You are on page 1of 53

7

กระบวนการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การศึกษาพันธุศาสตร์ ของเมนเดล

เกรเกอร์ เมนเดล (Gregory Mendel) บาทหลวงชาวออสเตรี ย เกิดเมื่อ พ.ศ.


2365 เป็ นบุตรชาวสวน จึงมีโอกาสได้เรี ยนรู ้วธิ ีการผสมพันธุ์และปรับปรุ งพันธุ์พืชมา
ตั้งแต่เด็ก เมื่อเป็ นบาทหลวงได้ทดลองปรับปรุ งพันธุ์พืชโดยเฉพาะถัว่ ลันเตา ซึ่งทาไป
พร้อม ๆ กับงานสอนศาสนา และเมนเดลพบว่า “ลักษณะทีป่ รากฏในลูกเป็ นผลมาจาก
การถ่ ายทอดหน่ วยทีค่ วบคุมลักษณะต่ าง ๆ ซึ่งได้ จากพ่อแม่ โดยผ่ านทางเซลสื บพันธุ์”

เมื่อปี พ.ศ. 2408 เมนเดลได้เสนอผลการศึกษาค้นคว้าต่อสมาคมธรรมชาติ


ที่เมืองบรู นน์ (Brunn) ในประเทศออสเตรเลีย ต่อมาได้รับการยกย่องเป็ น “บิดาแห่ ง
พันธุศาสตร์ ”
เมนเดลเลือกใช้ตน้ ถัว่ ลันเตา (Pisum
sativum) เพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม โดยมีเหตุผลหลายประการ ดังนี้
1. ปลูกง่าย อายุส้ นั เจริ ญเติบโตเร็ว
ให้ผลดก
2. มีหลายพันธุ์ มีลกั ษณะแตกต่างกันชัดเจน
สามารถคัดเลือกลักษณะที่ตอ้ งการได้ง่าย
3. ดอกถัว่ ลันเตาเป็ นดอกสมบูรณ์เพศ
มีการผสมในดอกเดียวกัน และสามารถควบคุม ภาพ 2-1 เกรเกอร์ เมนเดล
การทดลองให้ผสมข้ามต้นได้ง่าย ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contes
t2551/science03/53/2/heredity/pictures/mendel.jpg
(10 เมษายน 2555)
8

เมนเดลได้ทาการทดลองผสมพันธุ์ถวั่ ลันเตา ที่มีประวัติวา่ มีตน้ สู งทุกรุ่ นกับ


ต้นเตี้ย ผลปรากฏว่ารุ่ นลูกหรื อรุ่ น F1 (first filial generation) เป็ นต้นสู งทั้งหมด และ
เมื่อเมนเดลนาเอาเมล็ดที่เกิดจากการผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกันของรุ่ น F1 ไปเพาะเมล็ด
ซึ่งเป็ นรุ่ นหลานหรื อรุ่ น F2 (second filial generation) ปรากฏว่ามีตน้ สู งมากกว่าต้นเตี้ย
ในอัตราส่ วน 3:1

รุ่นพ่ อแม่

ต้นเตี้ย ต้นสู ง

รุ่นลูก : F1

ต้นสู งทั้งหมด

ผสมรุ่นลูก : F1  F1

รุ่นหลาน : F2

ต้นสู ง : ต้นเตี้ย = 3 : 1

ภาพ 2-2 แผนภาพแสดงการผสมพันธุ์ถวั่ ลันเตา


ที่มา : http://www.skoolbuz.com/library/content/2922 (10 เมษายน 2555)
9

เมนเดลอธิบายผลการทดลองว่า ลักษณะต้นสู งที่ปรากฏในทุกรุ่ น เรี ยกว่า


ลักษณะเด่ น (dominant) ส่ วนลักษณะต้นเตี้ยที่มีโอกาสปรากฏในบางรุ่ น เรี ยกว่า
ลักษณะด้ อย (recessive) เมนเดลได้ทาการทดลองแบบเดียวกันนี้กบั ลักษณะอื่น ๆ
ของถัว่ ลันเตาอีก 6 ลักษณะ ปรากฏว่าได้ผลออกมาในทานองเดียวกัน

ลักษณะต่าง ๆ ของถัว่ ลันเตาที่เมนเดลใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะ


ทางพันธุกรรม
1. รู ปร่ างของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดขรุ ขระ (round & wrinkled)
2. สี ของเมล็ด – สี เหลือง และ สี เขียว (yellow & green)
3. สี ของดอก – สี ม่วง และ สี ขาว (violet & white)
4. รู ปร่ างของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted)
5. สี ของฝัก – สี เขียว และ สี เหลือง (green &yellow)
6. ตาแหน่งของดอก - ลาต้น และปลายยอด (axial & terminal)
7. ความสู งของลาต้น – สู ง และ เตี้ย (long & short)

ภาพ 2-3 ลักษณะต่าง ๆ ของถัว่ ลันเตาที่เมนเดลใช้ในการศึกษา


ที่มา : http://upic.me/i/9e/592px-mendel_seven_characters_svg.png (10 เมษายน 2555)
เมนเดลสรุ ปผลการทดลองว่าลักษณะต่าง ๆ ของถัว่ ลันเตาต้องมีหน่วยพันธุกรรม
ควบคุมลักษณะแต่ละลักษณะ ต่อมาหน่วยพันธุกรรมนี้ เรี ยกว่า ยีน (gene)
10
แบบฝึ กหัด10ที่ 1
เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ ของเมนเดล

ชื่อ...................................................นามสกุล............................ชั้น............ เลขที่.........

คาชี้แจง

ให้นกั เรี ยนเติมคาตอบในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง


และได้ใจความสมบูรณ์ (ข้อละ 1 คะแนน)

1. บิดาแห่งพันธุศาสตร์ คือ ....................................................................................


2. เมนเดลใช้ถวั่ ลันเตาในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพราะ
มีลกั ษณะที่เหมาะสม ได้แก่ (ตอบ 3 ลักษณะ).....................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
3. ลักษณะของถัว่ ลันเตาที่เมนเดลใช้ศึกษาเป็ นพันธุ์แท้หรื อพันธุ์ทาง.......................
4. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่ นลูกหรื อรุ่ น F1 มี..............ลักษณะ เรี ยกลักษณะที่ปรากฏ
ในรุ่ น F1 ว่า..........................................................................................................
5. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่ นหลานหรื อ F2 มี.............ลักษณะ ได้แก่.............................
........................................................................มีอตั ราส่ วน....................................
11
11

กระบวนการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

หลักการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. หน่ วยพันธุกรรมหรือยีน (gene) หมายถึง สิ่ งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
ของสิ่ งมีชีวติ ซึ่งจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังรุ่ นต่อไปได้ ยีนอยูบ่ นโครโมโซม มีลกั ษณะ
เรี ยงกันเหมือนสร้อยลูกปั ด ยีนแต่ละตัวจะควบคุมลักษณะต่าง ๆเพียงลักษณะเดียว
ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ DNA ที่เกิดจากการต่อกันเป็ นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรี ยกว่า
นิวคลีโอไทด์ (nucleotide)

ภาพ 2-4 แสดงโครงสร้างของยีน


ที่มา : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/0/07/Gene.png/250px-Gene.png
(10 เมษายน 2555)

ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม มี 2 ชนิด คือ

1) ยีนเด่ น (dominant gene)


คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ แม้มียนี นั้นเพียงยีนเดียว

2) ยีนด้ อย (recessive gene)


คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อ
มียนี ด้อยทั้งสองยีนอยูบ่ นคู่โครโมโซม
12
12

2. คู่ของยีน โครโมโซมของสิ่ งมีชีวติ แต่ละชนิดมีลกั ษณะรู ปร่ างเหมือนกัน


เป็ น คู่ ๆ ยีนที่อยูบ่ นโครโมโซมก็จะอยูเ่ ป็ นคู่ดว้ ยเช่นกัน โดยยีนที่ควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรมลักษณะเดียวกันจะอยูบ่ นโครโมโซมที่ตาแหน่งเดียวกัน เซลล์ร่างกาย
ของสิ่ งมีชีวติ มีโครโมโซมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่ 2 ชุด เข้าคู่กนั
เรี ยกว่า โครโมโซมคู่เหมือนหรือฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosomes)
ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น ลักษณะสี ตา จะพบว่า
มียนี ที่ควบคุมลักษณะสี ตาอยูบ่ นโครโมโซมแท่งหนึ่ง โครโมโซมคู่เหมือนก็จะมียนี
ที่ควบคุมลักษณะสี ตาด้วยเช่นกัน

โครโมโซมคู่เหมือน คู่ของโครโมโซม

ภาพ 2-5 แสดงโครโมโซมคู่เหมือนและคู่ของโครโมโซม


ที่มา : http://www.bbc.co.uk/schools/gcsebitesize/science/add_aqa_pre_2011/celldivision/inheritance1.shtml
(10 เมษายน 2555)

2.1 แอลลีน(allele)
คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรู ปแบบกันแม้จะอยูบ่ นโครโมโซม
คู่เหมือนตรงตาแหน่งเดียวกัน เช่น ลักษณะของติ่งหูจะมียนี ควบคุม อยู่ 2 แบบ
คือ แอลลีนที่ควบคุมการมีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็ น B ) และแอลลีนควบคุม
การไม่มีติ่งหู (ให้สัญลักษณ์เป็ น b)
13
13

2.2 จีโนไทป์ (genotype)


คือ ลักษณะการจับคู่กนั ของยีน มี 2 ลักษณะได้แก่
1) ลักษณะพันธุ์แท้ (homozygous) เป็ นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีน
เหมือนกัน เช่น แอลลีนควบคุมการมีติ่งหู (BB) แอลลีนควบคุมการไม่มีติ่งหู (bb)
2) ลักษณะพันธุ์ทาง (heterozygous) เป็ นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีน
ต่างกัน เช่น แอลลีนควบคุมการมีติ่งหูจบั คู่กบั แอลลีนควบคุมการไม่มีติ่งหู (Bb)

2.3 ฟี โนไทป์ (phenotype)


คือ ลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมาให้เห็น เช่น ลักษณะสี ผวิ
ความสู ง จานวนชั้นของหนังตา เป็ นต้น

น้องๆ รู ้ไหมว่า...นักพันธุศาสตร์ใช้ตวั อักษรหรื อสัญลักษณ์


แทนยีน โดยใช้อกั ษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนยีนที่ควบคุม
ลักษณะเด่น และอักษรตัวพิมพ์เล็กแทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เช่น
ให้ R แทนยีนควบคุมลักษณะเมล็ดกลม ซึ่งเป็ นลักษณะเด่น
r แทนยีนควบคุมลักษณะเมล็ดขรุ ขระ ซึ่งเป็ นลักษณะด้อย

ดังนั้นคู่ของยีน หรื อ จีโนไทป์ (genotype) ที่ควบคุม


ลักษณะของเมล็ดถัว่ ลันเตา มี 3 แบบ ได้แก่ RR, Rr และ rr
คู่ของยีนที่มียนี เหมือนกัน เรี ยกว่า พันธุ์แท้ มี 2 แบบ คือ
RR และ rr
คู่ของยีนที่มียนี ต่างกัน เรี ยกว่า พันธุ์ทาง หรื อลูกผสม
มี 1 แบบ คือ Rr
ลักษณะที่แสดงออกหรื อฟี โนไทป์ (phenotype) ของ
เมล็ดถัว่ ลันเตา มี 2 แบบ คือ เมล็ดกลม (RR,Rr) และเมล็ด
ขรุ ขระ (rr)
14
14

จากการใช้สัญลักษณ์แทนยีนจึงสามารถเขียนแผนภาพแทนยีนที่ควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรมและผลการถ่ายทอดลักษณะในการผสมพันธุ์ลกั ษณะต่าง ๆ ได้ เช่น
ตัวอย่ าง การผสมพันธุ์ระหว่างถัว่ ลันเตาดอกสี ม่วงพันธุ์แท้กบั ดอกสี ขาวพันธุ์แท้
และผลการผสมรุ่ นลูก (F1) ด้วยกัน
ให้ P แทนยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสี ม่วง
p แทนยีนที่ควบคุมลักษณะดอกสี ขาว
1. การผสมพันธุ์ระหว่ างถั่วลันเตาดอกสี ม่วงพันธุ์แท้ กบั ดอกสี ขาวพันธุ์แท้
ได้ผลการทดลอง ดังนี้

รุ่ นพ่อแม่(P)
PP pp

เซลล์สืบพันธุ์ P P p p

Pp Pp Pp Pp

P
รุ่ นลูก(F1)

ดอกสี ม่วงทุกดอก

ภาพ 2-6 แผนภาพแสดงการผสมพันธุ์ถวั่ ลันเตารุ่ นพ่อแม่(P)

ถ้านารุ่นลูกไปผสมกันเอง
รุ่นหลานจะเป็นอย่างไรนะ
15
15

2. การผสมพันธุ์ระหว่ างรุ่นลูก (F1) ด้ วยกัน ได้ผลการทดลองดังนี้

รุ่ นลูก(F1)
Pp Pp

เซลล์สืบพันธุ์ P p P p

Pp Pp pp
PP
รุ่ นหลาน(F2)

ดอกสี ม่วง ดอกสี ขาว

ภาพ 2-7 แผนภาพแสดงการผสมพันธุ์ถวั่ ลันเตารุ่ นลูก(F1)

จากผลการทดลองพบว่ายีนในเซลล์สืบพันธุ์ในรุ่ นลูก(F1)ที่อยูค่ ู่กนั จะแยกออกจาก


กันไปอยูค่ นละเซลล์ แล้วกลับมาเข้าคู่กนั ในรุ่ นหลาน(F2) ทาให้ได้แบบของยีน
3 แบบ คือ PP, Pp และ pp
ดังนั้นในรุ่ น F2 จึงมีอตั ราส่ วนระหว่างดอกสี ม่วง : ดอกสี ขาว = 3 : 1
หรื อมีดอกสี ม่วงร้อยละ 75
16
16

จากการศึกษาของเมนเดล ทาให้ทราบว่าสิ่ งมีชีวติ มียนี ทาหน้าที่กาหนดลักษณะ


ต่าง ๆ เช่น ความสู ง สี ผวิ ริ มฝี ปาก ลักยิม้ เป็ นต้น แต่เมนเดลไม่ทราบว่ายีนอยูท่ ี่ใด
ในเซลล์ของสิ่ งมีชีวติ และมีกลไกการถ่ายทอดลักษณะอย่างไร
ความสั มพันธ์ ระหว่ างหน่ วยพันธุกรรมกับโครโมโซม
ในปี พ.ศ. 2445 หลังจากการค้นพบของเมนเดล 2 ปี วอลเตอร์ ซัตตัน (Walter
Sutton) นักชีววิทยาชาวอเมริ กนั และเทโอดอร์ โบเฟรี (Theodor Boveri) นักชีววิทยา
ชาวเยอรมันได้เสนอว่ า “หน่ วยพันธุกรรมทีเ่ มนเดลค้ นพบอยู่บนโครโมโซม”
เนื่องจากโครโมโซมแท่งหนึ่ง ๆ จะมียนี อยูจ่ านวนมากมาย และจากการที่โครโมโซมอยู่
เป็ นคู่ ดังนั้นยีนที่อยูบ่ นโครโมโซมจึงอยูเ่ ป็ นคู่ดว้ ยเช่นกัน

ยีน 1 คู่

โครโมโซม 1 คู่

ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวติ จะมีจานวนมากกว่าจานวนโครโมโซมของ


สิ่ งมีชีวติ นั้นเสมอ ดังนั้นแต่ละโครโมโซมจึงมียนี อยูเ่ ป็ นจานวนมาก

ยีนควบคุมลักษณะผม
ยีนควบคุมลักษณะหนังตา

ยีนควบคุมลักษณะการมีลกั ยิม้ ยีนควบคุมลักษณะสันจมูก

1. 2.
17
17

แบบฝึ กหัดที่ 2
ภาโมโซม
เรื่อง หลักการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ชื่อ...................................................นามสกุล............................ชั้น............ เลขที่.........

คาชี้แจง
ตอนที่ 1 ให้นกั เรี ยนเติมเครื่ องหมายถูก ()
หน้าข้อความที่เห็นว่าถูกและเติม เครื่ องหมายผิด ( )
หน้าข้อความที่เห็นว่าผิด ข้อละ 1 คะแนน

1. หน่วยพันธุกรรมหรื อยีน (gene) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ของ


สิ่ งมีชีวติ ซึ่งจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังรุ่ นต่อไปได้
2. ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ RNA ที่เกิดจากการต่อกันเป็ นเส้นของโมเลกุลย่อย
ที่เรี ยกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
3. ยีนเด่น หมายถึงยีนที่แสดงลักษณะนั้น ๆ ออกมาได้เมื่ออยูค่ ู่กบั ยีนเด่นเท่านั้น
4. เซลล์ร่างกาย ของสิ่ งมีชีวิตมีโครโมโซมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูล
ทางพันธุกรรมอยู่ 2 ชุด เข้าคู่กนั เรี ยกว่า โครโมโซมคู่เหมือน
5. ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรู ปแบบกันแม้จะอยูบ่ นโครโมโซม
คู่เหมือนตรงตาแหน่งเดียวกัน เรี ยกว่า แอลลีน (allele)
6. จีโนไทป์ (genotype) คือ ลักษณะการจับคู่กนั ของยีน
7. ฟี โนไทป์ (phenotype) คือลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมาให้เห็น
8. ลักษณะพันธุ์แท้ (homozygous) เป็ นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีนต่างกัน
9. นักชีววิทยาที่เสนอว่า “หน่วยพันธุกรรมที่เมนเดลค้นพบอยูบ่ นโครโมโซม”
คือ วอลเตอร์ ซัตตัน และเทโอดอร์ โบเฟรี
10. ยีนอยูเ่ ป็ นคู่ ๆ บนโครโมโซม
18

18

คาชี้แจง

ตอนที่ 2 ให้นกั เรี ยนเติมคาหรื อตอบคาถามต่อไปนี้ให้


ถูกต้องและสมบูรณ์ ข้อละ 5 คะแนน

1. ในการผสมถัว่ ลันเตาฝักสี เขียวพันธุ์ทางกับถัว่ ลันเตาฝักสี เหลืองพันธุ์แท้จะได้ลูก


มีลกั ษณะอย่างไรบ้าง และคิดเป็ นอัตราส่ วนเท่าไร
กาหนดให้ G แทนยีนควบคุมลักษณะฝักสี เขียว
g แทนยีนควบคุมลักษณะฝักสี เหลือง

ฝักสี เขียว ฝักสี เหลืองพันธุ์แท้


พันธุ์ทาง
รุ่ นพ่อแม่(P) Gg.. gg.

เซลล์สืบพันธุ์
.… ..... ... ....
Gg . ... .
G .
รุ่ นลูก( F1) ....... ….. ….. …..

สี ของฝักรุ่ น F1 ................ .............. ............. .............

ดังนั้นรุ่ น F1จะมี............ลักษณะ คือ...................................................................


คิดเป็ นอัตราส่ วน................................................................................................
19
19

2. ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพและตอบคาถามต่อไปนี้


แมวเพศผูข้ นสี ดาพันธุแ์ ท้ผสมกับแมวเพศเมียขนสี ดาพันธุ์ทาง ลูกรุ่ น F1
จะมีลกั ษณะอย่างไร และคิดเป็ นร้อยละเท่าไร
กาหนดให้ B แทนยีนควบคุมลักษณะขนสี ดา
b แทนยีนควบคุมลักษณะขนสี ขาว

ตรวจคาตอบ
จากเฉลยได้เลย
ค่ะ
20

20

การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในคน

1. ลักษณะทีถ่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม มนุษย์จะถ่ายทอดลักษณะจากบรรพบุรุษ


สู่ ลูกหลาน เช่น สี ตา สี ผม ความสู ง สี ผวิ ห่อลิ้นได้ ห่อลิ้นไม่ได้ ผมหยิก ผมเหยียด
มีติ่งหู ไม่มีติ่งหู เป็ นต้น โดยลูกจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อและแม่ พ่อจะ
ได้รับการถ่ายทอดลักษณะมาจากปู่ ย่า แม่จะได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากตา ยาย
การถ่ายทอดลักษณะเช่นนี้เป็ นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะบางลักษณะ
ของลูกอาจเหมือนหรื อแตกต่างจากพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ลักษณะที่แตกต่างออกไปนี้
เป็ นลักษณะที่แปรผันและสามารถถ่ายทอดสู่ รุ่นลูก รุ่ นหลานต่อไป

ภาพ 2-9 แผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม


ที่มา : http://krunitta148.files.wordpress.com/2011/08/image10.jpg (12 เมษายน 2555)
21
21

กิจกรรมนักวิทยาศาสตร์ น้อย
เรื่อง ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม

วันที่........................เดือน.......................................พ.ศ......................
ชื่อ....................................นามสกุล.............................ชั้น........เลขที่........
จุดประสงค์ การเรียนรู้

1. ทากิจกรรมเพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรมได้
2. สรุ ปลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากรุ่ นหนึ่งไปยังรุ่ นต่อ ๆไปได้
ปัญหา คือ ..................................................................................................................
สมมติฐาน คือ ...........................................................................................................
...................................................................................................................................
วิธีทากิจกรรม

ให้นกั เรี ยนศึกษาลักษณะต่าง ๆ ดังภาพต่อไปนี้ที่ปรากฏในตัวนักเรี ยนหรื อบุคคล


ใกล้ชิดในครอบครัว ได้แก่ พี่ น้อง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย โดยการสังเกต
แล้วทาเครื่ องหมาย  ลงในตารางบันทึกผลตามที่สังเกตได้ เช่น

ผมเหยียดตรง ผมหยักศก หนังตาชั้นเดียว หนังตาสองชั้น

มีติ่งหู ไม่มีติ่งหู เชิงผมที่หน้าผากแหลม เชิงผมที่หน้าผากตรง


22
22

มีลกั ยิม้ ไม่มีลกั ยิม้ ห่อลิ้นได้ ห่อลิ้นไม่ได้

ตารางบันทึกผล

ลักษณะทางพันธุกรรม นักเรียน พี่ น้ อง พ่อ แม่ ปู่ ย่ า ตา ยาย


1.ลักษณะของผม - เหยียดตรง
- หยักศก
2. หนังตา - ชั้นเดียว
- สองชั้น
3. ติ่งหู - มี
- ไม่มี
4. เชิงผมที่หน้าผาก - แหลม
- ไม่แหลม
5. ลักยิม้ - มี
- ไม่มี
6. การห่อลิ้น - ห่อได้
- ห่อไม่ได้

คาถามหลังทากิจกรรม
1. ลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรี ยนที่เหมือนพ่อแม่ได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง
...................................................................................................................................
.................................................................................................................................
2. ลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรี ยนที่ไม่เหมือนพ่อแม่ได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง
.................................................................................................................................
23

23

3. ลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรี ยนที่ไม่เหมือนพ่อแม่ แต่เหมือนกับปู่ ย่า ตา ยาย


บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง.................................................................

4. ลักษณะที่มีในพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ปรากฏในตัวนักเรี ยนได้เพราะเหตุใด


.................................................................................................................................
5. ลักษณะทางพันธุกรรมที่นกั เรี ยนได้รับถ่ายทอดมา สามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน
ได้เท่ากันหรื อไม่ เพราะเหตุใด................................................................................
................................................................................................................................

สรุปผลจากการทากิจกรรม
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

จากกิจกรรมเพื่อน ๆ คงจะเห็นแล้วว่าคนที่เป็น
ญาติสายเลือดเดียวกันมักมีความคล้ายคลึงกัน
หลายประการ แต่ก็ยังมีบางลักษณะที่แตกต่าง
กันไปบ้าง เนื่องจากได้รับการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมที่ต่างกันนั่นเอง
24

24

2. การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยยีนบนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ
2.1 ยีนบนออโตโซม โครโมโซมแต่ละแท่งมียนี จานวนมากและยีนส่ วนใหญ่จะ
อยูบ่ นออโตโซม ดังนั้นลักษณะทางพันธุกรรมจะถูกถ่ายทอดโดยยีนที่อยูบ่ นออโตโซม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยยีนที่อยูบ่ นออโตโซมแบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ
1) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนออโตโซม
เมื่อดูจากภายนอกทั้งพ่อและแม่มีลกั ษณะปกติ แต่ท้ งั คู่มียนี ที่ควบคุมลักษณะผิดปกติแฝง
อยู่ เรี ยกว่าเป็ นพาหะ (carrier)ของลักษณะที่ผดิ ปกติน้ นั เช่น ลักษณะผิวเผือก โรคธาลัส
ซีเมีย โรคซิกเคิลเซลล์หรื อเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็ นรู ปเคียว

ภาพ 2-10 ครอบครัวที่มีลกั ษณะผิวเผือก


ที่มา : http://www.suriyothai.ac.th/files/u437/article-1210632-063CFA18000005DC- 217_634x710.jpg
(12 เมษายน 2555)
25

25

ภาพ 2-11 ลักษณะของคนที่เป็ นโรคธาลัสซีเมีย


ที่มา : http://www.thalassemia.or.th/picture/betathal-e.jpg และ
http://www.thalassemia.or.th/picture/argan.jpg (12 เมษายน 2555)

ภาพ 2-12 ลักษณะเซลล์เม็ดเลือดแดงของคนที่เป็ นโรคซิ กเคิลเซลล์


ที่มา : http://www.vcharkarn.com/vbiology/pictures/A297p2x2.jpg (12 เมษายน 2555)
26

26

ตัวอย่ าง การถ่ายทอดลักษณะผิวเผือก โดยทั้งพ่อและแม่เป็ นพาหะของลักษณะ


ผิวเผือก
กาหนดให้ A แทนยีนควบคุมลักษณะผิวปกติ
a แทนยีนควบคุมลักษณะผิวเผือก

พ่อเป็ นพาหะ แม่เป็ นพาหะ

รุ่ นพ่อแม่(P) Aa Aa

เซลล์สืบพันธุ์ A a A a

รุ่ น F1 AA Aa Aa aa

ลักษณะลูกรุ่ น F1 ผิวปกติ ผิวปกติ ผิวปกติ ผิวเผือก

จากแผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะผิวเผือกสรุ ปได้วา่
1. โอกาสถ่ายทอดลักษณะผิวเผือกไปสู่ รุ่นลูกเท่ากับ 1 ใน 4 หรื อร้อยละ 25
2. โอกาสที่รุ่นลูกจะเป็ นพาหะของลักษณะผิวเผือกเท่ากับ 2 ใน 4 หรื อร้อยละ 50
27

27

2) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนเด่นบนออโตโซม
จะเป็ นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อหรื อแม่ที่มีลกั ษณะพันธุ์แท้ที่มียนี เด่น
ทั้งคู่ หรื อพันธุ์ทางที่มียนี เด่นคู่กบั ยีนด้อย ได้แก่ การมีลกั ยิม้ ลักษณะนิ้วเกิน คนแคระ
โรคท้าวแสนปม และกลุ่มอาการมาร์แฟน

ภาพ 2-13 คนแคระ


ที่มา : http://i.kapook.com/faiiya/9-3-54/shot3.jpg (12 เมษายน 2555)

ภาพ 2-14 ลักษณะนิ้วเกิน


ที่มา : http://www.thairath.co.th/media/content/2010/03/23/72482/hr1667/630.jpg (12 เมษายน 2555)
28

28

ภาพ 2-15 คนที่เป็ นโรคท้าวแสนปม


ที่มา : http://www.thaigoodview.com/files/u8741/s7.jpg (12 เมษายน 2555)

ภาพ 2-16 ลักษณะของกลุ่มอาการมาร์ แฟน


ที่มา : http://www.homeescapade.com/wp-content/uploads/2012/03/marfan-syndrome-
physical-effects.jpg (12 เมษายน 2555)
29

29

ตัวอย่ าง การถ่ายทอดลักษณะการมีลกั ยิม้ ของครอบครัว ก และ ข


กาหนดให้ S แทนยีนควบคุมลักษณะการมีลกั ยิม้
s แทนยีนควบคุมลักษณะไม่มีลกั ยิม้
ครอบครัว ก พ่อมีลกั ยิม้ พันธุ์ทาง แม่ไม่มีลกั ยิม้

พ่อมีลกั ยิม้ แม่ไม่มีลกั ยิม้


พันธุ์ทาง
รุ่ นพ่อแม่(P) Ss ss

เซลล์สืบพันธุ์
S s s s

รุ่ น F1 Ss Ss ss ss

ลักษณะลูกรุ่ น F1 มีลกั ยิม้ มีลกั ยิม้ ไม่มีลกั ยิม้ ไม่มีลกั ยิม้

ภาพ 2-17 แผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะการมีลกั ยิม้ ของครอบครัว ก

จากแผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะการมีลกั ยิม้ ของครอบครัว ก สรุ ปได้วา่


โอกาสที่ลูกแต่ละคนจะมีลกั ยิม้ กับไม่มีลกั ยิม้ เท่ากัน คือ อัตราส่ วน 1 : 1
หรื อ 1 ใน 2 หรื อร้อยละ 50
30

30

ครอบครัว ข พ่อมีลกั ยิม้ พันธุ์แท้ แม่ไม่มีลกั ยิม้

พ่อมีลกั ยิม้ พันธุ์แท้ แม่ไม่มีลกั ยิม้

รุ่ นพ่อแม่(P) SS ss

เซลล์สืบพันธุ์
S S s s

รุ่ น F1 Ss Ss Ss Ss

ลักษณะลูกรุ่ น F1 มีลกั ยิม้ มีลกั ยิม้ มีลกั ยิม้ มีลกั ยิม้

ภาพ 2-18 แผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะการมีลกั ยิม้ ของครอบครัว ข

จากแผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะการมีลกั ยิม้ ของครอบครัว ข สรุ ปได้วา่


โอกาสที่ลูกแต่ละคนจะมีลกั ยิม้ ซึ่งควบคุมโดยยีนเด่นร้อยละ 100

การแสดงออกของยีนควบคุมลักษณะศีรษะล้านซึ่งอยู่บนโครโมโซม
ร่างกายจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของฮอร์โมนเพศชาย ดังนั้นเราจึงพบ
เพศชายศีรษะล้านมากกว่าเพศหญิง
31

31

2.2 ยีนบนโครโมโซมเพศ
1) ชนิดของยีนบนโครโมโซมเพศ เพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX
เพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ XY
โครโมโซม X มีขนาดใหญ่จึงมียนี อยูจ่ านวนมาก มีท้ งั ยีนที่ควบคุมลักษณะ
เพศหญิงและยีนที่ควบคุมลักษณะอื่น ๆ เช่น ตาบอดสี โรคฮีโมฟี เลีย(เลือดแข็งตัวช้า)
โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ และภาวะพร่ องเอนไซม์กลูโคส -6-ฟอสเฟสดีไฮโดรจีเนส หรื อ
G-6-PD ซึ่งยีนเหล่านี้จะเป็ นยีนด้อย
โครโมโซม Y มีขนาดเล็ก มียนี อยูจ่ านวนน้อย มีท้ งั ยีนที่ควบคุมลักษณะเพศชาย
และยีนที่ควบคุมลักษณะอื่น ๆ ได้แก่ ยีนที่ควบคุมลักษณะมีขนบนใบหู ซึ่งถ่ายทอดจาก
พ่อไปยังลูกชายและจากลูกชายไปยังหลานชาย

ภาพ 2-19 ลักษณะมีขนบนใบหูที่พบในเพศชาย


ที่มา : http://image.ohozaa.com/i1/dhcv5.jpg (12 เมษายน 2555)

ยีนที่อยู่บนโครโมโซม X หรือ Y
เรียกว่า ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
(sex linked gene)นะคะ
32

32

2) การถ่ ายทอดลักษณะที่ควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมเพศ เนื่องจากยีน


ที่เกี่ยวเนื่องกับเพศอยูบ่ นโครโมโซม X หรื อ Y การเขียนสัญลักษณ์ เช่น ยีนที่ควบคุม
ลักษณะตาบอดสี ซึ่งอยูบ่ นโครโมโซม X เขียนได้ดงั นี้
กาหนดให้ C แทนยีนที่ควบคุมลักษณะตาปกติ
c แทนยีนที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี
ตาราง แสดงจีโนไทป์ ของลักษณะตาบอดสี ในเพศหญิงและเพศชาย
เพศ จีโนไทป์
ตาปกติ พาหะ ตาบอดสี
หญิง XCXC XCXc XcXc
ชาย XCY ไม่มี XcY

ตัวอย่ าง การถ่ายทอดลักษณะตาบอดสี ชายตาปกติแต่งงานกับหญิงที่เป็ นพาหะของตาบอดสี


พ่อตาปกติ แม่เป็ นพาหะ

รุ่ นพ่อแม่(P) XCY XCXc


s

เซลล์สืบพันธุ์ XC Y XC Xc

รุ่ น F1 XCXC XCXc XCY XcY

ลักษณะลูกรุ่ น F1 หญิงตาปกติ หญิงตาปกติ ชายตาปกติ ชายตาบอดสี

ภาพ 2-20 แผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะตาบอดสี


33
33

จากแผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะตาบอดสี สรุ ปได้วา่


1. ลูกที่เกิดมาแต่ละคนมีโอกาสดังนี้
ลูกสาวตาปกติ : ลูกชายตาปกติ : ลูกชายตาบอดสี เท่ากับ 2 : 1 : 1
2. ลูกสาวมีโอกาสเป็ นพาหะของลักษณะตาบอดสี 1 ใน 4 หรื อร้อยละ 25
3. ลูกชายมีโอกาสตาบอดสี 1 ใน 4 หรื อร้อยละ 25

ลักษณะทางพันธุกรรมบางลักษณะควบคุมโดยยีนมากกว่า 1 คู่ จึงทาให้มีลักษณะ


ที่แตกต่างกันหลายระดับ เช่น
 ความสูง (สูงมาก สูง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ค่อนข้างเตี้ย และเตีย้ )
 สติปัญญา (ฉลาด ค่อนข้างฉลาด ปานกลาง ค่อนข้างไม่ฉลาด ปัญญาอ่อน)
 ความดันเลือด และสีผิว
การแสดงออกของยีนนอกจากจะขึ้นอยู่กับพันธุกรรมแล้ว ยังขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม
ด้วย เช่น ความสูงเกี่ยวข้องกับกระบวนการเจริญเติบโต การสร้างฮอร์โมนในร่างกาย
และสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น อาหาร การออกกาลังกาย
34
34

3) เพดดีกรี(pedigree) หรือพงศาวลี เป็ นแผนผังที่นกั พันธุศาสตร์นิยมใช้


ในการไล่เรี ยงลาดับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของคนโดยการใช้สัญลักษณ์แสดง
บุคคลต่าง ๆในครอบครัว ทั้งที่ปรากฏลักษณะให้เห็นและไม่ปรากฏให้เห็นในขณะที่กาลัง
ศึกษาเท่าที่จะสามารถสื บค้นได้

รุ่ นพ่ อแม่ (P)


1 2

รุ่ น F1
1 2 3 4 5 6

รุ่ น F2 3
1-3 4 5 6 7

, แสดงผูช้ าย แฝดร่ วมไข่

แสดงผูห้ ญิง แฝดไข่คนละใบ


,
คนที่ไม่ทราบเพศ
แสดงหญิงชาย 2 คนแต่งงานกัน
หญิงหรื อชาย
แสดงการแต่งงานระหว่างญาติ
ที่มีความผิดปกติ
หญิงที่เป็ นพาหะ
แสดงครอบครัวที่แต่งงานและมีลูก 3 คน
คนแรกเป็ นผูห้ ญิง (ซ้ายสุ ด)
3 ลูกชาย 3 คน
คนที่ 2 เป็ นชาย คนที่ 3 เป็ นผูห้ ญิง

ภาพ 2-21 แผนผังแสดงตัวอย่างเพดดีกรี และสัญลักษณ์ที่ใช้


35

35

ตัวอย่ าง การถ่ายทอดลักษณะของหนังตา ซึ่งมีการถ่ายทอด 2 แบบ คือ หนังตาชั้นเดียว


เป็ นลักษณะด้อยและหนังตาสองชั้นของครอบครัวหนึ่งแล้วนามาเขียนเพดดีกรี
ครอบครัวหนึ่งมีปู่หนังตาชั้นเดียว ย่าหนังตาสองชั้น มีลูก 2 คน คือ ลุงมีหนังตาชั้น
เดียวกับพ่อมีหนังตาสองชั้น ส่ วนตากับยายมีหนังตาชั้นเดียวทั้งคู่ มีลูก 3 คน คือ แม่ น้า
ชาย น้าสาว ทุกคนหนังตาชั้นเดียว พ่อแต่งงานกับแม่มีลูกด้วยกัน 3 คน คนที่ 1 และ
คนที่ 3 เป็ นลูกสาวหนังตาชั้นเดียว คนที่ 2 เป็ นลูกชายหนังตาสองชั้น

ภาพ 2-22 ลักษณะหนังตาชั้นเดียว และหนังตาสองชั้น


ที่มา : http://www.zabzaa.com/pic/i/f9fd268eb73fadfedd80f8f3cb6f7692.jpg (12 เมษายน 2555)

เพดดีกรีแสดงการถ่ ายทอดลักษณะของหนังตา

ปู่ ย่า ตา ยาย


ชายหนังตาชั้นเดียว

หญิงหนังตาชั้นเดียว

ลุง พ่อ แม่ น้าชาย น้าสาว ชายหนังตาสองชั้น

หญิงหนังตาสองชั้น

ลูกคนที่ 1 ลูกคนที่ 2 ลูกคนที่ 3

ภาพ 2-23 เพดดีกรี แสดงการถ่ายทอดลักษณะของหนังตา


36
36

แบบฝึ กหัดที่ 3
เรื่อง การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อ...................................................นามสกุล............................ชั้น............ เลขที่.........

คาชี้แจง

ตอนที่ 1 ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง


และได้ใจความสมบูรณ์ ข้อละ 1 คะแนน

1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดโดยยีนบนออโตโซมได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง
ตอบ.(อย่างน้อย 3 ลักษณะ).................................................................................
.............................................................................................................................
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดโดยยีนด้อยบนออโตโซมได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง
ตอบ......................................................................................................................
.............................................................................................................................
3. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดโดยยีนเด่นบนออโตโซมได้แก่ลกั ษณะใดบ้าง
ตอบ......................................................................................................................
4. ยีนที่อยูบ่ นโครโมโซม X และโครโมโซม Y เรี ยกว่าอะไร
ตอบ.......................................................................................................................
5. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดโดยยีนบนโครโมโซม X ได้แก่
ลักษณะใดบ้าง
ตอบ.......................................................................................................................
6. ลักษณะทางพันธุกรรมทีถ่ายทอดโดยยีนบนโครโมโซม Y เช่น การมีขนบน
ใบหู จะถ่ายทอดไปยังลูกเพศใด เพราะเหตุใด
ตอบ.......................................................................................................................
37

37

7. จงเขียนจีโนไทป์ ของชายและหญิงต่อไปนี้ลงในตาราง
กาหนดให้ XH ไม่เป็ นโรคฮีโมฟี เลีย Xh เป็ นโรคฮีโมฟี เลีย

ฟี โนไทป์ จีโนไทป์
เพศชาย เพศหญิง
ปกติ
ปกติแต่เป็ นพาหะ
เป็ นโรคฮีโมฟี เลีย

8. แผนผังแสดงบุคคลต่าง ๆในครอบครัว ทั้งที่ปรากฏลักษณะให้เห็นและ


ไม่ปรากฏลักษณะให้เห็นในขณะที่กาลังศึกษาเท่าที่จะสื บค้นได้ เรี ยกว่าอะไร
ตอบ...............................................................................................................
9. พ่อและแม่มีลกั ษณะปกติ แต่ท้ งั คู่มียนี ด้อยซึ่งควบคุมลักษณะผิดปกติแฝงอยู่
เรี ยกว่าอะไร
ตอบ.................................................................................................................
10. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มียนี ควบคุมมากกว่า 1 คู่ ได้แก่อะไรบ้าง(บอกมา 2
ลักษณะ)
ตอบ.......................................................................................................................

ทาตอนที่ 2
ต่อไปเลยค่ะ
38
38

คาชี้แจง

ตอนที่ 2 ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพแสดงการถ่ายทอด


ลักษณะทางพันธุกรรมต่อไปนี้ พร้อมทั้งตอบคาถาม
ให้ถูกต้อง ข้อละ 5 คะแนน

1. โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ชายคนหนึ่ง
ปกติแต่งงานกับหญิงปกติแต่เป็ นพาหะของโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ
กาหนดให้ XM ไม่เป็ นโรค Xm เป็ นโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ

พ่อปกติ แม่ปกติแต่เป็ นพาหะ

รุ่ นพ่อแม่(P) XMY XMXm


s

เซลล์สืบพันธุ์ XM Y XM Xm

รุ่ น F1 …….. …….. ……. …….


. .

ลักษณะลูกรุ่ น F1 ............... ............... ................. .....................


39
39

1.1 โอกาสของลูกจะมีลกั ษณะต่าง ๆ ดังนี้.............................................................


.........................................................................................................................
........................................................................................................................
1.2 ลูกที่เป็ นโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบคือเพศ....................มีโอกาสร้อยละ............
1.3 ลูกสาวมีโอกาสเป็ นพาหะของโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบร้อยละ.......................
2. ให้นกั เรี ยนศึกษาลักษณะของการมีติ่งหูและไม่มีติ่งหู จากครอบครัวของนักเรี ยน
ตั้งแต่ ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้ า น้า อา พ่อ แม่ พี่ น้อง และตัวนักเรี ยน แล้วนาข้อมูลมา
เขียนเป็ นเพดดีกรี

ถ้าบุคคลใดเสียชีวิตแล้วให้ ขอให้โชคดีนะครับ เอ๊ะ! แล้วผม


สังเกตจากภาพถ่าย หรือ เหมือนใครกันนะ ต้องรีบไป
สอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องนะคะ สอบถามข้อมูลจากคุณพ่อคุณแม่
40
40

สรุ ปใจความสาคัญ

เกรเกอร์ เมนเดล ได้ทดลองผสมพันธุ์ถวั่ ลันเตาพบว่า

ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวติ สามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ ลูกหลานได้โดยผ่านทาง


เซลล์สืบพันธุ์ ต่อมาเขาได้รับการยกย่องเป็ น “บิดาแห่ งพันธุศาสตร์ ”

หน่วยพันธุกรรมหรื อยีน (gene) คือ สิ่ งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของ


สิ่ งมีชีวติ ซึ่งลักษณะทางพันธุกรรมเป็ นลักษณะที่สามารถถ่ายทอดจากพ่อ แม่ หรื อ
ปู่ ย่า ตา ยายไปยังลูกหลานได้ โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ ยีนอยูเ่ ป็ นคู่ ๆ บน
โครโมโซม โดยองค์ประกอบที่สาคัญของยีน คือ DNA และโปรตีน ยีนที่ควบคุม
ลักษณะทางพันธุกรรมมี 2 ชนิด คือ ยีนเด่นและยีนด้อย
การศึกษาว่าลักษณะใดเป็ นลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรื อไม่ศึกษาได้
จากเพดดีกรี หรื อพงศาวลี
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากยีนบนออกโตโซม แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
1) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนเด่นบนออโตโซม ได้แก่
คนแคระ ลักษณะนิ้วเกิน โรคท้าวแสนปม และกลุ่มอาการมาร์แฟน 2) การถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนออโตโซม ได้แก่ โรคธาลัสซีเมีย
ลักษณะผิวเผือก เซลล์เม็ดเลือดแดงเป็ นรู ปเคียวหรื อโรคซิกเคิลเซลล์

ทาแบบทดสอบหลังเรียน
ได้เลยนะครับ
41
41

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ให้นกั เรี ยนกากบาท () ในช่อง ก. ข. ค. ง. ในกระดาษคาตอบ


ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน)

1. ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล มีการคัดเลือก
พ่อพันธุ์และแม่พนั ธุ์ ที่มีคุณสมบัติอย่างไร

ก พันธุ์แท้ท้ งั คู่

ข พันธุ์ทางทั้งคู่

ค พ่อพันธุ์แท้ แม่พนั ธุ์ทาง

ง พ่อพันธุ์ทาง แม่พนั ธุ์แท้

2. ผสมถัว่ ลันเตารุ่ นพ่อแม่(P) ที่มีเมล็ดสี เหลือง  เมล็ดสี เขียว


ลักษณะของรุ่ นลูกหรื อ F1 = A
อัตราส่ วนระหว่างลักษณะเด่น : ลักษณะด้อยในรุ่ นหลานหรื อ F2 = B
A มีลกั ษณะอย่างไร และ B มีอตั ราส่ วนเป็ นเท่าไร

ก A = เมล็ดสี เขียว , B = 3 : 1

ข A = เมล็ดสี เหลือง , B = 3 : 1

ค A = เมล็ดสี เหลืองและเมล็ดสี เขียว, B = 3 : 1


42
42

3. จากผลการทดลองของเมนเดล
A = เมล็ดสี เหลือลังและเมล็ ยว, B = ่ 1นลู: 1ก (F1) แต่มาปรากฏ
กษณะที่ไดม่สีปเขีรากฏในรุ
ในรุ่ นหลาน (F2) เช่น ต้นเตี้ย เมนเดล เรี ยกลักษณะเช่นนี้วา่ อย่างไร
ก ลักษณะด้อย

ข ลักษณะเด่น

ค ลักษณะพันธุ์ทาง

ง ลักษณะพันธุ์แท้

4. ข้อใดเป็ นผลงานของเกรเกอร์ เมนเดล

ก หน่วยพันธุกรรมอยูบ่ นโครโมโซม

ข โครโมโซมอยูภ่ ายในนิวเคลียสของเซลล์

ค ยีนอยูบ่ นออโตโซมและโครโมโซมเพศ

ง ลักษณะที่ปรากฏในลูกถ่ายทอดทางเซลล์สืบพันธุ์จากพ่อแม่

5. ยีน (gene) คืออะไร

ก หน่วยที่ควบคุมอาการของมนุษย์

ข หน่วยที่ช่วยยับยั้งเชื้อโรคในร่ างกาย

ค หน่วยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม

ง หน่วยที่ควบคุมระบบต่างๆ ของร่ างกาย


43
43

6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง

ก ลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออก เรี ยกว่า ฟี โนไทป์ (phenotype)

ข การเข้าคู่กนั ของยีนหรื อแบบของคู่ยนี เรี ยกว่า จีโนไทป์ (genotype)

ค ยีนด้อยคือยีนที่แสดงลักษณะนั้น ๆ ออกมาได้เมื่ออยูค่ ู่กบั ยีนเด่น

ง ยีนเด่นคือยีนที่แสดงลักษณะนั้น ๆ ออกมาได้เมื่ออยูก่ บั ยีนด้อยหรื อยีนเด่น

7. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในข้อใดที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนออโตโซม

ก คนแคระ

ข โรคธาลัสซีเมีย

ค โรคท้าวแสนปม

ง กลุ่มอาการมาร์แฟน

8. สิ่ งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรมในข้อใด

ก หมู่เลือด

ข การมีลกั ยิม้

ค หนังตาชั้นเดียว
44
44

ง ปริ มาณการให้น้ านมของวัว


9. พ่อมีลกั ษณะห่อลิ้นได้ ซึ่งเป็ นลักษณะเด่นที่พ่อมียนี เด่นเพียง 1 ยีน ส่ วนแม่
มีลกั ษณะห่อลิ้นไม่ได้ซ่ ึงเป็ นลักษณะด้อย สามีภรรยาคู่น้ ีมีโอกาสถ่ายทอด
ลักษณะห่อลิ้นได้ไปสู่ ลูกร้อยละเท่าไร

ก ร้อยละ 25

ข ร้อยละ 50

ค ร้อยละ 75

ง ร้อยละ 100

10. สามีภรรยาคู่หนึ่งผิวปกติ แต่มียนี ลักษณะผิวเผือกแฝงอยูท่ ้ งั สองคน


สามีภรรยาคู่น้ ีจะมีโอกาสมีลูกผิวปกติและผิวเผือกเป็ นอัตราส่ วนเท่าไร

ก ผิวปกติ : ผิวเผือก 1 : 1

ข ผิวปกติ : ผิวเผือก 1 : 0

ค ผิวปกติ : ผิวเผือก 2 : 1

ง ผิวปกติ : ผิวเผือก 3 : 1

ทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว
ตรวจคาตอบได้เลยนะคะ
45
45

บรรณานุกรม

บัญชา แสนทวี และคณะ. (2548). หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์
เล่ ม 5. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั สานักพิมพ์วฒั นาพานิช จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และคณะ. (2547). หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์
ช่ วงชั้นที่ 3ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค.
ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด. (2542). ชี ววิทยา ว048. กรุ งเทพฯ :
สานักพิมพ์พฒั นศึกษา.
ประเสริ ฐ ศรี ไพโรจน์. (2545). สารานุกรมวิทยาศาสตร์ ม.ต้ น. กรุ งเทพฯ : รุ่ งเรื องสาส์น
การพิมพ์.
ปรี ชา สุ วรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุ วรรณพินิจ. (2540). ชี ววิทยา 2. กรุ งเทพฯ :
สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพ์พนั ธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2550). ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิดวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์
ม.3. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์บริ ษทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) จากัด.
วิเชียร ประยูรชาติ.(ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการอบรมเรื่ อง การพัฒนาผลงาน
ทางวิชาการ. เอกสารอัดสาเนา.
ศรี ลกั ษณ์ ผลวัฒนะ และคณะ. (2547). วิทยาศาสตร์ ช่ วงชั้นที่ 3 พันธุกรรมและความ
หลากหลายของสิ่ งมีชีวิต. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์นิยมวิทยา.
. (2555). วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์นิยมวิทยา.
ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2551). ตัวชี ้วดั และสาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
46

. (2548). คู่มือครู สาระการเรี ยนรู้ พืน้ ฐาน ชี วิตกับสิ่ งแวดล้ อม สิ่ งมีชีวิตกับ 46
กระบวนการดารงชี วิต กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2548). หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พืน้ ฐาน ชี วิตกับสิ่ งแวดล้ อม
สิ่ งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชี วิต กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3.กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2553). หนังสื อเรี ยนรายวิชาพืน้ ฐาน ชี ววิทยา. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สุ นนั ทา สุ นทรประเสริ ฐ.(2547). การสร้ างสื่ อการสอนและนวัตกรรมการเรี ยนรู้
สู่การพัฒนาผู้เรี ยน. ราชบุรี : บริ ษทั ธรรมรักษ์การพิมพ์ จากัด.
ณัฐฎา แสงคา. (2552). การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎของเมนเดล. ค้นเมื่อ 12
เมษายน 2555, จาก http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file
=readknowledge&id=434
ปริ ยะ คาพิมเลิศ และคณะ.(2551). พันธุกรรม. ค้นเมื่อ 10 เมษายน 2555, จาก
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/53/2/heredity/
topic00.html
มณี รัตน์ รู ปประดิษฐ์. (2550). การศึกษาพันธุศาสตร์ ของเมนเดล. ค้นเมื่อ 12 เมษายน
2555, จาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/139233
47

ภาคผนวก
48
48

กระดาษคาตอบ
เรื่อง กระบวนการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อ..............................................นามสกุล....................................ชั้น............เลขที่........

ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

สรุปผลการเรียน
ลาดับ รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ
1 แบบฝึ กหัดที่ 1 5
2 แบบฝึ กหัดที่ 2 20
3 แบบฝึ กหัดที่ 3 20
49

4 ทดสอบก่อนเรี ยน 10
5 ทดสอบหลังเรี ยน 10
ความก้าวหน้าทางการเรี ยน
49
50

เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน
เรื่อง กระบวนการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย
1 ข 6 ง
2 ก 7 ค
3 ค 8 ข
4 ก 9 ง
5 ง 10 ข

ได้คะแนนเท่าไร
บันทึกไว้ด้วยนะครับ บอลเธอรู้ไหมโครโมโซมคืออะไร
เรารีบไปหาคาตอบกันเถอะ
50
51

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 1
เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ ของเมนเดล

1. เกรเกอร์ เมนเดล
2. ถัว่ ลันเตาปลูกง่าย อายุส้ นั เจริ ญเติบโตเร็ว ให้ผลดก มีหลายพันธุ์ มี
ลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เป็ นดอกสมบูรณ์เพศ สามารถควบคุม
การทดลองให้ผสมข้ามต้นได้ง่าย (ตอบอย่างน้อย 3 ลักษณะ)
3. พันธุ์แท้
4. 1 ลักษณะ ,ลักษณะเด่น
5. 2 ลักษณะ ,ลักษณะเด่นและลักษณะด้อย , 3 : 1

ไชโย ! ตอบถูก
ทุกข้อเลย
51
52

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 2
เรื่อง หลักการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

 1. หน่วยพันธุกรรมหรื อยีน (gene) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม


ของสิ่ งมีชีวติ ซึ่งจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังรุ่ นต่อไปได้
 2. ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ RNA ที่เกิดจากการต่อกันเป็ นเส้นของโมเลกุลย่อย
ที่เรี ยกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
 3. ยีนเด่น หมายถึงยีนที่แสดงลักษณะนั้น ๆ ออกมาได้เมื่ออยูค่ ู่กบั ยีนเด่นเท่านั้น
 4. เซลล์ร่างกาย ของสิ่ งมีชีวิตมีโครโมโซมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูล
ทางพันธุกรรมอยู่ 2 ชุด เข้าคู่กนั เรี ยกว่า โครโมโซมคู่เหมือน
 5. ยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่ต่างรู ปแบบกันแม้จะอยูบ่ นโครโมโซม
คู่เหมือนตรงตาแหน่งเดียวกัน เรี ยกว่า แอลลีน (allele)
 6. จีโนไทป์ (genotype) คือ ลักษณะการจับคู่กนั ของยีน
 7. ฟี โนไทป์ (phenotype) คือลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมาให้เห็น
 8. ลักษณะพันธุ์แท้ (homozygous) เป็ นการจับคู่ของยีนที่มีแอลลีนต่างกัน
 9. นักชีววิทยาที่เสนอว่า “หน่วยพันธุกรรมที่เมนเดลค้นพบอยูบ่ นโครโมโซม”
คือ วอลเตอร์ ซัตตัน และเทโอดอร์ โบเฟรี
 10. ยีนอยูเ่ ป็ นคู่ ๆ บนโครโมโซม
52
53

ตอนที่ 2 ให้นกั เรี ยนเติมคาหรื อตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์


ข้อละ 5 คะแนน
1. ในการผสมถัว่ ลันเตาฝักสี เขียวพันธุ์ทางกับถัว่ ลันเตาฝักสี เหลืองพันธุ์แท้จะได้ลูก มี
ลักษณะอย่างไรบ้าง และคิดเป็ นอัตราส่ วนเท่าไร
กาหนดให้ G แทนยีนควบคุมลักษณะฝี กสี เขียว
g แทนยีนควบคุมลักษณะฝักสี เหลือง

ฝักสี เขียว ฝักสี เหลืองพันธุ์แท้


พันธุ์ทาง
รุ่ นพ่อแม่(P) Gg gg

เซลล์สืบพันธุ์
G g g g

รุ่ นลูก( F1) Gg Gg gg gg

สี ของฝักรุ่ น F1 สี เขียว สี เขียว สี เหลือง สี เหลือง

ดังนั้นรุ่ น F1จะมี.....2.....ลักษณะ คือ....ฝักสี เขียวและฝักสี เหลือง....................


คิดเป็ นอัตราส่ วน....1 : 1 ..............................................................................
53
54

2. ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพและตอบคาถามต่อไปนี้


แมวเพศผูข้ นสี ดาพันธุแ์ ท้ผสมกับแมวเพศเมียขนสี ดาพันธุ์ทาง ลูกรุ่ น F1
จะมีลกั ษณะอย่างไร และคิดเป็ นร้อยละเท่าไร
กาหนดให้ B แทนยีนควบคุมลักษณะขนสี ดา
b แทนยีนควบคุมลักษณะขนสี ขาว

ขนสี ดาพันธุ์แท้ ขนสี ดาพันธุ์ทาง

รุ่ นพ่อแม่(P) BB Bb

เซลล์สืบพันธุ์
B B B b

รุ่ นลูก( F1) BB Bb BB Bb

สี ของขนรุ่ น F1 ขนสี ดา ขนสี ดา ขนสี ดา ขนสี ดา

ดังนั้นรุ่ น F1จะมี.....1.....ลักษณะ คือ...ขนสี ดา...... คิดเป็ นร้อยละ 100.....

เก่งมากค่ะ
54
55

เฉลยกิจกรรมนักวิทยาศาสตร์ น้อย
เรื่อง ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม

ปัญหา คือ ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้หรื อไม่


สมมติฐาน คือ ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ ดังนั้นลักษณะ
ทางพันธุกรรมก็จะปรากฏในรุ่ นลูกหลานด้วย
ตารางบันทึกผล

ลักษณะทางพันธุกรรม นักเรียน พี่ น้ อง พ่อ แม่ ปู่ ย่ า ตา ยาย


2.ลักษณะของผม - เหยียดตรง
- หยักศก
2. หนังตา - ชั้นเดียว
- สองชั้น
3. ติ่งหู - มี
- ไม่มี บันทึกตามข้ อมูลจริงของนักเรียนแต่ ละคน
4. เชิงผมที่หน้าผาก - แหลม
- ไม่แหลม
5. ลักยิม้ - มี
- ไม่มี
6. การห่อลิ้น - ห่อได้
- ห่อไม่ได้

เฉลยคาถาม
ข้อ 1 – 3 ขึ้นอยูก่ บั ข้อมูลของนักเรี ยนแต่ละคน
ข้อ 4 ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดจากพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ไปยังลูกหลานได้
55
56

ข้อ 5 ไม่เท่ากัน เพราะบางลักษณะควบคุมโดยยีนเด่น บางลักษณะควบคุมโดยยีนด้อย


สรุปผลจากการทากิจกรรม

ลักษณะทางพันธุกรรมเป็ นลักษณะที่ถ่ายทอดจากพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย


ไปยังลูกหลานได้

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 3
เรื่อง การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ตอนที่ 1
1. ลักษณะเส้นผม หนังตา ลักยิม้ ติ่งหู ห่อลิน้ เชิงผมที่หน้าผาก เป็ นต้น
(ตอบอย่างน้อย 3 ลักษณะ)
2. ลักษณะผิวเผือก โรคธาลัสซีเมีย โรคซิกเคิลเซลล์
3. คนแคระ ลักษณะนิ้วเกิน กลุ่มอาการมาร์แฟน และโรคท้าวแสนปม
4. ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
5. ลักษณะตาบอดสี โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ และโรคฮีโมฟี เลีย
6. เพศชายเท่านั้น เพราะเพศชายมีโครโมโซม XY
7.
จีโนไทป์
ฟี โนไทป์
เพศชาย เพศหญิง
ปกติ XHY XHXH
ปกติแต่เป็ นพาหะ ไม่มี XHXh
เป็ นโรคฮีโมฟี เลีย XhY XhXh
8. เพดดีกรี หรื อพงศาวลี
56
57

9. พาหะของโรค
10. ความสู ง สติปัญญา สี ผวิ และความดันเลือด

ตอนที่ 2

พ่อปกติ แม่ปกติแต่เป็ นพาหะ

รุ่ นพ่อแม่(P) XMY XMXm

เซลล์สืบพันธุ์ XM Y XM Xm

รุ่ น F1 XMXM XMXm XMY XmY

ลักษณะลูกรุ่ น F1 หญิงปกติ หญิงปกติ ชายปกติ ชายเป็ นโรค

1. โอกาสของลูกจะมีลกั ษณะต่าง ๆ ดังนี้....เพศหญิงปกติ ร้อยละ 50


เพศชายปกติ ร้อยละ 25 และเพศชายเป็ นโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ
ร้อยละ 25
2. ลูกที่เป็ นโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบคือเพศ....ชาย...มีโอกาสร้อยละ...25......
3. ลูกสาวมีโอกาสเป็ นพาหะของโรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบร้อยละ 25............
57

58

2. ให้นกั เรี ยนศึกษาลักษณะของการมีติ่งหูและไม่มีติ่งหู จากครอบครัวของนักเรี ยน


ตั้งแต่ ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้ า น้า อา พ่อ แม่ พี่ น้อง และตัวนักเรี ยน แล้วนาข้อมูลมาเขียนเป็ น
เพดดีกรี

ขึน้ อยู่กบั ข้ อมูลของแต่ละครอบครัว

เก่งมากครับ
59

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย
1 ก 6 ค
2 ข 7 ข
3 ก 8 ง
4 ง 9 ข
5 ค 10 ง

ได้คะแนนเพิ่มขึ้น
...เก่งมากเลยค่ะ

You might also like