไป แต่ ลายพิมพ์เซลล์ อนื่ ๆ เหมือนเดิม แสดงว่ า
ร่ างกายไม่ ปฏิริริยาต่ อต้ านไขกระดูกจากผู้ให้
• ใช้ พสิ ู จน์ หลักฐานทางนิตเิ วชศาสตร์
Gel Electrophoresis
Electrophoresis เป็ นเทคนิคทีใ่ ช้ แยกโมเลกุลของสารทีม่ ี
ประจุออกจากกันโดยใช้ กระแสไฟฟ้า
สารทีม่ ปี ระจุน้ันเคลือ่ นทีผ่ ่ านตัวกลางชนิดหนึ่งในสารละลาย
สารทีป่ ระจุต่างกันจะเคลือ่ นทีไ่ ปในทิศทางตรงกันข้ าม
อัตราการเคลือ่ นทีย่ งั ขึน้ อยู่กบั ขนาด รู ปร่ างโมเลกุล แรง
เคลือ่ นไฟฟ้ าและตัวกลางทีใ่ ช้ ด้วย
โมเลกุลของ DNA ประกอบด้ วยหมู่ฟอสเฟตจำนวนมาก
สารละลายของ DNA จึงมีประจุเป็ นลบที่ pH เป็ นกลาง
เมือ่ อยู่ในสนามไฟฟ้าโมเลกุลของ DNA จะเคลือ่ นทีจ่ าก
ขั้วลบไปยังขั้วบวก
ความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องโมเลกุล DNA จึงขึน้ อยู่กบั
ขนาดเป็ นส่ วนใหญ่ อย่ างไรก็ตามมีปัจจัยอืน่ ทีม่ ผี ลต่ อการ
เคลือ่ นทีข่ องโมเลกุล DNA ด้ วยดังนี้
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีของ DNA
1. เชิงการแพทย์ และเภสั ชกรรม
• การวินิจฉัยโรค
• การบำบัดด้ วยยีน
• การสร้ างผลิตภัณฑ์ ทางเภสั ชกรรม
2. เชิงนิตวิ ทิ ยาศาสตร์
3. เชิงการเกษตร
• การทำฟาร์ มสั ตว์ เพือ่ สุ ขภาพมนุษย์
• การสร้ างสิ่ งมีชีวติ ดัดแปลงพันธุกรรม (transgenic
organisms)
4. การใช้ พนั ธุศาสตร์ เพือ่ ศึกษาค้ นคว้ าหายีนและ
หน้ าทีข่ องยีน
5. การประยุกต์ ใช้ เพือ่ สิ่ งแวดล้ อม
Title
• Text
8 การตัดต่ อพันธุกรรม สร้ างสิ่ งมีชีวติ สุ ดประหลาด!

• http://www.clipmass.com/story/91463
• Venomous cabbage : กะหล่ำปลีพษิ แมงป่ อง
• เมื่อกะหล่ำปี มารวมตัวกับพิษจากหางแมงป่ อง ก่อให้เกิดเป็ นกะหล่ำปลีสุด
สะพรึ งที่มีพิษอยูใ่ นตัวเอง ซึงเมื่อมีหนอน หรื อแมลงกัดเข้าไปแค่ค ำเดียว
พิษแมงป่ องก็จะเข้าขู่โจม ทำให้มนั กลายเป็ นกะหล่ำปี ที่ไม่สารพิษจากยา
ฆ่าแมลงตกค้าง แค่มีพิษจากแมงป่ องแค่น้ นั เอง โดยที่พิษนี้ จะเป็ นอันตราย
ต่อศัตรู พืชของกะหล่ำปี เท่านั้น  และปลอดภัยสำหรับคนกิน...แต่จะ
แน่นอน 100% หรื อเปล่าอันนี้เราไม่ฟันธง
•  Human milk from cow : วัวผลิตน้ำนมคน
• นักวิทยาศาสตร์อาร์เจนตินาโชว์เทพ ด้วยการโคลนนิ่งวัวที่มียนี ส์ของคน
ผสมอยูช่ ื่อว่า ‘โรสิ ตา ไอเอสเอ’ ก่อเกิดเป็ นวัวสายพันธุ์ใหม่ที่ผลิตนมซึ่ ง
มีคุณค่าทางอาหารสู งเทียบเท่านม ของคน โดยมีโปรตีนซึ่ งเป็ นสาร
อาหารสำคัญอย่าง แลคโตเฟอริ น (Lactoferrin) และ แลคโตเฟอริ น
(Lactoferrin) ที่ช่วยยับยั้งการเจริ ญเติบโตของของจุลินทรี ย ์ เช่น เชื้อรา
และช่วยต่อต้านเชื้อโรคต่างๆ อีกด้วย
• Three eyes tadpoles : ลูกอ๊ อด 3 ตา
• มหาวิทยาลัย Warwick ซึ่งนำทีมโดย Nick Dale และ Elizabeth Jones ศาสตราจารย์
สาขาวิทยาศาสตร์ชีววิทยาได้ตีพิมพ์ผลงานชวนตะลึงเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2007 นัก
วิจยั ในทีมค้นพบว่า ATP หรื อ Adenosine Triphosphate เป็ นสารที่ให้พลังงานแก่
เซลล์น้ นั มีอิทธิพลต่อการพัฒนาการเคลื่อนไหวของกบ โดยทีมนักวิจยั นำโมเลกุลที่
เรี ยกว่า “ectoenzymes” ใส่ เข้าไปในตัวอ่อนของกบ จากนั้นรอให้เซลล์เจริ ญเติบโต
ตัวอ่อนเหล่านี้กจ็ ะกลายเป็ นลูกอ๊อดที่มี 3 ตา แค่น้ นั ยังไม่พอนักวิจยั ต้องอึ้งต่อ
ระลอก 2 เมื่อเซลล์มีการเจริ ญเติบโตบนส่ วนอื่นนอกจากตา เช่น ส่ วนหาง และหน้า
ท้อง ส่ วนที่ท ำไปทั้งหมดนั้นก็เพื่อนำไปรักษามนุษย์ที่สูญเสี ยการมองเห็น
นัน่ ...งานนี้ตอ้ งขอขอบคุณลูกอ๊อดซะแล้ว
• GM mosquito : ยุงสายพันธุ์ใหม่ ปลอดไข้ มาลาเรีย
• โรคมาลาเรี ยเกิดจากปรสิ ต ’พลาสโมเดียม’ ที่อยูใ่ นน้ำลายยุง จากนั้นจะเข้าสู่ คน
เมื่อโดนกัด นักวิจยั ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริ กาจึงได้ท ำการทดลองดัดแปลง
ยีนยุง เพื่อให้ยงุ มีภูมิตา้ นทานปรสิ ต ‘พลาสโมเดียม’ และเมื่อนำยุงที่ผา่ นการตัดต่อ
ยีนไปปล่อยสู่ธรรมชาติ ยุงเหล่านี้จะเข้าไปแย่งผสมพันธุ์กบั ยุงสายพันธุ์เดิม และยุง
ที่เกิดมาใหม่น้ นั จะเป็ นยุงที่ไม่แพร่ เชื้อมาลาเรี ย อัตราการเกิดโรคนี้กจ็ ะลดลง แต่วา่
โครงการนี้ยงั อยูใ่ นขั้นการทดลอง ซึ่งถ้าจะทำได้จริ งๆนั้น ต้องนำยุงปล่อยสู่
ธรรมชาติไม่ใช่แค่การทดลองในห้องแล็บเท่านั้น และยังต้องคำนึงถึงสภาพ
แวดล้อม และผลกระทบอื่น ๆ ที่จะตามมาเป็ นขบวนอีกด้วย
•  Mouse frozen cloned : โคลนนิ่งหนูแช่ แข็ง
• ทีมนักวิจยั ของสถาบัน Riken ประเทศญี่ปุ่นโชว์เทพ โคลนนิ่งหนูตายที่
ถูกแช่แข็งไว้นานถึง 16 ปี ในอุณหภูมิ -20 องศาเซลเซี ยส โดยการการ
เอานิวเคลียสบริ เวณสมองที่ไม่ได้โดนนำแข็งทำลาย เหมือนกับเซสล์ใน
บริ เวณอื่น ๆ เนื่องจากมีไขมันห่อหุม้ อยูจ่ ากหนูที่ถูกแช่แข็ง ไปฉี ดใส่ หนู
อีกตัวที่ยงั มีชีวติ เพื่อเป็ นหนูอุม้ บุญ จากนั้น 3 สัปดาห์ หนูอุม้ บุญก็จะ
คลอดหนูตวั ใหม่ที่มี DNA เหมือนกับหนูที่ตายไปแล้วเป๊ ะๆ ทั้งนี้ท้ งั นั้น
การทดลองสำเร็ จไปได้ดว้ ยดี หนูที่คลอดออกมามีสุขภาพร่ างกายแข็ง
แรง สมบูรณ์ทุกประการ ผสมพันธุ์ได้ตามปกติ ส่ วนขั้นต่อไปนักวิจยั
หวังว่ามันจะสามารถคืนชีพให้กบั แมมมอธ และสัตว์สูญพันธุ์อื่นๆ ให้
กลับมามีชีวติ ลั้ลลากันบนโลกได้อีกครั้งหนึ่ง
• Glow in the Dark Pigs : หมูเรืองแสง
• เรื่ องหมูๆ ที่ท ำให้ทวั่ โลกต่างตะลึงเมื่อนักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย
South China Agriculture ประเทศจีนได้พฒั นาหมูเรื องแสง โดยฉี ดโปร
ตีนฟลูออเรสเซนต์จากแมงกะพรุ นเข้าไปในเซลล์ตวั อ่อนหมู ให้หมูเรื อง
แสงจากภายในสู่ ภายนอก จุดประสงค์ให้นกั วิจยั สามารถเห็นพัฒนาการ
ของเนื้อเยือ่ เพื่อนำพัฒนายาที่มีประสิ ทธิภาพสำหรับมนุษย์ เพราะนัก
วิทยาศาสตร์เชื่อว่าร่ างกายของหมูมีสภาพเหมือนของมนุษย์มากที่สุด
กลายเป็ นว่าเรื่ องหมูๆ มันไม่หมูอีกต่อไป เพราะมันได้กลายเป็ นหมูพลี
ชีพให้เราทดลองไปซะแล้ว
• Spider Goats : แพะแมงมุม
• การข้ามสายพันธุ์สุดประหลาดระหว่างแมงมุม และแพะ โดยนักวิจยั จาก
มหาวิทยาลัยไวโอมิง ทำการตัดต่อยีนจากแมงมุมไปใส่ ในตัวอ่อนของแพะ ก่อเกิด
เป็ นแพะสายพันธุ์ใหม่ที่ผลิตนมผสมโปรตีนใยไหม นอกจากนั้นยังนำมาทำเป็ น
เอ็นเทียม เสื้ อกันกระสุ น และอื่น ๆ อีกมากมาย แต่นกั วิจยั ยังไม่หยุดอยูแ่ ค่น้ นั แว่ว
ๆ มาว่า ต่อไปจะเป็ นการพัฒนานำยีนไหมไปใส่ ในถัว่ เพื่อให้ได้นมถัว่ เหลืองที่มี
โปรตีน สูงยิง่ กว่าเวอร์ชนั่ เดิม บางคนอาจสงสัยแล้วทำไมไม่เลี้ยงแมงมุมมันซะเลย
ล่ะไปทำกับแพะอย่างนั้นทำไม เหตุเป็ นเพราะว่าแมงมุมจะมีนิสยั ปกป้ องรังของตัว
เอง เวลาที่เลี้ยงไว้มากๆ มันจะต่อสู้กนั เองจนตายกันเกลื่อนกลาด สุ ดท้ายนัก
วิทยาศาสตร์เลยต้องมาลงเอยที่แพะซะงั้น
• Twin town in Brezil : เมืองฝาแฝดในบราซิล
• ดร.โจเซฟ แม็งเกเล่ (Josef Mengele) นักวิทยาศาสตร์ในค่าย Auschwitz ของพรรคนาซี นัก
วิทยาศาสตร์ผชู ้ ้ ีเป็ นชี้ตายแก่นกั โทษ ด้วยหน้าตาท่าทางหล่อเหลา และทำการทดลองมหาโหด
อย่างสุ ดขั้ว จนได้รับฉายาว่า เทพเจ้าแห่งความตาย (Angel of Death) ซึ่งภารกิจของเขาคือ การ
ค้นคว้าความลับทางพันธุกรรมของพวกฝาแฝดเพื่อสร้างชนเผ่าอารยันที่สมบูรณ์ แบบ ตาม
ความต้องการของผูน้ ำสูงสุ ดของเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) 
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แม็งเกเล่ หลบหนีไปประเทศบราซิล หากแต่ยงั ไม่หยุดทำการ
ทดลองทางพันธุกรรมชิ้นนี้  หลักฐานคือชาวเมืองในแคนดิดู โกดอล เมืองเล็กๆ ในประเทศ
บราซิล 80 ครัวเรื อนในพื้นที่ 1 ตารางไมล์ จะให้ก ำเนิดเด็กแฝดถึง 38 คู่ และแต่ละคู่จะมีผมสี
ทอง ตาสี ฟ้าเหมือนกันหมด แต่อย่างไรก็ตามผูเ้ ชี่ยวชาญเชื่อว่าการที่ชาวเมืองมีลูกแฝดผมทอง
ตาฟ้ านั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกับแม็งเกเล่เลย แต่หากเป็ นเพราะเมืองถูกตัดขาดจากภายนอก
เป็ นเวลานาน พันธุกรรมที่ได้รับจากบรรพบุรุษกลุ่มแรก ๆ จึงยังไม่มีการผสมของเชื้อชาติ
นัน่ เอง
•  

You might also like